Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานช่าง1-U1

งานช่าง1-U1

Published by atiphan4280, 2020-06-15 03:42:54

Description: งานช่าง1-U1

Search

Read the Text Version

สาระการเรียนรู ๑. ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน ของงานชาง ๒. เคร�องมือชาง ๓. เคร�องมือ การใชงาน และการบำรุงรักษา ในงานชาง ๔. ลักษณะของงานชาง ๕. วัสดุชางพื้นฐาน ๖. วัสดุกอสราง ๗. วัสดุเชื้อเพลิง ๘. วัสดุไฟฟา ๙. วัสดุชางประเภทอ�น ลขิ สทิ ธิ์ของบริษทั สำนกั พิมพเ อมพันธ จำกัด วชิ า งานชาง ๑ (หลักสตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยท่ี ๑ แผนที่ ๑ ๑

ความหมาย ความสำคัญ และประโยชนของงานชาง ชาง หมายถึง ผูที่มีความรูความชำนาญในงานชาง งานชาง หมายถึง สิ่งที่เปนผลผลิตอันเกิดจากการทำงานของชาง โดยงานชางแบงออกไดเปนหลายสาขา เชน ชางไม ชางไฟฟา ชางโลหะ ชางยนต ชางประปา ชางโทรศัพท ชางอิเล็กทรอนิกส ความสำคัญของงานชาง ในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษยมีความเกี่ยวของสัมพันธกับงานชาง เชน งานไม งานปูนงานไฟฟา งานโลหะ งานประปา เปนตน งานชางดังกลาว ทำใหมนุษยมีชีวิตและความเปนอยูที่ดี ดังนั้นประเทศชาติจะพัฒนาไดยอมจำเปน ตองอาศัยงานชางเปนองคประกอบเสมอ ประโยชนของงานชาง ไดความรูความสามารถที่จะใชเคร�องมือเคร�องใช ไดอยางถูกตองและปลอดภัย เขาใจคุณสมบัติ ของวสั ดไุ ดด ี ชว ยใหเ กดิ ความประหยดั ทำให ยืดอายุการใชงานของเคร�องมือเคร�องใช สามารถใชความรูที่เรียนมาซอมแซมแกไข ขอขัดของที่เกิดกับอุปกรณตางๆ ได และหากความชำนาญก็ยังสามารถ ที่จะเพิ่มรายได ใหกับตนเองและ ครอบครัวได ลิขสิทธขิ์ องบริษัท สำนกั พมิ พเอมพันธ จำกัด วชิ า งานชา ง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยที่ ๑ แผนที่ ๒ ๒

เคร�องมือชาง ประโยชนของเคร�องมือและอุปกรณ ๑. ชวยใหการปฏิบัติงานของชางเกิดผลสำเร็จและมีคุณภาพ ๒. ทำใหกระบวนการทำงานของชางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น งานชางสามารถจำแนกประเภทเคร�องมือชาง ตามลักษณะตางๆ ได ๒ ประเภท ๑. จำแนกตามลักษณะการทำงาน ๒. จำแนกตามลักษณะของงาน เครื่องมือประเภท อาชีพทางชาง เครื่องมืองานไม ใชแรงงานคน (Hand Tools) เครื่องมืองานปูน เครื่องมือธรรมดา เครื่องมือพิเศษ เครื่องมืองานโลหะ เครื่องมืองานประปา เครื่องมือวัด เครื่องมืองานไฟฟา เครื่องมือประเภทเครื่องมือกล (Power Tools and Machine และอิเล็กทรอนิกส Tools) ลขิ สิทธข์ิ องบรษิ ัท สำนักพมิ พเ อมพนั ธ จำกดั วิชา งานชา ง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยท่ี ๑ แผนที่ ๓ ๓

เคร�องมือ การใชงาน และการบำรุงรักษาในงานชาง ๑. คอน (Hammer) ๔. ประแจ (Wrench) คอนหัวกลม ประแจปากตาย คอนแบบพิเศษ ประแจแหวน คอนหงอนชางไม ประแจแหวนปลายผา คอนชางไฟฟา ประแจปากผสม คอนปอนด ประแจบล็อก ประแจปอนด ๒. คีม (Pliers) ประแจเลื่อน คีมปากขยาย คีมปากจิ้งจก ๕. สกัด (Chisel) คีมล็อก สกัดปากแบน คีมถอดแหวนล็อก สกัดปากจิ้งจก ๓. ไขควง (Screwdriver) ๖. ปากกาจับชิ้นงาน (Bench Vise) ไขควงปากแบน ปากกาจับงานแบบตั้งโตะ ไขควงปากแฉก ปากกางานไม ไขควงหัวคลัตช ปากกาแทนเจาะ ไขควงหัวคลิปหนีบ ๗. วงเวียน (Compasses) วงเวียนปลายขอ วงเวียนคูขนาน ลขิ สิทธขิ์ องบริษทั สำนักพิมพเ อมพันธ จำกัด วชิ า งานชาง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยท่ี ๑ แผน ท่ี ๔ ๔

ลักษณะของงานชาง ๑ ๒ งานไม งานปูน ๓ ๔ งานประปา งานโลหะ ๕ ๖ งานยนต งานไฟฟา ๗ ๘ งานเขียนแบบ งานสี ลขิ สิทธิ์ของบรษิ ทั สำนักพิมพเ อมพันธ จำกัด วชิ า งานชา ง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยที่ ๑ แผนที่ ๕ ๕

วัสดุชางพื้นฐาน วัสดุชาง หมายถึง วัสดุที่ใชในงานชาง สามารถจำแนกได ๒ ประเภท ๑ วัสดุงาน คือ ๒ วัสดุชวยงาน เปนวัสดุที่ทำให วัสดุที่ใชสำหรับงานผลิต วัสดุงาน ไดทำงานอยาง มีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม วัสดุชางยังแบงออกไดเปน ๒ ประเภท คือ ๑ ๒ โลหะ เปนวัสดุที่ อโลหะ เปนวัสดุ ไดจากแรธาตุตางๆ ที่ไดจากการสังเคราะห ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือจากธรรมชาติ ลิขสทิ ธขิ์ องบรษิ ทั สำนกั พิมพเอมพนั ธ จำกัด วิชา งานชาง ๑ (หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑) หนวยที่ ๑ แผนท่ี ๖ ๖

วัสดุกอสราง วัสดุกอสราง หมายถึง วัสดุที่ใชสำหรับการกอสราง ที่เกี่ยวของกับอาคารบานเรือนที่อยูอาศัยของมนุษยและสิ่งมีชีวิต ที่มนุษยสรางขึ้น รวมทั้งสถาปตยกรรมที่มนุษยนั้น ๑ ประดิษฐคิดคนขึ้นดวย ไม (Wood) คอื วสั ดกุ อ สรา งทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติมหี ลากหลายชนดิ ที่แตกตางกันในดานคุณสมบัติ สี ความทนทาน และความนิยม มีทั้งหมด ๕ ชนิดดวยกัน คือ ไมเนื้อออนมาก ไมเนื้อออน ๒ ไมเนื้อแข็งปานกลาง ไมเนื้อแข็งไมเนื้อแข็งมาก หิน (Rock) หนิ เกดิ จากการผสมผสานของแรธ าตตุ ามธรรมชาติแบง ออก ๓ ไดเปน ๓ ประเภท ดังนี้ หินอัคนี หินชั้น หินแปร ทราย (Sand) ทรายเปน สว นเลก็ ๆของหนิ ซงึ่ ในการกอ สรา งมกั นยิ มใชท ราย ๔ ซึ่งมีอยู ๓ ชนิด คือ ทรายหยาบ ทรายกลาง ทรายละเอียด ซีเมนต (Cement) ซเี มนตเ ปน วสั ดทุ ใี่ ชเ ปน สว นผสมทสี่ ำคญั ในงานปนู มลี กั ษณะ เปนผงละเอียด เมื่อซีเมนตผสมกับน้ำจะเกิดปฏิกิริยา hydration ทำใหป นู ซเี มนตก อ ตวั และแขง็ ตวั ซงึ่ เรยี กวา คอนกรตี ในการเกบ็ รักษาซีเมนตนั้น ควรเก็บไวในที่แหงและปองกันความชื้นไดดี ลขิ สทิ ธิ์ของบรษิ ทั สำนกั พมิ พเอมพนั ธ จำกัด วชิ า งานชา ง ๑ (หลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑) หนวยท่ี ๑ แผน ท่ี ๗ ๗

วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุเชื้อเพลิง หมายถึง วัสดุที่ทำใหติดไฟงาย มี ๓ ชนิด คือ ๑๓ วัสดุเชื้อเพลิงแข็ง วัสดุเชื้อเพลิงแกส ไดแก ถานหิน ๒ สมัยกอนมักใชเชื้อเพลิง ถานไมและถานโคก แกสในการหุงตม ซึ่งเกิดจากซากพืชที่ทับถม วัสดุเชื้อเพลิงเหลว แตในปจจุบันมักนำมาใช กันเปนเวลาหลายลานป เชื้อเพลิงเหลว ในโรงงานอุตสาหกรรม วิธีการเก็บรักษาถานหิน ไดจากน้ำมันดิบ ซึ่งเกิดจาก และในรถยนต ไดแก คือ กองถานหินไวโดยให ซากสัตวที่ทับถม ถานหินแตละกองมีขนาด เปนเวลานาน แกสธรรมชาติ ไมใหญเกินไปเพราะจะทำให และมีชั้นหินปูน อิลลูมิเนชันแกส อากาศถายเทไมสะดวก ปกคลุมชั้นน้ำมันดิบอยู แกสเตาผลิต บายโพรดักตแกส วัสดุไฟฟา ๑. วัสดุตัวนำ ๒. วัสดุฉนวน คอื วสั ดทุ ที่ ำมาจากโลหะ วสั ดฉุ นวนไฟฟา มหี นา ทตี่ า นทาน มีหนาที่ทำใหกระแสไฟฟา การไหลของกระแสไฟฟา เชน ไหลผานไดดี ไดแก พลาสติก เซรามิก ไมกา สายไฟฟา วัสดุฉนวนกันความรอน มีจุด สวิตช หลอมเหลวสูงและทนความรอน ฟวส ไดดี เชน แกว เซรามิก ลขิ สทิ ธิ์ของบรษิ ทั สำนกั พมิ พเ อมพนั ธ จำกดั วชิ า งานชาง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยที่ ๑ แผน ที่ ๘ ๘

วัสดุชางประเภทอ�น ๑ พลาสติก พลาสติกเปนวัสดุสังเคราะห ใชประโยชนแทนไมและโลหะ แบง ได ๒ ประเภท ดังนี้ เทอรโมพลาสติก เทอรโมเซตติงพลาสติก ๒ ยาง ยาง คือ วัสดุประกอบดวย คารบอนกับไฮโดรเจน เรียกวา พอลิเมอร มีความยืดหยุนสูง แบงออกเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ยางธรรมชาติ ยางเทียม (ยางสังเคราะห) ๓ สี องคประกอบของสี คือ ชนิดและการเลือกใชสี ผงสีหรือเนื้อสี สีน้ำมัน (Oil Paint) ตัวประสานหรือกาว สีพลาสติกหรือสีน้ำ สารทำละลาย สีเคลือบ สีแล็กเกอร ลิขสิทธข์ิ องบรษิ ทั สำนกั พมิ พเ อมพันธ จำกดั วชิ า งานชา ง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนวยท่ี ๑ แผนท่ี ๙ ๙

๔ กาว คือ วัสดุประสานมีสวนผสม เปน ของเหลวหรอื วสั ดกุ งึ่ ของเหลว ที่เชื่อมติดวัสดุ ๒ ชิ้นเขาหากัน กาวมี ๒ ประเภท คือ กาวธรรมชาติ กาวสังเคราะห ๕ ฟลินตโคต คือ สารที่สังเคราะหในรูปแบบของเมือกขาว เรียกวา อิมัลชัน (Emulsion) ที่ประกอบไปดวยสารพอลิเมอรซึ่งจะมีน้ำหนักของโมเลกุล คอนขางสูง มีการแยกประเภทใหญๆ ได ๒ ประเภท คือ การผสมน้ำเรียกอีกอยางวา อิมัลชัน การผสมนำ้ มนั ฟลนิ ตโ คตเมอื่ แหง แลว กจ็ ะมสี ดี ำไมม กี ลนิ่ ไมล ะลาย ในน้ำ ๖ สารหลอล�น คือ สารที่นำมาใชทำหนาที่ ในการหลอลื่น ลดแรงเสียดทาน ซึ่งอาจจะอยูไดทั้งในสถานะแกส ของเหลว ของแข็งและของกึ่งแข็ง กึ่งเหลว ลิขสิทธ์ิของบรษิ ทั สำนักพิมพเ อมพนั ธ จำกดั วิชา งานชา ง ๑ (หลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑) หนว ยที่ ๑ แผนท่ี ๑๐ ๑๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook