Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือกลุ่มอำนวยการ

คู่มือกลุ่มอำนวยการ

Published by singburiprovin, 2020-11-08 12:35:46

Description: คู่มือกลุ่มอำนวยการ

Search

Read the Text Version

40 1. ช่ืองาน การกนั เงนิ 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหก้ ารกันเงนิ ของ สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัด เปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย ถกู ต้อง เป็น ระบบตามขน้ั ตอนทีร่ ะเบยี บกาหนด 3. ขอบเขตของงาน การกันเงนิ ไว้เบิกเหลอื่ มปี ตามระเบยี บการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเกบ็ รักษาเงนิ และการนา เงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 4. ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ๔.1 ตรวจสอบรายการก่อหนผี้ ูกพัน ๔.2 ตรวจสอบระยะเวลาสง่ มอบงานและการตรวจรบั ๔.3 ตรวจสอบวงเงนิ ตามสัญญาทีย่ งั ไม่ไดเ้ บิกเงิน ๔.4 กรณวี งเงนิ คงเหลอื ต้งั แต่ 100,000 บาทขน้ึ ไป ถอื ว่าได้รบั การกนั เงินจากระบบ GFMIS แลว้ 5. Flow Chart ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน การกันเงิน ตรวจสอบรายการก่อหน้ผี กู พัน ตรวจสอบระยะเวลาสง่ มอบงานและการตรวจรบั ตรวจสอบวงเงนิ ตามสัญญาท่ียังไม่ไดเ้ บิกเงนิ กรณีวงเงินคงเหลอื ตัง้ แต่ 100,000 บาท ขนึ้ ไป ถือ ว่าได้รับการกนั เงนิ จากระบบ GFMIS แลว้ 6. แบบพมิ พ์ที่ใช้ 7.1 ทะเบียนคุมเงนิ ประจางวดสว่ นจังหวัด 7.2 สัญญาซือ้ /สญั ญาจา้ ง 7.3 บันทกึ ข้อความ 7. เอกสาร/ หลกั ฐานอ้างอิง 8.1 ระเบียบการเบิกจา่ ยเงินจากคลงั การเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลงั พ.ศ. 2551 - หมวด 9 การกนั เงินไวเ้ บิกเหลือ่ มปี

8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชอ่ื งาน การกันเงิน มาตรฐานคุณภาพงาน : การกนั เงิน เรียบรอ้ ย ถูกต้อง เป็นไปตามขน้ั ตอนทร่ี ะเบ ตวั ชว้ี ัดทส่ี าคัญของกระบวนงาน : รอ้ ยละการปฏบิ ตั ิทถ่ี ูกต้องของขัน้ ตอนการกัน ลาดับท่ี ผงั ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน รายละ 1 ตรวจสอบรายการเงินคงเหลือ / ใบ เบิกจา่ ยเหลอื มปี 2 ตรวจสอบระยะเวลาสง่ มอบงานแล 3 ตรวจสอบวงเงนิ ตามสญั ญาที่ยงั ไม่ไ กรณีวงเงินคงเหลือตั้งแต่ 100,00 4 จากระบบ GFMIS แล้ว เอกสารอา้ งองิ ระเบยี บการเบิกจา่ ยเงนิ จากคลงั การเกบ็ รกั ษาเงินและการนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ. 2551

41 บียบกาหนด เวลาดาเนินการ ผรู้ ับผิดชอบ หมายเหตุ นเงิน ตามที่ระเบียบกาหนด 1 วัน เจ้าหน้าทีบ่ ญั ชี ระยะเวลาอาจ ะเอยี ดงาน เปลยี่ นแปลงได้ บส่ังซอ้ื สง่ั จา้ ง (P.O.) ทต่ี ้องกันเงนิ ไว้ 20 นาที เจ้าหน้าที่บญั ชี ตามความ เหมาะสมและ ละการตรวจรับ 30 นาที เจ้าหนา้ ที่บญั ชี ปรมิ าณงานที่ ไดร้ ับ ได้เบิกเงิน 00 บาทข้ึนไป ถือวา่ ได้รบั การกนั เงิน 5 นาที เจา้ หน้าท่ีบญั ชี 1 หมวด 9 การกันเงนิ ไวเ้ บิกเหลอ่ื มปี

42 ๑. ชื่องาน สมดุ เงินสด ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้การจัดทาสมุดบัญชขี น้ั ต้นถูกต้องตามระบบบัญชตี ามเกณฑ์คงคา้ งสาหรับหนว่ ยงานภาครัฐ ฉบับท่ี 2 , คมู่ อื แนวปฏบิ ตั ิทางบญั ชตี ามเกณฑ์คงค้างสาหรบั หน่วยงานภาครฐั และหนังสอื กรมบัญชีกลาง ท่ี กค.0423.3/ว 384 ลงวนั ท่ี 18 ตลุ าคม 2556 เร่อื ง แนวทางการยกเลิกการจัดทาบญั ชตี ามเกณฑ์ คงคา้ งด้วยมือ(Manual) ตง้ั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2557 เป็นตน้ ไป ๓. ขอบเขตของงาน ใช้สาหรับบันทึกรายการเก่ียวกบั การรบั และจา่ ยตัวเงนิ สดและเอกสารแทนตวั เงนิ เช่น เชค็ ธนาณัติ ดร๊าฟท์ เป็นต้น การรบั จา่ ยเงนิ สดทกุ กรณี จะต้องนามาบันทึกรายการในสมดุ เงินสด และบันทึกในระบบ GFMIS ทุกสน้ิ วันใหป้ ิดบญั ชีการรบั -จา่ ยเงนิ และแสดงจานวนเงนิ คงเหลอื ซึ่งจานวนเงินคงเหลือจะต้อง เทา่ กบั จานวนเงนิ ในรายงานเงินคงเหลือประจาวนั และรายงานเงนิ สดคงเหลือประจาวันในระบบ GFMIS ๔. ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ด้านรบั เงินสด 1. รับเอกสารการบนั ทึกบัญชีจากเจ้าหนา้ ที่การเงิน สาเนาใบเสร็จรับเงนิ 2. วเิ คราะหร์ ายการทางบัญชีวา่ รับเงนิ ประเภทอะไร 3. บนั ทึกลงในระบบ GFMIS ตามประเภทของเงิน เชน่ รายไดแ้ ผน่ ดนิ RA เบิกเกินส่งคืนBD เงนิ รับฝากอ่ืนRE เงินนอกงบประมาณ RB 4. บนั ทกึ ลงในสมุดเงนิ สด ช่องรับ ด้านจา่ ยเงินสด 1. รับเอกสารการบันทกึ บัญชจี ากเจา้ หน้าที่การเงิน สาเนาใบนาฝาก Pay in Slip 2. วเิ คราะหร์ ายการทางบัญชีว่าจ่ายเงนิ ประเภทอะไร 3. บนั ทึกลงในระบบ GFMIS ตามประเภทของเงนิ เชน่ รายไดแ้ ผน่ ดิน R1 เบิกเกินส่งคืน R6 เงนิ รบั ฝากอื่นPP เงินนอกงบประมาณ R7 4. บนั ทกึ ลงในสมดุ เงินสด ชอ่ งจ่าย ทกุ สนิ้ วนั ให้ปิดบัญชกี ารรบั -จา่ ยเงนิ และแสดงจานวนเงินคงเหลอื ซ่ึงจานวนเงนิ คงเหลือจะต้อง เท่ากบั จานวนเงนิ ในรายงานเงินคงเหลือประจาวันและรายงานเงนิ สดคงเหลือประจาวนั ในระบบ GFMIS 5.แบบฟอร์มทีใ่ ช้ 5.1. สาเนาใบเสร็จรับเงนิ 5.2 สาเนาใบนาฝาก Pay in slip 5.๓ สมดุ บญั ชีเงนิ สด

43 6. เอกสาร/หลกั ฐานอ้างอิง 6.1 ระเบยี บการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเกบ็ รักษาเงินและการนาเงินสง่ คลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 และ หมวด 6 การรบั เงนิ ของสว่ นราชการ 6.2 คมู่ อื แนวปฏิบัตทิ างบญั ชีตามเกณฑค์ งค้างสาหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. 2546 6.3 หนังสอื กรมบญั ชีกลางท่ี กค.0423.3/ว 384 ลงวนั ท่ี 18 ตุลาคม 2556 เร่ือง แนวทางการยกเลิกการจัดทาบญั ชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมอื (Manual) ตั้งแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 เป็นตน้ ไป

44 1. ช่ืองาน สมดุ เงินฝากธนาคาร 2. วตั ถุประสงค์ เพือ่ ใหก้ ารจัดทาสมดุ บญั ชีข้ันต้นถกู ต้องตามระบบบัญชตี ามเกณฑค์ งค้างสาหรบั หน่วยงานภาครฐั ฉบบั ท่ี 2 , คู่มอื แนวปฏบิ ัติทางบญั ชตี ามเกณฑค์ งค้างสาหรับหนว่ ยงานภาครัฐ และหนงั สือกรมบัญชกี ลาง ท่ี กค.0423.3/ว 384 ลงวนั ที่ 18 ตุลาคม 2556 เร่อื ง แนวทางการยกเลกิ การจัดทาบญั ชตี ามเกณฑ์ คงค้างด้วยมือ(Manual) ตง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เปน็ ตน้ ไป 3. ขอบเขตของงาน ใช้สาหรับบันทึกรายการเกี่ยวกับการรบั และจ่ายเงินจากธนาคาร เช่น การนาเงนิ ฝากธนาคาร การเบิกเงนิ จากคลัง การจา่ ยเงินด้วยเชค็ ของหน่วยงานเจ้าของบัญชี การจ่ายเงินผา่ นระบบ KTB Corporate Online กรณีที่หนว่ ยงานมีบญั ชเี งนิ ฝากธนาคารมากกวา่ 1 บญั ชี ให้จัดทาสมุดเงินฝาก ธนาคารแยกเป็นรายบัญชเี งนิ ฝากธนาคาร ทกุ สนิ้ เดอื นให้ปดิ บัญชกี ารรับ-จา่ ยเงิน และแสดงจานวนเงินคงเหลอื ซ่ึงจานวนเงินคงเหลือจะต้อง เท่ากับจานวนเงินในสมุดคฝู่ ากธนาคาร หรือ Bank Statement และงบทดลองในระบบ GFMIS รวมท้ังจัดทารายงานกระทบยอดเงนิ ฝากธนาคารและรายละเอยี ดเงินคงเหลือแตแ่ ละบญั ชี เพอื่ ให้สามารถ ตรวจสอบความครบถว้ น ถกู ต้อง 4. ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน ด้านรบั เงนิ 1. รบั หลกั ฐาน/เอกสาร การรบั เงนิ ฝากธนาคาร จากเจา้ หนา้ ทกี่ ารเงิน เชน่ รายงานการขอเบกิ เงินจากคลงั (ขบ.02 ) Statement 2. วิเคราะห์การรบั -จา่ ยเงนิ วา่ เป็นเงินฝากธนาคารบัญชใี ด ตรวจสอบกับรายงาน 503 และ Statement 3. บันทึกลงในบัญชีเงินฝากธนาคาร ช่องรบั ด้านจ่ายเงิน 1. รับหลกั ฐาน/เอกสาร หลักฐานการจา่ ยเงินฝากธนาคาร จากเจา้ หนา้ ที่การเงนิ 2. วิเคราะห์การจา่ ยเงนิ วา่ จ่ายเงินจากเงินฝากธนาคารบญั ชีใด ตรวจสอบจากทะเบียนจา่ ยเชค็ และ statement 3. บันทกึ การจ่ายในระบบ GFMIS PM / PP 4. จัดพิมพร์ ายงานการจา่ ยในระบบ GFMIS เสนอหวั หน้าหน่วยเบิกจ่าย 5. บนั ทกึ ลงในบญั ชเี งินฝากธนาคาร ชอ่ งรบั

45 5.แบบฟอรม์ ที่ใช้ 5.1 รายงานการขอเบิกจากคลงั 5.2 รายงาน 503 5.3 รายงานขอจา่ ย 53PM PP 5.4 ต้นข้วั เชค็ /ทะเบยี นคุมจ่ายเช็ค 5.5 สมดุ คฝู่ ากธนาคาร /statement 5.6 สมดุ บัญชเี งนิ ฝากธนาคาร แยกรายบัญชี

46 การรับและการนาส่งเงนิ ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน การรบั เงิน 1. บนั ทึกการรับเงินตามสาเนาใบเสร็จรับเงนิ ในสมดุ เงินสด และบันทกึ ในระบบรับนาส่ง ระบบ GFMIS 2. พิมพ์รายงานการรบั รายได้ ระบบ GFMIS เสนอ ศธจ. การนาส่งเงิน 1. จัดทาทะเบียนการนาสง่ เงนิ และนาฝาก เพื่อให้เลขที่ในสาเนาใบนาฝากเงนิ Pay in slip 2. บนั ทึกรายการนาสง่ ในสมดุ เงินสด และในระบบ GFMIS 3. พมิ พ์รายงานนาสง่ เสนอ ศธจ. 4. จัดเก็บหลักฐาน การบันทึกทะเบียนคุมการเบกิ จ่ายเงนิ ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน 1. รับเอกสารการเบกิ เงิน จา่ ยตรง จา่ ยผ่าน เอกสาร ขบ 01 ขบ.02 ขบ.03 2. บนั ทกึ รายละเอยี ดของรายการขอเบิกเงินจากคลงั วันวางขอเบกิ วันรบั เงิน เลขท่ีเอกสารจาก ระบบ วนั ครบกาหนด 3. บันทกึ การจา่ ยเงนิ ตามหลักฐานการจา่ ยเงนิ รายวัน 4. ทกุ สิ้นเดอื นสรุปรายการ คา้ งจ่าย เพ่ือประกอบบัญชีเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือ การจดั ทางบเทยี บยอดเงินฝากธนาคาร ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. ตรวจสอบต้นขว้ั เช็คกบั ทะเบียนคมุ การจา่ ยเช็ค 2. ตรวจสอบเลขท่ีเช็คและจานวนเงนิ ตาม Statement เพื่อหาเช็คทย่ี ังไม่นาไปขึ้นเงิน 3. ตรวจสอบเงินนาฝากเข้าระหว่างทาง 4. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของยอดเงนิ คงเหลือตามงบเทยี บยอดเงินฝากธนาคาร กบั สมุดบัญชี แยกประเภทเงนิ ฝากธนาคาร (ระบบมือ) การตรวจสอบการจดั ทารายงานการเงนิ ประจาเดอื น เมอ่ื บันทึกรายการรบั -จา่ ย ปรบั ปรงุ ทง้ั เงินในงบประมาณ นอกงบประมาณ เงนิ รับฝาก เงนิ อ่นื ๆ (ถ้ามี)เสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ ใหเ้ รยี กรายงานเงนิ ทดลอง ระดับหน่วยเบกิ จ่าย ประจาเดอื น มาตรวจสอบ ตามเกณฑป์ ระเมนิ ดา้ นบัญชี ดังนี้

47 1. ตรวจสอบงบทดลอง ประจาเดือน ว่าไม่มรี ายการใดผิดดุล และรายการพัก ตามเกณฑ์ ประเมนิ ด้านบญั ชี 2. ตรวจสอบรายการเงนิ สด ให้ถกู ต้องตรงกนั กบั เงนิ สดในมือ และ รายงานเงินคงเหลือประจาวัน (ระบบมือ) 3. ตรวจสอบเงนิ ฝากธนาคาร ทุกบญั ชี โดย จดั ทางบเทียบยอดเงนิ ฝากธนาคาร ทุกบญั ชี โดย เปรยี บเทยี บสมุดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลอื (ระบบมือ) จะต้องตรงกันกบั Statement และรายละเอยี ดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือ 4. การจัดทารายละเอียดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือทุกประเภท เงนิ งบประมาณ 1. เม่ือไดร้ บั ร่างฎีกาการวางเบิกจากเจา้ หน้าทีเ่ บิก ให้บนั ทกึ ลงในทะเบยี นคุมการเบิก จา่ ยเงิน ทุกฉบับ ให้ครบถ้วน ถกู ต้องกบั สรุปรายงานการเบิกจา่ ยเงิน W01 จากระบบ GFMIS 2. ตรวจสอบวนั ท่ีเงินเข้าบัญชี จาก รายงาน 503 และบันทกึ ในทะเบียนคมุ 3. เมื่อไดร้ บั เอกสารดา้ นจ่ายเงนิ ให้บนั ทกึ ในทะเบียนคุมการเบกิ จ่าย 4. เมอ่ื ส้ินเดือนใหห้ ายอดเงินคงเหลอื ตามเอกสารที่วางเบิก ให้ตรงกับยอดเงินคงเหลือในสมุด เงินฝากธนาคาร 5. พมิ พร์ ายละเอยี ดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลอื ประกอบงบเทยี บยอดเงนิ ฝากธนาคาร เงนิ รับฝาก 1. เม่ือได้รับการโอนเงนิ จากหน่วยงานต่าง ๆ ให้ออกใบเสรจ็ รบั เงิน และบนั ทกึ ในระบบ RE และทะเบียนคุมเงิน แยกเป็นประเภทของเงนิ นัน้ ๆ 2. ด้านจา่ ย เม่ือไดร้ บั เอกสารด้านจ่าย ให้บนั ทึกในระบบ PP และทะเบยี นคุม 3. เก็บรายละเอยี ดเงนิ คงเหลือ ให้ตรงกับยอดเงินในสมุดเงนิ ฝากธนาคาร และ Statement 4. พิมพร์ ายละเอียดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลอื ประกอบงบเทยี บยอดเงนิ ฝากธนาคาร 5. ตรวจสอบลกู หน้เี งินยืมราชการ นอกงบประมาณ นอกธนาคารพาณชิ ย์ ใหถ้ ูกต้องตรง กบั สญั ญาเงินยืม และรายละเอยี ดลูกหนีค้ งเหลือในระบบ GFMIS และพิมพร์ ายละเอยี ดลกู หนี้คงเหลอื เมอื่ ไดร้ บั เอกสารใบสาคัญลา้ งหนี้เงนิ ยมื (ทุกประเภท) ใหต้ รวจสอบกบั ใบรบั ใบสาคญั และบนั ทึกลา้ งหน้ีใน ระบบ GFMIS ประเภท G1 หรือ JV โดยแยกรายจา่ ยตามบัญชแี ยกประเภทท่ีใช้จ่ายเงิน เชน่ เบย้ี เล้ยี ง ที่พกั พาหนะ ฯลฯ 6. ตรวจสอบ บัญชคี ้างรับจากกรมบญั ชีกลาง ว่ามเี อกสารวางเบิกใดบ้าง ที่ต้องจ่ายผ่านแต่ กรมบญั ชกี ลางยังไม่ได้โอนเงินเขา้ บญั ชใี ห้ โดยจัดพิมพ์รายละเอียดคงเหลือประกอบ

48 7. ตรวจสอบพักสินทรพั ย์ ถ้ามใี ห้ทาการสร้างข้อมูลหลกั สินทรพั ย์ และลา้ งบญั ชีพักเป็น ทรัพย์สนิ หรือครภุ ณั ฑ์ตา่ กว่าเกณฑ์ และส่งรายละเอยี ดเลขท่ีสนิ ทรัพย์ทีไ่ ดจ้ ากระบบ ใหเ้ จา้ หน้าท่พี ัสดุ บันทึกในทะเบียนคมุ สนิ ทรัพยต์ ่อไป 8. ตรวจสอบบญั ชเี จา้ หน้ี ตา่ ง ๆ วา่ มเี อกสารวางเบกิ ใดบ้าง จัดพมิ พร์ ายละเอยี ดคงเหลือ ประกอบ 9. ตรวจสอบใบสาคัญคา้ งจ่าย วา่ มเี อกสารวางเบกิ ใดบา้ ง จดั พมิ พร์ ายละเอียดคงเหลือ ประกอบ 10. ตรวจสอบเงินรบั ฝากอ่ืน วา่ มีเงินประเภทใดบา้ ง และตรงกันกับสมุดบัญชีเงนิ ฝาก ธนาคาร ท่ีบนั ทึกไว้เป็นเงนิ รับฝาก ข้อสังเกต เงินรับฝากอ่ืน อาจมบี ญั ชเี งนิ ฝากธนาคารหลายเลม่ ให้เกบ็ รายละเอียดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือ ที่เก่ียวข้องกบั เงนิ รับฝาก และลกู หน้ีเงินนอก (นอก)ธนาคารพาณิชย(์ เพราะยังไม่ตัด จา่ ยจากบญั ชีเงินรับฝากอน่ื ) และ เงินสานกั งานครุ สุ ภา หรอื บัญชีธนาคารอืน่ ๆ (ถ้ามี) 11. บญั ชเี บิกเกินรอนาส่ง ไม่ควรมยี อดยกไป 12. บัญชี ภาษี ตา่ ง ๆ ตอ้ งไม่มยี อดยกไป 13. รวมหน่วยเบกิ จา่ ย ชอ่ งยอดยกไป ตอ้ งมยี อดเปน็ ศูนย์ 14. รายละเอียดต่าง ๆ ให้เสนอผบู้ ังคบั บัญชาทราบ และรวมเรอ่ื งไวร้ อการตรวจสอบต่อไป การจัดสง่ รายงานการเงนิ ทกุ สน้ิ เดือน 1. รายงานยืนยนั ยอดสรปุ การเบิกจา่ ย W01 สง่ คลงั จงั หวดั ภายในวันท่ี 10 ของเดอื นถดั ไป 2. รายงานการเงินระดับหน่วยเบิกจ่าย ให้ สตง. ภายในวนั ที่ 15 ของเดือนถดั ไป การจัดส่งรายงานการเงนิ ทกุ สิ้นไตรมาส 1. รายงานการใชจ้ า่ ยเงนิ กคศ. และ อกคศ. ทราบ 2. รายงานการเบิกจ่ายงบลงทุน ให้ศนู ยเ์ ทคโนฯ ทราบ การจดั สง่ รายงานการเงินทกุ ส้นิ ปี 1. รายงานเกณฑป์ ระเมินดา้ นบัญชีประจาปงี บประมาณ 2. รายงานงบการเงินประจาปี 3. รายงานเงินทดรองราชการ ส่ง สตง. 4. รายงานคา่ ใชจ้ า่ ยของหนว่ ยงาน การบันทกึ ส้ินปี ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน 1. บันทกึ ปรบั ปรงุ บญั ชใี นระบบ GFMIS ตามบญั ชเี กณฑ์คงค้าง 2. บนั ทกึ ปดิ บญั ชี ตามเกณฑค์ งคา้ ง 3. พิมพ์รายงานเสนอ ศธจ. 4. จัดเกบ็ รายงานตามเกณฑ์ประเมินด้านบัญชี

49 การจัดเก็บงบเดือน จดั เกบ็ หลักฐานการจา่ ยเงินตามวนั ท่กี ารจ่ายเงนิ โดยพมิ พส์ รปุ การจ่ายเงนิ ทกุ รายการแนบพรอ้ ม หลักฐาน เพอ่ื สะดวกในการค้นหาและตรวจสอบต่อไป

50 ๑. ชอื่ งาน งานจดั /ซอ้ื จัดจา้ ง ๒. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้การจัดหาพัสดุทันตามกาหนดเวลาที่ต้องการใช้และดาเนินการจัดซื้อ/จัดจ้าง ถูกต้องตาม ระเบยี บ ๓. ขอบเขตของงาน งานจดั ซ้ือจดั จา้ งตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ.2560 และ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซอ้ื จัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ.2560 แต่ไมร่ วมถงึ การ ดาเนนิ การ ในระบบ GFMIS ซง่ึ ผูป้ ฏบิ ัติงานจะต้องจดั ทาคู่มอื การปฏบิ ัตงิ านของตนเองตามที่ไดร้ บั มอบหมาย งาน ๔. ข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ าน ๔.๑ สารวจความตอ้ งการใชพ้ ัสดุของกลุ่มใน ศธจ. ๔.๒ จดั ทาแผนจัดซอ้ื จดั จ้าง ๔.๓ จดั ทาร่างขอบเขตของพัสดทุ ต่ี อ้ งการจดั ซื้อ/จดั จา้ ง ๔.๔ จัดทารายงานขอซื้อ/จ้าง เสนอขอความเหน็ ชอบจาก ศธจ./จัดทา e - GP ๔.๕ ศธจ.ใหค้ วามเห็นชอบรายงานขอซ้ือ/จ้าง ๔.๖ เชิญชวน/เจรจาต่อรอง ๔.๗ จดั ทารายงานผล/เสนอใหค้ วามเห็นชอบจาก ศธจ. ๔.๘ ดาเนินการจดั ซอื้ /จดั จ้าง ตามวธิ ีการทีไ่ ดร้ ับความเหน็ ชอบ /จัดทา e - GP ๔.๙ จัดทาสญั ญาหรือข้อตกลง/สร้างข้อมูลหลกั ผขู้ าย/ทาใบ PO ๔.๑๐ บรหิ ารสัญญา ๔.๑๑ ตรวจรับพัสดภุ ายในเวลาท่รี ะเบียบฯ กาหนด/ตรวจรบั ในระบบ GFMIS ๔.๑๒ จัดทารายงานเสนอ ศธจ. เพอ่ื ทราบผลการพจิ ารณา ๔.๑๓ ส่งเอกสารการตรวจรับใหเ้ จา้ หนา้ ทกี่ ารเงนิ เบกิ เงนิ เพื่อจา่ ยผู้ขาย/ผู้รับจ้าง

51 ๕. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน การจัดซื้อ/จดั จ้าง สารวจความตอ้ งการใช้พัสดุ จัดทาแผนจดั ซ้ือจัดจา้ ง จัดทาร่างขอบเขตของพสั ดุท่ีตอ้ งการ จัดซอื้ /จัดจา้ ง/จดั ทา e - GP จัดทารายงานขอซื้อ/จา้ ง เสนอขอ ความเห็นชอบจาก ศธจ. จัดทารายงานผล/เสนอให้ความเหน็ ชอบ จาก ศธจ./ประกาศผลผู้ชนะ ดาเนนิ การจัดซื้อ/จดั จ้าง ตามวิธีการท่ี ไดร้ บั ความเหน็ ชอบ /จดั ทา e - GP จัดทาสญั ญาหรอื ข้อตกลง/สร้าง ข้อมูลหลักผู้ขาย/ทาใบ PO บรหิ ารสญั ญา ตรวจรับพัสดุภายในเวลาที่ระเบียบฯ กาหนด/ตรวจรบั ในระบบ GFMIS จดั ทารายงานเสนอ ศธจ. เพอ่ื ทราบผลการ พิจารณา สง่ เอกสารการตรวจรบั ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี การเงิน เบิกเงินเพ่ือจา่ ยผู้ขาย/ผู้รับจ้าง

52 ๖. แบบฟอร์มท่ใี ช้ ๖.๑ แบบฟอรม์ การจัดซอื้ /จัดจ้าง ตามระเบียบกฎหมายกาหนด ๖.๒ เกณฑค์ ุณลักษณะ/แบบรปู รายการ ๗. เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง ๗.๑ พระราชบัญญัตกิ ารจัดซื้อจดั จา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ๗.๒ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยการจดั ซ้อื จัดจ้างและการบริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 ๗.๓ ระเบียบการเบิกจ่ายเงนิ จากคลัง การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ. 2551 ๗.๔ คู่มือปฏบิ ตั ิงานในระบบ GFMIS ๗.๕ มตคิ ณะรฐั มนตรีที่เกยี่ วข้อง ๗.๖ คมู่ ือระบบจัดซื้อจดั จ้างภาครฐั ดว้ ยระบบอิเลคทรอนิกส์ e - GP ๘. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชอ่ื งาน การจดั ซ้อื /จดั จา้ ง สว่ นราชการ กลมุ่ อานวยการ รหสั เอกสาร มาตรฐานคณุ ภาพงาน : เพื่อให้การจัดหาพัสดุทันตามกาหนดเวลาทตี่ ้องการใชแ้ ละดาเนินการจัดซื้อ/จัดจ้าง ถูกต้องตามระเบียบ ตัวชวี้ ดั ท่ีสาคัญของกระบวนงาน : ร้อยละการปฏบิ ตั ิที่ถูกตอ้ งของขั้นตอนการจัดหาพัสดแุ ละถูกต้องตามระเบยี บ ลาดับ ผังขั้นตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน เวลา ผ้รู บั ผิดชอบ หมายเหตุ ท่ี ดาเนนิ การ 1 สารวจความตอ้ งการใช้พสั ดุ 5วนั ทา เจา้ หน้าทพี่ ัสดุ ระยะเวลา การ สามารถ 2 จัดทาแผนจัดซือ้ จัดจา้ ง 1 วนั เจา้ หนา้ ทพ่ี ัสดุ ปรบั เปลีย่ นให้ เหมาะสมกับ 3 จัดทาร่างขอบเขตของพัสดทุ ตี่ อ้ งการจัดซอ้ื /จดั จา้ ง/จดั ทา e - GP 1 วัน เจ้าหน้าที่พสั ดุ วธิ ีการและ ปริมาณพสั ดทุ ี่ 4 จัดทารายงานขอซ้ือ/จ้าง เสนอขอความเหน็ ชอบจาก ศธจ. 1 วนั เจา้ หนา้ ท่ี ตอ้ งการจดั หา พัสดุ/ศธจ. 5 รายงานผล/เสนอให้ความเห็นชอบจาก ศธจ./ประกาศผลผู้ 30 เจ้าหน้าทพ่ี สั ดุ ชนะ นาที 6 ดาเนนิ การจัดซอื้ /จดั จา้ ง ตามวธิ กี ารที่ได้รับความเหน็ ชอบ /จัดทา ตาม เจ้าหนา้ ท่พี ัสดุ e - GP วธิ ีการ 7 จดั ทาสัญญาหรอื ข้อตกลง/สร้างขอ้ มลู หลักผ้ขู าย/ทาใบ PO 7 วนั เจา้ หนา้ ที่พัสดุ/ คสู่ ญั ญา 8 บรหิ ารสญั ญา ตามที่ เจ้าหน้าท่พี สั ดุ/ ระบุใน กรรมการตรวจฯ สัญญา 9 ตรวจรบั พัสดภุ ายในเวลาทรี่ ะเบยี บฯ กาหนด/ตรวจรับใน 3-5วนั เจา้ หน้าที่พสั ดุ/ กรรมการตรวจฯ ระบบ GFMIS 10 จดั ทารายงานเสนอ ศธจ. เพอื่ ทราบผลการพจิ ารณา 1 วัน เจ้าหนา้ ทีพ่ ัสดุ 11 ส่งเอกสารการตรวจรบั ใหเ้ จา้ หนา้ ทกี่ ารเงิน เบิกเงนิ เพ่อื จ่าย 1 วัน เจา้ หน้าท่ี ผู้ขาย/ผรู้ ับจา้ ง การเงนิ เอกสารอา้ งอิง พระราชบัญญตั กิ ารจัดซ้ือจัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560 และระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจดั ซอ้ื จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ.2560

53 ๑. ช่ืองาน งานการเก็บรกั ษาพสั ดุ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ใหก้ ารควบคมุ พัสดุ (การเกบ็ รกั ษาพสั ด)ุ ถกู ตอ้ งเป็นไปตามขน้ั ตอนตามระเบยี บที่กาหนด ๓. ขอบเขตของงาน การควบคุมพัสดุ (การเก็บรักษาพัสด)ุ ตามพระราชบญั ญตั ิการจัดซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุ ภาครฐั พ.ศ.2560 และระเบียบกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 แต่ไม่รวมถึงการดาเนินการในระบบ GFMIS ซึง่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งจัดทาคูม่ ือการปฏบิ ัตงิ านของ ตนเองตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายงาน ๔. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน ๔.๑ เจ้าหน้าที่พัสดุรับมอบพัสดจุ ากคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ ๔.๒ เจา้ หนา้ ท่ีพัสดบุ นั ทกึ เสนอ ศธจ. เพื่อทราบและสั่งการ ๔.๓ เจ้าหนา้ ที่พสั ดุบนั ทึกรายการพัสดุในทะเบยี น/บญั ชวี สั ดุ ๔.๔ เจ้าหน้าท่ีพัสดเุ ก็บรกั ษาพัสดใุ นสถานทีเกบ็ พัสดใุ ห้ถกู ต้องครบถ้วน ตามบัญชีหรือทะเบยี นคุม ๕. Flow Chart การปฏบิ ตั งิ าน การเกบ็ รกั ษาพัสดุ เจ้าหนา้ ทพี่ สั ดรุ บั มอบพัสดจุ าก คณะกรรมการตรวจรับ เจา้ หน้าท่ีพสั ดุบนั ทึกเสนอ ศธจ. เพ่ือ ทราบและสั่งการ เจ้าหน้าทพ่ี ัสดุบนั ทกึ รายการพสั ดุ ในทะเบียน/บัญชวี ัสดุ เจา้ หนา้ ท่ีพสั ดุเกบ็ รกั ษาพสั ดใุ นสถานทีเก็บพัสดใุ ห้ ถกู ต้องครบถว้ น ตามบญั ชีหรือทะเบยี นคุม

54 ๖. แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ ๗.๑ แบบฟอร์มทะเบยี น/บัญชวี สั ดุ ๗. เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง ๘.๑ พระราชบัญญตั ิการจัดซ้ือจัดจา้ งและการบริหารพัสดุภาครฐั พ.ศ.2560 ๘.๒ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซือ้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ๘. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชื่องาน การเกบ็ รกั ษาพัสดุ สว่ นราชการ กล่มุ อานวยการ รหัสเอกสาร มาตรฐานคุณภาพงาน : การควบคุมพสั ด(ุ การเกบ็ รักษาพัสดุ) ดาเนินการถูกตอ้ งตามขัน้ ตอนที่ระเบียบกาหนด ตวั ช้ีวัดท่สี าคัญของกระบวนงาน : ร้อยละการควบคุมพสั ดุ(การเก็บรกั ษาพัสด)ุ ดาเนินการถกู ต้องตามขั้นตอนที่ระเบยี บกาหนด ลาดับ เวลา ที่ ผังขัน้ ตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน ดาเนนิ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ การ 1 เจ้าหน้าที่พัสดรุ ับมอบพสั ดุจาก 30 เจา้ หนา้ ท่ีพสั ดุ ระยะเวลา นาที สามารถ คณะกรรมการตรวจรบั ปรับเปล่ียนให้ เหมาะสมกบั 2 เจ้าหน้าที่พสั ดบุ นั ทกึ เสนอ ศธจ. เพื่อทราบ 1 วัน เจา้ หนา้ ที่ ปรมิ าณพัสดทุ ี่ และส่ังการ ไดร้ ับ พสั ดุ/ศธจ. 3 1 วัน เจา้ หนา้ ทพ่ี ัสดุ เจ้าหนา้ ท่ีพัสดบุ ันทกึ รายการพัสดใุ นทะเบยี น/บญั ชีวัสดุ 4 1 วัน เจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดุ เจ้าหนา้ ท่ีพัสดเุ ก็บรกั ษาพสั ดุในสถานทีเก็บพัสดใุ ห้ถูกตอ้ ง ครบถ้วน ตามบัญชหี รือทะเบียนคุม เอกสารอ้างอิง พระราชบัญญตั ิการจดั ซ้ือจดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560 และระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจดั ซ้ือจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560

55 ๑. ชื่องาน งานการเบกิ – จ่ายพัสดุ ๓. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้การควบคมุ พัสดุ (การเบิก – จ่าย) ถกู ตอ้ งเป็นไปตามขัน้ ตอนตามระเบยี บท่ีกาหนด ๓. ขอบเขตของงาน การควบคุมพสั ดุ (การเบิก – จ่าย) ตามพระราชบัญญตั ิการจดั ซ้อื จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุ ภาครฐั พ.ศ.2560 และระเบียบกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560 แตไ่ ม่รวมถงึ การดาเนินการในระบบ GFMIS ซึง่ ผู้ปฏบิ ตั ิงานจะตอ้ งจัดทาคู่มือการปฏบิ ัตงิ านของตนเองตามท่ี ไดร้ ับมอบหมายงาน ๔. คาจากดั ความ “การดาเนนิ การเพื่อให้การควบคมุ พสั ด(ุ การเบิก – จ่าย) ตามวธิ กี ารท่รี ะเบยี บกฎหมายกาหนด” ๕. ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน ๕.๑ เจา้ หน้าที่พัสดุใน ศธจ. จัดทาใบเบกิ พัสดุ ๕.๒ เจา้ หนา้ ท่ีพัสดุตรวจสอบความถูกต้องของใบเบิกและเอกสารประกอบ รวมท้ังพัสดุทม่ี ี ๕.๓ เจ้าหน้าที่พสั ดเุ สนอใบเบิกพสั ดุ หัวหนา้ หน่วยพัสดผุ ูไ้ ด้รับมอบหมาย ส่ังจา่ ยพสั ดุ ๕.๔ เจ้าหน้าท่ีพัสดุจ่ายพัสดใุ ห้แก่ผู้ขอเบกิ พสั ดแุ ละบนั ทึกในเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง พร้อมเก็บไว้เปน็ หลักฐาน 6. Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน การเบิก – จ่ายพัสดุ เจ้าหน้าที่พสั ดุใน ศธจ. จดั ทาใบเบิก พัสดุ เจ้าหนา้ ทพี่ ัสดุตรวจสอบความถูกต้องของใบ เบิกและเอกสารประกอบ รวมท้ังพสั ดุท่ีมี เจ้าหนา้ ท่ีพสั ดุเสนอใบเบิกพสั ดุ หัวหน้าหนว่ ย พสั ดุผไู้ ด้รับมอบหมาย ส่ังจา่ ยพัสดุ เจ้าหนา้ ที่พัสดจุ ่ายพสั ดุใหแ้ ก่ผู้ขอเบกิ พสั ดุและ บันทกึ ในเอกสารที่เกย่ี วข้อง พร้อมเก็บไว้เปน็ หลักฐาน

56 ๗. แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ ๗.๑ ใบเบกิ พัสดุ ๗.๒ แบบฟอร์มทะเบียน/บัญชีวสั ดุ ๘.เอกสาร/หลักฐานอ้างองิ ๘.๑ พระราชบญั ญัตกิ ารจดั ซื้อจัดจ้างและการบริหารพสั ดุภาครฐั พ.ศ.2560 ๘.๒ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยการจดั ซอื้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ.2560 ๙. สรปุ มาตรฐานกระบวนงาน ชื่องาน การเบิก – จ่ายพัสดุ ส่วนราชการ กลุม่ อานวยการ รหสั เอกสาร มาตรฐานคุณภาพงาน : การควบคมุ พสั ด(ุ การเบิก – จ่ายพัสด)ุ ดาเนินการถูกต้องตามข้ันตอนที่ระเบียบกาหนด ตวั ชีว้ ัดที่สาคญั ของกระบวนงาน : รอ้ ยละการควบคุมพสั ด(ุ การเบกิ – จา่ ยพสั ด)ุ ดาเนินการถกู ตอ้ งตามข้ันตอนที่ระเบยี บกาหนด ลาดบั เวลา ที่ ผงั ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน รายละเอยี ดงาน ดาเนิน ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ การ 1 เจ้าหน้าท่ีพสั ดใุ น ศธจ. จัดทาใบเบกิ พสั ดุ 30 เจ้าหน้าทพ่ี ัสดุ ระยะเวลา นาที สามารถ ปรับเปล่ยี นให้ 2 เจา้ หนา้ ที่พสั ดุตรวจสอบความถกู ต้องของใบเบิก 15 เจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดุ เหมาะสมกบั และเอกสารประกอบ รวมทั้งพสั ดุท่ีมี นาที ปริมาณพัสดทุ ี่ ได้รบั 3 เจา้ หน้าที่พสั ดเุ สนอใบเบกิ พัสดุ หัวหน้าหนว่ ย 15 เจา้ หน้าที่ นาที พสั ดุ/หวั หนา้ พัสดผุ ไู้ ด้รบั มอบหมาย ส่ังจ่ายพสั ดุ หน่วยพัสดุ 4 เจ้าหนา้ ที่พัสดจุ า่ ยพัสดใุ ห้แก่ผขู้ อเบกิ พสั ดุและ 1 วนั เจา้ หนา้ ที่พสั ดุ บนั ทกึ ในเอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง พรอ้ มเกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน เอกสารอา้ งอิง พระราชบัญญตั กิ ารจดั ซือ้ จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ.2560 และระเบียบกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจดั ซือ้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ.2560

57 ๑. ชอื่ งาน งานการยืมพัสดุ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้การควบคุมพสั ดุ (การยมื ) ถูกต้องเปน็ ไปตามขนั้ ตอนตามระเบยี บท่กี าหนด ๓. ขอบเขตของงาน การควบคุมพสั ดุ (การยืม) ตามพระราชบัญญตั ิการจัดซอื้ จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ.2560 แต่ไม่รวมถงึ การดาเนินการในระบบ GFMIS ซึง่ ผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องจัดทาคู่มอื การปฏิบตั งิ านของตนเองตามที่ ไดร้ บั มอบหมายงาน ๔. ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงาน ๔.๑ ผยู้ มื ย่ืนใบยมื พสั ดุต่อเจ้าหน้าที่พสั ดทุ รี่ บั ผดิ ๔.๒ เจา้ หน้าท่ีพัสดตุ รวจสอบความถกู ตอ้ งของยืมและเอกสารประกอบตามหลกั เกณฑ์ ๔.๓ เจา้ หน้าท่ีพสั ดุเสนอใบยืมพสั ดุ ศธจ. ผา่ นหวั หนา้ หนว่ ยพสั ดุ ๔.๔ เจ้าหน้าท่พี สั ดบุ ันทึกหลักฐานการยมื /การสง่ คนื ในทะเบยี นที่เก่ียวข้อง ๖. Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน การยืมพสั ดุ ผู้ยมื ยน่ื ใบยมื พัสดตุ ่อเจา้ หนา้ ท่ี พสั ดุทร่ี บั ผดิ เจ้าหน้าท่ีพสั ดตุ รวจสอบความถกู ต้องของยืม และเอกสารประกอบตามหลักเกณฑ์ เจา้ หน้าที่พสั ดุเสนอใบยืมพสั ดุ ศธจ. ผ่านหวั หนา้ หน่วยพสั ดุ เจา้ หน้าท่พี สั ดบุ ันทึกหลกั ฐานการยมื /การส่งคืนใน ทะเบยี นที่เกี่ยวข้อง

58 ๖. แบบฟอรม์ ทใี่ ช้ ๖.๑ ใบยืมพสั ดุ ๗.เอกสาร/หลักฐานอา้ งอิง ๗.๑ พระราชบญั ญตั ิการจัดซื้อจัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ๗.๒ ระเบยี บกระทรวงการคลัง วา่ ดว้ ยการจดั ซ้ือจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ๘. สรปุ มาตรฐานกระบวนงาน ชือ่ งาน การยืมพสั ดุ สว่ นราชการ กลมุ่ อานวยการ รหสั เอกสาร มาตรฐานคณุ ภาพงาน : การควบคุมพสั ด(ุ การยมื พัสด)ุ ดาเนนิ การถกู ต้องตามขั้นตอนท่ีระเบียบกาหนด หมายเหตุ ตัวชว้ี ัดทส่ี าคัญของกระบวนงาน : ร้อยละการควบคุมพัสดุ(การยมื พัสดุ) ดาเนินการถูกต้องตามขั้นตอนที่ระเบียบกาหนด ระยะเวลา สามารถ ลาดับ เวลา ปรับเปล่ยี นให้ เหมาะสมกบั ที่ ผงั ข้ันตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดงาน ดาเนนิ ผู้รับผดิ ชอบ ปรมิ าณพสั ดุที่ การ ไดร้ ับ 1 ผยู้ มื ยืน่ ใบยืมพสั ดุตอ่ เจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดุที่รับผดิ 15 เจ้าหนา้ ที่พัสดุ นาที 2 เจ้าหนา้ ท่ีพสั ดตุ รวจสอบความถกู ต้องของยืม 15 เจ้าหน้าท่ีพัสดุ นาที และเอกสารประกอบตามหลักเกณฑ์ 3 เจา้ หนา้ ท่ีพสั ดุเสนอใบยมื พสั ดุ ศธจ. ผา่ นหวั หนา้ 30 เจา้ หน้าที่ นาที พัสด/ุ หวั หนา้ หนว่ ยพสั ดุ หนว่ ยพสั ดุ 4 เจา้ หน้าที่พสั ดบุ นั ทกึ หลกั ฐานการยมื /การ 15 เจา้ หนา้ ทีพ่ สั ดุ นาที สง่ คนื ในทะเบียนที่เกย่ี วขอ้ ง เอกสารอ้างองิ พระราชบญั ญตั ิการจัดซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560 และระเบยี บกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจดั ซื้อจัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ.2560

59 ๑. ชื่องาน การตรวจสอบพัสดปุ ระจาปี ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้การตรวจสอบพสั ดุประจาปี ถกู ตอ้ งตามระเบียบขน้ั ตอนทีก่ าหนด ๓. ขอบเขตของงาน งานการตรวจสอบพัสดปุ ระจาปี ตามพระราชบญั ญัตกิ ารจดั ซ้อื จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ.2560 และระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยการจัดซื้อจดั จ้างและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ.2560 แต่ ไมร่ วม ถึงการดาเนนิ การในระบบ GFMIS ซง่ึ ผู้ปฏบิ ตั ิงานจะต้องจดั ทาคู่มือการปฏิบตั ิงานของตนเองตามที่ ไดร้ บั มอบหมายงาน ๔. ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ๔.๑ เจ้าหน้าท่ีบันทึกเสนอแต่งตั้งเจา้ หน้าท่ีตรวจสอบพัสดปุ ระจาปี ๔.๒ เจา้ หนา้ ที่แจง้ ผ้ไู ดร้ ับการแต่งตั้งเพื่อทราบและปฏบิ ตั ิหน้าที่ ๔.๓ เจา้ หน้าท่ีทไี่ ดร้ บั แตง่ ตง้ั ตรวจสอบการรบั -จา่ ยพสั ด/ุ พัสดคุ งเหลอื /พัสดุ ชารดุ เส่ือมสภาพ/สูญ ไปหรือหมดความจาเป็น ๔.๔ เจา้ หน้าท่ีเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อ ศธจ. และรายงาน สตง. ๔.๕ กรณีมีพัสดุชารุดใหเ้ จา้ หน้าที่เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง ๔.๖ เจ้าหนา้ ที่เสนอรายงานผลการสอบหาข้อเทจ็ จริงเพ่ือให้ ศธจ.ส่ังการ ๔.๗ เสนอขออนุมตั จิ าหน่าย ๔.๘ จาหนา่ ยตามวธิ ีการท่ีได้รบั อนมุ ัติ ๔.๙ เจา้ หนา้ ที่พัสดลุ งจา่ ยออกจากทะเบยี น/บญั ชี ๔.๑๐ รายงานต่อ สตง. ทราบ

60 ๕. Flow Chart การปฏบิ ัตงิ าน การตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปี เจ้าหน้าทบ่ี ันทึกเสนอแต่งตั้งเจ้าหนา้ ทต่ี รวจสอบพัสดุประจาปี เจา้ หนา้ ทแี่ จ้งผูไ้ ดร้ ับการแต่งต้ังเพ่ือทราบและปฏบิ ัติหน้าท่ี เจา้ หนา้ ทท่ี ไี่ ดร้ บั แตง่ ต้ังตรวจสอบการรบั -จา่ ยพัสด/ุ พสั ดคุ งเหลอื / พสั ดุ ชารดุ เสื่อมสภาพ/สูญไปหรอื หมดความจาเปน็ เจ้าหนา้ ที่เสนอรายงานผลการตรวจสอบ ต่อ ศธจ. และรายงาน สตง. กรณมี ีพสั ดุชารุดให้เจ้าหนา้ ท่ีเสนอแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจรงิ เจา้ หนา้ ที่เสนอรายงานผลการสอบ หาข้อเท็จจริงเพ่ือให้ ศธจ.สั่งการ เสนอขออนมุ ัตจิ าหนา่ ย จาหน่ายตามวิธกี ารท่ีได้รบั อนุมตั ิ เจา้ หน้าท่ีพัสดลุ งจา่ ยออกจาก ทะเบียน/บัญชี รายงานตอ่ สตง. ทราบ

61 ๖. แบบฟอร์มที่ใช้ ๗.๑ บนั ทกึ ข้อความ ๗.๒ เกณฑ์คุณลักษณะของวัสดุ ครุภณั ฑ์ ๗.๓ แบบฟอร์มการจาหน่ายพสั ดุ ตามระเบยี บกฎหมายกาหนด ๗.เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง ๘.๑ พระราชบญั ญตั กิ ารจัดซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ๘.๒ ระเบยี บกระทรวงการคลัง ว่าดว้ ยการจดั ซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560 ๘. สรปุ มาตรฐานกระบวนงาน ช่อื งาน การตรวจสอบพสั ดุประจาปี สว่ นราชการ กลมุ่ อานวยการ รหัสเอกสาร มาตรฐานคณุ ภาพงาน : เพือ่ ให้การตรวจสอบพัสดุประจาปี ถกู ตอ้ งตามระบบข้ันตอนระเบียบท่กี าหนด ตัวชีว้ ัดทสี่ าคญั ของกระบวนงาน : ร้อยละการปฏบิ ัตทิ ถ่ี ูกต้องของข้ันตอนการตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปี ตามขั้นตอนระเบียบท่กี าหนด ลาดบั ผังขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดงาน เวลา ผ้รู บั ผิดชอบ หมายเหตุ ท่ี ดาเนนิ การ 1 เจ้าหนา้ ที่บนั ทกึ เสนอแตง่ ตั้งเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบพสั ดุ 1วัน เจา้ หนา้ ท่ีพัสดุ ระยะเวลา ประจาปี สามารถ 2 เจา้ หนา้ ท่ีแจ้งผไู้ ด้รบั การแตง่ ตั้งเพื่อทราบและปฏบิ ตั หิ น้าที่ 1 วนั เจา้ หน้าท่ีพัสดุ ปรบั เปลี่ยนให้ เหมาะสมกับ 3 เจ้าหนา้ ท่ีทไี่ ด้รับแต่งตั้งตรวจสอบการรบั -จา่ ยพสั ดุ/พัสดุ 30 วนั เจ้าหน้าที่ วธิ ีการและ คงเหลือ/พสั ดุ ชารดุ เสื่อมสภาพ/สูญไปหรอื หมดความจาเป็น ทาการ ทีไ่ ดร้ ับแต่งตง้ั ปริมาณพสั ดทุ ่ี ตรวจสอบ 4 เจ้าหนา้ ที่เสนอรายงานผลการตรวจสอบตอ่ ศธจ. และ ภายใน เจ้าหนา้ ที่ รายงาน สตง. 3 วัน พัสดุ/ศธจ. 5 กรณีมีพสั ดุชารดุ ให้เจ้าหน้าท่ีเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ 15 วนั เจา้ หนา้ ที่พสั ดุ หาข้อเท็จจริง 6 เจา้ หนา้ ท่ีเสนอรายงานผลการสอบหาขอ้ เท็จจรงิ เพื่อให้ 1 วนั เจ้าหนา้ ทพี่ สั ดุ ศธจ.สั่งการ 7 เสนอขออนมุ ัตจิ าหนา่ ย 1 วนั เจา้ หนา้ ท่ีพัสดุ/ ค่สู ญั ญา 8 จาหน่ายตามวธิ กี ารที่ไดร้ บั อนมุ ตั ิ ภายใน เจา้ หนา้ ทีพ่ สั ดุ/ 60 วนั กรรมการตรวจฯ 9 เจ้าหน้าท่ีพัสดุลงจ่ายออกจากทะเบยี น/บัญชี 2 วัน เจ้าหนา้ ที่พัสดุ/ กรรมการตรวจฯ 10 รายงานต่อ สตง. ทราบ 30 วัน เจา้ หนา้ ทีพ่ สั ดุ เอกสารอ้างอิง พระราชบัญญัติการจดั ซอ้ื จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560 และระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจดั ซอ้ื จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ.2560

62 ๑ . ช่ืองาน งานการควบคมุ ภายใน ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อควบคุม ปูองกันและแก้ไขปัญหาความเสี่ยงที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงานตามภารกิจของ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้เป็นไปอย่างถูกต้อง มีความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพทาให้การใช้ทรัพยากร เป็นไปอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยการลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน ลดความเสี่ยงหรือผลเสียหายด้านการเงิน หรือด้านอืน่ ๆ ทอ่ี าจมขี ้นึ ในหนว่ ยงาน ๒.๒ เพ่ือให้มีมาตรการปูองกันความเส่ียงในแต่ละด้านในหน่วยงานและให้นามาตรการและการ กากับติดตามการแกไ้ ขปญั หามาใชใ้ นการดาเนินการอยา่ งตอ่ เนื่อง ๒.๓ เพื่อให้บคุ ลากรและหน่วยงานลดปจั จยั เสย่ี งและความผิดพลาดในการดาเนินงาน ๒.๔ เพ่ือให้มีข้อมูลและการจัดทารายงานทางการเงินเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทันต่อ เวลาและเชอื่ ถอื ได้ ๓. ขอบเขตของงาน ครอบคลุมการดาเนินงานตามมาตรการในการปูองกันความเส่ียงและระบบการควบคุมภายในตาม ภารกจิ ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ๔. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน ๔.๑ ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา การดาเนินงานตามภารกิจของสานักงานศึกษาธิการ จงั หวัดเพื่อจัดวางระบบการควบคุมภายใน ๔.๒ วเิ คราะห์ความเสย่ี งของการดาเนินงาน กาหนดปจั จัยความเสี่ยงและจัดลาดับความเส่ียงในการ ดาเนินงาน ๔.๓ กาหนดมาตรการในการปูองกันความเส่ียงในแต่ละปัจจัยความเสี่ยงและระบบการควบคุม ภายใน ของทกุ หนว่ ยงานในสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ๔.๔ แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการและจัดทามาตรฐานการควบคุมภายในของสานักงาน ศกึ ษาธิการจงั หวัดสอดคลอ้ งกบั สานกั งานคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดินกาหนด ๔.๕ ดาเนนิ การตามแผนการปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายในท่ีไดจ้ ัดวางระบบไว้ ๔.๖ ให้บุคลากรทางการศึกษาที่เก่ียวข้องทุกระดับนามาตรการปูองกันความเส่ียงไปใช้ในการ ควบคุม การดาเนินงานตามภารกจิ ของงาน ๔.๗ สรุปและรายงานผลการดาเนินงานการควบคมุ ภายใน ๔.๘ ประเมินผลการดาเนินการควบคุมภายในตามมาตรการที่กาหนดทุกระดับและปรับปรุงให้ เหมาะสม อย่างต่อเนื่องและสมา่ เสมอเป็นระยะ ๆ ๔.๙ รายงานผลการควบคุมภายในของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดต่อสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร และสานกั งานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ ตามระยะทีก่ าหนด

63 ๕. Flow Chart การปฏบิ ัติงาน วิเคราะห์ภารกิจ ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั เพอื่ เปน็ ข้อมูล ในการวางระบบการควบคมุ ภายใน แตง่ ตง้ั คณะกรรมการวางระบบ เหน็ ชอบ ไมเ่ หน็ ชอบ และจดั ทามาตรฐานการควบคมุ ภายใน เสนอ ศธจ. กาหนดมาตรการในการปอ้ งกันความเสย่ี ง กาหนดปจั จยั เสย่ี ง และระบบการควบคุมภายใน และจัดลาดับความเส่ียง บุคลากรทกุ ระดบั นามาตรการในการ ดาเนินการแผนการปรบั ปรงุ ปอ้ งกันความเสี่ยงไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน และควบคมุ ภายในท่ีได้จัดวางระบบไว้ ตดิ ตามและประเมนิ ผล การดาเนินงานการ สรุปและรายงานผลการควบคุมภายใน ควบคมุ ภายในและปรบั ปรงุ ตามแผนการ ให้สานักงานปลัดกระทรวง/คตง. อย่างน้อยปลี ะ 1 ครั้ง ควบคมุ ใหเ้ หมาะสมอยา่ งสมา่ เสมอ เมอ่ื สิน้ ปงี บประมาณ และต่อเนอ่ื ง ๖. ปฏทิ ินงานในรอบปี กาหนดการติดตามผลการดาเนินงานการบรหิ าความเส่ียงและควบคุมภายใน ปีงบประมาณ จานวน 2 คร้งั คอื ครงั้ ที่ 1 รอบ 6 เดือน (มีนาคม) และครงั้ ที่ 2 รอบ 12 เดือน (กนั ยายน) ๗. แบบฟอร์มท่ีใช้ ตามระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน ๘. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง ๘.๑ พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบริหารกจิ การบ้านเมืองทด่ี ี พ.ศ.2546 ๘.๒ ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ว่าดว้ ยมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544

ชือ่ งาน งานควบคมุ ภายในสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั ห วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือควบคุม ปูองกันและแก้ไขปัญหาความเสี่ยงที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงานตามภารกิจของส ทรัพยากรเป็นไปอยา่ งประหยัดและค้มุ คา่ โดยการลดขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน ลดความเสี่ยงหรือผลเสียห 2. เพือ่ ใหม้ มี าตรการปูองกันความเสย่ี งในแตล่ ะด้านในหน่วยงานและให้นามาตรการและการกากับ 3. เพอ่ื ให้บคุ ลากรและหน่วยงานลดปัจจัยเสยี่ งและความผดิ พลาดในการดาเนนิ งาน 4. เพื่อให้มขี ้อมลู และการจัดทารายงานทางการเงนิ เป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปรง่ ใส ทนั ต่อเวล ลาดับที่ ผังขั้นตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดงาน 1 ศกึ ษาวิเคราะหส์ ภาพปจั จุบนั ปญั ห การดาเนินงานตามภารกิจของสาน วางระบบ ศึกษาธิการจงั หวดั เพ่ือจดั วางระบ การควบคุมภายใน การควบคมุ ภายใน 2 เสนอสานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั เพ่อื แ เสนอ ศธจ. คณะกรรมการในการดาเนินการและจดั มาตรการในการควบคมุ ภายใน 3 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการเพื่อจดั ทามาตรกา แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ ควบคุมภายใน กาหนดมาตรการในการ ความเสย่ี งและระบบการควบคมุ ภายใน 4 ศกึ ษาและกาหนดปัจจยั เสี่ยงของหน่วย กาหนดปัจจยั เสยี่ ง ทสี่ ามารถเกดิ ข้นึ ไดท้ ัง้ ปจั จยั ภายในและ และจดั ลาดบั ความเสยี่ ง ปจั จัยภายนอกทีม่ ผี ลกระทบต่อการดาเ และจัดลาดบั ความเสี่ยง ประเมนิ ระดับ เพ่ือใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการปูองกนั และควบ ความเสยี่ ง

64 หวดั กลมุ่ อานวยการ รหสั เอกสาร.................................... สานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้เป็นไปอย่างถูก ต้อง มีความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพทาให้การใช้ หายดา้ นการเงนิ หรอื ด้านอนื่ ๆ ทีอ่ าจมีขนึ้ ในหน่วยงาน บตดิ ตามการแก้ไขปญั หามาใช้ในการดาเนินการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ลาและเชอ่ื ถือได้ มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผรู้ บั ผิดชอบ หมายเหตุ เวลาดาเนินการ หา 1 สปั ดาห์ นักงาน บบ แต่งต้ัง ดทา าร รปูองกัน น ยงาน ะ เนินงาน บความเสี่ยง บคุม

ชอื่ งาน งานควบคมุ ภายในสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั ห ลาดบั ท่ี ผังข้นั ตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน 5 กาหนดใหบ้ ุคลากรทกุ ระดบั นามาตรกา ปอู งกนั ความเสย่ี งไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน ดาเนินการตามแผน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และกลไก ที่ได้จดั วางระบบไว้ ของการควบคมุ และกจิ กรรมการดาเนนิ 6 ประเมินผลการดาเนินการควบคมุ ภายใ ติดตามและประเมินผล มาตรการทก่ี าหนดทกุ ระดับและปรับปร การดาเนินงานปรับปรุง เหมาะสมอยา่ งตอ่ เน่อื งและสม่าเสมอเป แผนการควบคมุ ภายใน เพ่อื เป็นข้อมูลในการกาหนดมาตรการแ ควบคมุ ภายในในงวดต่อไป 7 สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน สรุปและรายงานผลการ การควบคุมภายในของสานกั งานศกึ ษาธ ตอ่ สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ควบคมุ ภายใน สานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นด ระยะเวลาท่กี าหนด เอกสารอ้างอิง : ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินวา่ ดว้ ยมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.25 คาอธบิ ายสัญลักษณผ์ ังขน้ั ตอน จดุ เรมิ่ ตน้ และสน้ิ สดุ กระบวนงาน กจิ กรรมงานห จุดเชอ่ื มต่อระหว่างหนา้ (ถา้ ไม่จบภายใน 1 หนา้ )

65 หวดั กล่มุ อานวยการ รหัสเอกสาร.................................... หมายเหตุ เวลาดาเนินการ มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ ารในการ น สนง.ศธจ.มรี ะบบควบคมุ ภายในทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ นงาน ถกู ตอ้ งตามระเบียบ ในตาม รุงให้ ปน็ ระยะ ๆ และแผนการ ธิการจังหวดั และ ดนิ ตาม 544 การตดั สนิ ใจ ทศิ ทางหรอื การเคลื่อนไหวของงาน หรอื การปฏบิ ัติ

66 ๑. ชื่องาน งานการสร้างเครอื ขา่ ยประชาสัมพันธ์ ๒. วตั ถุประสงค์ เพ่อื บริหารการประชาสัมพันธ์ วเิ คราะหข์ ้อมูล ผลติ และพัฒนาเทคโนโลยีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร และเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจเก่ยี วกับกิจการ ผลการดาเนินงานของสานกั งานศึกษาธกิ าร จังหวดั และสถานศึกษาในสังกัด ใหห้ น่วยงาน บคุ ลากร ชุมชนและประชาชนทว่ั ไปได้รับทราบทว่ั ถงึ กัน ๓. ขอบเขตของงาน ครอบคลุมถึงการผลติ และพฒั นาเทคโนโลยีสร้างเครอื ข่ายการประชาสัมพนั ธ์ ทั้งภายในและภายนอก องค์กร การจดั ทาข้อมลู ข่าวสาร การเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสาร และการให้บริการข้อมลู ขา่ วสาร ๔. ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ๔.1 แต่งตง้ั คณะทางานเพ่ือศึกษาวิเคราะหร์ ะเบยี บ กฎหมาย หลกั เกณฑท์ ่เี ก่ยี วขอ้ งกับการกาหนด เครือข่ายการประชาสมั พันธ์ ๔.2 สารวจขอ้ มูลเครือขา่ ยการประชาสมั พนั ธ์ ทั้งเครือขา่ ยภายในและภายนอกองคก์ ร แล้วจัดทา ทะเบียนเครือข่ายประชาสมั พันธ์ และบุคลากรผู้ทเี่ ก่ียวข้องกบั การประชาสมั พันธ์ ๔.3 จดั ทาหลกั เกณฑ์ ขอกาหนดแนวปฏบิ ตั แิ ละรปู แบบการตดิ ตอ่ ประสานงานกับเครือข่ายการ ประชาสมั พันธ์ ๔.4 รวบรวมข้อมูลขา่ วสารด้วยระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ ๔.5 นาเสนอหลกั เกณฑ์ ขอกาหนดแนวปฏบิ ตั ิรูปแบบการประสานงานใหผ้ ู้อานวยการ สานกั งาน ศึกษาธิการจงั หวัดพจิ ารณาให้ความเห็นชอบและอนมุ ัติ ๔.6 วางแผน วเิ คราะห์ และบริหารจัดการข้อมูลขา่ วสารพัฒนาสื่อไอทีพิจารณาเลือกสือ่ ใหต้ อบสนอง จดุ มุ่งหมาย ประกาศเผยแพร่ ขอ้ มูลเครือข่ายการประชาสมั พนั ธ์ หลกั เกณฑ์ข้อกาหนด แนวปฏบิ ัติ รูปแบบ การติดต่อประสานงานให้บุคลากร ผู้เก่ยี วข้องและเครือข่ายการประชาสมั พนั ธ์ นกั ประชาสัมพนั ธ์ และ สถานศกึ ษาได้ทราบและนาไปใช้ประโยชน์ ในการติดต่อและส่งข่าวประชาสมั พันธ์ ๔.7 ติดตามข่าวสาร ความเคล่อื นไหวการศึกษา รวบรวมขอ้ มลู องค์ความรู้ ผลติ สอื่ ประชาสมั พนั ธ์ ด้วยเครือข่ายประชาสมั พนั ธ์ (e-Network) ๔.8 จัดบุคลากรผู้รบั ผิดชอบการประสานงานและเครือขา่ ยการประชาสมั พันธ์ ๔.9 จัดกิจกรรมเสริมการประชาสัมพันธ์ โดยใหเ้ ครือข่ายมีสว่ นร่วมในการประชาสัมพนั ธ์ ๔.10 ตรวจสอบประเมินผล การประสานงานเครือข่ายประชาสมั พนั ธ์ แลว้ นาผลมาวางแผนพัฒนา ปรับปรุงงานอย่างต่อเน่ือง

67 ๕. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน คณะทางาน ศกึ ษา วิเคราะห์ ระเบียบ กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง สารวจข้อมูลเครือข่ายการประชาสมั พนั ธ์ และจัดทาทะเบยี น จดั ทาหลกั เกณฑ์ และรูปแบบการติดต่อประสานงาน กบั เครอื ขา่ ยการประถมชาสมั พนั ธ์ นาเสนอหลักเกณฑ์รปู แบบการ ไม่ อนุมัติ ประสานงานเพือ่ อนมุ ัติ อนมุ ตั ิ รวบรวมขอ้ มลู /ประกาศเผยแพร่ ข้อมลู เครอื ขา่ ย การประชาสัมพันธ์ ให้ผู้เกย่ี วข้องทราบ จัดตัง้ เครือขา่ ย e-Network/กลุ่มเครอื ขา่ ยบรหิ าร ประชาสมั พนั ธ์ วางแผนผลติ สือ่ และตดิ ตามข่าวสาร จดั บคุ ลากรผรู้ ับผดิ ชอบการประสานงานกับกลุ่ม เครอื ข่ายการประชาสัมพนั ธ์ ตรวจสอบประเมินผลการประสานงาน เครอื ข่าย และนามาพฒั นาปรับปรงุ

68 ๖. ปฎิทนิ งาน - ๗. แบบฟอรม์ ที่ใช้ (ถ้าม)ี ๘. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 8.1 พระราชบัญญตั ิข้อมูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 8.2 ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการให้ข่าวและบริการขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม 8.3 ระเบยี บกระทรวงศึกษาการวา่ ด้วยการประชาสมั พันธ์และการให้ขา่ วราชการ พ.ศ.2525 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม

ชื่องาน งานการสรา้ งเครือขา่ ยประชาสมั พนั ธ์ ส่วนราชการ กลุ่มอานวยการ วัตถุประสงค์ เพ่อื บริหารการประชาสมั พันธ์ วิเคราะห์ข้อมูล ผลิตและพัฒนาเทคโนโล กจิ การ ผลการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั และสถานศึกษาในสังกัด ให้ห ลาดบั ท่ี ผังขน้ั ตอนการทางาน รายละเอยี ดงาน 1. คณะทางาน ศึกษา แต่งต้งั คณะทางาน ศกึ ษา วิเคราะ วิเคราะห์ ระเบียบ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2 สารวจข้อมลู เครือข่ายการประชาส เครอื ข่ายภายในและภายนอกองค สารวจข้อมลู เครือขา่ ยการ ประชาสัมพนั ธ์ และจดั ทาทะเบียน ทะเบียนเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ผูท้ เี่ ก่ยี วขอ้ งกับการประชาสมั พันธ 3 กาหนดหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบให้ ผรู้ ับผดิ ชอบการประสานงานกับก จัดทาหลกั เกณฑ์ และรูปแบบการ ติดตอ่ ประสานงานกบั เครอื ข่าย เครอื ขา่ ย การประชาสัมพนั ธ์ 4 นาเสนอหลักเกณฑ์ รปู แบบการ ประสานงานให้ศกึ ษาธิการจงั หวัด นาเสนอหลกั เกณฑ์รปู แบบการ พิจารณาอนมุ ัติ ประสานงานเพ่ืออนมุ ัติ 5 รวบรวมข้อมลู /ประกาศ กาหนดหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบให้ เผยแพร่ ข้อมลู เครือข่าย ผรู้ บั ผดิ ชอบการประสานงานกับก การประชาสัมพนั ธ์ เครอื ขา่ ย

69 รหัสเอกสาร ลยีการประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร และเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หน่วยงาน บุคลากร ชุมชนและประชาชนทว่ั ไปได้รับทราบทวั่ ถึงกนั น เวลาดาเนนิ การ มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผ้รู บั ผิดชอบ ะห์ ระเบยี บ ๑ วนั คณะทางาน สมั พนั ธ์ ทงั้ ๑ เดือน เจ้าหนา้ ท่ี คก์ ร แลว้ จดั ทา ๑ วัน คณะทางาน และบุคลากร ธ์ กลุ่ม ๑ วัน - เจา้ หน้าที่ ด - ศึกษาธกิ ารจงั หวดั ๑ วนั คณะทางาน กลุม่

ชอื่ งาน งานการสรา้ งเครอื ขา่ ยประชาสัมพนั ธ์ ส่วนราชการ กลมุ่ อานวยการ วัตถุประสงค์ เพอ่ื บรหิ ารการประชาสมั พันธ์ วเิ คราะห์ขอ้ มูล ผลิตและพฒั นาเทคโนโล กจิ การ ผลการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดและสถานศึกษาในสังกดั ให้ห ลาดบั ที่ ผังขัน้ ตอนการทางาน รายละเอยี ดงาน ๖. จัดบคุ ลากรผู้รับผดิ ชอบ กาหนดหนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบให้ การประสานงานกบั กลุ่ม ผรู้ บั ผิดชอบการประสานงานกบั ก เครือขา่ ย เครือข่ายการ ประชาสมั พันธ์ ๗. จดั กิจกรรมเสรมิ การประชาสมั พนั ในหลายรูปแบบ กจิ กรรมเสริม ๘. ตรวจสอบประเมินผลการประสาน เครือขา่ ย และนามาพฒั นาปรับปร ตรวจสอบ ประเมินผล นามาพฒั นาปรับปรุง

70 รหัสเอกสาร ลยกี ารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสาร และเสริมสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับ หน่วยงาน บุคลากร ชมุ ชนและประชาชนท่ัวไปได้รบั ทราบท่ัวถึงกนั น เวลาดาเนนิ การ มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ ๑ วนั คณะทางาน กลุ่ม นธ์ บุคลากรทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย นงาน มีเครือข่ายประชาสัมพันธ์ คณะทางาน รงุ เผยแพร่กจิ กรรมของ สนง. ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ หลากหลาย ชอ่ งทาง

71 ๑. ชือ่ งาน : งานเผยแพรข่ อ้ มูลขา่ วสารและผลงาน 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารและเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั กิจการและผลงาน ของสานักงาน ศกึ ษาธิการจังหวัดและสถานศึกษาใหห้ นว่ ยงาน บุคคล ชมุ ชน และสาธารณชนทัว่ ไปได้รบั ทราบโดยท่วั กัน 3. ขอบเขตของงาน การสร้างเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร การจัดทาข้อมูลข่าวสาร การ เผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารและการให้บรกิ ารข้อมลู ขา่ วสาร ๔.ข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ าน ๔.1 การเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสาร ๔.1.1 แต่งตง้ั คณะทางานเพ่ือศกึ ษาวเิ คราะห์ระเบยี บกฎหมาย หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัตทิ ี่เกีย่ วขอ้ งกับ การเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร ๔.1.2 จัดระบบ รปู แบบการติดตอ่ ประสานงานกบั เครอื ข่ายฯ บคุ คล หนว่ ยงานและสาธารณชน ดว้ ยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และรปู แบบอ่นื ๔.1.3 จดั ทาแผนการประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลข่าวสารและผลงานของ สานกั งานและสถานศกึ ษาให้ ครอบคลุมทกุ กลุ่มเปูาหมาย ๔.1.4 ผลิตส่อื ขอ้ มลู ข่าวสาร บทความวารสาร รายการวิทยุ โทรทศั น์ และสื่ออิเลคทรอนิกส์ และส่อื ในรปู แบบอ่นื ๔.1.5 วเิ คราะห์สรุปประเดน็ ข้อมูลข่าวสาร ผลงานท่ผี ลติ เพ่อื เผยแพร่ ประชาสัมพันธท์ ้งั เชงิ รุก และเชงิ รบั ๔.1.6 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลข่าวสารและผลงานของสานักงานศึกษาธิการจงั หวัด ด้วยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและภาพอืน่ ๆ ๔.1.7 ดาเนินการประชาสมั พนั ธ์โดยผา่ นสอื่ ต่าง ๆ และเครือข่ายการประชาสัมพนั ธ์ แก้ไขเป็น ระยะๆ ๔.1.8 ตดิ ตามประเมินผลการประชาสัมพันธเ์ พื่อนาไปพฒั นาปรับปรุง

72 ๕. Flow Chart การปฏิบัติงาน แต่งตง้ั คณะทางาน เพ่อื ศึกษาวเิ คราะห์ ระเบยี บ กฎหมาย ที่เกี่ยวขอ้ ง จดั ระบบรปู แบบการเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร จัดทาแผนการเผยแพร่ขอ้ มูลขา่ วสาร ผลิตสือ่ ข้อมูลขา่ วสารการประชาสัมพันธใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ วเิ คราะหส์ รปุ ประเดน็ ขอ้ มูลขา่ วสาร เพอื่ เผยแพร'ประชาสัมพนั ธ์ นาเสนอหลกั เกณฑ์ รูปแบบการ ไม่อนุมัติ ประสานงาน ให้ ศึกษาธกิ ารจงั หวัด พจิ ารณาอนมุ ัติ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลขา่ วสารด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ดาเนนิ การประชาสมั พนั ธ์ ตดิ ตามประเมนิ ผลการประชาสมั พันธ์

ชอื่ งาน งานเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารและผลงาน สว่ นราชการ กลมุ่ อานวยการ วตั ถุประสงค์ เพือ่ เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารและเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั กจิ การแล ชมุ ชน และสาธารณชนท่ัวไปไดร้ บั ทราบโดยทวั่ กนั ลาดับท่ี ผงั ขนั้ ตอนการทางาน รายละเอียดงาน 1. แต่งตั้งคณะทางานเพอื่ ศกึ ษาวิเคราะ กฎหมาย ที่เกย่ี วขอ้ ง คณะทางานเพ่อื ศึกษาวิเคราะห์ ระเบียบ กฎหมาย ทเ่ี ก่ยี วข้อง 2. จดั ระบบรูปแบบการเผยแพร่ จดั ระบบรูปแบบการเผยแพร่ขอ้ มลู ข ข้อมลู ขา่ วสาร 3. จัดทาแผนการเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสาร จดั ทาแผนการเผยแพร่ ข้อมลู ข่าวสาร 4. ผลติ ส่อื ขอ้ มลู ข่าวสาร ผลิตส่ือข้อมูลขา่ วสาร การประชาสัมพนั ธ์ในรูปแบบตา่ ง วิเคราะห์ สรุปประเดน็ เก็บรวบรวมข้อมูลขา่ วสาร ๆ 5. วเิ คราะหส์ รุปประเดน็ ขอ้ มูลขา่ วสาร เพอ่ื เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

73 รหสั เอกสาร ละผลงาน ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดและสถานศกึ ษาให้หน่วยงาน บุคคล เวลาดาเนินการ มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ ะห์ ระเบยี บ ๑ วนั คณะทางาน ขา่ วสาร ๑ เดือน - คณะทางาน ร - เจา้ หน้าที่ เจา้ หนา้ ที่ - เครือขา่ ย - เจา้ หนา้ ที่ - คณะทางาน

ชื่องาน งานเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารและผลงาน ส่วนราชการ กลมุ่ อานวยการ วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและเสรมิ สร้างความเขา้ ใจ เก่ียวกับกจิ การแล ชมุ ชน และสาธารณชนท่ัวไปได้รับทราบโดยทั่วกัน ลาดบั ที่ ผงั ขน้ั ตอนการทางาน รายละเอยี ดงาน ๖. นาเสนอแผนการประชาสมั พันธร์ ปู แบ ศกึ ษาธิการจงั หวัด ประชาสมั พันธ์ และผลวิเคราะห์ ประ พจิ ารณาอนมุ ตั ิ ขา่ วสารให้ ศธจ.พจิ ารณาอนมุ ตั ิ ๗. ประชาสมั พันธผ์ ่านสื่อตา่ ง ๆ และ เครือขา่ ยประชาสมั พนั ธใ์ นหลายรปู แ ดาเนนิ การประชาสัมพันธ์ ๘. ติดตามประเมินผล ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการ ประชาสมั พันธ์ แลว้ นามาพฒั นา ปรับ แกไ้ ข

74 รหสั เอกสาร ละผลงาน ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั และสถานศกึ ษาใหห้ น่วยงาน บคุ คล เวลาดาเนินการ มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผรู้ บั ผิดชอบ บบการ ศึกษาธิการจังหวดั ะเดน็ ข้อมลู ผลงานของ ศธจ. เผยแพร่สู่ - เจ้าหนา้ ที่ แบบ สาธารณชน ผา่ นหลายช่องทาง - เครือขา่ ย ความเขา้ ใจท่ีดีงาม ไดร้ ับการ คณะทางาน บปรุง สนบั สนุนใหส้ ามารถบริหาร จดั การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

75 ๔.2 งานบรกิ ารข้อมูลขา่ วสาร ๔.2.1 จดั รวบรวมข้อมลู ขา่ วสารผลงาน ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั และ สถานศึกษาดว้ ยระบบอิเลคทรอนิคส์และรปู แบบอื่น ๔.2.2 จดั ระบบรูปแบบการให้บรกิ ารขอ้ มลู ข่าวสาร ผลงานของสานักงานศึกษาธิการ จังหวดั และสถานศึกษา ในรปู แบบของเอกสารข่าวสาร ส่อื Web Page E-mail Line ๔.2.3 จดั ต้งั ศนู ย์บริการข้อมูลข่าวสาร หรอื คลงั ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบเอกสาร และ ระบบอิเลคทรอนิกส์ ๔.2.4 จดั บคุ ลากรผู้รับผิดชอบศูนย์ข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ ๔.2.5 ให้บริการขอ้ มูลข่าวสารในรูปแบบท่ีหลากหลายผา่ นสือ่ ทกุ แขนง และเครือขา่ ย การประชาสัมพนั ธ์ต่อสาธารณชน ๔.2.6 ตรวจสอบประเมนิ ผลระบบการใหบ้ ริการ นาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพัฒนา ปรบั ปรุงแก้ไขอย่างต่อเนอ่ื งเปน็ ระยะๆ

76 ๖. Flow Chart ขน้ั ตอนการดาเนินการ จัดรวบรวมข้อมูล ขา่ วสาร การ ประชาสมั พันธ์ จดั ระบบรูปแบบการใหบ้ รกิ ารขอ้ มูลข่าวสาร จดั ตงั้ ศูนย์บริการข้อมลู ขา่ วสาร ไมอ่ นุมัติ นาเสนอระบบ /รปู แบบการใหบ้ รกิ าร และจัดตั้งศนู ย์บรกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสาร ให้ศกึ ษาธิการ จงั หวัดพิจารณาอนุมัติ มอบหมายบุคลากรใหร้ บั ผดิ ชอบการใหบ้ ริการข้อมูลข่าวสาร ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารในรปู แบบทห่ี ลากหลาย ตรวจสอบประเมินผล เพอื่ การพฒั นา ปรับปรงุ และแกไ้ ข

77 ๗. แบบฟอรม์ ทใี่ ช้ 7.๑ แบบฟอร์มการส่งขา่ ว 7.๒ แบบฟอร์มทะเบยี นเครอื ขา่ ย 7.๓ โปรแกรมการรบั – สง่ ขา่ วทาง E-mail 8. เอกสาร / หลกั ฐานอา้ งอิง 8.1 พระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 8.2 ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการใหข้ ่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2529 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม 8.3 ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยการประชาสัมพนั ธแ์ ละการให้ข่าวราชการ พ.ศ. 2525 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ

78 1. ชอ่ื งาน งานการสร้างเครอื ขา่ ยข่าวประชาสมั พันธ์ 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ประสานการประชาสัมพันธ์ วเิ คราะหข์ ้อมูล ผลติ และพัฒนาเทคโนโลยกี าร ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารและเสรมิ สร้างความเขา้ ใจเกย่ี วกบั กจิ การ ผลการดาเนนิ งานสานักงาน ศึกษาธิการจงั หวดั และหนว่ ยงาน บุคลากร ชมุ ชนและประชาชนท่วั ไปไดร้ บั ทราบทัว่ ถึงกัน 3. ขอบเขตของงาน การสร้างเครือขา่ ยการประชาสมั พนั ธท์ ง้ั ภายในและภายนอกองค์กร การจัดทาขอ้ มลู ข่าวสาร การเผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารและการให้บริการข้อมลู ข่าวสาร 4.ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน 4.1 แตง่ ตัง้ คณะทางานเพอ่ื ศกึ ษาวิเคราะห์ ระเบยี บ กฎหมาย หลกั เกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้อง กับการ กาหนดเครือข่ายการประชาสัมพนั ธ์ 4.2 สารวจขอ้ มลู เครือข่ายการประชาสมั พนั ธ์ทง้ั เครือขา่ ยภายในและภายนอกองค์กร แล้วจัดทา ทะเบียนเครอื ข่ายประชาสมั พันธ์ และบุคลากรผูท้ ีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การประชาสัมพนั ธ์ 4.3 จดั ทาหลักเกณฑ์ขอ้ กาหนด แนวปฏบิ ตั ิ และรปู แบบการติดต่อประสานงานกับเครือขา่ ย การประชาสมั พันธ์ 4.4 รวบรวมข้อมูลข่าวสารด้วยระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ 4.5 นาเสนอหลกั เกณฑ์ข้อกาหนด แนวปฏบิ ัติ รปู แบบการประสานงานให้ศกึ ษาธิการจงั หวดั พจิ ารณาให้ความเห็นชอบและอนุมัติ 4.6 วางแผน วิเคราะห์ และบรหิ ารจดั การข้อมูลข่าวสารพัฒนาสอ่ื ไอที พิจารณาเลือกสื่อให้ ตอบสนองจุดมุ่งหมาย ประกาศเผยแพร่ขอ้ มลู เครอื ขา่ ยการประชาสมั พันธ์หลกั เกณฑ์ ข้อกาหนด แนวปฏบิ ตั ิ รูปแบบการตดิ ต่อประสานงานให้บุคลากร ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง และเครือข่ายการประชาสมั พันธ์ ได้ทราบและนาไปใช้ ประโยชน์ในการตดิ ต่อและส่งขา่ วประชาสัมพนั ธ์ 4.7 ตดิ ตามข่าวสาร ความเคล่ือนการศึกษา รวบรวมขอ้ มูลองค์ความรผู้ ลติ ส่ือประชาสมั พันธ์ ด้วยเครอื ขา่ ยประชาสมั พนั ธ์ 4.8 จัดบคุ ลากรผ้รู บั ผดิ ชอบการประสานงานและเครอื ขา่ ยการประชาสมั พันธ์ 4.9 จัดกจิ กรรมเสริมการประชาสมั พนั ธ์ โดยให้เครอื ข่ายมีส่วนรว่ มในการประชาสมั พันธ์ 4.10 ตรวจสอบประเมนิ ผล การประสานงาน เครือข่ายประชาสัมพนั ธแ์ ลว้ นาผลมาวางแผน พัฒนาปรบั ปรงุ งานอย่างต่อเนอื่ ง

79 5. Flow Chart คณะทางาน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ระเบยี บกฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง สารวจขอ้ มูลเครือข่ายการประชาสมั พันธ์ และจัดทาทะเบียน จดั ทาหลักเกณฑแ์ ละรูปแบบการตดิ ต่อ ประสานงานกับเครอื ข่ายการประชาสัมพันธ์ ไมอ่ นมุ ตั ิ นาเสนอหลกั เกณฑ์ รปู แบบการประสานงาน อนมุ ตั ิ รวบรวมขอ้ มลู /ประกาศเผยแพร่ขอ้ มลู เครอื ข่าย การประชาสมั พนั ธ์ให้ผเู้ ก่ยี วข้องทราบ จัดตั้งเครือข่าย / กลมุ่ เครอื ขา่ ยบริหาร ประชาสมั พนั ธ์ วางแผนผลติ ส่ือ และตดิ ตามขา่ วสาร จดั บุคลากรผรู้ บั ผดิ ชอบการประสานงานกับ กลมุ่ เครือข่ายการประชาสัมพนั ธ์ ตรวจสอบประเมินผลการ ประสานงานเครือขา่ ย

80 6. แบบฟอร์มที่ใช้ - 7. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 7.1 พระราชบัญญตั ขิ ้อมูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ.2540 7.2 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการใหข้ ่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม 7.3 ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพนั ธ์และการให้ข่าวราชการ พ.ศ. 2525 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ

81 ๑. ช่ืองาน งานการปรับปรุง พฒั นาอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อม ๒. วัตถุประสงค์ เพือ่ ใหส้ านกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั เป็นสถานท่ีท่ีมสี ภาพแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการปฏบิ ตั งิ าน มคี วาม ปลอดภัย และผูร้ บั บริการมีความประทบั ใจและพึงพอใจ ๓. ขอบเขตของงาน ครอบคลุมถงึ การปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน สภาพแวดล้อม ดูแลระบบสาธารณปู โภคท้ัง ภายในและภายนอก สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั รวมทัง้ ดาเนนิ การตามมาตรการประหยดั พลงั งาน ๔. ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ๔.๑ สารวจ รบั ฟงั ความคิดเห็นของบุคลากรเกย่ี วกบั ความตอ้ งการในการปรับปรุงภูมทิ ัศน พฒั นา สภาพแวดลอ้ มของสถานท่ีทางานและระบบสาธารณปู โภคเพอื่ ให้เกดิ ความสวยงาม เอื้อต่อการ ปฏบิ ัติงานให้ สานกั งานเปน็ สถานที่น่าอยู่ น่าทางาน และมาตรการประหยัดพลงั งาน ๔.๒ วางแผนและกาหนดแผนแมแ่ บบ (Master Plan) การปรบั ปรงุ อาคารสถานท่แี ละ พฒั นา สภาพแวดลอ้ มปรบั ปรุงภูมิทัศน ภายในและภายนอกสานักงานทั้งในปัจจุบันและอนาคตสอดคล้อง กับ กิจกรรม 5 ส. รวมถึงกาหนดมาตรการประหยดั พลังงาน ๔.๓ ดาเนินการจัด ปรับปรุงอาคารสถานท่ีและพัฒนาสภาพแวดล้อม ระบบสาธารณปู โภค ตามแผน และมาตรการที่กาหนด ๔.๔ ประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารและผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ๔.๕ สรุปผลการดาเนนิ งาน /นาเสนอแนวทางปรบั ปรุงและพัฒนางาน

82 ๕. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน - สารวจรับฟงั ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ ง - ศกึ ษามาตรการแนว ปฏิบตั ิการประหยดั พลงั งาน คณะทางานวางแผนปรับปรงุ /พฒั นา อาคารสถานท่ี สิ่งแวดลอ้ ม /กจิ กรรม 5 ส. อนมุ ัตแิ ผน/คาส่ัง ศกึ ษาธิการจงั หวดั ไม่ มอบหมายงาน เหน็ ชอบ เหน็ ชอบ การดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใช้บริการและผู้มสี ว่ นได้ ส่วนเสยี สรปุ รายงาน/นาเสนอแนวทาง ปรบั ปรุง/พฒั นางาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook