Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการปฏิบัติงาน กศน.ตำบลบ้านปง 163

รายงานผลการปฏิบัติงาน กศน.ตำบลบ้านปง 163

Published by Thanisa, 2020-09-24 02:14:40

Description: รายงานผลการปฏิบัติงาน กศน.ตำบลบ้านปง 163

Search

Read the Text Version

รายงานผลสมั ฤทธก์ิ ารปฏบิ ตั งิ านพนกั งานราชการทว่ั ไป (1 เมษายน 2563 ถงึ 30 กนั ยายน 2563) กศน.ตาบลบา้ นปง นางสาวธนิสา ปราบปราม ครู กศน.ตาบลบา้ นปง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสงู เมน่ สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั แพร่

บันทึกข้อความ สว่ นราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสูงเม่น ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๕๕๐๗(04)/๑๐๗๑ วนั ท่ี 1๔ เดอื น กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3 เร่อื ง รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปีงบประมาณ 2563 กศน.ตาบลบ้านปง ___________________________________________________________________________________ เรยี น ผูอ้ านวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสงู เม่น เร่ืองเดิม ตามนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2563 ของสานักงาน ส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกิจกรรมศึกษาต่อเนื่อง เพ่ือให้การ ดาเนินงานเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ตรงตามนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2563 แผนปฏิบัติงานประจาปี 2563 ซ่ึงเป็นการดาเนินงานนโยบายของสานักงาน กศน. เพื่อจัดส่งเสริมกิจกรรมให้แก่ ประชาชน และกลมุ่ เป้าหมายในพนื้ ท่ี นน้ั ข้อเทจ็ จริง ข้าพเจ้า นางสาวธนิสา ปราบปราม ครู กศน.ตาบลบ้านปง ได้ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน กศน.ตาบลบ้านปง ประจาปีงบประมาณ 2563 (1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563) เป็นที่เรียบร้อย แล้ว จึงขอสง่ รายงานผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลบา้ นปง ตามรายละเอียดดังแนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรด 1.ทราบ 2.พิจารณาลงนาม (นางสาวธนิสา ปราบปราม) ครู กศน.ตาบลบ้านปง

คานา จากนโยบาย ม่งุ เนน้ ให้ประชาชนได้รับความรู้ความรู้ท่ีเป็นพ้ืนฐานท่ีเป็นทักษะจาเป็นต่อการดารงชีวิต เพื่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาทักษะด้านอาชีพ และการฝึกอบรมท่ีเหมาะสม ให้สอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และเกิดความเสมอภาคทางการศึกษา ตลอดจนมุ่งหวังให้ประชาชนเป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดีของสังคม มีความเข้าใจในบริบทชุมชน มีวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกรับ วัฒนธรรมอน่ื และรกั ษาวัฒนธรรมประเพณีอนั ดงี าม และภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ อันทรงคณุ คา่ ของชุมชน การจัดทาแฟ้มสะสมงานครั้งน้ีเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการปฏิบัติของครู กศน.ตาบล ท่ีจะต้องจัด รวบรวมข้อมลู สรปุ ผลการปฏิบัตหิ นา้ ทมี่ าตลอดทั้งปงี บประมาณ ทั้งด้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการมสี ่วนรว่ ม ซึ่งรวบรวมการทางานประจาปีงบประมาณ 25๖๓ ระหว่าง วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563 ปฏิบัติหน้าที่ ครู กศน.ตาบลบ้านปง สังกัดสานักงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสูงเม่น เพ่ือนาเสนอในการประเมินจากผู้บริหารหรือ ผบู้ ังคับบญั ชาในหนว่ ยงานทไ่ี ด้สงั กดั ผู้จัดทา นางสาวธนิสา ปราบปราม

สารบญั ประวัติสว่ นตัว ขอ้ มูลสถานศึกษา - ประวตั กิ ศน.ตาบลบา้ นปง - ข้อมูลพน้ื ฐานกศน.ตาบลบา้ นปง การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนกั งานราชการทัว่ ไปสานกั งาน กศน.จังหวัดแพร่ ตัวชว้ี ัดท่ี 1 จานวนข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) ตวั ช้วี ัดที่ 2 ระดับความสาเรจ็ ของการจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบล/แขวง ตวั ชี้วดั ที่ 3 จานวนความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตวั ชว้ี ดั ที่ 4 ร้อยละของผู้จบหลกั สตู รการศึกษาพ้นื ฐาน ตวั ชว้ี ัดท่ี 5 รอ้ ยละของผู้เขา้ สอบปลายภาค ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6 รอ้ ยละของจานวนผ้เู รยี นท่ีมผี ลสมั ฤทธ์ิในวิชาบังคับ ตวั ชี้วดั ที่ 7 จานวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนอ่ื ง เม่ือเทยี บกับเปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ท่ี 8 ร้อยละของผจู้ บหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ืองที่นาความรูไ้ ปใช้ เมื่อเทยี บกับเปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ที่ 9 จานวนผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศยั ตวั ชีว้ ดั ที่ 10 จานวนกจิ กรรมทีจ่ ดั ในแหลง่ เรียนรู้ บ้านหนังสอื ชุมชน เม่อื เทยี บกับเปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั ท่ี 11 ระดับความสาเรจ็ ของการมสี ่วนรว่ มกบั ภาคเี ครือขา่ ยในชุมชน ตัวชว้ี ดั ท่ี 12 จานวนงานตามนโยบายเรง่ ดว่ นหรืองานอน่ื ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ตวั ชี้วดั ท่ี 13 ระดบั ความสาเรจ็ ในการจัดทาผลการปฏิบตั ิงานท่ีดี (Best Practice)

ประวัติ ครูกศน.ตาบลบา้ นปง (Portfolio) ขอ้ มลู ท่ัวไป ประวตั ิสว่ นตัว ชอื่ ..นางสาวธนิสา สกลุ ..ปราบปราม ชอื่ เล่น ..หนอ่ ย อายุ 3๕ ปี เลขบัตรประชาชน 1-5499-9000-486-6 เกดิ วันท.่ี .วันพฤหัสบดี ที่ 14 เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2528 สถานภาพ โสด ทอ่ี ยปู่ จั จุบนั .. 162 หมู่ 6 ตาบลบ้านปง อาเภอสงู เม่น จงั หวดั แพร่ รหัสไปรษณยี ์ 54130 โทรศพั ท.์ .085-8685138 บิดาช่อื ..นายสว่นั ปราบปราม อาย.ุ .5๙ ปี อาชีพ..เกษตรกร มารดาช่ือ..นางเลอ่ื น ปราบปราม อายุ..๕๖ ปี อาชีพ..เกษตรกร มีพน่ี ้อง 1 คน ชอ่ื ..นายธวัชชยั ปราบปราม อายุ..32 ปี อาชพี ..รบั จ้าง ประวตั กิ ารศึกษา ระดบั ชนั้ ปกี ารศึกษา โรงเรยี น ประถมศกึ ษา 2535 - 2540 โรงเรียนบ้านปงหวั หาด ตาบลบา้ นปง อาเภอสงู เม่น จงั หวดั แพร่ รหัสไปรษณยี ์ 54130 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2541 - 2543 โรงเรยี นนารรี ตั น์จังหวัดแพร่ ถนนคมุ้ เดิม ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ จังหวดั แพร่ รหัสไปรษณีย์ 54000 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2544 - 2546 โรงเรยี นนารรี ัตน์จงั หวัดแพร่ ถนนคมุ้ เดิม ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ จงั หวัดแพร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000 ปรญิ ญาตรี 2547 - 2551 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ ถนนช้างเผอื ก ตาบลช้างเผือก อาเภอเมือง จ.เชยี งใหม่ รหัสไปรษณยี ์ 50300 ประสบการณก์ ารทางาน ปี ประสบการณก์ ารทางาน ระยะเวลาปฏิบัติงาน ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี การศึกษานอกระบบและการศึกษา 2550 - 2551 การอัธยาศัยอาเภอเมอื งเชยี งใหม่ จังหวัดเชยี งใหม่ 1 พ.ค. 51 – 20 ม.ี ค. 52 (กศน.ตาบลช้างเผือก ศรช.วัดสนั ตธิ รรม) 2552 - 2553 โรงพยาบาลลานนา เชยี งใหม่ 1 เม.ย.52 – 31 มี.ค.53 2553 – ปจั จุบนั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาการอธั ยาศัยอาเภอ 1 เม.ย. 53 – ปัจจบุ นั สงู เมน่ จังหวัดแพร่

ขอ้ มูลกศน.ตาบลบา้ นปง ส่วนท่ี 1 สภาพท่วั ไปของ กศน.ตาบล ขอ้ มูลท่ัวไปของตาบล ประวัตคิ วามเปน็ มาของ กศน.ตาบลบ้านปง กศน.ตาบลบ้านปง ก่อต้ังข้ึนครั้งแรก เม่ือ พ.ศ. 2541 ศูนย์การเรียนชุมชน ได้ดาเนินการจัด กระบวนการเรียนการสอน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2544 และ ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน และบริการสื่อต่าง ๆ ให้แก่นักศึกษาและประชาชนตาบลบ้านปง อย่างต่อเน่ือง และได้ย้ายสถานที่ ดาเนินการตามรายละเอียด ดงั น้ี พ.ศ. 2541 ตงั้ อยู่ บ้านผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 1 พ.ศ. 2548 อบต.ตาบลบา้ นปง (หลังเก่า) พ.ศ. 2551 ศาลาเอนกประสงค์ หมทู่ ่ี 5 พ.ศ. 2553 อาคารห้องสมดุ โรงเรยี นบา้ นปงหวั หาด (หวั หาดราษฏรบารุง) พ.ศ. 2554 อาคารศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ตาบลบา้ นปง หมู่ 3 (ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ หลงั เดิม) พ.ศ. 2555 อาคารห้องสมดุ โรงเรยี นบา้ นปงหวั หาด พ.ศ. 2556 อาคารห้องสมดุ โรงเรียนบ้านปงหวั หาด พ.ศ. 255๙ อาคารเรยี น โรงเรยี นบ้านปงหัวหาด วสิ ยั ทศั น์ ศูนย์การเรียนชุมชนตาบลบ้านปง จัดให้บริการด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ที่เหมาะสม สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน พนั ธกจิ 1. จดั และส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้มีคณุ ภาพได้อยา่ งท่ัวถงึ 2. ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความร้ใู หเ้ กิดการพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง 3. ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของภาคีเครือข่ายทงั้ ในหนว่ ยงานและนอกหนว่ ยงาน 4. จัดการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิตของประชาชนในชมุ ชน

เปา้ ประสงค์ กศน.ตาบลบา้ นปง สง่ เสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ พฒั นาหลักสูตรและ กิจกรรมการเรียนรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความต้องการของผเู้ รียนและพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดย ใชส้ ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรยี น ตัวชี้วัด 1. ประชาชนในตาบลบา้ นปง เขา้ รบั บริการการจัดการศึกษานอกระบบ เพิ่มมากข้นึ 2. ประชาชนนอกระบบในอาเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ มีการนาเทคโนโลยีท่ีหลากหลายมาใช้ในการ แสวงหาความรู้และนามาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ 3. การมสี ว่ นร่วมของภาคีเครือข่ายในการพฒั นาแหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชนใหม้ คี วามพรอ้ มต่อการใช้ บรกิ าร 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ใหส้ อดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน บทบาทภารกจิ กศน. ตาบลบ้านปง บทบาทภารกจิ กศน. ตาบลบา้ นปง มภี ารกจิ สาคญั ดังนี้ 1. จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กับประชาชนกลมุ่ เป้าหมายใน ชุมชน โดยมีการจาแนกเป็นรายกิจกรรมดังนี้ - การศึกษาขน้ั พื้นฐาน - การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ - การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ิต - การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน - กระบวนการเรยี นรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. สร้างและขยายภาคีเครือขา่ ยเพื่อการมสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม กศน. 3. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรม กศน.ในชุมชนของภาคเี ครอื ข่าย 4. จดั ทาระบบข้อมูลสถติ แิ ละสารสนเทศเกย่ี วกับประชากรกลมุ่ ป้าหมายและผลการจัดกจิ กรรม กศน. 5. จดั ทาแผนงานโครงการการศึกษานอกระบบและการ 6. ประสานและเชื่อมโยงการดาเนินงานการจัดการจดั กิจกรรม กศน.ของศนู ย์การเรียนชุมชนและ ภาคเี ครือข่ายในตาบล 7. พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในความรับผดิ ชอบ ตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 8.รายงานผลการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตอ่ กศน.อาเภอ 9.ปฏบิ ัตภิ ารกิจอ่นื ๆท่ไี ด้รบั มอบหมายจากหน่วยงาน กศน. การบรหิ ารจัดการ กศน.ตาบลบ้านปง ผอ.กศน.สูงเมน่ 1. นางสาวอรุณี พนั ธุพ์ าณิชย์ ครู 2. นางสาวศิริลักษณ์ มั่นเหมาะ ครอู าสาฯ 3. นางปรยี า เกษรมาลา ครู กศน.ตาบลบ้านปง 4. นางสาวธนสิ า ปราบปราม

เปา้ หมาย / ปรัชญาการจดั การเรียนการสอน เปา้ หมาย 1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มี ความสุข 2. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามสิทธิอย่างเท่าเทียม ท่ัวถึง และตรงตาม ศกั ยภาพ 3.จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาทางด้านกาย อารมณ์ สังคม สติ มีสุขภาพจิตท่ีดี เป็น มนุษยท์ ่สี มบรู ณ์ 4. ผู้เรยี นภาคภมู ใิ จ อนรุ ักษ์ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นและสิ่งแวดลอ้ มของตนเอง ปรัชญาการจดั การเรยี นการสอน การใหก้ ารศึกษาเพือ่ พฒั นาบุคลากรให้เปน็ ผู้มีคณุ ภาพ มศี ักยภาพ และสามารถใช้กระบวนการเรียนรู้ เพอื่ พฒั นาตนไดต้ ลอดชวี ิต การวิเคราะห์ SWOT ของศูนย์การเรยี นชมุ ชน 1.การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน 1.1จดุ แข็งของ กศน.ตาบล (Strengths – S) - ครู กศน.ตาบล ได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเน่อื งและตรงกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย - ครู กศน.ตาบล มคี วามรูค้ วามสามารถ มีมนษุ ย์สมั พนั ธ์ ในการปฏบิ ัตงิ านในพ้ืนท่ี การ ดาเนนิ งานสามารถทางานรว่ มกันภาคีเครือข่าย - ครูมีการพัฒนาศักยภาพตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือสรา้ งองค์ความรทู้ ่หี ลากหลาย และใช้ เทคนิคทีเ่ หมาะสมมาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นการสอน - การดาเนนิ งาน โครงการ มีการรว่ มมือกนั ระหว่าง องค์กร นศ. อาสาสมัคร กศน. - มนี กั ศึกษา ให้ความสนใจ และใช้บรกิ ารเปน็ กศน.ตาบล สมา่ เสมอ - มีอาสาสมคั ร กศน. ท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถ และมจี ติ อาสา - กศน.ตาบล มีการทาข้อตกลงร่วมกัน (MOU) เครอื ข่าย และมแี นวโนม้ จะเพม่ิ การทา MOU กับแหลง่ เรียนรอู้ ่นื ๆ เพิ่มเติม - กศน.ตาบล ตั้งอยู่ในท่ชี ุมชน สะดวกต่อการติดต่อ - กศน.ตาบล จดั กิจกรรมทห่ี ลากหลายท้งั สายสามญั สายอาชพี และอัธยาศัย อยา่ งทว่ั ถึงและเพียงพอต่อความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย - กศน.ตาบล มกี ารทางานเป็นทมี (กลุ่มโซน) ใหค้ วามร่วมมือชว่ ยเหลือสนับสนนุ ซง่ึ กันและ กนั - กศน.ตาบล เปน็ ท่ยี อมรบั ของสงั คม และเข้าถึงกล่มุ เปา้ หมายในเชงิ รกุ - กศน.ตาบล เต็มใจให้บริการด้วยความเสมอภาค - กศน.ตาบล ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณในการจัดกจิ กรรมอย่างต่อเน่ือง - กศน.ตาบล มีการจัดการเรยี นการสอนเน้นความ แตกต่างระหว่างบคุ คล ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล วทิ ยากร) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานที่ ส่อื วัสดุอุปกรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจัดการ ค่านยิ มองค์กร

1.2 จุดอ่อนของ กศน.ตาบล (Weaknesses – W) - นกั ศึกษามีการอพยพย้ายถิ่นฐานบ่อยครัง้ ทาใหม้ เี วลาพบกล่มุ ไม่เพียงพอ - นักศึกษาสว่ นใหญ่ทางาน จึงทากจิ กรรมพเิ ศษอ่ืนๆ รว่ มกบั ชมุ ชนไดไ้ ม่เตม็ ที่ - นักศกึ ษาสายอาชพี ส่วนใหญฝ่ กึ อบรมแลว้ ไมไ่ ดน้ าความรูไ้ ป ใช้ในการดาเนิน ชวี ติ ประจาวนั อยา่ งเตม็ ท่ี - กศน.ตาบล ขาดสื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย ในการปฏิบัตงิ าน - ความแตกต่างของกลมุ่ เป้าหมายทาใหจ้ ดั การเรยี นการสอนตอ่ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพไม่ทว่ั ถงึ - นักศึกษามาพบกลุม่ ไมส่ มา่ เสมอ ถา้ เป็นฤดูกาลการเกษตรจะมาเรยี นน้อยมาก - ครูคนเดยี วไม่สามารถสอนไดอ้ ย่างมีคุณภาพทกุ วิชา ดา้ นบุคลากร (ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล วทิ ยากร) ด้านงบประมาณ ดา้ นอาคาร สถานท่ี สอ่ื วัสดอุ ุปกรณ์ และด้านโครงสรา้ งองคก์ ร/การบริหารจัดการ คา่ นิยมองคก์ ร 2.การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities – O) - ชมุ ชนมแี หล่งเรียนรทู้ ีส่ ามารถศกึ ษาคน้ คว้าและพัฒนาได้ทกุ ๆ ด้านครอบคลุมทกุ พนื้ ที่ทาให้ ผ้รู บั บรกิ ารได้ศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง - ประชาชนตอ้ งการไดร้ ับการศึกษาเพิ่มขนึ้ - ไดร้ ับความร่วมมือจากภาคีเครอื ข่าย องค์กรท้องถนิ่ ประชาชนในชุมชนในดา้ นการจัด การศกึ ษา - ชมุ ชนมกี ารสง่ เสรมิ การท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ การท่องเที่ยวเชิงอนรุ ักษ์ของจงั หวัด - ชุมชนส่งเสริมการดาเนนิ ชวี ิตตามแนวพระราชดาริเศรษฐกจิ แบบพอเพียง - ชมุ ชนมแี หล่งทนุ ทางสงั คมอย่างเพียงพอ ทเ่ี อื้อต่อการประกอบอาชีพทางการเกษตร - ชมุ ชนมที ี่ตง้ั อยตู่ ามแนวภูเขา ทาให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรได้ หลากหลายเนือ่ งจากมีแหล่งทุนทางธรรมชาตทิ ่ีเพียงพอและเหมาะสม - ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีความสามัคคสี ามารถทางานร่วมกันได้ ไม่มกี ารแบ่งพรรค แบง่ พวก ทาให้ชมุ ชนสามารถพฒั นาได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง 2.2 อุปสรรค/ความเสี่ยง (Threats – T) - ชมุ ชนมีสภาพสงั คมเปลี่ยนไปทาใหว้ ถิ ชี ีวติ และพฤติกรรมของประชาชนเปลย่ี นแปลงไป ส่งผลกระทบต่อปัญหาสงั คมของตาบล เชน่ ปญั หาอบายมุข ปญั หายาเสพตดิ - ชมุ ชนมีปัญหาจากภัยธรรมชาติ เช่น ปัญหาอุทกภัยและภัยแลง้ - ชมุ ชนมปี ัญหาทางด้านสุขภาพจากการประกอบอาชีพทางการเกษตร เนอื่ งจากการได้รับ ผลกระทบจากการใชส้ ารเคมี

แนวทาง/กลยุทธก์ ารดาเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของกศน.ตาบล แนวทางการพฒั นากศน.ตาบล กศน.ตาบลบ้านปงโดยครู ผู้เรียน คณะกรรมการ กศน.ตาบล อาสาสมัครกศน.และประชาชนใน พื้นท่ีตาบลบ้านปง มีสว่ นรว่ มในการกาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์/จุดเด่นการดาเนินงาน พันธกิจและเป้าประสงค์ ภายใต้กรอบปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของกศน.อาเภอ โดยมีกล ยุทธ์การดาเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและอัธยาศัย ภายใต้โครงการ/กิจกรรม ท่ีสอดคล้องกับข้อมูล สภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและข้อมูลผลการประเมินตนเองในรอบปีที่ผ่านมา ไปใช้ใน การจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเพอ่ื เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติงานการพัฒนา คณุ ภาพการจดั การศึกษาในพ้นื ท่ตี าบลบา้ นปงให้มปี ระสิทธภิ าพโดยมีทิศทางการพัฒนาดงั นี้ ทศิ ทางการดาเนินงานของชุมชน/กศน.ตาบล 1. ปรัชญา (Philosophy) “ขยายโอกาสทางการศึกษา พฒั นาอาชีพใหเ้ ข้มแข็ง” 2. วิสยั ทศั น์ (Vision) กศน.ตาบลบ้านปง มุ่งเน้นให้ประชาชน ตาบลบา้ นปงไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งทัว่ ถงึ และมี คณุ ภาพ 3. พนั ธกิจ (Mission) 1.จดั และส่งเสรมิ การศึกษาใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมายด้วยรปู แบบทีห่ ลากหลายอย่างมคี ุณภาพ 2.สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของภาคเี ครือข่ายในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพือ่ ส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ และจดั การศึกษาเพื่อการมีงานทาโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.เป้าประสงค์และตัวช้วี ัดความสาเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ 1. ประชากรวัยแรงงานตาบลบ้านปงทมี่ ีอายุ 15- 1. จานวนรอ้ ยละ 60 ของประชากรวัยแรงงาน 39 ปี ไดร้ บั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานอยา่ งหลากหลาย อายุ 15-59 ปี เข้ารบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 2. ประชากรวัยแรงงาน อายุ 40-59 ปีได้รับ 2. จานวนร้อยละ 40 ของประชากรวยั แรงงาน การศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง อายุ 40-59 ปี ได้รับการศึกษาต่อเน่ือง 3. ประชาชนตาบลบา้ นปงมกี ารนาเทคโนโลยีท่ี 3. ผูร้ บั บรกิ ารกิจกรรม กศน.ตาบลบา้ นปงมคี วาม หลากหลายมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ พึงพอใจ อยใู่ นระดับดี 4. ประชาชนตาบลบา้ นปงมีการนาหลักเศรษฐกิจ 4. การมสี ่วนรว่ มของภาคีเครือข่ายในการจดั พอเพยี งมาใชใ้ นการประกอบอาชพี กจิ กรรมกศน.ตาบลบา้ นปง เพิม่ มากขึน้ 5. การมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครอื ขา่ ย ในการจดั กิจกรรม 5. บุคลากร มคี วามรู้ ความสาสารถในการปฏิบตั ิงาน กศน.ตาบลบา้ นปง ให้กบั กลุม่ เป้าหมายอยา่ งทว่ั ถึง ร่วมของภาคีเครอื ข่าย เพ่มิ มากข้นึ

5.ยุทธศาสตรก์ ารดาเนินงาน 1. จาแนกกลมุ่ เป้าหมายให้ชดั เจน และการจัดกิจกรรมทห่ี ลากหลาย ใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย 2. การจัดการความรแู้ ละแหล่งเรยี นรู้เพอื่ บริการใหผ้ ู้เรียนมีโอกาสเข้าถงึ แหลง่ เรียนรู้ได้สะดวกและ นาไปใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ได้ 3. ส่งเสริมให้ กศน.ตาบล เป็นศนู ย์กลางของการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ 4. บริหารจัดการที่มุ่งเน้นการส่งเสรมิ ประสานงาน และอานวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชนให้มาก ทสี่ ดุ 5. ส่งเสรมิ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัย การฝึกอบรม และการเรยี นรตู้ ่างๆ อย่างเหมาะสมและท่วั ถึง จดุ เน้นจุดเดน่ การทางานของ กศน.ตาบล กลยทุ ธท์ ี่ 1 1.ลุยถึงทเี่ ขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมาย หลกั การ ทางานโดยใหบ้ ริการถงึ ท่ี ให้เข้าถงึ กลมุ่ เปา้ หมายประชาชนนอกระบบในตาบลบา้ นปงอย่างทว่ั ถึง ครอบคลุมทุกชมุ ชน โดยรูปแบบวธิ ีการดาเนินงานดงั น้ี 1.1 การดาเนินการประชาสัมพันธง์ านการศกึ ษานอกระบบ เพือ่ ให้เข้าใจงาน โดยการประชาสมั พนั ธ์ เสียงตามสาย จดั เวทชี าวบา้ น โดยกลมุ่ นักศึกษา ข้ันพื้นฐาน / นกั ศกึ ษาสายอาชีพ / นักศึกษาการศึกษาตาม อธั ยาศัย 1.2 การดาเนนิ การทาความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ยในชุมชน(MOU) โดยครกู ศน.ตาบล ปฏิบตั หิ น้าท่เี ตม็ รูปแบบในพื้นท่ี 1.3 สรา้ งความคนุ้ เคยกบั ชมุ ชน ทุกชุมชนในพืน้ ที่อาเภอสูงเม่น โดยการรว่ มกิจกรรมทุกรปู แบบใน ชมุ ชน เชน่ งานมงคล งานอวมงคล งานประเพณีต่างๆ ในชุมชน 1.4 การดาเนินกจิ กรรมในลักษณะ เนน้ กลมุ่ เป้าหมายผนู้ าชุมชนในระดบั หม่บู ้าน ตาบล เช่น กานัน ผู้ใหญบ่ า้ น ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข ตารวจบา้ น สมาชกิ องค์การบริหารส่วนตาบล อาสาสมคั ร ปอ้ งกันฝา่ ยพลเรอื น 2.จัดกจิ กรรมหลากหลายโดนใจผเู้ รียน หลกั การ จัดการศกึ ษา โดยพฒั นาผเู้ รยี นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ อยา่ งต่อเนื่องโดยใชร้ ปู แบบวธิ ดี าเนินการ ดงั น้ี 2.1 จดั กจิ กรรมให้สอดคล้องกับวิถชี ีวิตในชุมชน โดยสอดคลอ้ งกับสภาพและชีวติ ของผู้เรียน เชน่ การจดั กระบวนการเรยี นร้กู ารทาเกษตรชีวภาพ การจดั กระบวนการเรยี นร้กู ารจดั การศัตรพู ชื โดยวธิ ีผสมผสาน (IPM) สาหรับเกษตรกรท่ีทาการเกษตร 2.2 จัดกิจกรรมหลากหลายวธิ กี ารเรียนรู้ เช่น เรยี นแบบพบกล่มุ ศึกษาจากแหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน / ภมู ปิ ัญญาในท้องถิน่ มีผู้อานวยความสะดวกจดั การเรียนรรู้ ายบคุ คล / แนะแนวอยา่ งสม่าเสมอ 2.3 วดั และประเมนิ ผล โดยการประเมินทหี่ ลากหลายวธิ ี ตามความเหมาะสม เช่น การปฏบิ ตั ติ าม สภาพจริง การสัมภาษณ์ การสังเกต ทดสอบ เปน็ ตน้

3.ขยายแหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยี หลกั การ ส่งเสริมโอกาสการเรียนรู้ในด้านสื่อ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ สู่ประชาชนนอกระบบในอาเภอสูงเมน่ โดยเนน้ ให้มแี หล่งเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย โดยใช้รปู แบบวธิ กี ารดาเนินงานดังนี้ 3.1 จัดกิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้มีชีวิต เช่น ศนู ย์การเรียนชุมชน ห้องสมุดประชาชน แหล่งการเรียนรูอ้ ื่นๆ 3.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบการมสี ่วนรว่ ม เช่น นทิ รรศการแบบการจาลอง การสาธติ ค่ายทกั ษะชีวติ จงั หวัดเคลือ่ นที่ ทศั นศึกษาดูงาน 3.3 สง่ เสริมสนบั สนุน ให้มีแหล่งการเรยี นรู้ในชมุ ชน โดยการประสานงานรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย เป้าประสงค์และตัวช้ีวัดความสาเร็จ เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ 1. ประชากรวยั แรงงานท่ีมีอายุ 15-39 ปีในตาบลบา้ น 1. จานวนรอ้ ยละ 60 ของประชากรวัยแรงงาน อายุ ปง อาเภอสูงเมน่ จังหวัดแพร่ ไดร้ ับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 15-59 ปี เข้ารับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน อย่างหลากหลาย 2. ประชากรวัยแรงงาน อายุ 40-59 ปไี ดร้ บั การศกึ ษา 2. จานวนร้อยละ 60 ของประชากรวยั แรงงาน อายุ อย่างต่อเนอ่ื งเพ่ิมมากข้ึน 40-59 ปี ได้รับการศกึ ษาต่อเนื่อง 3.ประชาชนนอกระบบในอาเภอสงู เม่นมกี ารนา 3. ผู้รับบริการกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา เทคโนโลยีทีห่ ลากหลายมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ตามอธั ยาศัยมีความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั ดี 4. ประชาชนนอกระบบในอาเภอสงู เม่น มกี ารนาหลกั 4. เศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการประกอบอาชีพ 5. พัฒนาการมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครือข่าย ในการจัด 5. รอ้ ยละ 80 ของบุคลากร มีความรู้ ความสามารถใน กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั การปฏบิ ตั งิ านการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม ให้กบั กลมุ่ เป้าหมายอย่างทั่วถึง อัธยาศัยเพิ่มมากขน้ึ 6. พฒั นาระบบงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา จานวนรอ้ ยละ 60 การมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือขา่ ยใน ตามอัธยาศยั ใหม้ คี ุณภาพ บริการประชาชนได้อย่าง การจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม ทัว่ ถึง อธั ยาศัยเพ่ิมมากข้นึ

5 4 7 1.วัดปงท่าข้าม 2.โรงเรียนบา้ น 3.อบต.ตาบลบ 6 4.สถานีอนามยั 5.โรงเรียนบา้ น 6.วดั พงหวั หาด 7.กศน.ตาบลบ

3 2 ม 1 นปงทา่ ข้าม บา้ นปง ย ต.บ้านปง นปงหวั หาด ด บ้านปง

2. ข้อมูลท่ัวไปขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบ้านปง ประวัตคิ วามเปน็ มา เม่ือประมาณ ปี พ.ศ. 2400 ที่ดินบริเวณฝ่ังขวาของลาน้ายมเป็นที่ดินท่ีอุดม สมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธ์ุและป่าไม้นานาชนิด จึงมีประชาชนอพยพมาทาไร่ทาสวนในฝ่ังขวา ของลานา้ ยม สว่ นมากมาจาก ตาบลร่องกาศ ตาบลพระหลวง ตาบลดอนมูล และอาเภอลับ แล จังหวัดอุตรดิตถ์ ตลอดจนยังมีเผ่าเง้ียวจากอาเภอเมืองแพร่ได้อพยพมาทาไร่และสร้าง กระท่อมเล็กๆอยู่ เมื่ออยู่ไปนานๆจึงได้จัดต้ังหมู่บ้านข้ึน ช่ือว่าบ้านปง คาว่าปง หมายถึง พ้ืนดนิ ท่ีอดุ มสมบรู ณไ์ ปด้วยธาตอุ าหาร เมือ่ มีคนอพยพมามากขึน้ จึง ได้จัดต้ังหมู่บ้านข้ึนใหม่ จานวน 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านปงท่าข้าม หมู่ท่ี 2 บ้านปงท่าข้าม จากน้ัน ประชาชน ท้ัง 2 หมู่บ้าน ได้ร่วมกันสร้างวัด ชื่อ วัดสีม่วงค้าว่ึงปัจจุบันเรียกว่า วัดพงท่าข้าม ต่อมาได้ แยกหมู่บ้านจากหมู่ที่ 2 เป็นหมู่ที่ 3 บ้านปงหัวหาด ซึ่งมีประชาชนมาจากตาบลน้าชา อพยพมาอยู่ด้วย และได้ร่วมกันสร้างวัด ชื่อว่า วัดพงหัวหาด จากน้ันก็แยกหมู่บ้าน จากหมู่ ที่ 3 เป็นหมู่ท่ี 4 บ้านหาดเจริญ ต่อมาเมื่อปี 2541 ได้แยกหมู่บ้านจากหมู่ที่ 2 เป็นหมู่ท่ี 5 บ้านปงท่าข้ามและหมู่ที่ 4 เป็นหมู่ท่ี 6 บ้านปง หาดเจริญ เพ่ือสะดวกในการปกครอง ทอ้ งท่ี ปจั จบุ ันตาบลบ้านปงมีทัง้ หมด 6 หมบู่ ้าน สภาพทั่วไป/ข้อมลู พื้นฐาน ทต่ี งั้ ตาบลบา้ นปงอยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอสูงเมน่ ทางทศิ ตะวันตกประมาณ 6 กิโลเมตร อยู่ ห่างจากจังหวดั ทางทิศใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร เน้ือท่ี เนือ้ ที่ทั้งหมดของตาบลบ้านปง โดยประมาณ 60.097 ตารางกิโลเมตร หรือ 37,561 ไร่ ภมู ปิ ระเทศ ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่ของตาบลบ้านปง เป็นท่ีราบลุ่มติดแม่น้ายมซึ่งแบ่งเขต ระหว่างตาบลบ้านปงกับตาบลสูงเม่นทางทิศตะวันออกของตาบลเป็นแหล่งท่ีต้ังของชุมชน และหมู่บ้านตลอดแนวลาน้ายมส่วน พ้ืนท่ีทางทิศตะวันตกของหมู่บ้านไปจนถึงคลองส่งน้า ชลประทานมีลักษณะเป็นท่ีราบโดยพ้ืนที่ดังกล่าว เป็นพื้นที่ทางการเกษตร และทิศตะวันตก ของตาบลตั้งแต่คลองส่งน้าชลประทาน จนถึงเขตติดต่อระหว่าง ตาบลบ้านปง และตาบลต้า ผามอก อาเภอลองเป็นท่ีลาดเชิงเขาเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่แย้-แม่สาง มีป่าไม้ ธรรมชาติปกคลมุ เชน่ ปา่ เบญจพรรณ ซ่ึงเปน็ แหล่งต้นน้าลาธารที่สาคญั ของตาบลบา้ นปง จานวนหมูบ่ ้าน หมู่ที่ 1 บ้านปงท่าข้าม หมทู่ ี่ 2 บ้านปงท่าข้าม หมทู่ ่ี 3 บ้านปงหวั หาด หมูท่ ่ี 4 บ้านหาดเจริญ หมู่ที่ 5 บา้ นปงทา่ ข้าม หมูท่ ่ี 6 บา้ นปงหาดเจรญิ

อาณาเขตของตาบลบา้ นปง ติดต่อกับบ้านหาดลี่ ตาบลสบสาย อาเภอสูงเมน่ ทิศเหนอื ติดต่อกับบา้ นปา่ หวาย ตาบลปงปา่ หวาย อาเภอเดน่ ชยั ทิศใต้ ตดิ ต่อกับแมน่ า้ ยม และ ตาบลสงู เม่น ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับตาบลตา้ ผามอก อาเภอลอง ทิศตะวนั ตก จานวนประชากร - ประชากรทั้งหมด 5,080 คน ชาย 2,529 คน หญงิ 2,551 คน - จานวนหลังคาเรือนทั้งหมดในเขตพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบ 1,595 หลัง จานวนประชากรตาบลบ้านปงแยกตามเพศ จานวนครัวเรอื น (ครวั เรอื น จานวนประชากร (คน) ครวั เรอื น ครัวเรอื น ร้อยละ ท้งั หมด เกษตรกร หมู่ที่ ชอื่ หมบู่ ้าน รวม ชาย หญงิ 403 209 52.91 1 บ้านปง 1,245 608 637 308 145 128.32 2 ปงทา่ ขา้ ม 905 462 443 251 132 54.77 3 ปงหวั หาด 765 383 382 180 109 65.27 4 ปงเจริญ 600 299 301 301 203 70.00 5 ปงท่าข้าม 988 492 496 152 118 79.73 6 หาดเจริญ 577 285 292 1,595 916 67.65 5,080 2,529 2,551 รวม 6 หมู่ จานวนประชากรตาบลบ้านปงแยกตามชว่ งอายุ ชว่ งอายุ ชาย หญงิ รวม (คน) (คน) (คน) นอ้ ยกวา่ 5 ปี 5 – 9 ปี 103 86 189 10 – 14 ปี 158 155 313 15 – 19 ปี 207 173 380 20 – 24 ปี 216 203 419 25 – 29 ปี 192 187 379 30 – 34 ปี 169 195 364 35 – 39 ปี 211 215 426 40 – 44 ปี 257 247 504 45 – 49 ปี 287 287 574 50 – 54 ปี 229 250 479 55 – 59 ปี 193 177 370 122 120 242 ต้งั แต่ 60 ปขี ้ึนไป 286 303 589 รวมทั้งหมด 2,542 2,534 5,076

ดา้ นโครงสรา้ งพ้นื ฐาน เส้นทางการคมนาคม การเดินทางเข้าส่ตู าบล : - เดนิ ทางมาตาบล โดยรถยนต/์ จักรยานยนต์ ส่วนตัว - ถนนคอนกรีตท้ังตาบล เสน้ ทางตดิ ต่อกบั อาเภอ 1 เสน้ ทาง ถนนคอนกรีต - ระยะทางจากอาเภอถึงตาบล การคมนาคม การจราจร ถนนคอนกรตี 49 สาย) - ถนน 89 สาย (ถนนลูกรัง 46 สาย ถนนลาดยาง 2 สาย - สะพาน 8 แห่ง - สะพานลอยคนข้าม 0 แห่ง - แมน่ ้า 1 แห่ง คลองท่เี ป็นทางสัญจรทางนา้ 0 แหง่ การคมนาคม 1. การคมนาคมระหวา่ งตาบล ใชเ้ สน้ ทางถนนในการเดนิ ทาง และขนส่ง มีเสน้ ทางหลักท่ี สาคญั จานวน 2 สาย คอื ถนน รพช. พร 3016 (บา้ นสุพรรณ – บา้ นทงุ่ ) และถนนคอนกรีต (บ้านโตนใต้ – บา้ นสงู เมน่ ) การใหบ้ รกิ ารรถโดยสารและขนสง่ ผลผลิตการเกษตร มรี ถสองแถว ประจาทางจาก ตาบลบา้ นปง ไปอาเภอสงู เมน่ อัตราค่าโดยสาร คนละ 10 บาท โดยวิง่ วนั ละ 4 เที่ยว และจากตาบลบ้านปง ไปอาเภอเมืองแพร่ อตั ราคา่ โดยสาร คนละ 20 บาท โดยวง่ิ วนั ละ 1 เทย่ี ว 2. การตดิ ตอ่ ระหวา่ งหมูบ่ า้ นในตาบล เสน้ ทางคมนาคมสว่ ยใหญ่เปน็ ถนนลาดยาง ถนน คอนกรีต และมีบางส่วนเปน็ ถนนลูกรงั ส่วนการตดิ ตอ่ ระหว่างหมู่บ้านมี รถสองแถวประจาทาง รถยนต์สว่ นตัวบุคคล รถจกั รยานยนต์และรถจักรยาน สามารถติดตอ่ กัน ทวั่ ทุกหมบู่ า้ น การโทรคมนาคม สื่อสาร 1) โทรศัพทส์ ว่ นบุคคล 416 เลขหมาย 2) โทรศพั ท์สาธารณะ 6 แห่ง 3) จานวนชมุ สายโทรศพั ทใ์ นเขตพ้ืนที่ 1 แห่ง 4) จานวนหอกระจายข่าว 7 แหง่ 5) ตู้ไปรษณยี ์ 2 แหง่ การประปา 1) จานวนครัวเรอื นทใี่ ช้ประปา 1,560 ครวั เรอื น 2) ประปาหมู่บ้าน 4 แห่ง 3) น้าประปาที่ผลิต 60 ลบ.ม. / วนั 4) นา้ ประปาที่ใช้ 47 ลบ.ม. / วัน 5) แหลง่ น้าดิบที่ใช้ผลติ นา้ ประปา 4 แห่ง 6) แหล่งนา้ ดิบสารอง 1 แหง่

การไฟฟ้า 1) จานวนครวั เรือนท่ใี ชไ้ ฟฟ้า 1,572 ครัวเรอื น 2) พื้นทีไ่ ด้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ 100 ของพ้ืนท่ีทัง้ หมด 3) ไฟฟา้ สาธารณะ (ไฟฟ้าแสงสวา่ ง) จานวน 205 จดุ 4) ครอบคลุมถนน 26 สาย ลกั ษณะการใชท้ ดี่ นิ 1) พื้นที่พักอาศยั 528 ไร่ 2) พ้ืนท่พี าณชิ ยกรรม 8 ไร่ 3) พนื้ ทห่ี นว่ ยงานราชการ 11 ไร่ 4) สว่ นสาธารณะ / นันทนาการ 6 ไร่ 5) พนื้ ทเ่ี กษตรกรรม 8,756 ไร่ 6) พนื้ ท่ตี งั้ สถานศึกษา 8 ไร่ 7) พื้นที่วา่ ง - ไร่ แหล่งนา้ (6) บอ่ นา้ ตื้น - แหง่ 1) แหลง่ น้าธรรมชาติ (7) ประปาหมบู่ ้าน 4 แห่ง (1) ลาน้า,ลาห้วย7 แห่ง (8) ถงั เกบ็ น้าฝน 7 แห่ง (2) หนอง,บึงและอ่นื ๆ - แห่ง (9) สถานสี บู นา้ พลงั งานไฟฟ้า 1 แห่ง 2) แหล่งนา้ ที่สร้างขึน้ (10) คลองชลประทาน 1 แหง่ (1) ฝาย 3 แห่ง (2) บ่อโยก - แห่ง (3) บอ่ นา้ บาดาล 7 แหง่ (4) อา่ งเก็บน้า 1 แห่ง (5) สระน้า 1 แหง่ 3) การระบายน้า 1) พืน้ ทนี่ า้ ท่วมถึง คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ของพน้ื ทีท่ ั้งหมด 2) ระยะเวลาเฉลี่ยที่นา้ ทว่ มขังนานทีส่ ดุ 2 วัน ประมาณช่วงเดอื น สิงหาคม 3) เครอื่ งสบู นา้ 2 เครอ่ื ง 4) นา้ เสยี 1) ปรมิ าณน้าเสยี - ลบ.ม./วนั 2) ระบบบาบดั น้าเสยี ที่ใช้ - รวม - แห่ง 3) น้าเสียท่ีบาบัดได้ - ลบ.ม./วนั 4) ค่า BOD.ในแมน่ า้ ยม 2.6 มลิ ลกิ รมั /ลติ ร ขยะ 1) ปริมาณขยะ 2 ตนั /วัน 2) รถยนต์ท่ีใชจ้ ดั เกบ็ ขยะ จานวน - คนั ขนาดความจุรวม - ลบ.ม. 3) กาจดั ขยะโดยเอกชนมารับจ้างเก็บขยะในตาบล 4) ทด่ี นิ สาหรบั กาจดั ขยะ จานวน - ไร่

ด้านเศรษฐกจิ 1) รายได้ / ประชากร รายได้เฉลย่ี ของประชากร 23,000 บาท/คน/ปี 2) เกษตรกรรม 1,245 ครวั เรือน 3) มูลคา่ ผลผลิตทางการเกษตร 27,262,000 บาท 4) พาณชิ ยการ และบริการ ดา้ นสงั คม ศาสนา 1) ผ้นู ับถือศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 99 ของจานวนประชากรทง้ั หมด 2) วดั จานวน 2 วัด 3) ผนู้ บั ถอื ศาสนาอิสลาม ร้อยละ - ของจานวนประชากรทง้ั หมด 4) มสั ยิด จานวน - แหง่ 5) ผ้นู บั ถอื ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 1 ของจานวนประชากรท้งั หมด 6) โบสถ์ จานวน 2 แห่ง 7) ผนู้ บั ถอื ศาสนาอ่ืน ๆ รอ้ ยละ - ของจานวนประชากรท้ังหมด 8) ผทู้ ีไ่ มน่ ับถือศาสนาใดเลย รอ้ ยละ - ของจานวนประชากรทั้งหมด วัฒนธรรมและประเพณี - ประเพณีสืบชะตา - เป็นวิธีกรรมที่จะทาข้ึนเมื่อมีเคราะห์ อาจจะเป็นราย บุคคลรายกลุ่มหรือสืบ ชะตาบ้านเมือง แม่น้า ต้นไม้ วัว ควายหรือสัตว์เลี้ยงท่ีอานวยประโยชน์ต่อการดารงชีวิตเพ่ือช่วยต่อชีวิตให้ยืด ยาวพ้นจากความเดอื ดรอ้ นและภัยพบิ ตั ติ า่ งๆ - ประเพณตี านตุงแดง- เปน็ พิธีกรรมท่ีทาให้แก่คนตายโหง เพอ่ื อุทิศสว่ นกศุ ลให้กบั คนตายโดยจัดทาตุง (ธงแดง)พรอ้ มอาหารเครื่องเสน้ สรวง กองทราย ตุงช่อ ไกข่ าว แลว้ นมิ นต์ พระมาสวดทาพธิ ี ณ.บริเวณท่ีคนตาย เปน็ การถอนวญิ ญาณใหไ้ ปเกดิ ใหมห่ รอื ไปเสียจากบรเิ วณนน้ั - ประเพณีก๋ินสลาก- หรือถวายสลากภัตรหรือตานก๋วยสลากเป็นประเพณีให้ ทานตามกาลเวลาที่ กาหนดไม่เจาะจงว่าจะให้แก่พระสงฆ์องค์ใด จัดขึ้นในช่วงขึ้น 15 ค่าเดือน 12 เหนือ ถึงวันข้ึน 15 ค่าเดือน เกีย๋ ง(กนั ยายน-พฤศจกิ ายน) - พิธีสงเคราะห์ เป็นพิธีกรรมท่ีเกิดขึ้นจากความเช่ือที่ว่าคนเราอยู่ภายใต้อิทธิพลของดาวนพเคราะห์ เมื่อมเี คราะห์รา้ ยหรอื บาดเจบ็ จึงต้องทาพิธบี วงสรวงเทพเจา้ ประจาดาวนพเคราะห์ดวง - พธิ บี ูชาเทยี น หรอื ปูจาเตียน เป็นพธิ กี รรมเกย่ี วกบั การสงเคราะหอ์ ยา่ งหน่ึง ทาโดยการนาเทียนข้ีผ้ึง แท้ 3 เล่ม ไส้เทียนทาด้วยด้ายสีขาว จานวนเส้นด้ายเท่ากับอายุของผู้บูชาเทียน ให้พระเป็นผู้ทาพิธีจุด เทียนหนา้ พระพุทธรปู ทีว่ ัดหรอื ที่บ้าน เพอ่ื ใหเ้ กิดโชคลาภแกผ่ ู้บูชา - พิธีฮอ้ งขวญั หรือสู่ขวัญ เปน็ พิธีกรรมที่ทาให้กับคนท่ีฟ้ืนไข้ใหม่ ๆ โดยมีหมอขวัญทาพิธีทาพิธีให้มี เคร่ืองประกอบพิธี เช่น หมาก เทียน ผ้าขาว ผ้าแดง ข้าวสาร เงินบาท เหรียญบาท อาหารคาวหวาน เส้ือผ้าของผู้ป่วย และ ไข่ต้ม นอกจากนี้ยังอาจจะทาเพ่ือเรียก ขวัญข้าว ขวัญวัว ขวัญควาย ขวัญช้าง ขวัญนาค - พธิ ีเล้ยี งผีป่ผู ีย่า เปน็ พิธเี ซ่นไหว้บรรพบุรุษ หรือผีประจาตระกูล เพ่ือคอยปกปักรักษาลูกหลานให้ อยเู่ ปน็ สขุ มักทาเป็นประจาทุกปี เปน็ เวลา 1 วัน ราวเดือน 5 หรอื เดอื น 6 เหนอื โดยเชิญผีปู่ย่ามาเข้า

ร่างคนทรง ใหล้ กู หลานมากราบไว้ขอพร และเลี้ยงอาหาร ในพิธีจะมีดนตรีพื้นเมืองมาบรรเลง เช่น วงสะล้อ ซอซงึ - ประเพณปี ใี๋ หมเ่ มอื ง เป็นประเพณสี งกรานต์ ระหว่างวันท่ี 3 – 17 เมษายน ของทุกปี มีกิจกรรม ในแต่ละวนั คอื (1) วันที่ 13 เมษายน เรียกว่าวันสังขารล่อง ตอนเช้ามืดจะมีการจิสะโป้ก ( จุดพลุเสียงซึ่งทาด้วย ปล้องไม้ไผ่ ) เพ่ือไล่สังขาร ช่วงกลางวันจะทาความสะอาดร่างกายสระผม ซักเส้ือผ้าทาความสะอาดบ้านเรือน และทาพธิ ขี อขมา ไหวธ้ รณีประตู หมอ้ ขา้ ว เตาไฟ ฯ ล ฯ ในบา้ นของตน (2) วนั ท่ี 14 เมษายน เรียกว่าวันเนาว์ เป็นวันทาบุญตักบาตรท่ีวัด และอุทิศส่วนกุศลไปให้บรรพ บุรุษ (ภาษาถ่ินเรียกว่า ไปตานสะป้อก) ตอนบ่ายขนทรายเข้าวัดในวันน้ีห้ามกล่าวคาหยาบหรือคาที่ไม่เป็น มงคล (3) วันที่ 15 เมษายน เรียกว่าพญาวัน ตอนเช้าไปทาบุญท่ีวัด ตอนสายทาพิธีดาหัวญาติผู้ใหญ่ ตอนบ่ายสรงนา้ พระที่วดั (4) วันที่ 16 เมษายน เรียกว่าวันปากปี เป็นวันเริ่มต้นปีใหม่มีการทาพิธีสะเดาะ-เคราะห์ และสืบ ชะตากันทว่ี ดั (5) วนั ที่ 16 เมษายน เรียกว่าวนั ปากเดอื น ถือเปน็ วันเสร็จส้ินภารกจิ จงึ มกี ารฉลองปีใหม่กันอย่าง สนุกสนานคร้นื เครง มีขบวนแหแ่ ละการละเลน่ พืน้ เมอื งตา่ ง ๆ - ประเพณีลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ภาษาถิ่นเรียกว่า ประเพณียี่เป็ง ช่วงเช้ามี การ ทาบุญตักบาตรและปล่อยโคมลอย ฟังเทศน์ทานองพ้ืนเมือง 16 กัณฑ์ คือ เทศน์มหาชาติ13 กัณฑ์ เทศน์พระมาลัยต้น 1 กัณฑ์ เทศน์พระมาลัยปราย 1 กัณฑ์ และเทศน์อานิสงส์ผางประทีป 1กัณฑ์ จบ ภายใน 1 วนั และมกี ารจดุ ดอกไมเ้ พลิง (บอกไฟดอก) ถวายเป็นพทุ ธบูชาด้วย การคืนมีการลอยกระทง ซ่ึง เช่ือว่าเป็นการสะเดาะเคราะห์วิธีหนึ่ง โดยอธิษฐานก่อนปล่อยกระทงลงน้าว่า “ ขอให้เคราะห์ร้ายท้ังหลาย จงดบั ไปกับไฟ ไหลไปกบั น้า” - ประเพณีเข้าพรรษา ต้ังแต่วันแรม 1 ค่า เดือน 10 เหนือ ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่า เดือนเก๋ียง เหนือ ( เดือน 11 ภาคกลาง ) ชาวบ้านท้ังหลายจะพากันไปทานขันข้าวหาคนตาย รวมทั้งการทานแด่พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ที่ยังมีชีวิตอยู่ และใส่บาตร รับศีล ตอนกลางคืนมีการถวายเทียนพรรษา ก่อนจะถึงวัน หรือเวลา ถวายเทียน มกั จะมีการแห่เทียนพรรษาไปตามหมู่บ้านเป็นที่สนุกสนาน ในช่วงเข้าพรรษาชาวบ้านส่วนใหญ่จะ ไปทาบญุ กนั ทกุ วันพระ มกี ารฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม สาหรับคนทั่วไปบางคนตั้งใจในการงดเว้นบาป และถือศีล เช่น รักษาศลี ตลอดพรรษา งดเวน้ ดมื่ สุรา งดเวน้ เนอ้ื สัตวต์ ลอดพรรษา - ประเพณีออกพรรษา ตรงกับ วันขึ้น 15 ค่า เดือนเกี๋ยง ( เดือน 11 ภาคกลาง ) ก่อนวันออก พรรษาหน่ึง วันซึ่งตรงกับวันอาสาฬหบูชา ชาวบ้านจะมีการทาอาหาร ขนม เพ่ือนาไปทาบุญใสบาตรเทโว ใน วันน้พี ระสงฆ์จะทาพธิ ที างศาสนาในพระอุโบสถตอนรุ่งอรุณ หมู่พระสงฆ์จะเดินออกมาจากพระอุโบสถระหว่าง ที่พระสงฆ์เดินเรียงมานี้ ชาวบ้านผู้ทาบุญก็จะทาพิธีใส่บาตรด้วยข้าวสุกบ้าง ข้าวต้มบ้าง ขนมท่ีเตรียมไว้บ้าง ซึง่ ปัจจุบันนิยมใส่ด้วยขา้ วสารอาหารแห้ง พอสาย ๆ ชาวบ้านจะทาบุญที่เรียกว่า ทานขันข้าว ให้กับญาติที่ตาย ไป

การศกึ ษา สถาบันการศึกษาในเขตตาบลบ้านปง แยกตามระดับการศึกษา 1) โรงเรยี นประถมศกึ ษา 2 แหง่ คอื (1) โรงเรียนบ้านปงทา่ ข้าม ครู 22 คน นักเรยี น 221 คน ชาย 111 คน หญิง 110 คน (2) โรงเรยี นบา้ นปงหวั หาด ครู 10 คน นกั เรียน 76 คน ชาย 39 คน หญงิ 37 คน 2) ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ 2 แหง่ คอื (1) ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นปงทา่ ขา้ ม ผูด้ ูแลเดก็ 3 คน เด็กเล็ก 49 คน (2) ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นปงหัวหาด ผู้ดูแลเด็ก 2 คน เดก็ เล็ก 40 คน 3) การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน 1 แห่ง คือ (1) ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนตาบลบ้านปง ครู 1 คน นักเรยี น 74 คน กฬี า นันทนาการ/พักผอ่ น 1) สนามกีฬาเอนกประสงค์ จานวน - แห่ง 2) สนามฟตุ บอล จานวน 1 สนาม 3) สนามบาสเกตบอล จานวน 1 สนาม 4) สนามตะกร้อ จานวน 1 สนาม 5) สนามวอลเลบ่ อล จานวน 1 สนาม 6) สนามเดก็ เล่น จานวน 2 แห่ง 7) ศูนยก์ ฬี าตาบล จานวน 1 แหง่ การสาธารณสขุ 1) ศูนยบ์ ริการสาธารณสุข จานวน 1 แหง่ 2) บคุ ลากรทางการแพทย์ (1) พยาบาล จานวน 1 คน (2) เจ้าพนกั งานสาธารณสขุ ชุมชน จานวน 1 คน (3) เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารงานสาธารณสขุ จานวน 1 คน (4) เจา้ หน้าท่ีวิชาการสาธารณสขุ จานวน 1 คน (5) อสม. จานวน 100 คน 3) ผ้เู ขา้ รับการรักษาในสถานพยาบาลสังกดั (จานวนต่อปี) (1) ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ จานวน 4,610 คน 4) สาเหตกุ ารเจบ็ ปว่ ยที่เขา้ รับการรกั ษาในโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสขุ ทุกแหง่ (1) อบุ ัตเิ หตุ 50 ราย/ปี (2) สาเหตอุ ่ืน 3,515 ราย/ปี 5) ประเภทการเจ็บป่วยท่ีเขา้ รบั การรักษาในโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุขทุกแห่ง 5 อันดับแรก (1) โรคระบบกล้ามเน้ือ รวมโครงสร้างและเนื้อยึดเสรมิ (2) โรคเก่ยี วกบั ตอ่ มไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลซิ ัม (3) โรคระบบการไหลเวียนของโลหติ

ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ 1) จานวนผเู้ สียชวี ิตโดยอบุ ตั เิ หตุจากรถยนต์ จานวน - คน 2) ความเสียหายจากภยั ธรรมชาตทิ ี่เกดิ จากมนุษย์ และจากธรรมชาติ จานวน - บาท 3) จานวนคดปี ระทุษร้ายต่อทรัพย์ และประชาชน จานวน - คดี 4) จานวนคดีเสยี ชีวิต รา่ งกาย และเพศ จานวน - คดี 5) จานวนอบุ ัตเิ หตุจากรถยนต์ จานวน - ครั้ง การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 1) สถติ ิเพลงิ ไหม้ในรอบปี (1 ม.ค. – 31 ธ.ค.) จานวน 1 ครัง้ 2) ความสญู เสียชีวิต และทรพั ยส์ ินจากเพลงิ ไหมใ้ นรอบปีทีผ่ ่านมา (1) ผเู้ สยี ชวี ิต - คน (2) บาดเจ็บ - คน (3) ทรพั ยส์ นิ มูลคา่ 20,000 บาท 3) รถดับเพลงิ 1 คัน 4) รถบรรทกุ น้า 1 คนั 5) รถกระเชา้ - คัน 6) เครื่องดบั เพลงิ 10 เคร่อื ง 7) พนกั งานดับเพลงิ - คน 8) อาสาสมคั รป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 110 คน ด้านทรพั ยากรธรรมชาติในพืน้ ที่ 1) ทรพั ยากรดนิ สภาพโดยท่วั ไปเปน็ ดนิ ร่วน การเพาะปลกู ส่วนใหญอ่ าศยั นา้ ฝน และน้าจาก คลองชลประทานเป็นหลกั 2) ทรพั ยากรน้า มีแมน่ า้ ยม อยู่ทางทศิ ตะวันออก ไหลผ่าน ม.1,2,3,5 และ6 ตลอดจนเป็นเสน้ แบง่ เขตของตาบลบา้ นปง กบั ตาบลสงู เม่นมีนา้ แมส่ าง เป็นลาหว้ ยท่ีไหลผ่าน ม.2,3,6 เปน็ เสน้ แบง่ เขต ระหว่าง ม.3,5 3) ทรัพยากรป่าไม้ เปน็ พ้นื ท่ีปา่ สงวนแหง่ ชาติ 1 แหง่ คอื ป่าแม่แย้ - แมส่ าง เนื้อที่ 50,000 ไร่ หรือ 80 ตารางกโิ ลเมตร 4) ทรัพยากรท่องเทย่ี ว มีแหลง่ ท่องเท่ยี วทีส่ าคญั 2 แห่งคือ (1) อา่ งเก็บนา้ แม่สาง (เปน็ ท่พี กั ผ่อนหยอ่ นใจ) (2) น้าตกตาดซาววา (เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ) ด้านการเมือง การบรหิ าร 1) จานวนสมาชิกสภาทอ้ งถิน่ 12 คน 2) โครงสร้างและอตั รากาลงั ในการบรหิ ารงานขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบล

ข้อมูลภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ มีภมู ิปัญญาท้องถน่ิ 20 คน ทาเนียบภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ตาบลบา้ นปง อาเภอสงู เม่น จังหวัดแพร่ ท่ี ช่อื - สกลุ ท่อี ยู่ ภมู ิปัญญาดา้ น/ ผู้เช่ียวชาญดา้ น บ้านเลขท่ี หมทู่ ่ี ตาบล 1 นายมี พระคาลือ 21/6 1 บ้านปง สบื ชะตา ,สะเดาะเคราะห์ ,บชู าท้าวทงั้ 4 2 นางคาสขุ รัตนปัญญา 158 1 บ้านปง งานหตั ถกรรม,ทอผา้ พนั ธ์ งานจกั รสาน 3 นางสายหยุด ศฤงคาร 90 1 บ้านปง หมอพืน้ บา้ น,ดา้ นเกษตร 79 2 บ้านปง ด้านอนรุ กั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถนิ่ 4 นายทวี ขยายเสยี ง 86/1 2 บ้านปง 26 2 บ้านปง ด้านงานฝีมอื 5 นายทวพี ันธ์ บญุ ญารตั นานุสรณ์ 46 3 บา้ นปง ดา้ นการเกษตร 3 บา้ นปง ดา้ นจักรสาน 6 นายชาลี ขยายเสียง 89 3 บ้านปง ศิลปวฒั นธรรมท้องถ่นิ ,คา่ ว,ซอ 109 4 บา้ นปง ด้านหมอพน้ื บ้าน 7 นางตุมมา กิงโคง 113/2 4 บ้านปง อนุรักศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ 140 4 บา้ นปง งานฝมี ือ,ช่างไม้ 8 นายอี นาลอง 108/1 4 บา้ นปง ดา้ นโหรราศาสตร์,ไสยศาสตร์ 218 5 บ้านปง หมอพ้นื บ้าน,ไสศาสตร์ 9 นางหลา้ พองาม 126/1 5 บ้านปง งานฝีมือ,ชา่ งไม้ 140/1 5 บ้านปง 10 นางกลิยา กายาน 152 5 บ้านปง ด้านทอผ้า 154 6 บา้ นปง ด้านทอผา้ 11 นายสอน กาบจนั ทร์ 159 6 บา้ นปง หมอพนื้ บา้ น,สืบชะตา,สะเดาะเคราะห์ 6 บา้ นปง อนรุ ักศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ 12 นายดี กาบจันทร์ ดา้ นจกั รสาน 13 นางหล่ัน ลาไย 14 นายโต โคตสภุ า 15 นายสว่าง ลาไย 16 นางลนู วงศร์ อบ 17 นางจนั ทร์สี โพธศิ รี 18 นายจ๋อน คลใี่ บ 19 นายจันทร์ กาบจนั ทร์ 20 นายมูล เวียงทอง

ขอ้ มูลแหลง่ เรยี นรใู้ นตาบล 1) แหลง่ เรยี นร้ภู ายใน ช่ือแหล่งเรียนรู้ 1. ศูนย์การเรยี นชมุ ชน ตาบลบ้านปง 2. หนังสือพิมพ์รายวัน 3.การศึกษาทางไกลผ่านสญั ญาณดาวเทียม 4.ห้องสมุดโรงเรยี นบา้ นปงหัวหาด (หวั หาดราษฏร์บารงุ ) 2) แหลง่ เรียนรู้ภายนอก ชื่อแหล่งเรยี นรู้ 1.แปลงสาธติ การเรยี นรูป้ ระจาตาบล เลขท่ี 79 หมู่ท่ี 2 ตาบลบ้านปง 2.แหลง่ เรียนรดู้ า้ นวฒั นธรรม วัดปงหัวหาด หมู่ที่ 3 3.กลมุ่ ทอผ้า เลขที่ 126/1 หม่ทู ี่ 5 ตาบลบา้ นปง 4.แหล่งเรียนรธู้ รรมชาติ นา้ ตกตาดชาววา 5.แหลง่ เรยี นร้ธู รรมชาติ อา่ งเก็บน้าแมส่ าง

การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการทว่ั ไป สานกั งาน กศน.จงั หวดั แพร่ ตวั ชี้วดั ที่ 1 : จานวนข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบรหิ ารจัดการ (DMIS) ตัวชี้วดั ที่ ๒ : ระดับความสาเร็จของการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ กศน. ตาบล/แขวง ตวั ชี้วัดที่ ๓ : จานวนความสาเรจ็ ของการดาเนินงานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ตวั ชว้ี ัดที่ ๔ : ร้อยละของผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ตวั ชี้วดั ที่ 5 : รอ้ ยละของผู้เข้าสอบปลายภาค ตวั ช้ีวัดที่ ๖ : ร้อยละของผู้เรียนท่มี ีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นในรายวิชาบังคบั ตัวชว้ี ัดที่ ๗ : จานวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง เมือ่ เทียบกบั เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ที่ ๘ : รอ้ ยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื งที่นาความรไู้ ปใช้ เม่ือเทยี บกับเป้าหมาย ตัวชว้ี ัดที่ ๙ : จานวนผรู้ บั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศยั ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑๐ : จานวนกิจกรรมที่จัดในแหล่งเรียนรู้ บ้านหนังสอื ชมุ ชน เมอื่ เทียบกบั เปา้ หมาย ตัวชี้วัดท่ี ๑๑ : ระดบั ความสาเร็จของการมสี ว่ นรว่ มกับภาคีเครอื ข่ายในชมุ ชน ตัวชี้วดั ท่ี ๑๒ : จานวนงานตามนโยบายเร่งด่วน หรืองานอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย ตวั ชี้วดั ท่ี ๑๓ : ระดับความสาเร็จในการจดั ทาผลการปฏิบัตงิ านที่ดี (Best Practice)

ตวั ชีว้ ัดที่ 1 จานวนขอ้ มูลในระบบฐานขอ้ มูลเพื่อการบริหารจดั การ (DMIS)

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1 : จานวนข้อมลู ในระบบฐานข้อมลู เพื่อการบริหารจดั การ (DMIS) หน่วยวดั : จานวน นา้ หนกั : 5 คาอธิบาย : จานวนข้อมลู ในระบบฐานข้อมลู เพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) ในส่วนข้อมูลพนื้ ฐาน กศน. ตาบล/แขวง เกณฑ์การใหค้ ะแนน รายการฐานข้อมูลท่ีต้องบันทึกในระบบฐานข้อมูลเพอ่ื การบรหิ ารจัดการ (DMIS) ๑. ข้อมูลสถานที่ตั้ง และลกั ษณะพื้นท่ีต้งั ๒. พกิ ัดตาแหนง่ ๓. ขอ้ มูลบุคลากร ๔ .ชอ่ื และเบอร์ติดต่อ ของหัวหนา้ กศน.ตาบล/แขวง ๕. ลิงค์ เว็บไซต์ หรอื Fanpge กศน.ตาบล/แขวง ๖ .ข้อมูลสาธารญปู โภค (ไฟฟ้า น้าประปา) โทรศพั ท์ และอินเทอรเ์ น็ต ๗ .จานวนคอมพวิ เตอร์ โทรทศั น์ และอุปกรณ์สานักงานตา่ ง ๆ ๘ .จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร/์ ผู้ใช้อนิ เทอร์เน็ด ผู้ใช้ Wi-Fi เฉล่ียตอ่ วัน ๙ .จานวนผ้เู ขา้ รบั บรกิ ารท่ี กศน ตาบล/แขวง เฉลยี ต่อเตือน ๑๐. รปู ภาพของครู กศนตาบล/แขวง ๑๑. คณะกรรมการ กศน. ตาบล/แขวง ๑๒. มีการรายงานข้อมลู พ้ืนฐานใหค้ รบถว้ น และเปน็ ปจั จุบนั











ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๒ ระดับความสาเรจ็ ของการจัดทาแผนปฏิบัตกิ าร กศน. ตาบล/แขวง

ตวั ชว้ี ดั ที่ ๒ : ระดับความสาเรจ็ ของการจัดทาแผนปฏบิ ัติการ กศน. ตาบล/แขวง หนว่ ยวดั : ระดบั ความสาเร็จ น้าหนกั : ๘ คาอธบิ าย : ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานในการจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ กศน. ตาบล/แขวง ที่ สอดคลอ้ งกับแผนปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงาน พจิ ารณาจากความถูกตอ้ งครบถว้ นของขัอมูลทบ่ี รรลุผล ตามค่าเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ และจัดทาแผนในระบบ DMIS เกณฑ์การใหค้ ะแนน รายการฐานข้อมลู ทต่ี ้องบนั ทกึ ในระบบฐานข้อมูลเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ (DMIS)





ตวั ชว้ี ดั ที่ ๓ จานวนความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

ตัวชวี้ ัดที่ ๓ : จานวนความสาเร็จของการดาเนินงานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน หนว่ ยวดั : จานวนความสาเรจ็ นา้ หนัก : ๕ คาอธิบาย : การดาเนนิ งานการศึกษาข้นั พื้นฐานในกาจดั กิจกรรม/ โครงการตามแผนปฏบิ ัติการ ประจาปีของหน่วยงาน/สถานศึกษาทค่ี รู กศน.ตาบล/ แขวงรับผิดชอบ มีการบนั ทึกข้อมูลการดาเนนิ งาน และงบประมาณในการดาเนนิ งานโครงการ/ กิจกรรมตามคารบั รองการปฏิบตั ริ าชการผ่านระบบฐานข้อมูล เพอ่ื การบรหิ ารจัดการ (DMIS) ด้านการศกึ ษาพื้นฐาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑ มีจานวนนักศกึ ษาทรี่ บั ผิดชอบตามเกณฑ์ท่สี านักงาน กศน. กาหนด (ครู กศนตาบล/แขวง ๑ คน ต่อ นักศึกษา ๔๐ คน) ๒. มีจานวนนักศกึ ษาท่ีรบั ผดิ ชอบมากกวา่ ๔๐ คน ๓. มกี ารวเิ คราะห์ศักยภาพของกล่มุ เปา้ หมายและสารวจความตอ้ งการของนกั ศกึ ษาเพ่ือรว่ มจดั วธิ กี าร เรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับนักศกึ ษา ๔. มีการจัดทาแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายสปั ดาห์ บันทกึ การเรยี นรู้ และจัดทาข้อมลู การลงทะเบยี น ของนักศึกษา และแจง้ ให้นักศึกษารบั ทราบโดยท่ัวกัน ๕. มีการจดั ทาปฏิทินการพบกลุม่ ท้ังภาคเรยี น และแจง้ ให้นักศกึ ษารบั ทราบโดยทวั่ กนั ๖. นักศึกษาร้อยละ ๗๕ ของนักศึกษาท่ีคาดวา่ จะจบทีร่ ับผดิ ชอบในภาคเรียนนน้ั เข้าทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติ (N-NET) และ E-Exam (สามารถนบั รวมกันได้) ๗. มีการซ่วยเหลือผ้เู รยี น เชน่ บนั ทกึ ผลการติดตาม การขาดเรยี นของนักศึกษาทีไ่ ม่มาพบกลุม่ ฯลฯ ๘. มีบญั ชีลงเวลาของนักศึกษาและบัญชลี งเวลาของครูผ้สู อน ๙. จดั นักศกึ ษาเข้ารว่ มกจิ กรรมกบั หนว่ ยงานอืน่ ทีป่ ระสานขอความรว่ มมืออยา่ งน้อย ๒ กิจกรรมตอ่ ภาคเรยี น ๑๐. มีการวิจยั ช้ันเรยี นเพื่อพัฒนาการเรียนรขู้ องผู้เรยี นอย่างน้อย ๑ เร่อื งต่อภาคเรียน ๑๑. มกี ารใช้สือ่ เทคโนโลยี ในการจดั การเรยี นการสอน

นักศึกษาท่ีอยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบ จานวนนกั ศกึ ษาที่ลงทะเบียน ๑/25๖๓ รวมท้ังหมด 6๐ คน ท่ี ระดบั จานวนนักศกึ ษา รวม หมายเหตุ ชาย หญงิ 1 ประถม ๓ ๑ ๔ 2 ม.ตน้ 1๓ ๖ ๑๙ ๓ ม.ปลาย ๑๖ ๒๑ ๓๗ รวม 3๒ ๒๘ 6๐ จานวนนักศกึ ษาเข้าสอบ – ขาดสอบ จากจานวนนกั ศึกษาทีล่ งทะเบียน ๑/25๖๓ รวมท้ังหมด 6๐ คน ระดับ มีสทิ ธ์สอบ เข้าสอบ รอ้ ยละ ขาดสอบ รอ้ ยละ ประถม ๔ ม.ต้น ๑๙ ม.ปลาย ๓๗ รวม 6๐ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (N-NET) และ E-Exam ระดับ มสี ทิ ธส์ อบ เข้าสอบ ร้อยละ ขาดสอบ รอ้ ยละ หมายเหตุ ประถม - - - - - - ม.ต้น ๔ ม.ปลาย ๒ รวม ๖















การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน  วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓ เปิดรับสมัครนักศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาข้ันพื้นฐานระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายกลมุ่ ประชาชนท่ัวไป กลุ่มเปา้ หมายประชากรวัยแรงงาน ๑๕-๕๙ ปี

 วนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ขยายเวลาเปดิ รบั สมัครนกั ศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 นกั ศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านระบบออนไลน์ / Line กลุ่มกศน.ตาบลบ้านปง กลมุ่ ประชาชน ทว่ั ไป กลุ่มเป้าหมายประชากรวยั แรงงาน ๑๕-๕๙ ปี  กศน.สูงเม่น โดยท่าน ผอ.อรุณี พันธ์พาณิชย์ ผอ.กศน.อาเภอสูงเม่น มอบหมายให้ นางสาวธนิสา ปราบปราม ครู กศน.ตาบลบ้านปง นานักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม โครงการพัฒนาปรับปรุงห้องสมุดประชาชนอาเภอสูงเม่น ในระยะยะที่ 1 ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2563 (กจิ กรรมครง้ั ท่ี 1)

 วนั ท่ี ๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ ถึงวนั ที่ ๓๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ ติดตาม พบป่ะจดั กิจกรรมพบกล่มุ นกั ศกึ ษาระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พูดคยุ ประสานงานกบั นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลบ้านปง และติดตามทางสื่อออนไลน์ ทางไลน์ กศน.ตาบลบ้านปง เปน็ ประจาอย่าง สม่าเสมอ

 วันที่ 2 มิถนุ ายน 2563 ครูกศน.ตาบลบา้ นปง นานักศึกษา กศน.ตาบลบา้ นปง รว่ มกิจกรรมขน ย้ายสอ่ื ชนั้ ตู้หนงั สอื ภายในห้องสมดุ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ณ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสงู เมน่ เพือ่ นาไปเกบ็ ท่ี ทาการช่ัวคราว อาคารที่วา่ การอาเภอสงู เม่น (หลงั เก่า)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook