Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาวิทย์ป.3

โครงสร้างรายวิชาวิทย์ป.3

Published by yanmamu1982, 2020-08-10 12:25:32

Description: นางนูรียัน บือราเฮง
ครูชำนาญการโรงเรียนบ้านบลูกาสนอ
สพป.นราธิวาส เขต 1

Keywords: กำหนดการสอนวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

กำหนดกำรสอน รำยวิชำวิทยำศำสตร์ ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 3 โดย นำงนูรยี ัน บือรำเฮง โรงเรียนบำ้ นบลูกำสนอ สำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำนรำธวิ ำส เขต 1

โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รำยวิชำ วทิ ยำศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตร์ เวลำเรยี น 80 ชวั่ โมงต่อปี/ภำค ชั้น ประถมศึกษำปีท่ี 3 หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยกำรเรยี นรู้ มฐและตัวชี้วัด สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด เวลำ นำ้ หนักคะแนน 1 การถา่ ยทอดลักษณะ ทางพนั ธกุ รรม ว 1.2 ป 3/1 - ส่งิ มีชีวติ แตล่ ะชนดิ จะมลี ักษณะ 2 2 2 สิ่งแวดลอ้ มและ แตกต่างกนั ทรัพยากรธรรม ชาตใิ นท้องถน่ิ ว 1.2 ป 3/2 - สง่ิ มชี ีวิตทุกชนดิ จะมลี ักษณะภายนอกท่ี 3 2 ปรากฏคลา้ ยคลึงกับพอ่ แม่ของส่งิ มชี วี ติ ชนิด นนั้ - ลกั ษณะภายนอกท่คี ล้ายคลึงกันของ พ่อแม่กบั ลูกเป็นการถา่ ยทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม ว 1.2 ป 3/3 - มนษุ ยน์ าความรูท้ ี่ได้เก่ยี วกับการ 2 3 ถ่ายทอด ลักษณะทางพนั ธกุ รรมมาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธขุ์ องพชื และสัตว์ ว 1.2 ป 3/4 - ส่งิ มีชีวิตท่ีไมส่ ามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ 3 3 กบั สภาพแวดล้อมทเ่ี ปล่ียนแปลงไปได้ ก็จะสญู พนั ธไุ์ ปในทส่ี ุด -ส่งิ มีชวี ติ ทส่ี ามารถปรบั ตัวเขา้ กับ สภาพแวดล้อม ที่เปลย่ี นแปลงไปได้จะ สามารถอยรู่ อดและดารงพนั ธต์ุ ่อไป ว 2.1 ป 3/1 - ส่ิงแวดล้อมหมายถึง ส่ิงท่ีอยู่รอบๆ 3 3 ตัวเรามีทั้งส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม ทั้ ง กั บ ส่ิ ง มี ชี วิ ต ด้ ว ย กั น แ ล ะ กั บ สิ่งไม่มีชวี ติ ว 2.2 ป 3/1 - ดิน หนิ นา้ อากาศ ป่าไม้ สตั ว์ปา่ และ 3 3 แร่จัดเปน็ ทรัพยากร ธรรมชาติทม่ี ี ความสาคัญ - มนุษยใ์ ช้ทรพั ยากรธรรมชาตใิ น ทอ้ งถิ่นเพ่ือ ประโยชน์ตอ่ การ ดารงชวี ติ

หนว่ ยที่ ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้ มฐและตัวช้ีวัด สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด เวลำ นำ้ หนกั คะแนน 2(ตอ่ ) ว 2.2 ป 3/2 - มนษุ ยน์ าทรัพยากรธรรมชาตมิ าใช้ 2 3 3 สมบัติและการ เปลี่ยนแปลงของสาร อย่างมากมายจึงสง่ ผลกระทบต่อ สง่ิ แวดลอ้ มในท้องถนิ่ ว 2.2 ป 3/3 - มนุษยต์ ้องช่วยกนั ดูแลและรู้จักใช้ 2 3 ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและ คมุ้ ค่า เพ่ือให้มีการใช้ได้นานและยัง่ ยนื ว 3.1 ป 3/1 - ของเลน่ ของใชอ้ าจมีส่วนประกอบ 3 3 หลายส่วน และอาจทาจากวสั ดุหลาย ชนดิ ซึ่งมสี มบัติแตกต่างกนั ว 3.1 ป 3/2 - วสั ดแุ ต่ละชนดิ มสี มบตั แิ ตกตา่ งกันจึง 2 3 3 ใช้ประโยชน์ไดต้ า่ งกัน 3 ว 3.2 ป 3/1 - เมื่อมีแรงมากระทา เชน่ การบบี บดิ 2 5 ทุบ ดัด ดึง ตลอดจนการทาใหร้ ้อนข้ึน 5 4 หรอื ทาให้เย็นลงจะทาใหว้ ัสดุเกดิ การ เปลีย่ นแปลงรปู รา่ งลกั ษณะหรอื มสี มบัติ แตกตา่ งไปจากเดิม ว 3.2 ป 3/2 - การเปล่ียนแปลงของวสั ดุอาจนามาใช้ 3 ประโยชนห์ รือทาให้เกดิ อนั ตรายได้ 4 แรง และ การเคลอ่ื นที่ ว 4.1 ป 3/1 - การออกแรงกระทาตอ่ วตั ถุแล้วทาให้ 3 วตั ถเุ ปล่ียนแปลงการเคลือ่ นที่ โดยวตั ถทุ ่ี หยุดน่ิงจะเคลื่อนท่ีและวัตถุท่ีกาลัง เคลื่อนทจี่ ะเคล่ือนทเี่ รว็ ขน้ึ หรือเคล่อื นท่ี ช้าลงหรอื หยุดเคล่ือนท่ีหรอื เปล่ียน ทิศทาง ว 4.1 ป 3/2 - วตั ถุตกสู่พ้ืนโลกเสมอเน่ืองจากแรงโน้ม 3 ถ่วงหรอื แรงดึงดูดของโลกกระทาต่อวตั ถุ และแรงนีค้ ือน้าหนักของวตั ถุ 5 พลงั งานไฟฟา้ ว 5.1 ป 3/1 - การผลิตไฟฟ้าใช้พลงั งานจากแหล่ง 4 พลงั งานธรรมชาติ ซ่งึ บางแหล่งเปน็ แหล่งพลงั งานท่ีมีจากัด เช่น นา้ มนั แกส๊ ธรรมชาติ บางแหลง่ เป็นแหลง่ พลังงานท่ี หมุนเวยี น เชน่ นา้ ลม

หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วยกำรเรยี นรู้ มฐและตัวชี้วดั สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ น้ำหนักคะแนน 5(ตอ่ ) ว 5.1 ป 3/2 -พลงั งานไฟฟ้ามคี วามสาคัญต่อ 34 6 รอบรูเ้ ร่อื งโลก ชวี ิตประจาวนั เชน่ เปน็ แหล่งกาเนดิ แสง สว่าง จงึ ตอ้ งใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งประหยดั เช่น ปิดไฟเม่ือไม่ใช้งาน รวมทั้งใช้ไฟฟ้า อยา่ งปลอดภัย เชน่ เลือกใช้อุปกรณต์ ่างๆ ท่มี ีมาตรฐาน ว 6.1 ป 3/1 -น้าพบไดท้ ัง้ ที่เป็นของเหลว ของแขง็ 4 4 และแกส๊ นา้ ละลายสารบางอย่างได้ น้าเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งตามภาชนะท่ี บรรจุ และรักษาระดับในแนวราบ -คณุ ภาพของนา้ พจิ ารณาจาก สี กลิ่น ความโปรง่ ใสของนา้ -น้าเป็นทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่มี ีความจาเป็นต่อชวี ติ ทง้ั ในการบรโิ ภค อปุ โภค จึงต้องใชอ้ ย่าง ประหยดั ว 6.1 ป 3/2 - อากาศประกอบดว้ ย แก๊สไนโตรเจน 4 4 แก๊สออกซิเจน แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ และแกส๊ อน่ื ๆ รวมท้ังไอน้า และฝุน่ ละออง - อากาศมีความสาคญั ต่อการดารงชีวติ สิ่งมชี วี ติ ทุกชนดิ ต้องใชอ้ ากาศในการ หายใจ และอากาศยังมปี ระโยชน์ในดา้ น อน่ื ๆ อีกมากมาย ว 6.1 ป 3/3 - อากาศจะเคล่ือนจากบริเวณท่มี ี 4 4 อณุ หภมู ติ า่ ไปยังบริเวณท่ีมอี ุณหภมู ิสงู กว่า โดยอากาศทเี่ คลื่อนท่ใี นแนวราบทา ใหเ้ กิดลม - โ ล ก ห มุ น ร อ บ ตั ว เ อ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ปรากฏการณ์ต่อไปน้ี

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยกำรเรยี นรู้ มฐและตัวช้ีวัด สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ น้ำหนกั คะแนน 7 ว 7.1 ป 3/1 -ปรากฏการณ์ขึ้นตกของดวงอาทิตย์ 3 4 ระหวา่ งภาค/ระหวา่ งปี ปลายภาค/ปลายปี และดวงจนั ทร์ รวม -เกิดกลางวันและกลางคืนโดยด้านท่ีหัน รับแสงอาทิตย์เป็นเวลากลางวันและ ด้านตรงข้ามท่ีไม่ได้รับแสงอาทิตย์เป็น เวลากลางคนื ว 8.1 ป 6/1 -ตง้ั คาถามเก่ยี วกบั ประเด็นที่จะศกึ ษา ธรรมชำติของ ิวทยำศำสตร์และเทคโนโล ีย บูรณำ 4 กำรในห ่นวยท่ี 1-6 ว 8.1 ป 6/2 -วางแผนการสังเกต เสนอการสารวจ 4 ตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาค้นคว้า และ คาดการณส์ ง่ิ ทีจ่ ะพบจากการสารวจ ตรวจสอบ ว 8.1 ป 6/3 -การเลอื กอปุ กรณ์ 4 ว 8.1 ป 6/4 -การบันทึกข้อมูลการทดลอง 4 ว 8.1 ป 6/5 -สรา้ งคาถามใหม่เพือ่ การสารวจ 4 ตรวจสอบ ว 8.1 ป 6/6 -ลงความเหน็ และสรุปส่ิงที่ได้เรยี นรู้ 4 ว 8.1 ป 6/7 -บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสารวจ 4 ว 8.1 ป 6/8 -นาเสนอ จัดแสดงผลงานใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจ 4 78 70 2 30 80 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook