Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 016-Kanokwan

016-Kanokwan

Published by wanarat phongsombat, 2021-09-24 17:39:52

Description: 016-Kanokwan

Search

Read the Text Version

สรุปองค์ความรู้ สมั มนาวทิ ยาศาสตร์ อาจารย์ธานินทร์ ปญั ญาวัฒนากลุ นางสาวจกัดนทกาวโรดรยณ กงแก้ว

Contents ความร้ทู ัว่ ไปเก่ียวกบั การวิจัยทางทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรมการวจิ ัย ส่วนประกอบของงานวิจัย

TITIL 01 ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกบั การวิจัยทางทยาศาสตร์ .

ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั การวจิ ยั ทางทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการแสวงหาความรู้ความจริงจากธรรมชาติ ความสาคญั ของวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญอย่างย่ิงในการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นกระบวนการสาคัญที่จะทาให้ เกดิ วธิ คี ดิ ท้ังความเป็นเหตุผล คดิ สร้างสรรค์ คิดวเิ คราะหว์ ิจารณ์ มีทกั ษะสาคัญในการคน้ หาความรู้

ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั การวจิ ยั ทางทยาศาสตร์ วิจยั ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง เป็นการวิจยั ทแ่ี สวงหาความรู้เกีย่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติทงั้ หลาย ทัง้ สงิ่ ทม่ี ีชวี ิตและไมม่ ชี ีวิต ความสาคญั ของการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ความสาคญั ของการวิจัยทางวิทยาศาสตรเ์ พื่อเพิ่มพนู ความรใู้ หม่ ๆ เปน็ การแสวงหาความรู้หรือความจริง เพื่อสร้างเปน็ กฎทฤษฎีและเพ่อื นาไปประยกุ ตห์ รอื ใชป้ ระโยชนใ์ นงานตา่ ง ๆ มีจดุ มงุ่ หมายในการนาผลการวิจัย ไปใชใ้ นเชงิ ปฏบิ ัติโดยตรง

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั TITLE 01 TITLE 02 TITLE 03 เพอ่ื เพิ่มพูนความรู้ใหม่ เพือ่ ใชใ้ นการพัฒนา พฒั นาให้ เพ่อื นาผลไปประยกุ ตห์ รือใชใ้ ห้เปน็ ดียงิ่ ขน้ึ ไดไ้ มใ่ ช่หยดุ การพฒั นา ประโยชน์ อยูท่ เี่ ดิม

TITIL 02 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ วิธีการและขั้นตอนท่ีใช้ดาเนินการค้นคว้าหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวทิ ยาศาสตร์

ระเบยี บวิธีทางวิทยาศาสตร์ Title Title การตั้งสมมตุ ฐิ าน การวิเคราะห์ข้อมูล เปน็ การคิดหาคาตอบล่วงหน้า 1 3 5อยา่ งมเี หตุผลกอ่ นทาการทดลอง เป็นขนั้ ท่ีนาขอ้ มูลท่ีได้จากการ สังเกตการคน้ คว้าหรือการทดลอง โดยตอ้ งอาศยั การสงั เกตความรู้ มาทาการวิเคราะห์ผลแล้วนาไป และประสบการณเ์ ดมิ เปรียบเทยี บกับสมมตฐิ านทีต่ ้งั ไว้ Title 2 Title 4 Title การกาหนดปัญหา การทดลอง เกิดจากการสังเกต อาจจะเริม่ เปน็ วิธกี ารตรวจสอบเพ่ือทาการค้นคว้าหา การสรุปผล จากส่ิงแวดลอ้ มรอบตัวเรา นาข้อเทจ็ จริงที่ได้จากการทดลองมา ปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือการ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวติ ขอ้ มูลรวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบดูวา่ วเิ คราะหผ์ ลและหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สมมติฐานถกู ต้องหรอื ไม่ ข้อมลู หรือขอ้ เท็จจริงเพ่อื นามาอธบิ ายและ ตรวจสอบดวู ่าสมมติฐานทตี่ ง้ั ขน้ึ ถกู ตอ้ ง หรอื ไม่

การถกปัญหาสร้างสรรคป์ ัญญา 01 02 03 04 ทมี่ าของปญั หาและการตงั้ การตงั้ สมมติฐาน ความจริงกบั สมมตฐิ าน ตัวแปรในการวจิ ยั คาถาม - ตง้ั สมมตฐิ านจกการศกึ ษาคน้ คว้า - ส ม ม ติ ฐ า น เ ป็ น ก า ร แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด - ที่มาของปัญหา ไดแ้ ก่ การอ่าน - ใช้ข้อความที่ชัดเจน เข้าใจง่าย คาดการณ์ ซึ่งอาจจะเป็นไป - ตวั แปรอสิ ระ หมายถงึ ตวั แปร เอกสาร อ่านงานวิจัย ประสบ สอดคลอ้ งกบั จุดม่งุ หมายของการวจิ ัย ตามทคี่ าดการไวห้ รอื ไมก่ ไ็ ด้ ที่เกดิ ขนึ้ ก่อนและเปน็ เหตุให้ผล การของผู้วิจัย ข้อโต้แย้ง การ - สามารถอธิบายเหตุผลสนับสนุน -ความจรงิ จะเปน็ สภาพท่ีเป็น ตามมา วเิ คราะห์ แนวโนม้ สมมตฐิ านของตนเองได้ อ ย่ า ง น้ั น โ ด ย แ น่ แ ท้ ไ ม่ - ตัวแปรตาม หมายถงึ ตัวแปรท่ี - การตั้งคาถาม ประกอบด้วย - ต้ังสมมติฐานในลักษณะท่ีเป็นการ เปลย่ี นแปลง เกดิ ขึ้นเน่อื งจากตวั แปรอสิ ระ ใครทาอะไร สิ่งเปรียบเทียบตัว ยอมรับ/การปฏเิ สธ วัดผล

TITIL 03 จริยธรรมการวจิ ยั

จริยธรรมการวิจยั จรยิ ธรรมการวิจัย จริยธรรมการวิจัยหมายถึงหลักเกณฑ์ที่ควร ประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยเพ่ือให้การดาเนินงาน วิ จั ย ต้ั ง อ ยู่ บ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ห ลั ก วิชาการท่เี หมาะสมหลกั จริยธรรมการทาวิจัย 1. หลกั ความเคารพในบุคคล 2. หลกั คุณประโยชน์ 3. หลักความยตุ ธิ รรม

TITLE จริยธรรมการวิจยั 1. หลักความเคารพในบุคคล (Respect for person) คือการเคารพในศักด์ิศรีความเป็น มนษุ ยเ์ คารพในการขอความยนิ ยอมโดยให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนปราศจากการข่มขู่หรือบังคับ เคารพในการเก็บรักษาความลับของข้อมูลส่วนตัวของอาสาสมัครและเคารพในความเป็น เปราะบาง 2. หลกั คณุ ประโยชน์ (Beneficence) ต้องมกี ารประเมินความเส่ียงหรืออันตรายที่อาจเกิด จากการวิจัย ได้แก่ อันตรายต่อร่างกายจิตใจสถานะภาพทางสังคมและทางกฎหมายการ ประเมินการให้คุณประโยชน์เช่นประโยชน์ท่ีได้รับโดยตรงประโยชน์ที่ได้จากผลการศึกษา ประโยชนต์ อ่ วงการวิทยาศาสตรห์ รอื สงั คมหรือประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนทอ่ี าสาสมัครอยู่ 3. หลักความยุติธรรม (Justice) เป็นการให้ความเปน็ ธรรมประเมนิ จากการเลือกอาสาสมัคร การจดั อาสาสมัครเข้ากลุ่มศึกษาต้องไม่มีอคติไม่เลือกกลุ่มตัวอย่างท่ีหาง่ายส่ังง่ายคนจนหรือ เป็นผดู้ ้อยการศกึ ษา

5. 1. ผ้ใู ช้สตั ว์ ต้อง 2. ผใู้ ช้สตั วต์ อ้ งตระหนัก ผู้ใชส้ ตั วต์ อ้ งบันทึกขอ้ มลู ตระหนกั คณุ คา่ ของ ถึงความแมน่ ยาของ ปฏบิ ตั ิต่อสัตวไ์ ว้เป็น ชวี ิตสัตว์ ผลงาน ใช้สัตว์นอ้ ยทส่ี ุด หลักฐานอย่างครบถว้ น Mind Map 4.ผู้ใชส้ ตั ว์ต้องตระหนักว่า 3. การใช้สตั ว์ต้องไมข่ ดั ตอ่ สตั ว์เป็นส่ิงมชี ีวิต กฎหมายและนโยบายการ เช่นเดียวกบั มนษุ ย์ อนุรักษ์สัตวป์ ่า จรยิ ธรรมการใชส้ ตั วใ์ นการทาวจิ ยั

TITIL 04 ส่วนประกอบของงานวจิ ยั .

ส่วนประกอบของงานวจิ ัย 1. ส่วนนา 2. ส่วนเนื้อเรอ่ื ง o ปกนอก o 2.1 บทนา o ใบรองปก -ความเปน็ มาและความสาคัญ o หนา้ ปกใน o หน้าอนุมตั ิ ของปญั หา o บทคดั ย่อ -วัตถุประสงค์ o กิตติกรรมประกาศ -ขอบเขตของการวิจัย o สารบญั -สมมตฐิ าน -นิยามศพั ท์เฉพาะ - ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการวจิ ยั o 2.2 วรรณกรรมท่เี กี่ยวขอ้ ง

ส่วนประกอบของงานวิจยั 2. ส่วนเน้ือเร่อื ง 3. สว่ นทา้ ย o 2.3 วธิ ดี าเนินการวจิ ัย o บรรณานุกรม - ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง o ภาพผนวก - เครื่องมือในการทาวจิ ัย o ประวัตผวู้ จิ ยั -การเกบ็ รวบรวมข้อมลู -การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถิตทิ ใ่ี ช้ o 2.4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล o 2.5 สรปุ ผลการวิจยั - สรุปผลการวจิ ัย - อภปิ รายผล - ข้อเสนอแนะ

ผจู้ ดั ทา ชอื่ -สกุล นางสาวกนกวรรณ กงแกว้ รหัสนกั ศึกษา 61003161016 กลมุ่ เรยี น 6100316101 คณะครุศาสตร์ สาขาการสอนวิทยาศาสตร์ท่ัวไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook