Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บล็อกเชน

บล็อกเชน

Published by 9_Thittita _PWS1_1, 2021-02-09 10:37:22

Description: บล็อกเชน

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เทคโนโลยีบลอ็ กเชน Block Chain

ความหมายของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน(Blockchain Technology) เพราะเทคโนโลยบี ล็อกเชน คือ ตวั ดีเอนเอ ที่เปิ ดพ้ืนท่ีทางดิจิทลั ท่ีสร้างความไวใ้ จ ความโปร่งใส การกระจายอานาจ (และการสร้างเครือข่ายสาหรับทุกคนเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง)อยา่ งเช่น ธุรกิจการเงินทางดา้ น cryptocurrency หรือเงินสกลุ บิทคอยน์ และอื่นๆ ท่ีเราเริ่มรู้จกั กนั ดีมากยง่ิ ข้ึนเรื่อยๆ บนโลก กถ็ ือวา่ เป็นดีเอเอนของเทคโนโลยบี ล็อกเชนถนนสายใหม่จากเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน ไดเ้ ริ่มเปิ ดใชบ้ ริการอยา่ งเตม็ ที่แลว้ Blockchain Technology หรือ ‘ถนนสายใหม่ เช่ือมโลกดิจิทลั ไร้พรมแดน’ คือ เทคโนโลยี ซ่ึงกาลงั เป็นถนนสายใหมท่ ่ีกาลงั ทาใหก้ ิจการต่างบนโลกน้ีเกิดการเปลี่ยนแปลง ตอ่ ชีวติ มนุษยใ์ นทุกๆดา้ น ไมว่ า่ จะเป็น ทางดา้ นธุรกิจ การเงิน การธนาคาร การศึกษา กีฬา ภาคการสื่อสาร อุตสาหกรรมภาคเกษตรกรรม การคมนาคม การแพทย์ การ สาธารณสุข การ ซ่อมบารุงการรักษความปลอดภยั ตอ่ ทรัพยส์ ินและชีวิต การอุปโภคในชีวติ ประจาวนั ที่ตน้ ทุน ในการทาธุรกรรมตา่ งๆ จากน้ีไปจะถูกลง รวดเร็วและสะดวกข้ึน

ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) Blockchain เป็นเทคโนโลยที ่ีจะมาเปล่ียนวธิ ีการทาธุรกรรมทุกชนิด และเป็นแพลตฟอร์มในการทาธุรกรรมแบบ peer-to-peer ท่ีมีการ บนั ทึกขอ้ มูลรายการธุรกรรมท้งั หมดแบบกระจายศูนย์ ซ่ึง Blockchain ไดถ้ ูกการพฒั นาเป็นคร้ังแรกในภาคการเงิน เพอ่ื ใชเ้ ป็ นพ้นื ฐาน สาหรับเงินดิจิทลั (cryptocurrency) ซ่ึงการพฒั นา แอพพลิเคชนั่ Blockchain สามารถแบง่ ออกเป็น 3 ช่วงใหญ่ๆ ตามข้นั ตอนของการพฒั นา ไดแ้ ก่ Blockchain1.0, Blockchain2.0, และ Blockchain3.0 1. Blockchain1.0 ประกอบดว้ ยสกุลเงินแบบเสมือน (เงินดิจิทลั ) เช่น Bitcoin ซ่ึงสามารถใชแ้ ทนสกลุ เงินจริงได้ เช่นยโู รหรือดอลลาร์ และในวนั น้ี Bitcoin ถูกนามาใชใ้ นแอพพลิเคชน่ั ของ Blockchain และที่เป็นที่รู้จกั กนั ดีที่สุดของคนทวั่ ไป และ กาลงั จะถูกนามาใชม้ ากข้ึน อยา่ งไรกต็ ามแมว้ า่ ในความเป็นจริงจะมีการใชส้ กลุ เงินมากมาย และ ดว้ ยปริมาณการซ้ือขายที่สูงข้ึน แตส่ ่วนแบ่งตลาดของ Bitcoin ในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศยงั คงนอ้ ยมาก ซ่ึงปัจจุบนั ยงั ไมม่ ีขอ้ บ่งช้ีวา่ Bitcoin อาจจะมีความสาคญั ใกลเ้ คียง กบั สกลุ เงินตา่ งได้ 2.Blockchain2.0 คือการใชร้ ูปแบบ smart contract โดย “smart contract” หมายถึง กระบวนการทางดิจิทลั ท่ีกาหนดข้นั ตอนการทาธุรกรรม โดยอตั โนมตั ิไวล้ ่วงหนา้ โดยไมต่ อ้ งอาศยั ตวั กลาง อยา่ งเช่น ธนาคาร ซ่ึงการสร้าง smart contract ที่เป็นระบบอตั โนมตั ิอยา่ งเตม็ รูปแบบ โดยคูส่ ัญญาท้งั สองฝ่ ายจะมีการตกลงกนั ก่อนหนา้ น้ี ถึงข้นั ตอน กลไกในการทารายการธุรกรรมดงั กล่าว ซ่ึงการพฒั นาน้ีส่งผลกระทบต่อ รูปแบบธุรกิจแบบด้งั เดิมของธนาคาร 3.Blockchain3.0 คือการพฒั นาแนวคิดเก่ียวกบั smart contract เพอื่ สร้างกระบวนการแบบกระจายศูนยท์ ี่เป็นอิสระ ท่ีตอ้ งมีการกาหนดกฎการทาธุรกรรมของกลุ่ม กนั เองและดาเนินการดว้ ยความเป็นอิสระ ในรูปแบบธุรกรรมอตั โนมตั ิ จึงทา ให้ Blockchain 3.0 สามารถขบั เคล่ือนองคก์ รดิจิทลั เตม็ รูปแบบที่ไม่จาเป็นตอ้ งมีพนกั งาน ในการช่วยทาธุรกรรมเลยในอนาคต

หลักการทางานของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) บลอ็ กเชน เป็นรูปแบบการเกบ็ ขอ้ มูล (Data structure) แบบหน่ึง ท่ีทาใหข้ อ้ มูล Digital transaction ของแต่ละคนสามารถแชร์ไปยงั ทกุ ๆ คนได้ เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain) ท่ีทาให้ block ของขอ้ มูลลิ้งกต์ ่อไปยงั ทกุ ๆ คนเป็น โดยที่ทราบวา่ ใครท่ีเป็นเจา้ ของและมีสิทธิในขอ้ มูลน้นั จริงๆ Blockchain เป็นเทคโนโลยที ี่อยเู่ บ้ืองหลงั ระบบ Bitcoin อีกทีครับ ผลลพั ธ์ ที่ได้ กค็ ือ ระบบของความสมั พนั ธแ์ บบดิจิตอล บิทคอยน์ (Bitcoin) และบลอ็ ก เชน (Blockchain) ถือเป็นอีกหน่ึงในเทคโนโลยที ่ีเก่ียวกบั ทางดา้ นการเงิน ข้ันตอนการทางานเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน ตวั อย่างข้ันตอนการทางานเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน

1. A ตอ้ งการโอนเงิน (สง่ ขอ้ มลู ) ไปให้ B ผา่ นเลขบญั ชี โดยใชก้ ญุ แจสว่ นตวั พรอ้ มรหสั ผา่ น และกญุ แจสาธารณะผใู้ ช้ (Node) ทกุ คนตอ้ งมีกญุ แจสองอนั อนั แรกคอื Private key ท่ีถือเป็นการแสดงความเป็นเจา้ ของของสมดุ บญั ชีพรอ้ มกบั Password ซง่ึ ถกู จากสรา้ งลายเซน็ ตแ์ ละชดุ ตวั เลขท่ีใชอ้ ลั กอรทิ มึ สรา้ งขนึ้ มาทาใหไ้ มม่ ีทางซา้ กบั เลขอ่ืนๆ และ ใชส้ ่งิ เหลา่ นีม้ ายืนยนั การทาธรุ กรรม สว่ นกญุ แจอีกอนั ท่ีตอ้ งใชค้ ือ Public Key เปรียบเสมือนท่ีอยทู่ ่ีขอ้ มลู สง่ ไปถงึ ทงั้ Private Key และ Public Key จะใชง้ านคกู่ นั แต่ ตา่ งหนา้ ท่ีกนั คือ อนั นงึ ใชเ้ ขา้ รหสั และอีกอนั นงึ ใชใ้ นการถอดรหสั สาคญั ท่ีสดุ สาหรบั ผใู้ ชท้ กุ คน คือ Private Key และ Password ตอ้ งเก็บเป็นความลบั ของเจา้ ของเท่านนั้ 2. เก็บ Transaction ไวใ้ น Public Ledger : ขอ้ มลู การเดนิ บญั ชี (Transaction) ถกู เร่มิ ตน้ สรา้ งขนึ้ รายการจะแจง้ วา่ ตวั เลขทงั้ หมดท่ี เกิดขนึ้ ตงั้ แตจ่ านวนเงินท่ีถกู ตอ้ งท่ีมีอยใู่ นบญั ชีของ A ถกู สง่ ไปใหบ้ ญั ชีของ B ท่ีแสดงจานวน เงินท่ีมีอยเู่ ชน่ กนั โอนเทา่ ไหร่ ตวั เลขขนึ้ ตามนนั้ ตรงนีท้ าใหเ้ ราเหน็ รายการทงั้ หมดท่ีเป็นยอด บวกลบท่ีถกู ตอ้ ง ทาใหเ้ ราสามารถตรวจสอบยอ้ นกลบั เร่ืองท่ีมาของเงินไดต้ ลอด โดยทงั้ หมดใน รายการนีจ้ ะถกู เก็บไวใ้ น สมดุ จดบญั ชี (Public Ledger) แลว้ สง่ ขอ้ มลู แบบท่ียงั ไมไ่ ด้ ยืนยนั ความถกู ตอ้ ง 3. ยืนยนั ความถกู ตอ้ งโดย Miner และตอ้ งไมถ่ กู คดั คา้ นจากผใู้ ช้ : หลงั จากท่ีไดร้ บั ขอ้ มลู (Data) แลว้ จะมีผตู้ รวจสอบมายืนยนั ความถกู ตอ้ ง เราเรียกคนคนนีว้ า่ Miner มาจากผใู้ ชท้ ่ีเสนอตวั เขา้ มา กตกิ าคอื ใครจะเสนอตวั ก็ได้ ขอใหม้ ีหลายคนเสนอ จากนนั้ Miner ทงั้ หลายจะเกิดการแขง่ ขนั กนั เป็นผตู้ รวจสอบ (โดยใชว้ ธิ ีการคานวณคา่ Hash หรอื สมมตุ เิ ป็นการแกส้ มการนบั ลา้ นๆครงั้ เพ่ือใหไ้ ดค้ า่ ยืนยนั กลอ่ ง ตวั อยา่ งการใชเ้ วลา ในการหาคา่ สมการ ปกติ Bitcoin ใชเ้ วลาไมเ่ กิน 10 นาที จรงิ ๆแลว้ อาจเรว็ หรือนานกว่านนั้ ขนึ้ อยกู่ บั สกลุ เงินดจิ ทิ ลั )

4. เพ่มิ Block นนั้ เขา้ ไปยงั Chain: จากนนั้ Block หรอื ขอ้ มลู การเดนิ บญั ชีท่ีไดร้ บั การตรวจสอบแลว้ และ มีขอ้ มลู ท่ีเกิดขนึ้ กอ่ นหนา้ เป็นส่ิงท่ีอา้ งอิงสกู่ ล่องถดั ไป จะถกู สง่ มาตอ่ เพ่ือรอ้ ยเรียงกนั และกนั ไปเร่อื ยๆ สภาพการเรียงตวั กนั แบบ –กลอ่ งนีม้ าก่อน และกลอ่ งนีม้ าหลงั - ไมส่ ามารถสลบั สบั เปล่ียนได้ และขอ้ มลู ท่ีอยใู่ นกล่องจะไมส่ ามารถ เปล่ียนแปลงไดเ้ ป็นการอพั เดทขอ้ มลู ใหก้ บั ผใู้ ชท้ กุ คนตอ่ ไป 5. เงินถกู ถ่ายโอนและอพั เดทขอ้ มลู แกผ่ ใู้ ช้ เม่ือทกุ อยา่ งสาเรจ็ ตามขนั้ ตอน เงินจะถกู ถา่ ยโอนและอพั เดทขอ้ มลู แก่ผใู้ ชท้ กุ คนพรอ้ มกนั การสง่ ตอ่ ขอ้ มลู จากเคร่อื งถึงเคร่อื ง เรียกวา่ Peer-to-peer สว่ นเงินท่ีวา่ นีเ้ ป็นเพียงแค่ จานวนท่ีถกู ระบขุ นึ้ ไมม่ ีเป็นส่งิ ของท่ีจบั ตอ้ งได้ เป็นสนิ ทรพั ยแ์ บบนงึ ในโลกดจิ ทิ ลั ท่ีถกู บนั ทกึ ดว้ ยเทคโนโลยีเทา่ นนั้ นอกจากนนั้ ขอ้ มลู ท่ีอพั เดทแกผ่ ใู้ ชม้ ีความเป็น Original หมด แมว้ า่ จะเป็นสาเนาก็ตาม เพราะถือเป็นขอ้ มลู เดยี วกนั ท่ีไดร้ บั รองความถกู ตอ้ งแลว้ และอยใู่ นมือ อยใู่ นเคร่อื งของแตล่ ะคน

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน การทางานของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) มีองคป์ ระกอบสาคญั อยู่ 4 องคป์ ระกอบสาคญั คือ (สานกั งานพฒั นารัฐบาลดิจิทลั องคก์ ารมหาชน : 2562) 1. กล่องเก็บขอ้ มูล (Block) ทาหนา้ ท่ีกระจายไปใหท้ ุกคนที่เกี่ยวขอ้ งเก็บเอาไว้ โดย ขอ้ มูลเหล่าน้นั ไม่สามารถแกไ้ ขหรือเปล่ียนแปลงได้ และทุกๆ คร้ังที่มีการทาธุรกรรมใหม่ เกิดข้ึนจะมีการสร้างกล่องใหมข่ ้ึนมา 2. ระบบการผกู (Chain) เป็นการนากล่องมาผกู เขา้ ดว้ ยกนั โดยการผกู ดว้ ยวธิ ี Hash Function (การนาเอาขอ้ มูลตน้ ฉบบั มาทาการเขา้ รหสั ผา่ นกระบวนการทางดา้ น คณิตศาสตร์) ซ่ึงเปรียบเสมือนลายนิ้วมือของไฟลท์ ี่ใชใ้ นการยนื ยนั ความถูกตอ้ งจากขอ้ มูลที่ แต่ละคนถือเอาไว้ ถือเป็นตวั แทนของขอ้ มูลตน้ ฉบบั ซ่ึงคา่ ท่ีไดม้ ีโอกาสที่ซ้ากนั ยากมากจึงเป็น คุณสมบตั ิท่ีเช่ือมนั่ ได้ ในการนามาใชย้ นื ยนั ขอ้ มูลที่แตล่ ะบุคคลถือไว้ 3. การตกลงร่วมกนั (Consensus) เป็นการกาหนดขอ้ ตกลงที่ตอ้ งเห็นพอ้ งร่วมกนั ดว้ ยอลั กอริทึมตา่ ง ๆ แลว้ แตก่ ารตกลง ท้งั น้ีเพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจที่ตรงกนั ในเร่ืองกฎและ เครื่องมือท่ีใชใ้ นเครือข่ายของผใู้ ช้ 4.การตรวจสอบ (Validation) เป็นการยนื ยนั ความถูกตอ้ งเพ่อื ใหเ้ กิดความเช่ือมน่ั ร่วมกนั ซ่ึงกระบวนการตรวจสอบตอ้ งเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็ว เมื่อมีการทาธุรกรรมเกิดข้ึนจะสร้าง กล่องใหมข่ ้ึนมา จากน้นั จะเขา้ สู่กระบวนการเชื่อมโยงกล่องเขา้ กบั ห่วงโซ่ที่ผกู รวมกนั โดยมี การยนื ยนั ตวั เองของผทู้ ี่มีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั ธุรกรรมน้นั ซ่ึงขอ้ มูลธุรกรรมที่สร้างใหมจ่ ะตอ้ ง ไดร้ ับ การเห็นชอบจากผใู้ ชค้ นอ่ืน ๆ ในห่วงโซ่ผา่ นขอ้ ตกลงท่ีมีร่วมกนั ก่อนหนา้ น้ีและระบบ จะทาการ ตรวจสอบทาใหเ้ ทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) ไดร้ ับความเชื่อมนั่ ดา้ น ความปลอดภยั และ ความถูกตอ้ งสูง

ประเภทของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน 1.แบบเปิ ดสาธารณะPublic Blockchain ประเภทน้ีจะเป็นประเภทที่คนรู้จกั กนั ดี ที่ใชง้ านจริงกบั คนทุกคนทว่ั โลก เช่น Bitcoin ท่ีมีการใชง้ านจริงกบั คนทุกคนทวั่ โลก ขอ้ ดี Public Blockchain แน่นอนครับวา่ ถา้ เราทางานในองคก์ ร องคก์ รน้นั จะไม่ จาเป็นไมต่ อ้ งลงทุนซ้ือ Server และ Harddisk เองต้งั แต่แรก เราสามารถเช่า Cloud Server จา่ ยเงินตามการใชง้ านจริง ถา้ เรานาเอา Public Blockchain ไปใชใ้ นการทา ธุรกรรมท่ีเป็น สาธารณะ มนั จะเพิม่ ความโปร่งใสความไวว้ างใจและความเป็ นธรรม เพราะ มนั เป็น สาธารณะ ทุกคนจะเห็นความเปล่ียนแปลง ขอ้ เสีย Public Blockchain น้นั ชา้ และสิ้นเปลืองนี่เป็นเพราะปริมาณการรับส่งขอ้ มูล สูงจากทวั่ ทุกมุมโลก ทุกคนมีปฏิสัมพนั ธ์กบั มนั ดงั น้นั จะมีบางอยา่ งท่ีตอ้ งเวลารอมากไป เช่น ยนื ยนั การทาธุรกรรม เป็นตน้ 2.แบบปิ ดPrivate Blockchain ประเภทน้ีจะเป็นประเภทที่ใชง้ านกนั แคภ่ ายใน องคก์ รหรือใชง้ านกนั เองหรืออาจจะเป็นบริษทั ที่อยใู่ นเครือเทา่ น้นั ถึงจะมีสิทธิใชง้ านได้ ขอ้ ดี Private Blockchain แน่นอนครับวา่ เวลาเราเป็ น Private แลว้ เรากส็ ามารถ ควบคุม Network ไดด้ งั ใจเราสามารถออกแบบตามท่ีเราตอ้ งการได้ และ เราสามารถ กาหนดผใู้ ชง้ านได้ ถา้ เรานาเอา Private Blockchain ไปใชใ้ นการทาธุรกรรมเรา สามารถออกแบบใหก้ าร Confirm ธุรกรรมท่ีรวดเร็วไดก้ วา่ เดิม ขอ้ เสีย Private Blockchain ในเมื่อเป็น Private มนั ก็จะไมม่ ีการกระจายอานาจ ในการตรวจสอบ (Proof) ทาใหผ้ ยู้ นื ยนั ความถูกตอ้ งของ Transaction (Miner) ถูกจากดั

3.แบบเฉพาะกลมุ่ Consortium Blockchain ประเภทนีจ้ ะเป็นการรวม public กบั private (ใชง้ านไดเ้ ฉพาะเครือขา่ ยท่ีเก่ียวขอ้ ง หรอื ผทู้ ่ีไดร้ บั อนญุ าต) จะ ใหม้ องภาพง่าย ปกตแิ ลว้ องคก์ รตา่ งๆ ท่ีมีลกั ษณะธรุ กิจเหมือนกนั และตอ้ งจะแลกเปล่ียน ขอ้ มลู กนั อยแู่ ลว้ เชน่ ธนาคาร เวลาเราโอนเขา้ อีก ธนาคาร ก็ตอ้ งมีการแลกเปล่ียนขอ้ มลู กนั ถา้ มองวา่ แตล่ ะ ธนาคารใช้ Private Blockchain แลว้ ตอ้ งการมาแชรข์ อ้ มลู กนั จงึ ทา ใหเ้ กิด Consortium Blockchain ดงั นนั้ ธนาคารท่ีจะเขา้ มารว่ มในวงได ้ต้ อ้ ง ไดร้ บั การอนญุ าตจากตวั แทนเสียก่อนถึงจะมีสทิ ธิเขา้ ถึงการใชง้ านรว่ มกนั ได้ ขอ้ ดี Consortium Blockchain แนน่ อนครบั วา่ มนั ดสี าหรบั การทางานรว่ มกนั ของ องคก์ ร collaboration ขอ้ มลู มนั จะไมห่ ลดุ ออกไปสภู่ ายนอกท่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมต่ อ้ ง แบกรบั ตน้ ทนุ ไวใ้ นองคก์ รเดยี ว สามารถรบั สง่ ขอ้ มลู ระหวา่ งธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้ งกนั ไดง้ า่ ย และ ขอ้ มลู สาคญั จะไมถ่ กู หาย หรือ ถกู ดดั แปลงแกไ้ ขไดย้ าก ขอ้ เสีย Consortium Blockchain แนน่ อนครบั วา่ เวลาเราอยากจะเปล่ียนแปลง ระบบ หรือ อยากจะอพั เดทระบบจะตอ้ งผา่ นความเห็นชอบจากองคก์ รสมาชิก

คุณสมบัตขิ งเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน การจดั เกบ็ ขอ้ มูลในรูปแบบของ Block โดยเช่ือมตอ่ แต่ละ Block ดว้ ย Hash Function และกระจายใหท้ ุก ๆ Node เกบ็ ทาใหเ้ กิดคุณสมบตั ิท่ีสาคญั ของ Blockchain 3 ประการ คือ 1.ความถูกตอ้ งเท่ียงตรงของขอ้ มูล (Data Integrity) ความโปร่งใสในการเขา้ ถึง ขอ้ มูล (Data Transparency) และความสามารถในการทางานไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องของ ระบบ (Availability) (Serrano, 2017) ความถูกตอ้ งเที่ยงตรงของขอ้ มูล (Data Integrity)เนื่องจากการเชื่อมโยง Block ปัจจุบนั และ Block ก่อนหนา้ ดว้ ย Hash Function และทาการกระจายใหท้ ุก Node เก็บ ทาใหข้ อ้ มูลที่ถูกบนั ทึกลงใน Blockchain แลว้ ไม่สามารถแกไ้ ข หรือเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลได้ (Immutability) ดงั น้นั หากมีความพยายามในการแกไ้ ขหรือเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลที่ถูกบนั ทึกลงใน Block แลว้ จะทาใหท้ ราบไดท้ นั ทีเน่ืองจากขอ้ มูลใน Node ดงั กล่าวจะมีขอ้ มูลที่ต่าง ออกไปจาก Node อ่ืน ๆ ในระบบ และไม่สามารถสร้าง Consensus กบั Node อ่ืนได้ ทาใหถ้ ูกแยกออกจาก Chain หลกั ไปในที่สุด 2.ความโปร่งใสในการเขา้ ถึงขอ้ มูล (Data Transparency) เน่ืองจากทุก Node ในระบบ Blockchain จะเก็บขอ้ มูลเดียวกนั ท้งั หมดโดยไมม่ ี Node ใด Node หน่ึง เป็นตวั กลางท่ีมีอานาจแต่เพียงผเู้ ดียวในการเกบ็ ขอ้ มูล ดงั น้นั การเขา้ ถึงขอ้ มูลใด ๆ จึงทาไดจ้ าก Node ตวั เองทนั ทีโดยไม่จาเป็นตอ้ งร้องขอขอ้ มูลจากตวั กลาง จึงเรียกวา่ เป็นระบบที่มีความ โปร่งใสในการเขา้ ถึงขอ้ มูลสูงมาก 3.ความสามารถในการทางานไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองของระบบ (Availability) เน่ืองจากทุก Node ในระบบ Blockchain จะเก็บขอ้ มูลเดียวกนั ท้งั หมดจึงสามารถ ทางานทดแทนกนั ไดเ้ ม่ือมี Node ที่ไมส่ ามารถใหบ้ ริการไดใ้ นขณะน้นั โดยระบบจะทาการ คดั ลอกสาเนาขอ้ มูลใหเ้ ป็นขอ้ มูลชุดเดียวกนั เม่ือ Node กลบั ข้ึนมาใหบ้ ริการไดอ้ ีกคร้ัง

ประโยชน์และข้อจากดั เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) ประโยชน์ของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) จากลกั ษณะการทางานและคุณสมบตั ิของบล็อกเชนที่กล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ เทคโนโลยี บลอ็ ก เชน (Block Chain) มีประโยชน์ดงั ต่อไปน้ี (แมน้ เขียน จนั ทร์พวง : 2560) 1.ไม่ตอ้ งมีคนกลางในการทาธุรกรรม เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) เป็น ระบบ ท่ีผใู้ ชง้ านสามารถแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั ไดโ้ ดยท่ีไม่จาเป็นตอ้ งผา่ น ตวั กลาง ดงั น้นั จึง สามารถ ตดั ปัญหาเร่ืองความเส่ียงต่อการถูกคูค่ า้ ผดิ นดั ธุรกรรมได้ 2. ผใู้ ชง้ านสามารถควบคุมดูแลขอ้ มูลของตนเอง ไดผ้ ใู้ ชง้ านในเทคโนโลยบี ล็อกเชน (Block Chain) สามารถส่งขอ้ มูลหากนั เองไดแ้ ละยงั มีขอ้ มูลการทางานของตนเองเกบ็ ไว้ ท่ี ตนเองดว้ ย 3. ขอ้ มูลในระบบมีคุณภาพสูง ขอ้ มูลจะถูกเกบ็ อยใู่ นบล็อกและเรียงตอ่ กนั เป็น บล็อกเชน อีกท้งั ยงั มีการอา้ งอิงลกั ษณะของขอ้ มูลในกล่องเก็บขอ้ มูล (Block) ก่อนหนา้ สามารถ เรียกดูขอ้ มูลไดจ้ ากท้งั ตนเองและผใู้ ชง้ านอื่นในระบบและขอ้ มูลทุกชุดในระบบจะตอ้ งเป็ น ขอ้ มูล เดียวกนั 4. ความแขง็ แรงและเชื่อถือไดข้ องระบบบลอ็ ก เนื่องจากเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) เป็นการเก็บขอ้ มูลแบบกระจายและไม่มีการเก็บขอ้ มูลเป็นศูนยก์ ลางแบบระบบอ่ืน ๆ ดงั น้นั จึงเป็นระบบท่ีมีความเช่ือถือสูงเพราะเป็นไปไดย้ ากที่จะทาลาย ขอ้ มูลทุกชุดพร้อมกนั ท้งั หมด 5. มีข้นั ตอนที่ถูกตอ้ ง ผใู้ ชง้ านสามารถเช่ือถือในรายการต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในเทคโนโลยี บลอ็ กเชน (Block (Chain) ไดเ้ พราะเป็นคาสั่งท่ีเกิดมาจากตวั ผใู้ ชง้ านเองท้งั หมดไม่ เหมือนกบั ระบบศูนยก์ ลางท่ีจะมีคาส่ังบางประเภทมาจากระบบกลางดว้ ย

6. มีความโปรง่ ใสและไมส่ ามารถเปล่ียนแปลงได้ ขอ้ มลู ในเทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) นนั้ ไมส่ ามารถเปล่ียนแปลงหรือลบทงิ้ ไดอ้ ีกทงั้ ยงั สามารถ มองเหน็ ขอ้ มลู ไดจ้ าก ทกุ คนในเทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) อนั เน่ืองมาจากคณุ ลกั ษณะของขอ้ มลู ใน เทคโนโลยี บลอ็ กเชน (Block Chain) นนั้ เอง 7. มีความเรยี บง่าย เน่ืองจากทกุ รายการขอ้ มลู เทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) นนั้ จะถกู บนั ทกึ เก็บไวก้ บั ผใู้ ชง้ านทกุ คนในระบบเรียงตอ่ กนั ไปเร่ือยๆ ดงั นนั้ จงึ ลดความซบั ซอ้ น ของขอ้ มลู ในระบบได้ 8. มีการส่ือสารขอ้ มลู กนั ไดไ้ ว ทกุ วนั นีธ้ ุรกรรมทางการเงินระหวา่ งธนาคาร เช่น ระบบเช็ค เคลียรร์ ง่ิ ระบบการชาระเงินระหวา่ งประเทศ ยงั ใชเ้ วลาในการทาการอยไู่ มส่ ามารถสง่ ขอ้ มลู หากนั ไดใ้ นทนั ทีแตร่ ะบบบลอ็ กเชนสามารถสง่ ขอ้ มลู หากนั ไดท้ นั ทีระหวา่ งผใู้ ชง้ านจาก ลกั ษณะการทางานของระบบ 9. ลดตน้ ทนุ ในการส่ือสารหรือสง่ ผา่ นขอ้ มลู ไดเ้ ม่ือไมม่ ีคนกลางในการดแู ลรกั ษา ขอ้ มลู แลว้ ดงั นนั้ ระบบบล็อกเชนจะสามารถลดตน้ ทนุ ในเร่ืองอตั ราแลกเปล่ียน คา่ บารุงรกั ษา ระบบ ลงไปได้

ข้อจากัดของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) แมว้ า่ เทคโนโลยีบลอ็ กเชนจะเป็นเทคโนโลยีท่ีเป็นประโยชนม์ ากในแงข่ องระบบ ท่ีมีความ ถกู ตอ้ ง และปลอดภยั ตอ่ ขอ้ มลู ท่ีอยใู่ นระบบสงู จากคณุ สมบตั ิของเทคโนโลยีท่ีไดก้ ลา่ วมาแลว้ แต่ ระบบนีก้ ็ยงั มีขอ้ จากดั ท่ีควรจะตอ้ งพิจารณาก่อนท่ีจะมกี ารนาระบบนีไ้ ปใชป้ ระยกุ ตใ์ ชก้ บั องคก์ ร ใดก็ตาม (Deloitte, 2016) ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.ความเรว็ ในการประมวลผลของบลอ็ กเชน ลกั ษณะการทางานของเทคโนโลยี บลอ็ กเชน (Block Chain) นนั้ ตอ้ งมีการโอนขอ้ มลู ใหผ้ ใู้ ชง้ านในระบบทกุ คนใหท้ ราบท่วั กนั อยู่ ตลอดเวลา อีกทงั้ ยงั มกี ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งของมลู รวมถงึ การใชห้ ลกั การพิสจู นว์ า่ ใชพ้ ลงั งาน ท่ีตอ้ งมกี าร แขง่ ขนั กบั ผู้ ยืนยนั ความถกู ตอ้ งของรายการเดินบญั ชีอ่นื ๆ อกี ดงั นนั้ จาเป็นท่ีตอ้ งจะ ใชร้ ะบบ ประมวลผลท่ีมีประสทิ ธิภาพสงู มาก ๆ และตามมาดว้ ยตน้ ทนุ การนาเทคโนโลยีบลอ็ กเชน มาใชใ้ น ระยะเร่มิ แรก 2. สทิ ธิในการเขา้ ใชข้ อ้ มลู เทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) นนั้ เป็นระบบท่ี เหมาะ สาหรบั ใหค้ นจานวนมากเขา้ มาใชข้ อ้ มลู เดียวกนั และตอ้ งการคนท่ีเขา้ มาตรวจสอบสอบ ความถกู ตอ้ ง นนั้ ในขณะเดยี วกนั ก็ตอ้ งเป็นระบบท่ีสามารถตรวจสอบไดจ้ ากทกุ คนไมใ่ ช่ระบบท่ี เก็บขอ้ มลู ทกุ อย่าง ไวท้ ่ีคนกลางอย่างเดยี ว ยกตวั อย่างเชน่ ระบบบิตคอยด์ เป็นตน้ 3. สทิ ธิในการแกไ้ ขขอ้ มลู เทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) เป็นระบบท่ีนา เทคโนโลยี บลอ็ กเชน (Block Chain) ไปใชจ้ ะตอ้ งไมม่ ีการแกไ้ ขขอ้ มลู เกา่ ท่ีเคยทาไปแลว้ เพราะ ขอ้ มลู แตล่ ะ ชดุ จะถกู บรรจลุ งในกลอ่ งเกบ็ ขอ้ มลู (Block) แตล่ ะกลอ่ งเก็บขอ้ มลู (Block) ท่ีมาตอ่ มกี ารอา้ งองิ ลกั ษณะขอ้ มลู ของกลอ่ งเกบ็ ขอ้ มลู (Block) กอ่ นหนา้ และเรยี งตอ่ กนั เป็นบลอ็ กเชน ความมคี า่ ของ ขอ้ มลู บลอ็ กเชนนนั้ ใหค้ ณุ คา่ กบั ขอ้ มลู ท่ีอย่ใู นระบบมากเพราะเป็นขอ้ มลู ท่ีไดร้ บั การปกปอ้ งจาก ลกั ษณะของกลอ่ งเก็บขอ้ มลู (Block) เอง แสดงวา่ ขอ้ มลู นนั้ จะตอ้ งมคี า่ มาก ๆ พอท่ีจะใชเ้ ทคโนโลยี บลอ็ กเชน (Block Chain) เช่น ขอ้ มลู การโอนเงิน ขอ้ มลู ผลการโหวต เลอื กตงั้ เป็นตน้ 4. ขอ้ มลู ท่ีมลี กั ษณะเป็นรายการเดนิ บญั ชี (Ledger) การตรวจสอบคา่ ของขอ้ มลู ปัจจบุ นั นนั้ จะตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั มาประกอบเสมอเป็นการอา้ งองิ ซง่ึ กนั และกนั 5. การเปิดเผยขอ้ มลู และการปรบั ตวั ของคนในองคก์ ร จากคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี บลอ็ กเชนเอง จะตอ้ งมกี ารสง่ ขอ้ มลู ทกุ รายการใหผ้ ใู้ ชง้ านในระบบทกุ คนไดร้ บั รูเ้ สมอและผใู้ ชง้ าน ทกุ คนก็จะตอ้ ง ยอมรบั ในคณุ สมบตั ขิ อ้ นีข้ องเทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) 6. กฎหมายและขอ้ บงั คบั ท่ียงั ไมแ่ นน่ อน ปัจจบุ นั ในไทยยงั ไมม่ กี ารรบั รองสกลุ เงินดจิ ิทลั (Cryptocurrency) วา่ เป็นสกลุ เงินท่ีสามารถชาระหนตี้ ามกฎหมายไดใ้ นประเทศไทย (ธนาคาร แห่งประเทศไทย, 2557) อกี ทงั้ สกลุ เงินดจิ ิทลั เองกย็ งั ใชเ้ ทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) เป็น เบือ้ งหลงั ในการทางาน

การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยบี ล็อกเชน (Block Chain) การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) ชว่ ยเพ่ิมประสทิ ธิภาพของระบบ การจดั การขอ้ มลู ธุรกรรมพรอ้ มทงั้ ลดตน้ ทนุ และระยะเวลาการทาธุรกรรม โดยขนั้ ตอนและ ระยะเวลาในการประสานงานเพ่ือยืนยนั ขอ้ มลู ระหว่างหนว่ ยงานจะลดลง ยกตวั อยา่ งเช่น 1.การเงนิ และการธนาคาร เทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) จะชว่ ยลดขนั้ ตอน ในการดาเนินการธรุ กรรมทางการเงิน ทาใหธ้ ุรกรรมการเงินสามารถสาเรจ็ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เชน่ กระบวนการในการพิจารณาการใหส้ ินเช่ือปกตแิ ลว้ ใชร้ ะยะเวลานานราว 20 วนั จะมีโอกาส ลดลง เหลือเพียง 1 วนั เทา่ นนั้ หรอื อยา่ งในกรณีการโอนเงินระหวา่ งประเทศ ซง่ึ ปกตแิ ลว้ การ โอนเงิน ขา้ มประเทศใชเ้ วลาประมาณ 1-4 วนั และมีคา่ ธรรมเนียมสงู แตป่ ัจจบุ นั มีสกลุ เงิน ดจิ ทิ ลั เชน่ Ripple ชว่ ยกาจดั ตวั กลางท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การโอนเงินขา้ มประเทศทาใหร้ ะยะเวลา ในการโอนเงิน ลดลงเหลือเพียง 5-10 นาที นอกจากจะเรว็ แลว้ คา่ ธรรมเนียมในการโอนก็ถกู ลง อีกดว้ ย นอกจากนีเ้ ทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) ยงั ชว่ ยในเร่อื งของความแมน่ ยา และควาปลอดภยั ของขอ้ มลู เชน่ การนาเทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) มาใชใ้ นการ ทา KYC (Know Your Customer) จะชว่ ยปอ้ งกนั การปลอมแปลงแอบอา้ งการใช้ ขอ้ มลู รวมถึงการฉอ้ โกงออนไลน์ 2. อุตสาหกรรมยานยนต์ บรษิ ทั รถยนตช์ นั้ นาเชน่ โตโยตา้ เลง็ เหน็ ความสาคญั ของ รถยนตไ์ รค้ นขบั โดยสถาบนั วจิ ยั Toyota ไดร้ ว่ มมือกบั MIT Media LAB ในการนา เทคโนโลยี บล็อกเชน (Block Chain) มาพฒั นาปรบั ใชก้ บั อตุ สาหกรรมรถยนต์ โดย เทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) จะเก็บขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากผผู้ ลติ รถยนตแ์ ละผใู้ ชง้ าน รถยนตก์ วา่ พนั ลา้ นขอ้ มลู มา วเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรุงความปลอดภยั ของเทคโนโลยีไรค้ นขบั ใหม้ ี ประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขนึ้ ซง่ึ นอกจากชว่ ยเร่อื งประสทิ ธิภาพแลว้ เทคโนโลยีบล็อกเชนยงั ชว่ ยลด ระยะเวลาในการพฒั นา เทคโนโลยีไรค้ นขบั อีกดว้ ย นอกจากนี้ สถาบนั วิจยั Toyota ยงั รว่ มมือกบั บรษิ ัทสตารท์ อพั หลายราย เชน่ BigchainDB ในการนาเทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) มาพฒั นาความ สามารถของรถยนตไ์ รค้ นขบั

3. การบรจิ าคและระดมทุน สง่ิ ที่มกั เกิดขนึ้ เม่ือทาการบรจิ าคเงินคอื ไมท่ ราบวา่ เงินท่ี บรจิ าคไปนนั้ ถึง มือผรู้ บั จรงิ หรอื ไม่ เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) จะเขา้ มาช่วยแกป้ ัญหา นี้ โดยขอ้ มลู การบรจิ าค เงินตงั้ แตต่ น้ ทางถงึ ปลายทางจะไดร้ บั การเปิดเผยอยา่ งโปรง่ ใส ผบู้ รจิ าค สามารถตดิ ตามและตรวจสอบไดว้ า่ เงินท่ีตนบรจิ าคไปนนั้ ถึงมอื ผรู้ บั จรงิ หรอื ไม่ ชว่ ยลดการฉอ้ โกง จากมจิ ฉาชีพได้ นอกจากนเี้ ทคโนโลยบี ลอ็ ก เชน (Block Chain) ยงั ช่วยใหข้ นั้ ตอนการเก็บเงิน บรจิ าคสะดวกง่ายดายย่ิงขนึ้ และชว่ ยมลู นิธิในการลด คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารจดั การ กรณีของ Helperbit สตารท์ อพั สญั ชาตอิ ิตาเลยี นไดน้ าเทคโนโลยีบลอ็ ก เชน (Block Chain) มาช่วยในเชิง 4. วงการสื่อ ลดการละเมิดลขิ สทิ ธิ์ ดว้ ยเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) อยา่ งใน กรณีของ Muse Block Chain ไดส้ รา้ งแพลตฟอรม์ การเลน่ ไฟลม์ ลั ตมิ เี ดยี (วิดีโอหรอื เสยี ง) ช่ือวา่ PeerTracks ที่ผฟู้ ังสามารถจ่ายเงินโดยตรงไปยงั ศลิ ปินไดเ้ ลย นอกจากจะช่วยเรอ่ื งลขิ สิทธิ์แลว้ ยงั ช่วย ตดั คนกลางออกไป ทาใหศ้ ิลปินไดร้ บั ผลตอบแทนทมี่ ากขนึ้ 5. วงการแพทย์ การประยกุ ตใ์ ชใ้ นวงการสาธารณสขุ มหี ลากหลาย นาเทคโนโลยีบลอ็ ก เชน่ Block Chain มาใชเ้ พอ่ื เพ่ิมความโปรง่ ใสของอตุ สาหกรรมยาและการแพทย์ ทาใหผ้ ทู้ ี่ เกี่ยวขอ้ งในหว่ งโซอ่ ปุ ทาน สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดง้ ่ายขนึ้ จากกรณีศกึ ษา MedRec ผปู้ ่ วยสามารถ จดั การประวตั กิ ารรกั ษาดว้ ย เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Block Chain) โดยสามารถเขา้ มาดขู อ้ มลู ประวตั กิ ารรกั ษาพยาบาลจากทกุ โรงพยาบาลท่เี คยไปรบั การรกั ษามาได้ แพทยส์ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา้ มหนว่ ยงานและรูปแบบที่ตา่ งกนั ได้ เพ่ือเพิม่ ความถกู ตอ้ งแมน่ ยาในการนาขอ้ มลู มาวินจิ ฉยั และรกั ษาโรค แทนการเช็คแฟม้ ประวตั คิ นไขห้ รอื โทรศพั ทไ์ ปขอขอ้ มลู ผปู้ ่ วยกบั สถานพยาบาลอกี แหง่

6. อุตสาหกรรมประกันภัย เทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) จะเขา้ มาชว่ ยเพ่มิ ความโปรง่ ใสและปอ้ งกนั ปัญหาการทจุ ริตในวงการประกนั ภยั ผเู้ ก่ียวขอ้ งในฝ่ายต่าง ๆ สามารถ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู อยา่ งเปิดเผย การประกนั ท่ีจะมีการจา่ ยเงินใหผ้ ทู้ าประกนั เม่ือเกิดเง่ือนไขตา่ ง ๆ ตาม ท่ีตกลงกนั ไวเ้ ทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) วิเคราะหข์ อ้ มลู สภาพอากาศแบบ เรียลไทมแ์ ละ ชดเชยคา่ เสียหาย 7. สายธุรกิจสุขภาพ เทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ สามารถ แชร์ และมีความปลอดภยั เชน่ แพลตฟอรม์ Gem เป็นเทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) ใหน้ กั พฒั นาดา้ นสขุ ภาพสามารถพฒั นาเป็นอินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่งิ (IoT) อวยั วะเทียม เชน่ เขา่ สะโพก แจง้ เตอื นไดว้ า่ ถึงเวลาตอ้ งเปล่ียนแลว้ 8. มอนิเตอรโ์ ครงสร้างต่าง ๆ ในเมอื ง สามารถตดิ ตงั้ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ และใชอ้ ปุ กรณ์ เหลา่ นีใ้ นการมอนิเตอรด์ ปู ัจจยั ความเส่ียงบนทอ้ งถนน รางรถไฟ แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้า สะพาน ทา่ เรือ เพ่ือตรวจสอบดปู ัญหาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และลดตน้ ทนุ ไปได้ 9. งานเอกสาร เม่ืออปุ กรณต์ า่ ง ๆ กลายเป็นดจิ ทิ ลั เอกสารก็เชน่ เดยี วกนั ทงั้ ลิขสิทธิ์ ความเป็นเจา้ ของ การรบั รอง คา้ ประกนั จะถกู นาขนึ้ ไปไวบ้ นเทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Block Chain) ตวั อยา่ งเชน่ จะสตารท์ รถไมไ่ ดถ้ า้ ตรวจสอบแลว้ ว่าประกนั หมด เจา้ ของไมจ่ ่ายคา่ ท่ี จอดรถหรอื ใบขบั ข่ีของคนขบั ท่ีพยายามจะขบั รถนนั้ ดเู ป็นท่ีตอ้ งสงสยั เรยี กว่าทงั้ หมดเช่ือมโยง ถงึ กนั ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook