Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรรมเซลล์

ชุดกิจกรรมเซลล์

Published by nattamon.ayw, 2020-05-14 05:21:46

Description: ชุดกิจกรรมเซลล์

Search

Read the Text Version

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง วชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน ว31101 เร่ือง หน่วยของสิ่งมชี ีวติ และการดาํ รงชีวติ ของพืช https://www.youtube.com/watch?v=-zafJKbMPA8 หน่วยที่ ๐๏•*•๏๐ หน่วยของสิ่งมชี ีวติ และการดาํ รงชีวติ ของพืช๐๏•*•๏๐ https://pubhtml5.com/qphe/axuk

2 คาํ นํา เอกสารชุดการเรียนรู้ดว้ ยตนเองวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน ว31101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา ปี ที่ 1 เรื่อง เซลลข์ องสิ่งมีชีวติ ชุดน้ี ไดจ้ ดั ทาํ ข้ึนดว้ ยความมุง่ หวงั ที่จะส่งเสริมความสามารถในการ เรียนรู้ของนกั เรียน ไดพ้ ฒั นาการเรียนรู้จากการศึกษาดว้ ยตนเอง การลงมือทาํ กิจกรรมและเพื่อช่วย ใหน้ กั เรียนมีเอกสารอ่านประกอบเสริมในวชิ าวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน ว31101 ช้นั มธั ยมศึกษา ปี ที่ 1 ดว้ ยขอ้ จาํ กดั ในดา้ นเวลา และบุคลากร ผจู้ ดั ทาํ จึงไดจ้ ดั ทาํ สื่อนวตั กรรมน้ีข้ึนและเผยแพร่ จาํ นวน 1 เล่ม ซ่ึงประกอบดว้ ยหน่วยการเรียนรู้ท้งั หมด 1 หน่วย เร่ือง หน่วยของสิ่งมีชีวติ และ การดาํ รงชีวติ ของพชื ซ่ึงภายในจะประกอบดว้ ย 3 เรื่องยอ่ ย ดงั น้ี เรื่องที่ 1 การศึกษาเซลลภ์ ายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ เร่ืองที่ 2 ลกั ษณะและส่วนประกอบของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ เรื่องท่ี 3 เซลลข์ องสิ่งมีชีวติ และการจดั ระบบของเซลล์ ผจู้ ดั ทาํ หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ ชุดการเรียนดว้ ยตนเองวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน ว31101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 เร่ือง เซลลข์ องสิ่งมีชีวติ น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาการเรียนรู้ของ ผเู้ รียนและพฒั นาการเรียนสอนใหม้ ีคุณภาพยง่ิ ข้ึน

3 แนวทางการศึกษา 1. ให้นักเรียนทาํ ความเข้าใจข้อแนะนําการเรียนรู้จากชุดกจิ กรรมนีใ้ ห้ชัดเจน 2. ให้นักเรียนศึกษาขอบข่ายของเนื้อหา สาระสําคญั และจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้เข้าใจ 3. ทาํ แบบประเมินตนเองก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้พืน้ ฐาน 4. ศึกษาเนื้อหา และทาํ กจิ กรรมท้ายเร่ืองทุกข้อด้วยความรอบคอบ 5. ทาํ แบบประเมินตนเองหลงั เรียน เพ่ือตรวจสอบการพฒั นาการเรียนรู้หลงั เรียน ถ้าได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 70 จะต้องกลบั ไปทบทวนความรู้อกี รอบ จนกว่า จะได้คะแนนไม่ตา่ํ กว่าร้อยละ 70 6. นักเรียนต้องมีความรับผดิ ชอบ ทาํ การศึกษาจริง ๆ ด้วยตนเอง และมคี วาม ซ่ือสัตย์ต่อตนเองในการเรียน โดยไม่เปิ ดดูเฉลยก่อนหรือขณะทาํ กจิ กรรมและ แบบประเมินตนเอง ให้เปิ ดดูเฉลยได้เมื่อนักเรียนทาํ กจิ กรรมท้ายเร่ือง และ แบบประเมินตนเองหลงั เรียนเสร็จแล้วเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ทาํ ความเข้าใจคาํ ชี้แจง ก่อนเรียนก่อนนะคะ

4 กระดาษคําตอบ ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองวชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน ว31101 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 เร่ือง หน่วยของส่ิงมีชีวติ และการดํารงชีวติ ของพืช หน่วยที่ 1 เซลล์ของสิ่งมีชีวติ ช่ือ........................................................................ช้ัน ม. 1 / .......... เลขที่ ............ แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน แบบประเมนิ ตนเองหลงั เรียน ข้อ ก ตวั เลือก ง ข้อ ก ตวั เลือก ง ขค ขค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนทไี่ ด้ คะแนนเต็ม คะแนนเต็ม

5 แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนกาเครื่องหมาย  ลงบนตวั เลือกท่ีคิดวา่ ถูกตอ้ งท่ีสุดลงในกระดาษคาํ ตอบเพยี งคาํ ตอบเดียว 1. หน่วยท่ีเลก็ ท่ีสุดของส่ิงมีชีวติ คือขอ้ ใด ก. DNA ข. โครโมโซม ค. นิวเคลียส ง. เซลล์ 2. ส่วนประกอบใดของเซลลท์ ่ีมีหนา้ ท่ีควบคุมการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ก. นิวเคลียส ข. ไซโทพลาซึม ค. คลอโรพลาสต์ ง. ไมโทคอนเดรีย 3. ขอ้ ใดคือสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว ก. อสุจิของคน ข. อะมีบา ค. เมด็ เลือดแดงของคน ง. เซลลร์ ากหอม 4. ถา้ นาํ ภาพอกั ษร “b” ดงั รูปน้ี ไปส่องดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ จะเห็นภาพมีลกั ษณะใด ก. b ข. d ค. p ง. Q 5. เมื่อนกั เรียนใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถกุ าํ ลงั ขยายต่าํ ส่องดูเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก พบภาพอยรู่ ิมซา้ ยชิดขอบบน หาก ตอ้ งการใหภ้ าพมาอยตู่ รงกลางจอภาพ ควรทาํ อยา่ งไร ก. เล่ือนสไลดไ์ ปทางขวาและลงลา่ ง ข. เล่ือนสไลดไ์ ปทางขวาและข้ึนบน ค. เล่ือนสไลดไ์ ปทางซา้ ยและลงลา่ ง ง. เลื่อนสไลดไ์ ปทางซา้ ยและข้ึนบน 6. ถา้ เปรียบเทียบเซลลเ์ สมือนเมืองเมืองหน่ึง ออร์แกเนลใดของเซลลท์ าํ หนา้ ที่เหมือน “โรงผลิตไฟฟ้า” ส่ง กระแสไฟฟ้ากระจายไปใชท้ วั่ เมือง ก. ไรโบโซม ข. ไมโทคอนเดรีย ค. ร่างแหเอนโดพลาสซึม ง. กอลจิบอดี 7. ส่วนประกอบขอ้ ใดของเซลลท์ ี่มีหนา้ ที่ควบคุมการลาํ เลียงของสารเขา้ ออกจากเซลล์ ก. คลอโรพลาสต์ ข. ผนงั เซลล์ ค. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ง. ไซโทพลาสซึม 8. เมื่อนกั เรียนใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ส่องดูเซลลข์ องพืชบางชนิด นกั เรียนพบวา่ เซลลใ์ ดไม่มีคลอโรพลาสต์ ก. เซลลว์ า่ นกาบหอย ข. เซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้ ค. เซลลเ์ ยอื่ หอม ง. เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก 9. ส่วนประกอบใดท่ีพบในเซลลพ์ ืช แต่ไม่พบในเซลลส์ ตั ว์ ก. นิวเคลียส ข. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ค. ไซโทพลาสซึม ง. ผนงั เซลล์ 10. เซลลใ์ นร่างกายของมนุษยม์ ีนิวเคลียสปรากฏและเห็นชดั เจน ยกเวน้ เซลลพ์ วกใด ก. เซลลต์ บั ข. เมด็ เลือดขาว ค. เมด็ เลือดแดง ง. สาหร่าย

6 ขอบข่ายเนื้อหา สาระสําคญั และจุดประสงค์การเรียนรู้ ขอบข่ายเนื้อหา เร่ืองที่ 1 การศึกษาเซลลภ์ ายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ เร่ืองท่ี 2 ลกั ษณะและส่วนประกอบของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ เร่ืองที่ 3 เซลลข์ องสิ่งมีชีวติ และการจดั ระบบของเซลล์ สาระสําคญั สิ่งมีชีวติ ทุกชนิดประกอบดว้ ยเซลลแ์ ละผลิตภณั ฑข์ องเซลล์ เซลลห์ มายถึงหอ้ งเลก็ ๆ ท่ี เป็นหน่วยเบ้ืองตน้ ของสิ่งมีชีวติ เซลลข์ องสิ่งมีชีวติ บางชนิดมีขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ ดว้ ยตาเปล่า การศึกษาเซลลจ์ ึงตอ้ งอาศยั กลอ้ งจุลทรรศน์ ภายในเซลลป์ ระกอบดว้ ยเยอ่ื หุม้ เซลล์ ไซโทพลาสซึม และนิวเคลียส โครงสร้างที่สาํ คญั ของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตวส์ ่วนใหญม่ ีความคลา้ ยกนั เช่น เยอ่ื หุม้ เซลล์ นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย ร่างแหเอนโดพลาซึม กอลจิคอมเพลกซ์ แวคิวโอล ไรโบโซม ไลโซโซม แตม่ ีบางส่วนท่ีแตกตา่ งกนั เช่นเซลลพ์ ชื จะมีคลอโรพลาสต์ ผนงั เซลล์ รูปร่างเซลลเ์ ป็น เหล่ียม แตเ่ ซลลส์ ัตวจ์ ะมีรูปร่างแบบกลมรี และจะมีไลโซไซม แต่เซลลพ์ ชื ไมม่ ี สิ่งมีชีวติ บางชนิดอาจมีจาํ นวนเซลลเ์ พยี งเซลลเ์ ดียว เช่น บกั เตรี พารามีเซียม อะมีบา ยกู ลีนา ฯลฯ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนกั เรียนไดศ้ ึกษาหน่วยที่ 1 จบแลว้ นกั เรียนสามารถ 1. บอกความหมายของเซลลไ์ ด้ 2. บอกลกั ษณะ รูปร่าง และส่วนประกอบของเซลล์ ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศนไ์ ด้ 3. บอกส่วนประกอบและหนา้ ที่ของเซลลไ์ ด้ 4. บอกไดว้ า่ เซลลข์ องส่ิงมีชีวติ มี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ สิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว และสิ่งมีชีวติ หลายเซลล์

7 เรื่องท่ี 1 การศึกษาเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์ (cell) เซลล์ (cell) หรือหน่วยพืน้ ฐานของ หมายถงึ ?? สิ่งมชี ีวติ คือโครงสร้างทเ่ี ลก็ ทส่ี ุดใน ร่างกายของสิ่งมชี ีวติ ซึ่งมรี ูปร่างหลาย แบบ เพ่ือให้เหมาะสมกบั การทาํ หน้าทที่ ี่ แตกต่างกนั อปุ กรณ์ทช่ี ่วยศึกษาสิ่งมชี ีวติ เลก็ ๆ กล้อง ทม่ี องไม่เหน็ ด้วยตาเปล่าคือ... จุลทรรศน์

8 ส่ วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ ลํากลอ้ ง เลนสต์ า ภาพที่ตา ป่ มุ ปรบั ภาพ ป่ ุมปรบั ภาพหยาบ มองเห็น แขน จากกลอ้ ง ละเอียด จุลทรรศน์ แทน่ วางวตั ถุ เป็ นภาพเสมือน หวั กลบั นะจะ๊ เลนสว์ ตั ถุ ที่หนีบสไลด์ ฐาน กระจกเงา กลอ้ งจุลทรรศนท์ ี่ใช้ กาํ ลงั ขยายของกลอ้ งจุลทรรศน์ คือ ?? ในหอ้ งปฏิบตั ิการ กําลงั ขยายของเลนสใ์ กลต้ า คณู ทวั่ ไปเป็ นกลอ้ ง กาํ ลงั ขยายของเลนสใ์ กลว้ ตั ถุ จุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สง นะจะ๊

9 หลกั การใช้กล้องจุลทรรศน์ 1. ใชม้ ือท่ีถนดั จบั ท่ีแขนของกลอ้ ง อีกมือหน่ึงรองรับน้าํ หนกั ที่ฐานกลอ้ ง 2. หมุนเลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายต่าํ สุดใหต้ รงกบั แนวลาํ กลอ้ ง 3. ปรับกระจกเงาท่ีอยใู่ ตแ้ ท่นวางวตั ถุและปรับแสงใหเ้ ขา้ ไดเ้ ตม็ ท่ีหรือเปิ ดไฟ 4. นาํ แผน่ สไลดท์ ี่เตรียมไวแ้ ลว้ ตามข้นั ตอน วางลงบนแท่นวางวตั ถุโดยใหอ้ ยกู่ ่ึงกลางบริเวณที่แสง ผา่ น แลว้ ค่อย ๆ หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบใหล้ าํ กลอ้ งเล่ือนลงมาอยใู่ กลว้ ตั ถุท่ีจะศึกษามากที่สุด 5. มองผา่ นเลนส์ใกลต้ าลงไปตามลาํ กลอ้ ง หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบใหเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุเล่ือน ห่างจากสไลดจ์ นกระทง่ั เห็นภาพของวตั ถุ ( ใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายต่าํ สุดก่อนเสมอ เพ่อื ให้ ปรับหาภาพไดส้ ะดวก ) หมุนป่ ุมปรับภาพละเอียดเพ่อื ใหภ้ าพคมชดั ยงิ่ ข้นั 6.ถา้ ตรงการขยายภาพใหใ้ หญข่ ้ึนกเ็ ลื่อนจานหมุนใหเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายปานกลางและ กาํ ลงั ขยายสูงเขา้ มาอยใู่ นแนวลาํ กลอ้ งตามลาํ ดบั (จะมีเสียงดงั คลิก) เม่ือเลนส์ใกลว้ ตั ถุอยตู่ รงแนว ลาํ กลอ้ งมองที่เลนส์ใกลต้ าแลว้ ปรับภาพใหช้ ดั ดว้ ยป่ ุมปรับภาพละเอียดทุกคร้ัง การเกบ็ รักษากล้องจุลทรรศน์ 1. เกบ็ กระจกสไลด์ 2. เช็ดแทน่ วางกระจกสไลดใ์ หส้ ะอาด 3. ปรับเลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายต่าํ สุดลงมาไวด้ า้ นล่าง 4. หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบเพ่ือใหล้ าํ กลอ้ งลงมาต่าํ สุด 5. หมุนกระจกรับแสงใตก้ ลอ้ งใหต้ ้งั ฉากกบั พ้นื 6. ถา้ จะเช็ดเลนส์ ตอ้ งใชก้ ระดาษสาํ หรับเช็ดเลนส์โดยเฉพาะเทา่ น้นั

10 เมื่อนําเซลล์สาหร่ายหางกระรอก เซลล์เยื่อหอม และเซลล์ว่านกาบหอย มาส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ นักเรียนจะมองเห็นดังรูป เซลล์ สาหร่าย หาง เซลล์เย่ือ หอม เซลล์ว่าน กาบหอย เซลล์สาหร่ายหางกระรอก และเซลล์เย่ือหอม มรี ูปร่างเหมือนกนั คือเป็ นช่องสี่เหลี่ยม เซลล์ว่าน กาบหอยมรี ูปร่าง 2 แบบ คือ แบบเป็ นช่องสี่เหลยี่ ม และแบบคล้ายเมลด็ ถัว่ ซึ่งเรียกว่า เซลล์ คุม โดยจะพบเม็ดคลอโรพลาสต์ทเี่ ซลล์คุมด้วย ส่วนเซลล์สาหร่ายหางกระรอกจะพบเม็ด คลอโรพลาสต์ แต่เซลล์เย่ือหอม ไม่พบคลอโรพลาสต์ แต่จะพบทใ่ี บของต้นหอม

11 กจิ กรรมที่ 1 1. พิจารณารูปภาพ ใหน้ กั เรียนเขียนส่วนประกอบในช่อง □ ใหถ้ ูกตอ้ ง 4. 5. 1. 6. 7. 2. 8. 3. 2. จากขอ้ 1 ใหน้ กั เรียนนาํ หมายเลขที่อยใู่ นช่อง □ มาตอบคาํ ถาม หากเห็นวา่ คาํ ถามขอ้ น้นั ตรง กบั ส่วนประกอบของหมายเลขน้นั 2.1 ถา้ ตอ้ งการหาจุดโฟกสั ของภาพควรใชส้ ่วนประกอบหมายเลข............. 2.2 ถา้ ตอ้ งการหาความคมชดั ของภาพควรใชส้ ่วนประกอบหมายเลข............ 2.3 ส่วนประกอบของหมายเลขใดเป็นส่วนที่เช่ือมระหวา่ งเลนส์ใกลต้ ากบั เลนส์ใกลว้ ตั ถุ ................ 2.4 ส่วนท่ีทาํ หนา้ ท่ีรองรับน้าํ หนกั ของกลอ้ งท้งั หมดคือหมายเลข............

12 3. จงเติมคาํ หรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง 3.1 หากนกั เรียนตอ้ งการเปลี่ยนเลนส์ใกลว้ ตั ถุที่มีกาํ ลงั ขยายสูงเขา้ แทนที่เลนส์ใกลว้ ตั ถุท่ีมี กาํ ลงั ขยายต่าํ ตอ้ งปรับภาพใหค้ มชดั โดยหมุน...............................และขนาดของภาพที่เห็นจะมี ลกั ษณะ...................................... 3.2 ถา้ นกั เรียนนาํ อกั ษร p ไปดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ภาพท่ีนกั เรียนเห็นคือ................. ถา้ นกั เรียนตอ้ งการดูเซลลใ์ หอ้ ยตู่ รงกลาง 3.3 เซลล์ A นกั เรียนจะเล่ือนสไลดอ์ ยา่ งไร ...................... + ...................................................................... 4. นอ้ งเอย ทาํ การศึกษาเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลว์ า่ นกาบหอย และเซลลเ์ ยอ่ื หอม โดยใช้ กลอ้ งจุลทรรศน์ สิ่งที่นอ้ งเอยสงั เกตเห็นคือ รูปร่างของเซลลส์ าหร่ายหางกระรอกและเซลลเ์ ยอ่ื หอมจะเหมือนกนั คือ.............................ส่วนเซลลว์ า่ นกาบหอยมีรูปร่างแบบ................................. หลงั จากน้นั นอ้ งเอยทาํ การสงั เกตภายในเซลลข์ องพืชท้งั 3 ชนิด พบวา่ ในเซลลว์ า่ นกาบหอยมี เซลลห์ น่ึงคือ...................................ซ่ึงเซลลน์ ้ีจะไมพ่ บเซลลส์ าหร่ายหางกระรอกและ เซลลเ์ ยอื่ หอม

13 เร่ืองที่ 2 ลกั ษณะและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การค้นพบเซลล์ ใครเป็ นคนใชค้ าํ วา่ เซลลเ์ ป็ นคนแรกคะ โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) เป็ นคนแรกทใี่ ช้กล้องจุลทรรศน์ ศึกษาชิ้นไม้คอร์กทต่ี ดั เป็ นแผ่นบางๆ พบว่าไม้คอร์กประกอบด้วยช่อง รูปเหลยี่ มเชื่อมต่อกนั เป็ นจํานวนมาก จึงให้ชื่อว่า “ เซลล์ (cell) ” มีความหมายว่า “ห้องเลก็ ๆ” ในปี ค.ศ.1665 ค.ศ.1838 ตง้ั ทฤษฎีเซลล์ มัททอี สั ยาคอบ ชไลเดน (Cell Theory) (Matthias Jakob Schleiden) ทาํ การศึกษาเน้ือเยอ่ื พชื ชนิดตา่ ง ๆ สรุปวา่ “สิ่งมีชีวิตทงั้ ปวงย่อมประกอบดว้ ยเซลล์ “ เนื้อเยื่อพืชทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ” และผลิตภณั ฑข์ องเซลล”์ ค.ศ.1839 ทโี อดอร์ ชวนั น์ (Theodor Schwann) ทาํ การศึกษาเน้ือเยอ่ื ของสตั ว์ สรุปวา่ “ เนื้อเย่ือทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ”

14 ความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เซลล์จะมโี ครงสร้าง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และหน้าทค่ี ล้ายคลงึ กนั แต่จะ แตกต่างกนั อย่างไรบ้าง ? ต่างกนั ไปบ้างขนึ้ กบั ชนิดของ เซลล์ เช่น - เซลล์พืช มกั มรี ูปร่างเป็ นเหลยี่ ม มผี นังเซลล์ห่อหุ้ม มคี ลอโรพลาสต์ แต่ไม่มี ซนทริโอล ซ่ึงเป็ นส่วนทเ่ี กย่ี วข้องกบั การแบ่งเซลล์ - เซลล์สัตว์มรี ูปร่างไม่แน่นอน เพราะไม่มผี นังเซลล์ ไม่มคี ลอโรพลาสต์ แต่มี เซนทริโอล ถึงแม้ว่ารูปร่างของเซลล์ส่ิงมชี ีวติ จะแตกต่างกนั แต่โครงสร้างหลกั กย็ งั คงมเี หมือนกนั คือ จะมี เย่ือหุ้มเซลล์ นิวเคลยี ส และไซโทพลาสซึม

15 ส่วนประกอบของเซลล์ที่สําคญั ทพี่ บท้งั ในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ Cell membrane เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) มีลกั ษณะ เป็ น เยื่อบาง ๆ เหนียว ประกอบด้วยสารประเภท ไขมนั และโปรตีน มีคุณสมบัติเป็ นเยื่อเลือกผ่าน ควบคุมปริมาณสารทผ่ี ่านเข้าออก cytoplasm ไซโทรพลาซึม (cytoplasm) มีลกั ษณะเป็ น นิวเคลยี ส (Nucleus) มรี ูปร่าง ของเหลวภายในเซลล์ทอ่ี ยู่รอบ ๆ นิวเคลยี ส มีสารอาหาร ต่าง ๆ อยู่ นอกจากนีย้ งั มีโครงสร้างทมี่ ีรูปร่างลกั ษณะและ ค่อนข้างกลม ภายในนิวเคลยี สมสี ารท่ีทาํ หน้าที่แตกต่างกนั เช่น แวคิวโอล เป็ นถุงใสสําหรับเกบ็ หน้าทคี่ วบคุมการถ่ายทอดลกั ษณะทาง อาหารและของเสียก่อนถูกขับออกนอกเซลล์ พนั ธุกรรม และควบคุมการทาํ งานของ ไรโบโซม (ribosome) เป็ นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน เซลล์ ไมโทคอนเดรีย (Mitocondria) เป็ นแหล่งสร้างพลงั งาน ให้เซลล์ ร่างแหเอนโดพลาซึม มี 2 ชนิด คือ ร่งแหเอนโดพ ลาซึมแบบขรุขระ ทาํ หน้าทส่ี ร้างและขนส่งโปรตีน และ แบบเรียบ ทาํ หน้าทสี่ ังเคราะห์สารพวกไขมัน กอลจิบอดี ทาํ หน้าทด่ี ดั แปลงโปรตนี ทไี่ ด้จากร่างแหเอนโดพลาซึม ไลโซโซม พบเฉพาะเซลล์สัตว์ ทาํ หน้าทย่ี ่อยสารอาหาร และส่ิงแปลกปลอมภายในเซลล์ เป็ นต้น Nucleus

16 ส่ วนประกอบของเซลล์ท่ีพบเฉพาะในเซลล์พืช ผนังเซลล์ (cell wall) อยู่ Cell wall ช้ันนอกสุดของเซลล์พืช เป็ นผนัง คลอโรพลาสต์ (chloroplast) พบ แขง็ แรงซึ่งส่วนใหญ่สร้างจาก ในไซโทพลาซึมของเซลล์พืชบางชนิด มี เซลลโู ลส เป็ นส่วนไม่มชี ีวติ ทาํ ให้ ลกั ษณะเป็ นเม็ดสีเขียว มเี ย่ือหุ้ม 2 ช้ัน เซลล์ทนทาน แข็งแรง แม้ว่าเซลล์อาจ ช้ันในมีสารสีเขียวเรียกว่า คลอโรฟี ลล์ ตายแล้วกต็ าม (chlorophyll) ซ่ึงเกย่ี วข้องกับการ สังเคราะห์แสงของพืช chloroplast ส่ วนประกอบของเซลล์ท่ีพบเฉพาะในเซลล์สัตว์ lysosome ไลโซโซม (lysosome) ย่อยสารอาหาร ภายในเซลล์และย่อยส่ วนของเซลล์ที่ ได้รับความเสียหายหรืออนุภาค แปลกปลอมทเ่ี ข้ามาภายในเซลล์

17 ภาพแสดงส่ วนประกอบภายในของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ผนงั เซลล์ เซลล์พืช ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส เซลล์สัตว์ แวคิวโอล กอลจิบอดี คลอโรพลาสต์ เยอื่ หุม้ เซลล์ ส่ วนประกอบภายในเซลล์ พืชและเซลล์สัตว์นะจ๊ะ เยอื่ หุม้ เซลล์ กอลจิบอดี เอนโดพลาสมิกเรติคูลมั ไมโทคอนเดรีย ไลโซโซม นิวเคลียส ไรโบโซม

จากภาพทก่ี าํ หนดให้ กจิ กรรมที่ 2 18 B A CD EF 1. จงตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี โดยเลือกตวั อกั ษรภาษาองั กฤษจากขอ้ 1 มาเติมในช่องวา่ งในคาํ ตอบ ท่ีนกั เรียนคิดวา่ ถูกตอ้ งท่ีสุด 1.1 ถา้ จะเปรียบเซลลใ์ หเ้ ป็นเมืองเล็กๆ เมืองหน่ึง โดยมีเยอื่ หุม้ เซลลเ์ ป็นกาํ แพงเมือง และ นิวเคลียสเป็นรัฐบาลแลว้ ส่วนของเซลลท์ ่ีทาํ หนา้ ท่ีคลา้ ยเทศบาลเก็บขยะคือ.................. 1.2 โครงสร้างประกอบดว้ ยโมเลกุลของไขมนั เรียงตวั กนั 2 ช้นั และมีโมเลกุลของโปรตีน แทรกอยรู่ ะหวา่ งโมเลกุลของไขมนั น้นั .................. 1.3 หางลูกออ๊ ดหายไปเกิดจากการทาํ งานของ................. 1.4 แหล่งที่สร้างพลงั งานใหแ้ ก่เซลล.์ ................... 1.5 การที่นกั เรียนมีผวิ ขาวเหมือนแม่ ตาโตเหมือนพอ่ เกิดจากการถ่ายทอดลกั ษณะ พนั ธุกรรม ซ่ึงพบไดใ้ น................ 1.6 เป็นแหล่งสงั เคราะห์โปรตีน............

19 1.7 ผทู้ ่ีทาํ หนา้ ท่ีเป็ น ร.ป.ภ. หรือยามประจาํ หมู่บา้ น เปรียบเสมือนโครงสร้างใดของเซลล์ ........ 2. นกั เรียนลองดูวา่ ภาพที่กาํ หนดใหเ้ ป็ นภาพแสดงเซลลพ์ ชื หรือเซลลส์ ัตว์ โดยเติมคาํ ตอบลง ในช่องวา่ ง 1. 2. 3. 4. ไม่ยากเลยใช่ม้ยั ครับบบบบ….

20 เรื่องที่ 3 เซลล์ของส่ิงมีชีวติ และการจดั ระบบของเซลล์ เซลล์แต่ละชนิดมีรูปร่างและลกั ษณะแตกต่างกนั เซลล์ของสิ่งมชี ีวติ มี 2 ชนิด 1. เซลล์ของสิ่งมชี ีวติ เซลล์เดียว มีรูปร่างและ โครงสร้างที่ไม่ซบั ซอ้ น ดาํ เนินกิจกรรมท้งั หมด ในการดาํ รงชีวติ เช่น กินอาหาร ยอ่ ยอาหาร อะมบี า เคล่ือนที่ สืบพนั ธุ์ ไดภ้ ายในเซลลเ์ พยี ง 1 เซลล์ เช่น - อะมีบา รูปร่างไมแ่ น่นอน เคล่ือนท่ีโดยใชข้ า พารามเี ซียม เทียม - พารามีเซียม รูปร่างเรียวยาว คลา้ ยรองเทา้ แตะ มี ขนรอบ ๆ ตวั และใชข้ นในการเคล่ือนท่ี - ยกู ลีนา รูปร่างรียาว มีแฟลกเจลลา (แส้) อยู่ บริเวณดา้ นบน ซ่ึงใชใ้ นการเคลื่อนท่ี ยูกลนี า 2. เซลล์ของส่ิงมีชีวติ หลายเซลล์ มีโครงสร้าง อสุจิ เซลล์ประสาท ซบั ซอ้ นมากข้ึน เซลลจ์ ากบริเวณตา่ ง ๆ มีรูปร่าง ต่าง ๆ กนั ซ่ึงข้ึนกบั หนา้ ท่ีของเซลลน์ ้นั 2.1 เซลล์สัตว์ เช่น เซลลเ์ ยอ่ื บุขา้ งแกม้ เซลลป์ ระสาท เซลลเ์ มด็ เลือดแดง เซลลอ์ สุจิ 2.2 เซลล์พืช เช่น เซลลร์ ากหอม เซลล์ คุมของวา่ นกาบหอย

21 การจัดระบบของเซลล์ในสิ่งมชี ีวติ หลายเซลล์ ส่ิงมชี ีวติ หลายเซลล์มีการจัดเรียงตัวของเซลล์ โดยเริ่มจาก สิ่งมชี ีวติ หลาย 1. เซลลท์ ี่รูปร่างเหมือนกนั และทาํ หนา้ ที่อยา่ งเดียวกนั เซลล์จะเรียงตัว มาอยรู่ วมกนั เรียกวา่ เนื้อเยื่อ (tissue) เช่น เน้ือเยอ่ื ประสาท อย่างไรครับ เน้ือเยอื่ บุผนงั ลาํ ไส้ 2. เน้ือเยอื่ หลาย ๆ ชนิดที่อยรู่ วมกนั ทาํ หนา้ ท่ีอยา่ งเดียวกนั เรียกวา่ อวยั วะ (organ) เช่น กระเพาะ อาหาร ประกอบดว้ ย เน้ือเยอ่ื บุผวิ เน้ือเยอ่ื กลา้ มเน้ือ และเน้ือเยอื่ ประสาท ในพืชกม็ ีอวยั วะต่าง ๆ และแต่ละอวยั วะประกอบดว้ ยเน้ือเยอ่ื หลายชนิด เช่น ใบไมป้ ระกอบดว้ ย เน้ือเยอ่ื ผวิ ใบ เน้ือเยอื่ ลาํ เลียงน้าํ เน้ือเยอื่ ลาํ เลียงอาหาร เป็นตน้ 3. อวยั วะหลาย ๆ อวยั วะท่ีทาํ งานร่วมกนั ในการทาํ หนา้ ที่อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เรียกวา่ ระบบอวยั วะ (organ system) เช่น คนมีระบบทางเดินอาหารประกอบดว้ ย ปาก กระเพาะอาหาร ลาํ ไส้เล็ก ลาํ ไส้ ใหญ่ ตบั และตบั ออ่ น สรุปการจัดระบบของเซลล์ในสิ่งมชี ีวติ หลายเซลล์สามารถแสดงได้ดงั แผนภาพ เซลล์ เนื้อเย่ือ อวยั วะ ร่างกาย ระบบอวยั วะ

22 กจิ กรรมท่ี 3 1. ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียวและส่ิงมีชีวติ หลายเซลลม์ าอยา่ งละ 2 ชนิด พร้อม ท้งั วาดภาพประกอบ สิ่งมีชีวติ เซลล์เดียว 2. 1. ส่ิงมชี ีวติ หลายเซลล์ 2. 1.

23 2. ศึกษาภาพตอ่ ไปน้ีแลว้ ตอบคาํ ถาม AB C DE 2.1 เซลลท์ ี่พบในสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียวไดแ้ ก่.......................................... และพบในสิ่งมีชีวติ หลายเซลลไ์ ดแ้ ก่............................................ 2.2 เซลล์ A, B และ D มีอวยั วะสาํ คญั ท่ีช่วยในการเคล่ือนท่ีคืออะไรบา้ ง ตามลาํ ดบั .............................................................................................................................. 2.3 เซลลท์ ่ีสร้างอาหารเองไดค้ ือ.......................................... 2.4 เซลลท์ ี่พบในร่างกายของมนุษยค์ ือ................................ 2.5 เซลลป์ ระสาทคือ........... เซลลพ์ ืชคือ...............

24 แบบประเมนิ ตนเองหลงั เรียน คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนกาเคร่ืองหมาย  ลงบนตวั เลือกท่ีคิดวา่ ถูกตอ้ งที่สุดลงในกระดาษคาํ ตอบเพยี งคาํ ตอบเดียว 1. หน่วยท่ีเลก็ ท่ีสุดของส่ิงมีชีวติ คือขอ้ ใด ค. นิวเคลียส ก. DNA ข. โครโมโซม ง. เซลล์ 2. ส่วนประกอบใดของเซลลท์ ี่มหี นา้ ที่ควบคุมการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ก. นิวเคลียส ข. ไซโทพลาซึม ค. คลอโรพลาสต์ ง. ไมโทคอนเดรีย 3. ขอ้ ใดคือสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว ก. อสุจิของคน ข. อะมีบา ค. เมด็ เลือดแดงของคน ง. เซลลร์ ากหอม 4. ถา้ นาํ ภาพอกั ษร “d” ดงั รูปน้ี ไปส่องดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ จะเห็นภาพมีลกั ษณะใด ก. b ข. d ค. p ง. Q 5. เมื่อนกั เรียนใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถกุ าํ ลงั ขยายต่าํ ส่องดูเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก พบภาพอยรู่ ิมซา้ ยชิดขอบบน หาก ตอ้ งการใหภ้ าพมาอยตู่ รงกลางจอภาพ ควรทาํ อยา่ งไร ก. เลื่อนสไลดไ์ ปทางขวาและลงลา่ ง ข. เลื่อนสไลดไ์ ปทางขวาและข้ึนบน ค. เลื่อนสไลดไ์ ปทางซา้ ยและลงล่าง ง. เล่ือนสไลดไ์ ปทางซา้ ยและข้ึนบน 6. ถา้ เปรียบเทียบเซลลเ์ สมือนเมอื งเมืองหน่ึง ออร์แกเนลใดของเซลลท์ าํ หนา้ ท่ีเหมือน “โรงผลิตไฟฟ้า” ส่ง กระแสไฟฟ้ากระจายไปใชท้ วั่ เมอื ง ก. ไรโบโซม ข. ไมโทคอนเดรีย ค. ร่างแหเอนโดพลาสซึม ง. กอลจิบอดี 7. ส่วนประกอบขอ้ ใดของเซลลท์ ี่มีหนา้ ที่ควบคุมการลาํ เลียงของสารเขา้ ออกจากเซลล์ ก. คลอโรพลาสต์ ข. ผนงั เซลล์ ค. เยอื่ หุม้ เซลล์ ง. ไซโทพลาสซึม 8. เมื่อนกั เรียนใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนส์ ่องดูเซลลข์ องพืชบางชนิด นกั เรียนพบวา่ เซลลใ์ ดไม่มีคลอโรพลาสต์ ก. เซลลว์ า่ นกาบหอย ข. เซลลเ์ ยอ่ื บุขา้ งแกม้ ค. เซลลท์ ี่ใบเยอ่ื หอม ง. เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก 9. ส่วนประกอบใดที่พบในเซลลพ์ ืช แตไ่ มพ่ บในเซลลส์ ตั ว์ ก. นิวเคลียส ข. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ค. ไซโทพลาสซึม ง. ผนงั เซลล์ 10. เซลลใ์ นร่างกายของมนุษยม์ นี ิวเคลียสปรากฏและเห็นชดั เจน ยกเวน้ เซลลพ์ วกใด ก. เซลลต์ บั ข. เมด็ เลือดขาว ค. เมด็ เลือดแดง ง. เซลลอ์ สุจิ

25 บรรณานุกรม กาญจนา เนตรวงศ.์ ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวติ กบั กระบวนการดาํ รงชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3. พิมพค์ ร้ังที่ 1, กรุงเทพฯ : ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์, 2550. บญั ชา แสนทว.ี วทิ ยาศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช่วงช้ันท่ี 3 ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พว์ ฒั นาพานิช, 2550. ศรลี กั ษณ์ ผลวฒั นะ และคณะ. กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) เซลล์ โครงสร้าง และหน้าทขี่ องเซลล.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1, กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พน์ ยิ มวิทยา, มปป. สมพงศ์ จนั ทรโ์ พธิ์ศร.ี วิทยาศาสตร์ 1 ช่วงช้ันที่ 3 (มัธยมศกึ ษาปี ที่ 1-3). พมิ พค์ รงั้ ท่ี1, กรุงเทพฯ : ธีรพงษก์ ารพมิ พ,์ 2537. “cell”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : www.the-aps.org/education/lot/cell/cell.JPG. 2551 “plant cell”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : www.jimmyjanesays.com/sketchblog/plantcell.jpg. 2551. “plant cell”. (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : .www.science-art.com/.../131/131_516200716223.jpg 2551. “plant cell”. (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : www.learningresources.com/.../prod1901_dt.jpg.2551 “plant cell”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : .www.beaconlearningcenter.com/.../plant2.jpg 2551. “animal cell”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : www.weberweb.net/Cells/jpg/AnimalCellColor.jpg. 2551. “animal cell”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : www.learningthings.com/.../Images/LER1900.gif. 2551. “organelle”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.nationmaster.com/encyclopedia/Cell- (biology). 2551.

26 เฉลยแบบประเมนิ ตนเอง เฉลยแบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน – หลงั เรียน 1. ง 6. ข 2. ก 7. ค 3. ข 8. ข 4. ค 9. ง 5. ง 10. ค

27 แนวคาํ ตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง กจิ กรรมที่ 1 ขอ้ 1 1. ป่ ุมปรับภาพหยาบ 2. ป่ ุมปรับภาพละเอียด 3. ฐาน 4. เลนส์ใกลต้ า 5. ลาํ กลอ้ ง 6. เลนส์ใกลว้ ตั ถุ 7. แทน่ วางสไลด์ 8. กระจก ขอ้ 2 1. ตอบ หมายเลข 1 2. ตอบ หมายเลข 2 3. ตอบ หมายเลข 5 4. ตอบ หมายเลข 3 ขอ้ 3 1. ตอบ ป่ ุมปรับภาพละเอียด, ขยายใหญข่ ้ึน 2. ตอบ d 3. ตอบ เลื่อนสไลดข์ ้ึน ไปทางขวา ขอ้ 4 ตอบ รูปร่างของเซลลส์ าหร่ายหางกระรอกและเซลลเ์ ยอื่ หอมจะเหมือนกนั คือเป็ นรูป เหลี่ยม ส่วนเซลลว์ า่ นกาบหอยมีรูปร่าง 2 แบบ คือ รูปเหล่ียม และรูปเมล็ดถวั่ เซลลว์ า่ นกาบหอยมี เซลลค์ ุม ซ่ึงไมพ่ บในเซลลส์ าหร่ายหางกระรอบและ เซลลเ์ ยอื่ หอม

28 กจิ กรรมที่ 2 ขอ้ 1 1. A 2. B 3. A 4. D 5. C 6. F 7. B 8. E ขอ้ 2 1. เซลลส์ ัตว์ 2. เซลลพ์ ชื 3. เซลลส์ ัตว์ 4. เซลลพ์ ืช กิจกรรมท่ี 3 ขอ้ 2 1. ตอบ สิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว คือ A B และสิ่งมีชีวติ หลายเซลลค์ ือ C D E 2. ตอบ แฟลกเจลลมั ซีเลีย แฟลกเจลลมั ตามลาํ ดบั 3. ตอบ E 4. ตอบ C D 5. ตอบ C E

29 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (pre-test) เรื่อง หน่วยของส่ิงมีชีวติ และการดํารงชีวติ ของพืช (เซลล์ของสิ่งมีชีวติ ) คาํ ชี้แจง 1. ใหน้ กั เรียนเขียนช่ือ นามสกุล ช้นั หอ้ งเรียน และโรงเรียนลงในกระดาษคาํ ตอบ 2. ใหน้ กั เรียนคาํ เคร่ืองหมาย  ลงบนตวั เลือกที่คิดวา่ ถูกตอ้ งที่สุดลงในกระดาษคาํ ตอบเพยี ง คาํ ตอบเดียว .............................................................................................................................................. 1. เซลลท์ ่ีรอเบิร์ต ฮุก เห็นจากไมค้ อร์กคือส่วนใดของเซลล์ ก. ผนงั เซลล์ ข. เยอื่ หุม้ เซลล์ ค. ไซโทพลาซึม ง. แวคิวโอล 2. ส่วนประกอบของเซลลพ์ ชื ส่วนใดท่ีเป็นส่วนท่ีมีชีวิต ก. ผนงั เซลล์ ข. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ค. นิวเคลียส ง. ขอ้ 2 และ 3 3. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง ก. ไข่ไก่ 1 ฟองประกอบดว้ ยเซลลจ์ าํ นวนนบั ไม่ถว้ น ข. โรเบิร์ต ฮุค พบผนงั เซลลแ์ ละเยอ่ื หุม้ เซลล์ ในการศึกษาเซลลไ์ มค้ อร์ก ค. เซลลค์ ุมในวา่ นกาบหอย มีคลอโรพลาสตอ์ ยู่ ง. พารามีเซียมเป็นส่ิงมีชีวติ หลายเซลล์ 4. ขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. เซลลพ์ ืชทุกชนิดมีคลอโรพลาสตเ์ ป็นองคป์ ระกอบ ข. เซลลเ์ มด็ เลือดแดงของสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมจะไมพ่ บนิวเคลียส ค. เซลลค์ ุม (guard cell) เป็นสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว ง. เซลลท์ ุกชนิดจะมีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า 5. ด.ช.มาร์ค ทดลองนาํ เซลลพ์ ชื กบั เซลลส์ ัตวม์ าแช่ในน้าํ กลน่ั ด.ช.มาร์คพบวา่ เซลลใ์ ดจะแตกได้ ง่ายกวา่ กนั

30 ก. เซลลพ์ ืช เพราะมีผนงั เซลล์ ข. เซลลส์ ัตว์ เพราะไมม่ ีผนงั เซลล์ ค. เซลลส์ ตั ว์ เพราะไม่มีคลอโรฟิ ลล์ ง. เซลลพ์ ืช เพราะเยอื่ หุม้ เปราะกวา่ 6. เหตุใดจึงตอ้ งปรับใหเ้ ห็นภาพจากเลนส์กาํ ลงั ขยายต่าํ ก่อนดูภาพจากเลนส์กาํ ลงั ขยายสูง ก. เลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายต่าํ สามารถหาจุดโฟกสั ไดง้ ่าย ข. ป้องกนั อนั ตรายจากเลนส์ใกลว้ ตั ถุไปชนกระแทกสไลด์ ค. หาภาพไดง้ ่าย เพราะขอบเขตของการมองเห็นกวา้ งกวา่ ง. แสงจากเลนส์รวมแสง ผา่ นเขา้ สู่เลนส์กาํ ลงั ขยายต่าํ ไดม้ ากกวา่ 7. ในขณะที่นกั เรียนกาํ ลงั ศึกษาการเคลื่อนท่ีของพารามีเซียมจากกลอ้ งจุลทรรศน์ หากนกั เรียน เห็นพารามีเซียมเคล่ือนท่ีไปทางขา้ งบนขวา นกั เรียนจะปรับสไลดอ์ ยา่ งไร ก. เลื่อนสไลดไ์ ปทางซา้ ย ลงล่าง ข. เลื่อนสไลดไ์ ปทางซา้ ย ข้ึนบน ค. เลื่อนสไลดไ์ ปทางขวา ข้ึนบน ง. เล่ือนสไลดไ์ ปทางขวา ลงล่าง 8. หาก ด.ช.กรวกิ ตอ้ งการศึกษาเซลลล์ ะอองเรณู ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ด.ช.กรวกิ ตอ้ งทาํ อยา่ งไร จึงถือวา่ ถูกตอ้ ง ก. หากตอ้ งการเห็นภาพในวงกวา้ งก่อน ด.ช.กรวกิ ควรใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายที่ต่าํ สุด ข. ถา้ ตอ้ งการหาโฟกสั ของภาพควรหมุนป่ ุมปรับภาพละเอียด ค. ในการเก็บรักษากลอ้ งควรหมุนกาํ ลงั ขยายสูงสุดมาไวด้ า้ นล่าง ง. หาก ด.ช.กรวกิ ตอ้ งการเห็นภาพที่มีขนาดใหญ่มากข้ึนให้หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบ 9. ถา้ ด.ญ.ฟ้า ตอ้ งการศึกษาเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก โดยใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง นกั เรียน คิดวา่ ด.ญ.ฟ้า จะใชง้ านกลอ้ งจุลทรรศนต์ ามข้นั ตอนขอ้ ใด จึงจะถูกตอ้ งท่ีสุด 1) หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบใหเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุลงไปชิดสไลด์ 2) หมุนป่ ุมปรับภาพละเอียด จนมองเห็นภาพชดั เจนท่ีสุด 3) หมุนเลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขายต่าํ สุดใหต้ รงกบั วตั ถุบนสไลด์ 4) ขยายภาพโดยใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายสูงข้ึน ก. 1  2  3  4 ข. 3  2  1  4 ค. 1  3  2  4 ง. 3  1  2 4

31 10. ด.ช. เฟลม ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ส่องดูเซลลพ์ ชื และมองเห็นภาพขนาดใหญก่ วา่ เดิม 40 เท่า ถา้ ด.ช. เฟลม ปรับกลอ้ งจุลทรรศน์ใหม้ ีเลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยาย 10 เท่า กลอ้ งจุลทรรศน์จะมีเลนส์ ใกลต้ าท่ีมีกาํ ลงั ขยายเทา่ ไร ก. 4 เทา่ ข. 40 เท่า ค. 400 เท่า ง. 100 เท่า 11. ด.ช.กายทาํ การสังเกตเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอ่ื หอม และเซลลว์ า่ นกาบหอย จาก กลอ้ งจุลทรรศน์ ด.ช.กายจะสรุปผลการทดลองวา่ เซลลท์ ้งั 3 ชนิดน้ีมีอะไรที่เหมือนกนั ก. คลอโรพลาสต์ ข. เซลลค์ ุม ง. รูปร่างของเซลล์ ค. ผนงั เซลล์ ด.ช. เฟลม นาํ สไลดเ์ ซลลส์ ่ิงมีชีวติ 3 ชนิดไปส่องดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์พบขอ้ มูลจากตารางต่อไปน้ี เซลล์ ผนงั เซลล์ เยอ่ื หุม้ เซลล์ คลอโรพลาสต์ A  B  C  12. นกั เรียนคิดวา่ เซลล์ A, B และ C ควรจะเป็นสิ่งมีชีวติ ชนิดใด ตามลาํ ดบั ก. เซลลเ์ ยอื่ หอม เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้ ข. เซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้ เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอ่ื หอม ค. เซลลว์ า่ นกาบหอย เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้ ง. เซลลเ์ ยอื่ หอม เซลลว์ า่ นกาบหอย เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก คาํ ชี้แจง จากตารางหนา้ ที่และโครงสร้างของเซลลใ์ ชต้ อบคาํ ถามขอ้ 13-16 โครงสร้างของเซลล์ หน้าท่ี A พบมากท่ีเซลลก์ ลา้ มเน้ือหวั ใจ B มีช้นั ของไขมนั และโปรตีนเป็นส่วนประกอบ C อยนู่ อกสุด เสริมสร้างความแขง็ แรงใหแ้ ก่เซลล์ D สาํ คญั สาํ หรับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื E ทาํ ลายส่ิงแปลกปลอมท่ีเขา้ มาในเซลล์ 13. โครงสร้างใดที่พบเฉพาะเซลลพ์ ืช เท่าน้นั

32 ก. B และ E ข. C และ E ค. C และ D ง. A , C และ D 14. โครงสร้างใดท่ีพบเฉพาะเซลลส์ ตั ว์ เทา่ น้นั ก. B ข. C ค. D ง. E 15. โครงสร้างใดถือวา่ มีความสาํ คญั ท่ีสุดท่ีจะทาํ ใหเ้ ซลลด์ าํ รงชีวิตอยไู่ ด้ ก. A ข. B ค. C ง. D 16. ความสมั พนั ธ์ในขอ้ ใดผิด ก. A คือ ไมโทคอนเดรีย ข. B มีคุณสมบตั ิเป็นเยอื่ เลือกผา่ น ค. C ส่วนใหญจ่ ะมีสารพวกซูเบอริน เพกติน ลิกนิน เป็นตน้ ง. E คือ แวคิวโอล 17. นกั เรียนคิดวา่ เซลลใ์ นขอ้ ใด จะตอ้ งมีไมโทคอนเดรียเป็นจาํ นวนมาก ข. เซลลก์ ลา้ มเน้ือหวั ใจ ค. เซลลเ์ มด็ เลือดแดง ง. เซลลเ์ มด็ เลือดขาว จ. เซลลค์ ุม 18. ถา้ เปรียบเทียบเซลลเ์ ป็นเหมือนโรงงาน ๆ หน่ึง นกั เรียนคิดวา่ ท่ีอยขู่ องแผนกต่าง ๆ จะเปรียบ ไดก้ บั ก. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ข. ไซโทพลาซึม ค. นิวเคลียส ง. ผนงั เซลล์ พจิ ารณาออร์แกเนลที่กาํ หนดให้

33 19. ขอ้ ใดกล่าวผดิ ก. พบเฉพาะในเซลลพ์ ืชเทา่ น้นั ข. เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ค. มีเยอ่ื หุม้ 2 ช้นั ง. เป็นแหล่งสร้างพลงั งานใหแ้ ก่เซลล์ 20. การท่ีหางลูกออ๊ ดหายไป นกั เรียนคิดวา่ เกิดจากการทาํ งานของออร์แกเนลใด ก. ไลโซโซม ข. ไมโทคอนเดรีย ค. นิวเคลียส ง. แวคิวโอล ตง้ั ในทาํ นะจะ๊ นกั เรยี นทร่ี กั

34 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (post-test) เรื่อง หน่วยของสิ่งมชี ีวติ และการดํารงชีวติ ของพืช (เซลล์ของส่ิงมีชีวติ ) คาํ ชี้แจง 3. ใหน้ กั เรียนเขียนชื่อ นามสกุล ช้นั หอ้ งเรียน และโรงเรียนลงในกระดาษคาํ ตอบ 4. ใหน้ กั เรียนคาํ เครื่องหมาย  ลงบนตวั เลือกที่คิดวา่ ถูกตอ้ งที่สุดลงในกระดาษคาํ ตอบเพียง คาํ ตอบเดียว .............................................................................................................................................. 1. เซลลท์ ่ีรอเบิร์ต ฮุก เห็นจากไมค้ อร์กคือส่วนใดของเซลล์ ก. ผนงั เซลล์ ข. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ค. ไซโทพลาซึม ง. แวคิวโอล 2. ส่วนประกอบของเซลลพ์ ชื ส่วนใดที่เป็นส่วนที่มีชีวติ ก. ผนงั เซลล์ ข. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ค. นิวเคลียส ง. ขอ้ 2 และ 3 3. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง จ. ไขไ่ ก่ 1 ฟองประกอบดว้ ยเซลลจ์ าํ นวนนบั ไม่ถว้ น ฉ. โรเบิร์ต ฮุค พบผนงั เซลลแ์ ละเยอื่ หุม้ เซลล์ ในการศึกษาเซลลไ์ มค้ อร์ก ช. เซลลค์ ุมในวา่ นกาบหอย มีคลอโรพลาสตอ์ ยู่ ซ. พารามีเซียมเป็นส่ิงมีชีวติ หลายเซลล์ 4. ขอ้ ใดถูกตอ้ ง จ. เซลลพ์ ืชทุกชนิดมีคลอโรพลาสตเ์ ป็นองคป์ ระกอบ ฉ. เซลลเ์ มด็ เลือดแดงของสัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมจะไม่พบนิวเคลียส ช. เซลลค์ ุม (guard cell) เป็นสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว ซ. เซลลท์ ุกชนิดจะมีขนาดเลก็ มาก ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า 5. ด.ช.มาร์ค ทดลองนาํ เซลลพ์ ชื กบั เซลลส์ ตั วม์ าแช่ในน้าํ กลน่ั ด.ช.มาร์คพบวา่ เซลลใ์ ดจะแตกได้ ง่ายกวา่ กนั

35 ก. เซลลพ์ ชื เพราะมีผนงั เซลล์ ข. เซลลส์ ัตว์ เพราะไมม่ ีผนงั เซลล์ ค. เซลลส์ ัตว์ เพราะไม่มีคลอโรฟิ ลล์ ง. เซลลพ์ ืช เพราะเยอ่ื หุม้ เปราะกวา่ 6. เหตุใดจึงตอ้ งปรับใหเ้ ห็นภาพจากเลนส์กาํ ลงั ขยายต่าํ ก่อนดูภาพจากเลนส์กาํ ลงั ขยายสูง ก. เลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายต่าํ สามารถหาจุดโฟกสั ไดง้ ่าย ข. ป้องกนั อนั ตรายจากเลนส์ใกลว้ ตั ถุไปชนกระแทกสไลด์ ค. หาภาพไดง้ ่าย เพราะขอบเขตของการมองเห็นกวา้ งกวา่ ง. แสงจากเลนส์รวมแสง ผา่ นเขา้ สู่เลนส์กาํ ลงั ขยายต่าํ ไดม้ ากกวา่ 7. ในขณะท่ีนกั เรียนกาํ ลงั ศึกษาการเคล่ือนท่ีของพารามีเซียมจากกลอ้ งจุลทรรศน์ หากนกั เรียน เห็นพารามีเซียมเคลื่อนท่ีไปทางขา้ งบนขวา นกั เรียนจะปรับสไลดอ์ ยา่ งไร ก. เลื่อนสไลดไ์ ปทางซา้ ย ลงล่าง ข. เลื่อนสไลดไ์ ปทางซา้ ย ข้ึนบน ค. เลื่อนสไลดไ์ ปทางขวา ข้ึนบน ง. เล่ือนสไลดไ์ ปทางขวา ลงล่าง 8. หาก ด.ช.กรวกิ ตอ้ งการศึกษาเซลลล์ ะอองเรณู ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ด.ช.กรวกิ ตอ้ งทาํ อยา่ งไร จึงถือวา่ ถูกตอ้ ง จ. หากตอ้ งการเห็นภาพในวงกวา้ งก่อน ด.ช.กรวกิ ควรใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายที่ต่าํ สุด ฉ. ถา้ ตอ้ งการหาโฟกสั ของภาพควรหมุนป่ ุมปรับภาพละเอียด ช. ในการเก็บรักษากลอ้ งควรหมุนกาํ ลงั ขยายสูงสุดมาไวด้ า้ นล่าง ซ. หาก ด.ช.กรวกิ ตอ้ งการเห็นภาพที่มีขนาดใหญม่ ากข้ึนให้หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบ 9. ถา้ ด.ญ.ฟ้า ตอ้ งการศึกษาเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก โดยใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง นกั เรียน คิดวา่ ด.ญ.ฟ้า จะใชง้ านกลอ้ งจุลทรรศนต์ ามข้นั ตอนขอ้ ใด จึงจะถูกตอ้ งที่สุด 1) หมุนป่ ุมปรับภาพหยาบใหเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุลงไปชิดสไลด์ 2) หมุนป่ ุมปรับภาพละเอียด จนมองเห็นภาพชดั เจนที่สุด 3) หมุนเลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขายต่าํ สุดใหต้ รงกบั วตั ถุบนสไลด์ 4) ขยายภาพโดยใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยายสูงข้ึน ก. 1  2  3  4 ข. 3  2  1  4 ค. 1  3  2  4 ง. 3  1  2 4

36 10. ด.ช. เฟลม ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนส์ ่องดูเซลลพ์ ืชและมองเห็นภาพขนาดใหญก่ วา่ เดิม 40 เท่า ถา้ ด.ช. เฟลม ปรับกลอ้ งจุลทรรศน์ใหม้ ีเลนส์ใกลว้ ตั ถุกาํ ลงั ขยาย 10 เท่า กลอ้ งจุลทรรศน์จะมีเลนส์ ใกลต้ าท่ีมีกาํ ลงั ขยายเท่าไร ก. 4 เทา่ ข. 40 เทา่ ค. 400 เท่า ง. 100 เท่า 11. ด.ช.กายทาํ การสังเกตเซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอ่ื หอม และเซลลว์ า่ นกาบหอย จาก กลอ้ งจุลทรรศน์ ด.ช.กายจะสรุปผลการทดลองวา่ เซลลท์ ้งั 3 ชนิดน้ีมีอะไรที่เหมือนกนั ก. คลอโรพลาสต์ ข. เซลลค์ ุม ง. รูปร่างของเซลล์ ค. ผนงั เซลล์ ด.ช. เฟลม นาํ สไลดเ์ ซลลส์ ่ิงมีชีวติ 3 ชนิดไปส่องดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศนพ์ บขอ้ มูลจากตารางต่อไปน้ี เซลล์ ผนงั เซลล์ เยอื่ หุม้ เซลล์ คลอโรพลาสต์ A  B  C  12. นกั เรียนคิดวา่ เซลล์ A, B และ C ควรจะเป็นสิ่งมีชีวติ ชนิดใด ตามลาํ ดบั จ. เซลลเ์ ยอื่ หอม เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอ่ื บุขา้ งแกม้ ฉ. เซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้ เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอ่ื หอม ช. เซลลว์ า่ นกาบหอย เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก เซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้ ซ. เซลลเ์ ยอื่ หอม เซลลว์ า่ นกาบหอย เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก คําชี้แจง จากตารางหนา้ ท่ีและโครงสร้างของเซลลใ์ ชต้ อบคาํ ถามขอ้ 13-16 โครงสร้างของเซลล์ หน้าที่ A พบมากที่เซลลก์ ลา้ มเน้ือหวั ใจ B มีช้นั ของไขมนั และโปรตีนเป็นส่วนประกอบ C อยนู่ อกสุด เสริมสร้างความแขง็ แรงใหแ้ ก่เซลล์ D สาํ คญั สาํ หรับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื E ทาํ ลายส่ิงแปลกปลอมที่เขา้ มาในเซลล์ 13. โครงสร้างใดที่พบเฉพาะเซลลพ์ ชื เท่าน้นั

37 ก. B และ E ข. C และ E ค. C และ D ง. A , C และ D 14. โครงสร้างใดท่ีพบเฉพาะเซลลส์ ตั ว์ เทา่ น้นั ก. B ข. C ค. D ง. E 15. โครงสร้างใดถือวา่ มีความสาํ คญั ท่ีสุดท่ีจะทาํ ใหเ้ ซลลด์ าํ รงชีวติ อยไู่ ด้ ก. A ข. B ค. C ง. D 16. ความสัมพนั ธ์ในขอ้ ใดผิด จ. A คือ ไมโทคอนเดรีย ฉ. B มีคุณสมบตั ิเป็นเยอื่ เลือกผา่ น ช. C ส่วนใหญจ่ ะมีสารพวกซูเบอริน เพกติน ลิกนิน เป็นตน้ ซ. E คือ แวคิวโอล 17. นกั เรียนคิดวา่ เซลลใ์ นขอ้ ใด จะตอ้ งมีไมโทคอนเดรียเป็นจาํ นวนมาก ฉ. เซลลก์ ลา้ มเน้ือหวั ใจ ช. เซลลเ์ มด็ เลือดแดง ซ. เซลลเ์ มด็ เลือดขาว ฌ. เซลลค์ ุม 18. ถา้ เปรียบเทียบเซลลเ์ ป็นเหมือนโรงงาน ๆ หน่ึง นกั เรียนคิดวา่ ท่ีอยขู่ องแผนกต่าง ๆ จะเปรียบ ไดก้ บั ก. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ข. ไซโทพลาซึม ค. นิวเคลียส ง. ผนงั เซลล์ พจิ ารณาออร์แกเนลที่กาํ หนดให้

38 19. ขอ้ ใดกล่าวผดิ จ. พบเฉพาะในเซลลพ์ ืชเทา่ น้นั ฉ. เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ช. มีเยอ่ื หุม้ 2 ช้นั ซ. เป็นแหล่งสร้างพลงั งานใหแ้ ก่เซลล์ 20. การที่หางลูกออ๊ ดหายไป นกั เรียนคิดวา่ เกิดจากการทาํ งานของออร์แกเนลใด จ. ไลโซโซม ฉ. ไมโทคอนเดรีย ช. นิวเคลียส ซ. แวคิวโอล ตง้ั ในทาํ นะจะ๊ นกั เรยี นทร่ี กั

39 เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียน-หลงั เรียน (pre-test & post-test) 1. ก 11. ค 2. ง 12. ก 3. ค 13. ค 4. ข 14. ง 5. ข 15. ข 6. ค 16. ง 7. ค 17. ข 8. ก 18. ข 9. ง 19. ง 10. ก 20. ก

40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook