คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เลม่ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั ทาโดย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำช้แี จง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถที่ทัดเทียมกับ นานาชาติ ไดเ้ รียนร้วู ิทยาศาสตร์ทเี่ ช่อื มโยงความรกู้ บั กระบวนการในการสบื เสาะหาความร้แู ละการแก้ปัญหาที่ หลากหลาย มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพือ่ ให้ผู้เรียนไดใ้ ช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไปนี้ โรงเรียนจะต้องใช้หลักสูตรกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงได้จัดทำหนังสือเรียนที่เป็นไปตามมาตรฐาน การเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัดของหลักสูตรเพือ่ ใหโ้ รงเรียนได้ใชส้ ำหรับจดั การเรียนการสอนในชัน้ เรยี น คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้ สสวท. ได้พัฒนาขึ้น เพื่อนำไปใช้ประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ เล่ม ๒ โดยภายในคู่มือครูประกอบด้วยผังมโนทศั น์ ตัวชี้วัด ข้อแนะนำ การใชค้ ู่มือครู ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและกจิ กรรมในหนังสือเรยี นกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทมี่ ุ่งเน้นการพัฒนาทักษะรอบด้าน ท้ัง การอ่าน การสำรวจตรวจสอบ การฝกึ ปฏิบตั ิ การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง การสบื ค้นขอ้ มูล และการอภิปราย โดยมี เป้าหมายให้นักเรียนพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะการคิด การอ่าน การสื่อสาร การแก้ปัญหา ตลอดจน การนำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันอย่างมีคุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมแห่ง การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมีความสุข ในการจัดทำคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์เลม่ นี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิง จากคณาจารย์ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ นกั วชิ าการ และครูผู้สอน จากสถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ จึงขอขอบคุณไว้ ณ ท่ีนี้ สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครูและผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้การ จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำให้คู่มือครูเล่มน้ี สมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ โปรดแจ้ง สสวท. ทราบดว้ ย จักขอบคณุ ยง่ิ (ศาสตราจารย์ชกู ิจ ลิมปิจำนงค์) ผอู้ ำนวยการสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ
สารบัญ หน้า คำชีแ้ จง เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ก คณุ ภาพของผู้เรยี นวทิ ยาศาสตร์ เมือ่ จบชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ข ทกั ษะทสี่ ำคัญในการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ค ผงั มโนทศั น์ (concept map) รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เลม่ 2 ช ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง วิทยาศาสตร์ ป.3 เล่ม 2 ซ ข้อแนะนำการใชค้ มู่ ือครู ฎ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรใ์ นระดับประถมศึกษา บ การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการสืบเสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ ป การจัดการเรียนการสอนทีส่ อดคลอ้ งกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ผ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ พ ตารางแสดงความสอดคล้องระหวา่ งเนือ้ หาและกจิ กรรม ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เล่ม 2 ม กบั ตัวชีว้ ดั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) รายการวัสดุอปุ กรณ์วิทยาศาสตร์ ป.3 เลม่ 2 ล หน่วยท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงของวตั ถแุ ละวสั ดุ 1 ภาพรวมการจดั การเรียนรปู้ ระจำหนว่ ยท่ี 3 การเปลยี่ นแปลงของวตั ถุและวัสดุ 1 บทท่ี 1 การทำให้วตั ถแุ ละวัสดเุ ปลยี่ นแปลง 3 บทนเ้ี รมิ่ ต้นอย่างไร 6 เร่ืองที่ 1 แยกออก ประกอบใหม่ 11 กจิ กรรมท่ี 1 ทำวัตถุชนิ้ ใหม่จากวตั ถชุ นิ้ เดมิ ไดอ้ ย่างไร 16 เรื่องที่ 2 ร้อนขน้ึ เย็นลง 30 กจิ กรรมท่ี 2 ความรอ้ นมผี ลต่อวัสดอุ ยา่ งไร 34 กิจกรรมทา้ ยบทที่ 1 การทำให้วัตถุและวัสดุเปล่ียนแปลง 45 แนวคำตอบในแบบฝึกหดั ท้ายบท 47
สารบัญ หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวัน หน้า 51 ภาพรวมการจดั การเรยี นร้ปู ระจำหน่วยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 51 บทที่ 1 แรงสัมผสั และแรงไม่สัมผัส 53 บทน้เี ร่มิ ตน้ อย่างไร 56 เรื่องท่ี 1 แรงสัมผัสกับการเปลย่ี นแปลงการเคล่อื นท่ีของวตั ถุ 63 68 กจิ กรรมที่ 1 แรงมผี ลตอ่ การเคลื่อนที่ของวตั ถอุ ยา่ งไร 81 เรือ่ งท่ี 2 แรงไม่สมั ผสั กับการเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนทขี่ องวัตถุ 86 102 กิจกรรมท่ี 2.1 แรงแม่เหลก็ เป็นอย่างไร 116 กจิ กรรมที่ 2.2 หาขว้ั แม่เหล็กได้อย่างไร 128 กิจกรรมท่ี 2.3 แรงระหว่างแม่เหล็กเป็นอยา่ งไร 130 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 แรงสัมผสั และแรงไม่สัมผัส แนวคำตอบในแบบฝึกหัดทา้ ยบท 135 135 หน่วยที่ 5 พลังงานกับชวี ติ 137 140 ภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยท่ี 5 พลังงานกับชวี ติ 146 บทท่ี 1 ดวงอาทิตย์และปรากฏการณข์ องโลก 151 บทน้ีเริ่มต้นอย่างไร 175 เรอ่ื งที่ 1 ดวงอาทิตยแ์ ละโลก 185 187 กิจกรรมท่ี 1.1 การหมนุ รอบตวั เองของโลกทำให้เกดิ ปรากฏการณ์อะไรบา้ ง 189 กิจกรรมท่ี 1.2 ดวงอาทิตยส์ ำคญั อยา่ งไร 192 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 ดวงอาทติ ย์และปรากฏการณ์ของโลก 198 แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท 203 บทที่ 2 พลังงานไฟฟ้า 216 บทนเ้ี ร่มิ ต้นอย่างไร 235 เรอื่ งที่ 1 พลังงานไฟฟ้ากับชีวิต กจิ กรรมที่ 1.1 พลังงานหน่ึงเปลยี่ นเป็นพลงั งานใดไดบ้ ้าง กิจกรรมที่ 1.2 ผลติ ไฟฟ้าได้อย่างไร กจิ กรรมที่ 1.3 ใชไ้ ฟฟ้าอย่างประหยดั และปลอดภยั ได้อยา่ งไร
กิจกรรมทา้ ยบทที่ 2 พลังงานไฟฟ้า สารบัญ แนวคำตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบท หนา้ แนวคำตอบในแบบทดสอบทา้ ยเล่ม บรรณานุกรม หนา้ คณะทำงาน 249 251 253 267 268
ก ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้วนำผลที่ได้มาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุง่ เน้นใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากทีส่ ดุ นนั่ คอื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ทง้ั กระบวนการและองคค์ วามรู้ การจดั การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรใ์ นสถานศึกษามเี ปา้ หมายสำคญั ดังน้ี 1. เพ่อื ให้เขา้ ใจแนวคดิ หลักการ ทฤษฎี กฎและความรู้พ้นื ฐานของวิทยาศาสตร์ 2. เพอ่ื ให้เขา้ ใจขอบเขตธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และขอ้ จำกัดของวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อให้มที กั ษะท่ีสำคญั ในการสบื เสาะหาความรแู้ ละพัฒนาเทคโนโลยี 4. เพื่อให้ตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ สิ่งแวดลอ้ ม 5. เพื่อนำความรู้ แนวคิดและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สงั คมและการดำรงชีวติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะใน การสอ่ื สาร และความสามารถในการประเมนิ และตดั สนิ ใจ 7. เพ่ือใหเ้ ปน็ ผูท้ ่มี ีจิตวิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อย่างสร้างสรรค์ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ข คณุ ภาพของผ้เู รยี นวิทยาศาสตร์ เมอ่ื จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้ 1. เขา้ ใจลักษณะทวั่ ไปของส่ิงมชี ีวติ และการดำรงชีวติ ของสง่ิ มชี วี ิตรอบตัว 2. เข้าใจลักษณะทป่ี รากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวสั ดทุ ี่ใช้ทำวัตถุและการเปลย่ี นแปลงของวัสดุ รอบตวั 3. เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานไฟฟ้า และการผลติ ไฟฟา้ การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเหน็ 4. เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดิน และการใช้ประโยชน์ ลกั ษณะและความสำคัญของอากาศ การเกดิ ลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม 5. ตัง้ คำถามหรือกำหนดปัญหาเกย่ี วกับสง่ิ ท่ีจะเรยี นรตู้ ามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ สังเกต สำรวจ ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบด้วย การเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่อง หรือด้วยการแสดงท่าทางเพื่อให้ผู้อ่ืน เขา้ ใจ 6. แก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใชข้ ้ันตอนการแก้ปญั หา มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร เบอื้ งต้น รกั ษาขอ้ มลู สว่ นตวั 7. แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามท่ี กำหนดให้หรือตามความสนใจ มีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรับฟังความคิดเหน็ ผอู้ น่ื 8. แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลลุ ว่ งเป็นผลสำเร็จ และทำงานร่วมกับผู้อนื่ อย่างมีความสุข 9. ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ศึกษา หาความรู้เพม่ิ เตมิ ทำโครงงานหรอื สร้างชิ้นงานตามทกี่ ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ทักษะทีส่ ำคัญในการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ทักษะสำคัญที่ครูผู้สอนจำเป็นต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เช่น ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปสู่ การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจำลอง และวิธีการอื่นๆ เพื่อนำข้อมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคำอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย ทักษะการสังเกต (Observing) เป็นความสามารถในการใชป้ ระสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึง หรือ หลายอย่างสำรวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ ผูส้ งั เกต ประสาทสมั ผัสทง้ั 5 ได้แก่ การดู การฟงั เสียง การดมกล่นิ การชมิ รส และการสัมผสั ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใช้ออกมาเป็น ตัวเลขได้ถกู ต้องและรวดเร็ว พร้อมระบหุ น่วยของการวัดได้อย่างถกู ต้อง ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย เกบ็ รวบรวมไว้ในอดีต ทักษะการจำแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรอื จัดกลุ่ม สิ่งต่าง ๆ ที่สนใจ เช่น วัตถุ สิ่งมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาออกเป็น หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ หนึง่ ของสิง่ ต่าง ๆ ทต่ี ้องการจำแนก ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พื้นที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่นี้อาจเป็นตำแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหล่านี้อาจมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกบั สเปซ เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุต่างๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกับเวลา เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุครอบครอง (Relationship between Space and Time) เมื่อเวลาผ่านไป ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ง ทักษะการใช้จำนวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจำนวน และ การคำนวณเพ่อื บรรยายหรือระบรุ ายละเอียดเชงิ ปริมาณของสิ่งท่ีสังเกตหรือทดลอง ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data) เป็นความสามารถในการนำผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาจดั กระทำให้อยู่ในรูปแบบท่ี มีความหมายหรือมคี วามสัมพนั ธ์กนั มากข้ึน จนงา่ ยต่อการทำความเขา้ ใจหรอื เห็นแบบรูปของข้อมลู นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนำข้อมูลมาจัดทำในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขยี นบรรยาย เพือ่ สอื่ สารใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจความหมายของขอ้ มลู มากข้ึน ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์ การสังเกต การทดลองท่ีได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ท่ี แม่นยำจึงเป็นผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทำกับข้อมูลอย่าง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคำตอบ ล่วงหน้าก่อนดำเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคำตอบที่คิด ล่วงหน้าท่ียังไม่รูม้ าก่อน หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การตั้งสมมติฐานหรือคำตอบทีค่ ิดไว้ ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเป็นไปตามที่ คาดการณ์ไว้หรอื ไม่ก็ได้ ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ กำหนดความหมายและขอบเขตของสิง่ ต่าง ๆ ท่อี ยู่ในสมมตฐิ านของการทดลอง หรอื ท่เี กยี่ วข้องกับการทดลอง ให้เข้าใจตรงกนั และสามารถสังเกตหรือวัดได้ ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถในการ กำหนดตัวแปรต่าง ๆ ทั้งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น ซึ่งอาจ ส่งผลต่อผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ได้แก่ ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรที่ตอ้ งควบคุมให้คงท่ี ซง่ึ ลว้ นเป็นปจั จัยท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการทดลอง ดังน้ี ตวั แปรตน้ (Independent Variable) หมายถึง ส่ิงท่เี ปน็ ต้นเหตุทำใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลง จงึ ต้อง จัดสถานการณ์ให้มีส่ิงน้ีแตกต่างกัน ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง สิ่งที่เป็นผลจากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้ แตกตา่ งกนั และเราตอ้ งสงั เกต วดั หรอื ตดิ ตามดู ตัวแปรท่ตี ้องควบคุมใหค้ งท่ี (Controlled Variable) หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ที่อาจสง่ ผลต่อการจดั สถานการณ์ จึงต้องจัดสง่ิ เหล่านี้ใหเ้ หมอื นกนั หรอื เทา่ กัน เพ่ือให้ม่ันใจว่าผลจากการจัดสถานการณ์เกิดจากตวั แปรตน้ เท่าน้ัน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
จ คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คอื การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองได้อย่างรอบคอบ และสอดคล้องกับคำถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดำเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้ ละเอียด ครบถ้วน และเทยี่ งตรง ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion) เป็น ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสัมพันธข์ องขอ้ มูลทั้งหมด ทักษะการสรา้ งแบบจำลอง (Formulating Models) เป็นความสามารถในการสร้างและใช้สิ่งที่ ทำขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว สามารถประเมินแบบจำลอง และปรับปรุงแบบจำลองที่สร้างขึ้น รวมถึงความสามารถในการ นำเสนอขอ้ มลู แนวคดิ ความคิดรวบยอดเพ่อื ใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจในรูปของแบบจำลองแบบตา่ ง ๆ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานได้ระบุทักษะที่จำเป็นแห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคล้องกับสมรรถนะที่ควรมีในพลเมือง ยุคใหม่รวม 7 ด้าน (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดับประถมศึกษาจะเนน้ ให้ครผู ้สู อนสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีทักษะ ดังตอ่ ไปน้ี การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ ประเมินหลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองที่ หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และจัดทำข้อสรุป สะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้ ประสบการณ์และกระบวนการเรยี นรู้ การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย หรือ ปัญหาใหม่ โดยอาจใช้ความรู้ ทกั ษะ วธิ กี ารและประสบการณ์ท่เี คยรมู้ าแล้ว หรอื การสบื เสาะหาความรู้ วธิ กี าร ใหม่มาใช้แก้ปัญหาก็ได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงการซักถามเพื่อทำความเข้าใจมุมมองที่แตกต่าง หลากหลาย เพือ่ ให้ไดว้ ธิ ีแกป้ ัญหาทด่ี ียง่ิ ข้นึ การสอ่ื สาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการส่อื สารได้อย่างชดั เจน เช่ือมโยง เรียบเรยี งความคดิ เเละมุมมองตา่ ง ๆ แลว้ สือ่ สารโดยการใช้คําพดู หรือการเขยี น เพื่อใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจได้ หลากหลายรปู แบบและวัตถปุ ระสงคน์ อกจากนยี้ งั รวมไปถึงการฟงั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพเพ่ือใหเ้ ข้าใจ ความหมายของผูส้ ่งสาร ความร่วมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทำงานร่วมกับคนกลุ่มต่าง ๆ ท่ี หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกียรติ มีความยืดหยุ่นและยินดีที่จะประนีประนอม เพื่อให้บรรลุ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ฉ เปา้ หมายการทำงาน พรอ้ มทงั้ ยอมรบั และแสดงความรับผดิ ชอบต่องานทีท่ ำรว่ มกัน และเหน็ คณุ ค่าของผลงาน ทพี่ ัฒนาข้นึ จากสมาชกิ แต่ละคนในทีม การสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสรา้ งสรรค์แนวคิด เชน่ การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาต่อยอดแนวคิดเดิม หรือได้แนวคิดใหม่ และ ความสามารถในการกลั่นกรอง ทบทวน วเิ คราะห์ และประเมินแนวคิด เพือ่ ปรับปรงุ ให้ได้แนวคิดท่ีจะส่งผลให้ ความพยายามอย่างสรา้ งสรรค์นีเ้ ปน็ ไปได้มากท่สี ดุ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือสืบค้น จัดกระทํา ประเมนิ และสือ่ สารข้อมลู ความรู้ตลอดจนร้เู ท่าทันสอื่ โดยการใชส้ ่ือตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมมีประสิทธภิ าพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ช คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ผังมโนทศั น์ (concept map) รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 เลม่ 2 ประกอบด้วย ได้แก่ ไดแ้ ก่ ได้แก่ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ซ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ว 2.1 ป.3/1 • วัตถุอาจทำจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่งแต่ละชิ้นมี อธิบายวา่ วัตถปุ ระกอบขึ้นจากช้ินส่วนย่อย ๆ ซึ่ง ลกั ษณะเหมือนกันมาประกอบเข้าดว้ ยกัน เมื่อแยก สามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็น ชิ้นส่วนย่อย ๆ แต่ละชิ้นของวัตถุออกจากกัน วัตถุชิ้นใหมไ่ ด้ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ สามารถนำช้ินสว่ นเหล่าน้ันมาประกอบเป็นวตั ถุชิ้น ใหม่ได้ เช่น กำแพงบ้านมีก้อนอิฐหลาย ๆ ก้อน ประกอบเข้าด้วยกัน และสามารถนำก้อนอิฐจาก ว 2.1 ป.3/2 กำแพงบา้ นมาประกอบเป็นพ้ืนทางเดนิ ได้ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำให้ร้อน • เม่อื ใหค้ วามร้อนหรือทำให้วัสดุร้อนขนึ้ และเม่ือลด ขึ้นหรือทำให้เยน็ ลง โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ความร้อนหรือทำให้วัสดุเย็นลง วัสดุจะเกิดการ เปล่ียนแปลงได้ เช่น สเี ปล่ยี น รูปร่างเปลย่ี น ว 2.2 ป.3/1 ระบุผลของแรงท่ีมีตอ่ การเปล่ียนแปลง การ • การดึง หรือการผลกั เปน็ การออกแรงกระทำต่อ เคลอ่ื นท่ีของวัตถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ วัตถุ แรงมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงอาจ ทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่โดยเปลี่ยนตำแหน่ง จากที่หนงึ่ ไปยังอกี ทห่ี นง่ึ • การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่อยู่นิ่งเปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่ วัตถุที่กำลัง เคลื่อนที่เปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้ำลง ว 2.2 ป.3/2 หรอื หยุดนิ่ง หรอื เปลยี่ นทศิ ทางการเคล่อื นท่ี เปรียบเทียบและยกตวั อยา่ งแรงสัมผสั และแรง ไม่สมั ผสั ที่มีผลต่อการเคลื่อนทขี่ องวตั ถโุ ดยใช้ • การดึงหรือการผลักเป็นการออกแรงที่เกิดจาก หลักฐานเชิงประจกั ษ์ วัตถุหนึ่งกระทำกับอีกวัตถุหนึ่ง โดยวัตถุทั้งสอง อาจสัมผัสหรือไม่ต้องสัมผัสกัน เช่น การออก แรงโดยใช้มือดึงหรือการผลักโต๊ะให้เคลื่อนท่ี เป็นการออกแรงที่วัตถุต้องสัมผัสกัน แรงนี้จึง เปน็ แรงสัมผสั สว่ นการทีแ่ มเ่ หลก็ ดงึ ดดู หรือผลัก ระหวา่ งแมเ่ หลก็ เป็นแรงท่ีเกดิ ข้ึนโดยแม่เหล็กไม่ จำเป็นต้องสัมผัสกัน แรงแม่เหล็กนี้จึงเป็น แรงไม่สมั ผัส สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ฌ คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ว 2.2 ป.3/3 • แมเ่ หล็กสามารถดงึ ดดู สารแมเ่ หล็กได้ จำแนกวตั ถโุ ดยใชก้ ารดึงดดู กับแม่เหล็กเป็น เกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ • แรงแม่เหล็กเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างแม่เหล็ก ว 2.2 ป.3/4 กับสารแม่เหล็ก หรือแม่เหล็กกับแม่เหล็ก ระบขุ ว้ั แมเ่ หล็กและพยากรณ์ผลทเี่ กิดขน้ึ แม่เหล็ก มี 2 ขั้วคือ ขั้วเหนือและขั้วใต้ ระหว่างข้วั แม่เหลก็ เมอื่ นำมาเข้าใกล้กันจาก ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน ต่างชนิดกัน หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ จะดึงดูดกัน ว 2.3 ป.3/1 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเป็นอีก • พลังงานเป็นปริมาณที่แสดงถึงความสามารถ พลงั งานหนึ่งจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ในการทำงาน พลังงานมีหลายแบบ เช่น พลงั งานกล พลังงานไฟฟา้ พลงั งานแสง พลงั งาน เสียง และพลังงานความร้อน โดยพลังงาน สามารถเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งไปเป็นอีก พลังงานหนึ่งได้ เช่น การถูมือจนรู้สึกร้อน เป็น การเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานความร้อน แผงเซลล์สรุ ิยะเปลี่ยนพลังงานแสง เป็นพลังงาน ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า เปน็ พลงั งานอน่ื ว 2.3 ป.3/2 • ไฟฟ้าผลิตจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งใช้พลังงาน บรรยายการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและ จากแหล่งพลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น ระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลที่ พลังงานจากลม พลังงานจากน้ำ พลังงานจาก รวบรวมได้ แก๊สธรรมชาติ ว 2.3 3/3 • พลังงานไฟฟ้ามีความสำคัญต่อชีวิตประจำวัน ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟ้าโดย การใชไ้ ฟฟ้านอกจากต้องใช้อย่างถูกวธิ ี ประหยัด นำเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและ และคุ้มค่าแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ปลอดภัย ดว้ ย ว 3.1 ป.3/1 อธิบายแบบรปู เสน้ ทางการขึน้ และตกของ ดวง • คนบนโลกมองเห็นดวงอาทติ ยป์ รากฏข้นึ อาทิตย์โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ทางด้านหนง่ึ และตกทางอกี ด้านหนงึ่ ทุกวัน หมุนเวยี นเปน็ แบบรูปซ้ำ ๆ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ญ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ว 3.1 ป.3/2 • โลกกลมและหมนุ รอบตวั เองขณะโคจรรอบดวง อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์ การขึ้นและ อาทิตย์ ทำใหบ้ รเิ วณของโลกไดร้ ับแสงอาทิตย์ไม่ ตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวัน กลางคืน พร้อมกัน โลกด้านที่ไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตย์จะ และการ กำหนดทิศ โดยใช้ แบบจำลอง เปน็ กลางวนั ส่วนด้านตรงขา้ มที่ไมไ่ ด้รับแสงจะ ว 3.1 ป.3/3 เปน็ กลางคืน นอกจากนคี้ นบนโลกจะมองเห็น ตระหนักถึง ความสำคัญของ ดวงอาทิตย์ โดย ดวงอาทติ ยป์ รากฏขน้ึ ทางด้านหนง่ึ ซ่งึ กำหนดให้ บรรยายประโยชนข์ องดวงอาทิตยต์ ่อส่งิ มชี ีวติ เป็นทิศตะวนั ออก และมองเห็นดวงอาทิตย์ตก ทางอีกด้านหนงึ่ ซึง่ กำหนดให้เปน็ ทิศตะวันตก และเมื่อให้ด้านขวามอื อยทู่ างทศิ ตะวันออก ด้าน ซ้ายมอื อยทู่ างทศิ ตะวนั ตก ด้านหนา้ จะเป็นทิศ เหนอื และด้านหลงั จะเปน็ ทิศใต้ • ในเวลากลางวนั โลกจะได้รบั พลังงานแสงและ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทำให้ สงิ่ มชี วี ติ ดำรงชวี ิตอยูไ่ ด้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ฎ คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ขอ้ แนะนำการใชค้ ่มู อื ครู คู่มือครูเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมสำหรับครู ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ นักเรียนจะได้ฝึกทักษะจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการสังเกต การสำรวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การทำงานร่วมกัน ซง่ึ เปน็ การฝกึ ให้นักเรยี นชา่ งสังเกต รูจ้ กั ตั้งคำถาม ร้จู ักคดิ หาเหตผุ ล เพอ่ื ตอบ ปญั หาต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง ทั้งนโี้ ดยมเี ป้าหมายเพ่ือใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้และคน้ พบดว้ ยตนเองมากที่สุด ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้ครูจึงเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนนกั เรียนให้รู้จักสบื เสาะหาความรูจ้ ากสื่อและ แหล่งการเรียนรู้ตา่ ง ๆ และเพิม่ เตมิ ข้อมลู ที่ถูกต้องแกน่ ักเรียน เพ่ือใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะจากการศึกษาหาความรู้ ดว้ ยตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์จากคู่มือครูเล่มนี้มากที่สุด ครูควรทำความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละ หวั ขอ้ และขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ดงั น้ี 1. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นสาระการเรียนรู้เฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ปรากฏใน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดไว้เฉพาะส่วนที่จำเป็นสำหรับเป็นพื้นฐาน เกี่ยวข้องกับชวี ิตประจำวัน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดยสอดคล้องกับสาระและ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมีสาระสำคัญ ซ่งึ เปน็ เน้ือหาสาระ ท่ีปรากฏอยู่ตามสาระการเรียนรู้โดยสถานศึกษาสามารถพฒั นาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เพิ่มสาระเทคโนโลยี ซ่ึง ประกอบด้วยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ ทั้งนี้เพื่อเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ตาม แนวคดิ สะเตม็ ศกึ ษา 2. ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู้ ระจำหนว่ ย ภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีไว้เพื่อเชื่อมโยงเน้ือหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดทีจ่ ะไดเ้ รียนในแต่ละกิจกรรมของหนว่ ยน้ัน ๆ และเป็นแนวทางใหค้ รูผู้สอนนำไปปรับปรุงและ เพ่ิมเตมิ ตามความเหมาะสม 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย ในแต่ละส่วนของหนังสือเรียนทั้ง ส่วนนำบท นำเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดชั้นปีเพื่อให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตและ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ฏ ในสถานการณ์ใหม่ มที ักษะในการใช้เทคโนโลยี มเี จตคติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม สามารถอยู่ในสงั คมไทยได้อยา่ งมีความสุข 4. บทนมี้ อี ะไร ส่วนที่บอกรายละเอียดในบทนน้ั ๆ ซึ่งประกอบด้วยชอ่ื เร่อื ง คำสำคัญ และชื่อกจิ กรรม เพือ่ ครูจะ ได้ทราบองคป์ ระกอบโดยรวมของแต่ละบท 5. สื่อการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ ส่วนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่ต้องใช้สำหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมนั้น ๆ โดยสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วยหน้าหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต์ เว็บไซต์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนูปกรณ์หรือตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตรเ์ พ่ือเสริมสรา้ งความมั่นใจในการสอนปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตรส์ ำหรบั ครู 6. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทักษะที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น ทักษะที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู้ ส่วนทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพอ่ื ใหท้ ันต่อการเปล่ยี นแปลงของโลก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ฐ คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์สำหรบั ครูเพ่อื ฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ่าง ๆ มี ดังน้ี รายการ ทกั ษะกระบวนการทาง Short link QR code วิทยาศาสตร์ วีดทิ ัศน์ การสงั เกตและการ การสงั เกตและการลง http://ipst.me/8115 ลงความเหน็ จากข้อมูล ความเหน็ จากข้อมลู ทำไดอ้ ยา่ งไร วีดิทศั น์ การวัดทำได้อยา่ งไร การวดั http://ipst.me/8116 วดี ทิ ศั น์ การใชต้ วั เลขทำได้ การใชจ้ ำนวน http://ipst.me/8117 อยา่ งไร วดี ิทัศน์ การจำแนกประเภท การจำแนกประเภท http://ipst.me/8118 ทำได้อยา่ งไร วดี ิทัศน์ การหาความสมั พนั ธ์ การหาความสมั พันธ์ http://ipst.me/8119 ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ ระหว่างสเปซกบั สเปซ http://ipst.me/8120 ทำได้อย่างไร http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 วีดิทศั น์ การหาความสมั พันธ์ การหาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับเวลา ระหวา่ งสเปซกบั เวลา ทำได้อยา่ งไร วีดิทัศน์ การจัดกระทำและสื่อ การจดั กระทำและส่อื ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมลู ทำได้อยา่ งไร วดี ทิ ศั น์ การพยากรณ์ทำได้ การพยากรณ์ อย่างไร ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ฑ รายการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code วทิ ยาศาสตร์ http://ipst.me/8123 วดี ทิ ัศน์ ทำการทดลองได้ อย่างไร การทดลอง วีดทิ ศั น์ การต้งั สมมตฐิ านทำ การตั้งสมมติฐาน http://ipst.me/8124 ได้อยา่ งไร วีดทิ ศั น์ การกำหนดและ การกำหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคุมตัวแปรและ ตวั แปรและ การกำหนดนยิ ามเชงิ การกำหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารทำได้ ปฏบิ ตั ิการ อยา่ งไร การตคี วามหมายข้อมูลและ http://ipst.me/8126 วีดิทัศน์ การตีความหมาย ลงข้อสรปุ ข้อมลู และลงข้อสรุป ทำได้อย่างไร วีดิทศั น์ การสร้างแบบจำลอง การสร้างแบบจำลอง http://ipst.me/8127 ทำได้อยา่ งไร สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ฒ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 7. แนวคดิ คลาดเคลือ่ น ความเชื่อ ความรู้ หรือความเข้าใจที่ผิดหรือคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เนื่องจาก ประสบการณ์ในการเรยี นรู้ที่รับมาผิดหรือนำความรู้ที่ไดร้ ับมาสรปุ ตามความเข้าใจของตนเองผิด แล้ว ไม่สามารถอธิบายความเข้าใจนั้นได้ ดังนั้นเมื่อเรียนจบบทน้ีแลว้ ครคู วรแกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลื่อนของ นักเรยี นใหเ้ ป็นแนวคิดท่ีถูกตอ้ ง 8. บทนเี้ รมิ่ ต้นอยา่ งไร แนวทางสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยและให้นักเรียน ตอบคำถามสำรวจความรู้ก่อนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนและยังไม่เฉลย คำตอบท่ถี ูกตอ้ ง เพ่อื ใหน้ ักเรียนไปหาคำตอบจากเรอื่ งและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในบทน้ัน 9. เวลาที่ใช้ การเสนอแนะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนว่าควรใช้ประมาณกี่ชั่วโมง เพื่อช่วยให้ ครูผู้สอนได้จดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม อยา่ งไรก็ตามครูอาจปรับเปล่ียนเวลาได้ตาม สถานการณ์และความสามารถของนักเรียน 10. วสั ดุอุปกรณ์ รายการวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดทั้งหมดสำหรบั การจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุส้ินเปลือง อุปกรณ์ สำเร็จรูป อปุ กรณ์พน้ื ฐาน หรืออ่นื ๆ 11. การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรับครู เพื่อจัดการเรยี นรู้ในครง้ั ถัดไป การเตรียมตัวล่วงหน้าสำหรับการจัดการเรียนรู้ในครั้งถัดไป เพื่อครูจะได้เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือตา่ ง ๆ ที่ต้องใชใ้ นกิจกรรมให้อยูใ่ นสภาพท่ีใชก้ ารไดด้ แี ละมจี ำนวนเพยี งพอกบั นักเรียน โดย อาจมีบางกิจกรรมตอ้ งทำลว่ งหน้าหลายวนั เช่น การเตรียมถุงปรศิ นาและขา้ วโพดควั่ หรือสิง่ ท่ีกนิ ได้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม นักเรยี นในระดับช้ันประถมศกึ ษา มีกระบวนการคดิ ทีเ่ ปน็ รูปธรรม ครจู งึ ควรจดั การเรียนการสอนที่ มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติหรือทำการทดลองด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะได้มีประสบการณ์ตรง ดงั น้ันครผู สู้ อนจึงตอ้ งเตรียมตัวเองในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ 11.1 บทบาทของครู ครูจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นำหรือผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้ ช่วยเหลือ โดยส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งการ เรียนรู้ต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้นำข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ สร้างสรรค์ความรู้ของตนเอง ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ณ 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมในการทำ กิจกรรมต่าง ๆ แต่บางครั้งนักเรียนไม่เข้าใจและอาจจะทำกิจกรรมไม่ถกู ต้อง ดังนั้นครจู ึง ตอ้ งเตรียมตวั เอง โดยทำความเขา้ ใจในเรือ่ งต่อไปน้ี การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามจากผู้รู้ในท้องถิ่น ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อ่านหนังสือหรือเอกสารเท่าที่หาได้ นั่นคือการให้นักเรียนเป็นผู้หา ความร้แู ละพบความร้หู รือข้อมลู ดว้ ยตนเอง ซง่ึ เปน็ การเรียนรู้ด้วยวธิ ีแสวงหาความรู้ การนำเสนอ มีหลายวิธี เช่น ให้นักเรียนหรือตัวแทนกลุ่มออกมาเล่าเรื่องที่ได้รับ มอบหมายให้ไปสำรวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจให้เขียนเปน็ คำหรือเป็นประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจให้วาดรูป หรือตัด ขอ้ ความจากหนังสอื พมิ พ์ แล้วนำมาติดไวใ้ นห้อง เป็นต้น การสำรวจ ทดลอง สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจำลองหรืออื่น ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้เป็น สิ่งสำคัญยิ่งต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนสามารถให้นักเรียนทำกิจกรรมได้ทั้งใน ห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือที่บ้าน โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ราคาแพง อาจใชอ้ ุปกรณ์ท่ีดัดแปลงจากสงิ่ ของเหลอื ใช้ หรือใช้วัสดธุ รรมชาติ ขอ้ สำคัญ คอื ครผู ู้สอน ต้องให้นักเรียนทราบว่า ทำไมจึงต้องทำกิจกรรมนั้น และจะต้องทำอะไร อย่างไร ผลจาก การทำกิจกรรมจะสรุปผลอย่างไร ซึ่งจะทำให้นักเรียนได้ความรู้ ความคิด และทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรพ์ รอ้ มกับเกดิ ค่านิยม คณุ ธรรม เจตคตทิ างวิทยาศาสตรด์ ้วย 12. แนวการจดั การเรียนรู้ แนวทางสำหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตรท์ ี่มุง่ ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วย ตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนำเอาวิธีการต่าง ๆ ของกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ไปใช้ วธิ ีการจดั การเรียนรู้ท่ี สสวท. เหน็ วา่ เหมาะสมท่ีจะนำนักเรียนไปสู่เป้าหมายท่ีกำหนด ไว้ก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การมองเห็นปัญหา การสำรวจ ตรวจสอบ และอภปิ รายซักถามระหว่างครูกับนักเรยี นเพื่อนำไปสขู่ ้อมลู สรุป ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม นอกจากครูจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามคู่มือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความ เหมาะสมเพื่อใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมาย โดยจะคำนงึ ถงึ เรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี 12.1 นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรให้นกั เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้นักเรียนลงมือทำกิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การใช้คำถาม การเสริมแรงมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้การเรียน การสอนน่าสนใจและมีชวี ติ ชวี า สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ด คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 12.2 การใชค้ ำถาม เพ่อื นำนักเรียนเขา้ สู่บทเรยี นและลงขอ้ สรุป โดยไมใ่ ชเ้ วลานานเกนิ ไป ทัง้ น้คี รู ต้องวางแผนการใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้คำถามที่มีความยากง่าย พอเหมาะกับความสามารถของนักเรยี น 12.3 การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ ครู ควรเนน้ ยำ้ ให้นักเรยี นไดส้ ำรวจตรวจสอบซำ้ เพอื่ นำไปสู่ข้อสรุปท่ถี กู ตอ้ งและเช่อื ถือได้ 13. ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ข้อเสนอแนะสำหรับครูที่อาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ที่ เหมาะสมหรือใชแ้ ทน ขอ้ ควรระวัง วธิ กี ารใชอ้ ุปกรณ์ใหเ้ หมาะสมและปลอดภัย วธิ กี ารทำกจิ กรรมเพ่ือ ลดขอ้ ผิดพลาด ตวั อยา่ งตาราง และเสนอแหลง่ เรียนร้เู พ่ือการคน้ ควา้ เพ่ิมเติม 14. ความร้เู พม่ิ เติมสำหรบั ครู ความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่สอนซึ่งจะมีรายละเอียดที่ลึกขึ้น เพื่อเพิ่มความรู้และความมั่นใจใน เรื่องที่จะสอนและแนะนำนักเรียนที่มีความสามารถสูง แต่ครูต้องไม่นำไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน เพราะไมเ่ หมาะสมกบั วัยและระดับช้ัน 15. อยา่ ลืมนะ ส่วนที่เตือนไม่ให้ครูเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ก่อนที่จะได้รับฟังความคิดและเหตุผลของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้คิดด้วยตนเองและครูจะได้ทราบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้นอย่างไร บา้ ง โดยครคู วรใหค้ ำแนะนำเพ่ือให้นกั เรยี นหาคำตอบไดด้ ว้ ยตนเอง นอกจากนน้ั ครคู วรให้ความสนใจ ต่อคำตอบของนกั เรยี นทกุ คนดว้ ย 16. แนวการประเมินการเรยี นรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้จากการอภิปรายในชั้นเรียน คำตอบของนักเรียนระหว่าง การจัดการเรียนรู้และในแบบบันทึกกิจกรรม รวมทั้งการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรมของนักเรยี น 17. กิจกรรมท้ายบท สว่ นทใ่ี ห้นักเรยี นได้สรปุ ความรู้ ความเข้าใจ ในบทเรียน และได้ตรวจสอบความรใู้ นเน้ือหาท่ีเรียน มาทั้งบท หรืออาจต่อยอดความร้ใู นเร่ืองน้นั ๆ ข้อแนะนำเพ่ิมเติม 1. การสอนอา่ น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคำว่า “อ่าน” หมายถึง ว่าตาม ตัวหนังสอื ถ้าออกเสียงดว้ ย เรยี กวา่ อา่ นออกเสียง ถ้าไมต่ ้องออกเสียง เรียกวา่ อา่ นในใจ หรืออีกความหมาย ของคำว่า “อ่าน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพือ่ ให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ตีความ เช่น อา่ นรหสั อา่ นลายแทง ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ต ปีพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ได้กล่าวถึงความสำคัญของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่สำคญั จำเป็นต้องเน้นและฝึกฝนให้แก่นักเรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้ผู้อ่าน สร้างความหมายหรอื พัฒนาการวิเคราะห์ ตีความในระหว่างอา่ น ผู้อ่านจะต้องรูห้ วั เรื่อง รู้จุดประสงค์การอา่ น มีคว ามร ู้ทางภ า ษา ใ กล ้เ คี ย ง กับภ าษ าท ี่ ใช้ ใน หน ังส ื อที่ อ่านแล ะจ ำ เป็ นต้ องใช ้ประสบการ ณ์เดิมที ่ เ ป็ น ประสบการณ์พื้นฐานของผู้อ่าน ทำความเข้าใจเรื่องที่อ่าน ทั้งนี้นักเรียนแต่ละคนอาจมีทักษะในการอ่านที่ แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของนักเรียน ความสามารถด้านภาษา หรอื ความสนใจเรื่องที่อ่าน ครูควรสังเกตนักเรียนว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการอ่านอยู่ในระดับใด ซง่ึ ครูจะต้องพจิ ารณาทง้ั หลักการอา่ น และความเข้าใจในการอ่านของนักเรียน การรเู้ รอื่ งการอ่าน (Reading literacy) หมายถงึ การเขา้ ใจข้อมูล เน้ือหาสาระของสิง่ ที่อ่าน การใช้ ประเมนิ และสะท้อนมุมมองของตนเองเกี่ยวกับส่งิ ท่ีอ่านอย่างตง้ั ใจเพื่อบรรลเุ ปา้ หมายส่วนตวั ของตนเองหรือ เพือ่ พัฒนาความรูแ้ ละศกั ยภาพของตนเองและนำความร้แู ละศักยภาพน้นั มาใช้ในการแลกเปลยี่ นเรียนรูใ้ น สังคม (PISA, 2018) กรอบการประเมนิ ผลนักเรียนเพอ่ื ให้มีสมรรถนะการอา่ นในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ สรปุ ได้ดงั แผนภาพด้านลา่ ง จากกรอบการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การรู้เรื่องการอ่านเป็นสมรรถนะที่สำคัญท่ีครูควรส่งเสริมให้ นักเรียนมีความสามารถให้ครอบคลุม ตั้งแต่การค้นหาข้อมูลในสิ่งที่อ่าน เข้าใจเนื้อหาสาระที่อ่านไปจนถึง ประเมินค่าเนื้อหาสาระที่อ่านได้ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องอาศัยการอ่านเพื่อหาข้อมูล ทำความเข้าใจเนื้อหาสาระของสิ่งที่อ่าน รวมทั้งประเมินสิ่งที่อ่านและนำเสนอมุมมองของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ อ่าน นักเรยี นควรไดร้ ับสง่ เสริมการอ่านดงั ตอ่ ไปนี้ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ถ คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 1. นักเรียนควรไดร้ ับการฝึกการอ่านขอ้ ความแบบต่อเนือ่ ง จำแนกข้อความแบบต่างๆ กัน เช่น การบอก การพรรณนา การโต้แย้ง รวมไปถึงการอ่านข้อเขียนที่ไม่ใช่ข้อความต่อเนื่อง ได้แก่ การอ่านรายการ ตาราง แบบฟอร์ม กราฟ และแผนผัง เป็นต้น ซึ่งข้อความเหล่านี้เป็นสิ่งที่นักเรียนได้พบเห็นใน โรงเรยี น และจะตอ้ งใชใ้ นชีวติ จริงเมอ่ื โตเป็นผู้ใหญ่ ซ่งึ ในคู่มอื ครูเล่มน้ีต่อไปจะใช้คำแทนข้อความทั้งที่ เปน็ ขอ้ ความแบบตอ่ เน่อื งและข้อความที่ไม่ใช่ข้อความตอ่ เนื่องวา่ สิง่ ท่ีอา่ น (Text) 2. นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถในการประเมินสิ่งที่อ่านว่ามีความเหมาะสมสอดคล้อง กับลักษณะของข้อเขียนมากน้อยเพียงใด เช่น ใช้นวนิยาย จดหมาย หรือชีวะประวัติเพื่อประโยชน์ ส่วนตัว ใช้เอกสารราชการหรือประกาศแจ้งความเพื่อสาธารณประโยชน์ ใช้รายงานหรือคู่มือต่างๆ เพือ่ การทำงานอาชพี ใช้ตำราหรอื หนงั สือเรียน เพ่ือการศึกษา เปน็ ตน้ 3. นกั เรยี นควรไดร้ ับการฝกึ ฝนใหม้ ีสมรรถนะการอา่ นเพ่ือเรียนรู้ ในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้ 3.1 ความสามารถทีจ่ ะคน้ หาเนอ้ื หาสาระของส่ิงที่อ่าน (Retrieving information) 3.2 ความสามารถทีจ่ ะเขา้ ใจเนื้อหาสาระของสิ่งท่ีอา่ น (Forming a broad understanding) 3.3 ความสามารถในการแปลความของสง่ิ ที่อ่าน (Interpretation) 3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากมุมมองของตน เกย่ี วกับเนอ่ื หาสาระของสิง่ ท่ีอ่าน (Reflection and Evaluation the content of a text) 3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากมุมมองของตน เกีย่ วกับรูปแบบของสิง่ ท่ีอา่ น (Reflection and Evaluation the form of a text) ทง้ั นี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธกี ารสอนแบบต่าง ๆ เพอ่ื เป็นการฝกึ ทักษะการอา่ นของนักเรียน ดงั นี้ เทคนคิ การสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) การสอนอ่านที่มงุ่ เนน้ ให้นักเรยี นไดฝ้ ึกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบข้อมูลท่ีได้จากการอ่าน ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคำตอบล่วงหน้าจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน โดยมี ขั้นตอนการจดั การเรียนการสอน ดงั นี้ 1. ครจู ดั แบ่งเนอื้ เร่อื งทจ่ี ะอา่ นออกเป็นสว่ นย่อย และวางแผนการสอนอ่านของเน้อื เร่ืองทง้ั หมด 2. นำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยชกั ชวนให้นักเรยี นคิดว่านักเรียนรู้อะไรเกีย่ วกับเรื่องทจี่ ะอ่านบ้าง 3. ครูให้นักเรียนสงั เกตรูปภาพ หัวขอ้ หรอื อื่น ๆ ทเ่ี ก่ยี วกับเน้อื หาท่จี ะเรยี น 4. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องที่กำลังจะอ่าน ซึ่งอาจให้นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน เกยี่ วกบั อะไร โดยครพู ยายามกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความคดิ เหน็ หรือคาดคะเนเนื้อหา 5. ครูอาจให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว้ โดยจะทำเป็นรายคนหรือเป็นคู่ก็ได้ หรือครูนำ อภปิ รายแล้วเขยี นแนวคดิ ของนกั เรียนแตล่ ะคนไว้บนกระดาน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ท 6. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายว่าการคาดคะเนของตนเองตรง กับเนื้อเรื่องที่อ่านหรือไม่ ถา้ นักเรยี นประเมินว่าเร่ืองที่อา่ นมเี น้ือหาตรงกับท่ีคาดคะเนไว้ให้นักเรียน แสดงขอ้ ความที่สนับสนุนการคาดคะเนของตนเองจากเนื้อเรื่อง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยครูวิเคราะห์ว่านักเรียนแต่ละคนสามารถใช้การคาดคะเนด้วย ตนเองอยา่ งไรบา้ ง 8. ทำซ้ำขั้นตอนเดิมในการอ่านเนื้อเรื่องส่วนอื่น ๆ เมื่อจบทั้งเรื่องแล้ว ครูปิดเรื่องโดยการทบทวน เนอ้ื หาและอภปิ รายถึงวิธีการคาดคะเนของนักเรียนทคี่ วรใช้สำหรบั การอ่านเรื่องอืน่ ๆ เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่อย่างเป็นรูปธรรม และเปน็ ระบบ โดยผา่ นตาราง 3 ชอ่ ง คอื K-W-L (นักเรียนรูอ้ ะไรบ้างเก่ียวกบั เรื่องทจ่ี ะอ่าน นกั เรียนต้องการรู้ อะไรเก่ียวกบั เรื่องท่จี ะอ่าน นกั เรยี นได้เรียนรู้อะไรบา้ งจากเร่ืองท่ีอ่าน) โดยมีขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอน ดงั น้ี 1. นำเข้าสู่บทเรียนด้วยการกระตุ้นความสนใจของนักเรยี น โดยการใช้คำถาม การนำด้วยรูปภาพหรอื วีดิทศั นท์ ่เี กีย่ วกับเนอ้ื เรือ่ ง เพ่อื เชอ่ื มโยงเข้าสู่เรอ่ื งทจ่ี ะอา่ น 2. ครูทำตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิค K-W-L ว่ามีขั้นตอน ดงั น้ี ขน้ั ที่ 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน เรียกว่า ขั้น K มาจาก know (What we know) เป็นขั้นตอนที่ให้ นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน แล้วบันทึกสิ่งท่ีตนเองรู้ลงใน ตารางช่อง K ขั้นตอนนี้ช่วยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองรู้อะไรแล้วต้องอ่านอะไร โดยครูพยายาม ตัง้ คำถามกระตุน้ ใหน้ กั เรียนได้แสดงความคิดเหน็ ขั้นท่ี 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน เรียกว่า ขั้น W มาจาก want (What we want to know) เป็น ขั้นตอนที่ให้นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้เกี่ยวกับเรื่องที่กำลังจะอ่าน โดยครูและ นักเรียนร่วมกนั กำหนดคำถาม แลว้ บันทึกสิง่ ทีต่ อ้ งการรู้ลงในตารางช่อง W ขน้ั ที่ 3 กิจกรรมหลังการอ่าน เรียกว่า ขั้น L มาจาก learn (What we have learned) เป็น ขั้นตอนท่ีสำรวจว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอ่าน โดยหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง นักเรียน หาข้อความมาตอบคำถามที่กำหนดไว้ในตารางช่อง W จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการอ่านมา จัดลำดับความสำคัญของข้อมูลและสรปุ เนื้อหาสำคัญลงในตารางช่อง L 3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ เนอื้ หา โดยการอภปิ รายหรอื ตรวจสอบคำตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนกั เรียนอาจร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรียนการสอนการอ่าน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ธ ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) การสอนอา่ นท่ีมุ่งเน้นใหน้ ักเรยี นมีความเข้าใจในการจัดหมวดหมู่ของคำถามและตั้งคำถาม เพื่อให้ได้มา ซึ่งแนวทางในการหาคำตอบ ซึ่งนักเรียนจะได้พิจารณาจากข้อมูลในเนื้อเรื่องที่จะเรียนและประสบการณ์เดิม ของนักเรยี น โดยมีขั้นตอนการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี 1. ครูจดั ทำชุดคำถามตามแบบ QAR จากเร่อื งทนี่ กั เรียนควรรู้หรือเร่ืองใกล้ตัวนักเรยี น เพ่ือชว่ ยให้นักเรียน เข้าใจถงึ การจดั หมวดหมู่ของคำถามตามแบบ QAR และควรเชือ่ มโยงกบั เร่ืองท่ีจะอ่านต่อไป 2. ครูแนะนำและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเกี่ยวกับการอ่านและการตั้งคำถาม ตามหมวดหมู่ ได้แก่ คำถามที่ตอบโดยใช้เนื้อหาจากเรื่องที่อ่าน คำถามที่ต้องคิดและค้นคว้า คำถามที่ ไมม่ คี ำตอบโดยตรง ซง่ึ จะต้องใช้ความรู้เดิมและสงิ่ ท่ีผูเ้ ขียนเขียนไว้ 3. นักเรียนอ่านเนือ้ เรือ่ ง ต้ังคำถามและตอบคำถามตามหมวดหมู่ และร่วมกันอภปิ รายเพือ่ สรปุ คำตอบ 4. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั การใช้เทคนิคนีด้ ้วยตนเองได้อยา่ งไร 5. ครูและนักเรียนอาจรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรยี นการสอนการอ่าน 2. การใชง้ านส่ือ QR CODE QR CODE เป็นรหัสหรือภาษาที่ต้องใช้โปรแกรมอ่านหรือสแกนข้อมูลออกมา ซึ่งต้องใช้งานผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ติดตั้งกล้องไว้ แล้วอ่าน QR Code ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น LINE (สำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่) Code Two QR Code Reader (สำหรับคอมพิวเตอร์) Camera (สำหรับ ผลติ ภณั ฑข์ อง Apple Inc.) ข้นั ตอนการใช้งาน 1. เปิดโปรแกรมสำหรบั อา่ น QR Code 2. เลอื่ นอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี แท็บเลต็ เพือ่ ส่องรูป QR Code ไดท้ งั้ รปู 3. เปิดไฟลห์ รือลงิ กท์ ี่ขึ้นมาหลงั จากโปรแกรมไดอ้ ่าน QR CODE **หมายเหตุ อุปกรณท์ ี่ใช้อ่าน QR CODE ต้องเปิด Internet ไว้เพอื่ ดึงข้อมลู 3. การใชง้ านโปรแกรมประยุกตค์ วามจรงิ เสริม (ภาพเคล่ือนไหว 3 มติ ิ) เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อเสริมช่วยให้นักเรียนเข้าใจ เนื้อหาสาระของบทเรียนอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยใช้งานผ่านโปรแกรมประยุกต์ “AR วิทย์ ประถม” ซ่ึง สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ าง Play Store หรอื App Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ เพื่อการใช้งานที่ดีควรมีพื้นที่ว่างในเครื่องไม่ต่ำกว่า 2 GB หากพืน้ ทจ่ี ดั เก็บไมเ่ พยี งพออาจตอ้ งลบข้อมูลบางอยา่ งออกก่อนตดิ ตั้งโปรแกรม ขั้นตอนการตดิ ตั้งโปรแกรม 1. เขา้ ไปที่ Play Store ( ) หรอื App Store ( ) 2. ค้นหาคำว่า “AR วิทย์ ประถม” 3. กดเขา้ ไปที่โปรแกรมประยุกตท์ ี่ สสวท. พฒั นา ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 น 4. กด “ตดิ ต้งั ” และรอจนติดตง้ั เรียบร้อย 5. เข้าสู่โปรแกรมจะปรากฏหน้าแรก จากนั้นกด “วิธีการใช้งาน” เพื่อศึกษาการใช้งานโปรแกรม เบื้องต้นดว้ ยตนเอง 6. หลังจากศกึ ษาวิธกี ารใช้งานดว้ ยตนเองแลว้ กด “สแกน AR” 7. กดดาวนโ์ หลดท่รี ะดบั ชัน้ ป. 3 7. เปิดหน้าหนังสือเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีสัญลักษณ์ AR แล้วส่องรูปที่อยู่บริเวณสัญลักษณ์ AR โดยมีระยะห่างประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดูภาพในมุมมองตา่ ง ๆ ตามความสนใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
บ คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในระดบั ประถมศึกษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแล้วมีความอยากรู้อยากเห็น เกี่ยวกบั สิ่งตา่ งๆ รอบตัว และเรียนรไู้ ด้ดที สี่ ุดด้วยการค้นพบ จากการลงมือปฏิบัติดว้ ยตนเองโดยอาศยั ประสาท สัมผัสทั้งห้า ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนต้น จึงควรให้โอกาสนักเรียนมีส่วนร่วม ในการลงมอื ปฏบิ ตั ิ การสำรวจตรวจสอบ การคน้ พบ การต้งั คำถามเพื่อนำไปสู่การอภปิ ราย การแลกเปล่ียนผล การทดลองดว้ ยคำพูด หรือภาพวาด การอภิปรายเพื่อสรุปผลรว่ มกนั สำหรับนกั เรยี นในระดบั ช้ันประถมศึกษา ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มพี ัฒนาการทางสตปิ ัญญาจากขน้ั การคดิ แบบรปู ธรรมไปสู่ข้ันการคิดแบบนามธรรม มีความ สนใจในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และสนใจว่าสิ่งต่าง ๆ ถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างไร และทำงานอย่างไร นักเรียน ในช่วงวัยนี้ต้องการโอกาสที่จะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มโดยการทำงานแบบร่วมมือ ดังนั้นจึงควร ส่งเสริมให้นักเรียนทำโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกันซึ่งจะเป็นการสร้างความสามัคคี และประสานสัมพันธ์ ระหว่างนักเรียนในระดบั นี้ดว้ ย การจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ การสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้เพื่อศึกษาสิ่งต่าง ๆ รอบตัว อย่างเป็นระบบ และเสนอคำอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษาด้วยข้อมูลที่ได้จากการทำงานทางวิทยาศาสตร์ มีวิธีการอยู่ หลากหลาย เช่น การสำรวจ การสืบคน้ การทดลอง การสรา้ งแบบจำลอง นกั เรยี นทกุ ระดบั ช้นั ควรไดร้ ับโอกาสในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาความสามารถใน การคิดและแสดงออกด้วยวิธีการที่เชื่อมโยงกับการสืบเสาะหาความรู้ซึ่งรวมทั้งการตั้งคำถาม การวางแผนและ ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้ การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลักฐานและการอธิบาย การสร้างและวิเคราะห์ คำอธบิ ายทห่ี ลากหลาย และการสอ่ื สารข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ การจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ การสบื เสาะหาความรู้ ควรมหี ลายรูปแบบ แตล่ ะรปู แบบมีความต่อเนื่องกัน จากที่เนน้ ครูเปน็ สำคัญไปจนถงึ เน้นนักเรียนเป็นสำคญั โดยแบง่ ไดด้ งั น้ี • การสืบเสาะหาความรู้แบบครูเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Structured Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคำถามและบอก วธิ กี ารใหน้ กั เรียนคน้ หาคำตอบ ครูชีแ้ นะนกั เรียนทุกขัน้ ตอนโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • การสืบเสาะหาความรู้แบบทั้งครูและนักเรียนเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Guided Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคำถาม และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจตรวจสอบให้กับนกั เรียน นักเรียนจะเป็นผู้ออกแบบการทดลอง ด้วยตวั เอง • การสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทำกิจกรรมตามที่ครู กำหนด นกั เรยี นพัฒนาวิธี ดำเนนิ การสำรวจ ตรวจสอบจากคำถามทค่ี รตู งั้ ขนึ้ นักเรยี นต้ังคำถามในหัวข้อที่ครู เลือก พรอ้ มทง้ั ออกแบบการสำรวจตรวจสอบดว้ ยตนเอง ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ป การสบื เสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ในหอ้ งเรยี น เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้นักเรียนได้ สืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตรต์ ามที่หลกั สูตรกำหนด ด้วยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์สืบเสาะ แต่อาจมี รูปแบบทีห่ ลากหลายตามบรบิ ทและความพร้อมของครแู ละนักเรียน เช่น การสบื เสาะหาความรู้แบบปลายเปิด (Opened Inquiry) ที่นักเรียนเป็นผู้ควบคุมการสืบเสาะหาความรู้ของตนเองตั้งแต่การสร้างประเด็นคำถาม การสำรวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายสิ่งท่ศี ึกษาโดยใช้ขอ้ มลู (Data) หรือหลกั ฐาน (Evidence) ที่ ได้จากการสำรวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรู้ที่เกี่ยวข้องหรือคำอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง คำอธิบายของตนและนำเสนอต่อผู้อื่น นอกจากนี้ ครูอาจใช้การสืบเสาะหาความรู้ที่ตนเองเป็น ผู้กำหนด แนวในการทำกจิ กรรม (Structured Inquiry) โดยครสู ามารถแนะนำนักเรียนไดต้ ามความเหมาะสม การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ครูสามารถออกแบบการสอนให้มีลักษณะ สำคญั ของการสืบเสาะ ดงั นี้ ภาพ วฏั จกั รการสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ในหอ้ งเรียน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ผ ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เป็นลกั ษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์ที่มีความแตกต่างจากศาสตร์อ่ืน ๆ เป็นค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรือคำอธิบายที่บอกว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร มีการทำงานอย่างไร นักวิทยาศาสตร์คือใคร ทำงานอย่างไร และงานด้านวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างไรกับสังคม ค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรอื คำอธบิ ายเหล่านจี้ ะผสมกลมกลืนอยู่ในตัววิทยาศาสตร์ ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ และการ พัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนและ ประสบการณ์ทีค่ รูจัดให้แกน่ ักเรยี น ความสามารถในการสังเกตและการสื่อความหมายของนักเรยี นในระดับนี้ ค่อย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอำนวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และแนวคิด ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนในระดับนี้เริ่มที่จะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ทำงาน อย่างไร และนักวิทยาศาสตร์ทำงานกันอย่างไรโดยผ่านการทำกิจกรรมในห้องเรียน จากเรื่องราวเกี่ยวกับ นักวทิ ยาศาสตร์ และจากการอภปิ รายในห้องเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกำลังพัฒนาฐานความรู้โดยใช้การสังเกตมากขึ้น สามารถนำความรู้มาใช้เพื่อก่อให้เกิดความคาดหวงั เกีย่ วกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรู้สำหรบั นักเรียน ในระดับนี้ ควรเน้นไปท่ีทักษะการตั้งคำถามเชิงวิทยาศาสตร์ การสร้างคำอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัย พยานหลกั ฐานที่ปรากฏ และการสื่อความหมายเกี่ยวกบั ความคดิ และการสำรวจตรวจสอบของตนเองและของ นักเรียนคนอืน่ ๆ นอกจากนี้เรือ่ งราวทางประวตั ิศาสตร์สามารถเพิ่มความตระหนักถงึ ความหลากหลายของคน ในชุมชนวิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับนี้ควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ช่วยให้เขาคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกยี่ วกับพยานหลักฐานและความสัมพันธร์ ะหว่างพยานหลักฐานกบั การอธิบาย การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี นแต่ละระดับชัน้ มพี ัฒนาการเปน็ ลำดบั ดงั นี้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 สามารถ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถ • ต้งั คำถาม บรรยายคำถาม เขียนเกี่ยวกบั • ออกแบบและดำเนนิ การสำรวจตรวจสอบ คำถาม เพื่อตอบคำถามท่ีได้ต้ังไว้ • บันทกึ ข้อมูลจากประสบการณ์ สำรวจ • สื่อความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ี ตรวจสอบช้นั เรยี น สังเกต • อภปิ รายแลกเปล่ียนหลักฐานและความคดิ • อ่านและการอภิปรายเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ • เรียนรู้ว่าทุกคนสามาเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ได้ เกีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 ฝ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 สามารถ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 สามารถ • ทำการทดลองอย่างง่าย ๆ • ต้งั คำถามท่ีสามารถตอบไดโ้ ดยการใช้ • ใหเ้ หตผุ ลเกีย่ วกบั การสงั เกต การสือ่ ฐานความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และการสังเกต ความหมาย • ทำงานในกลุ่มแบบร่วมมือเพ่ือสำรวจ • ลงมือปฏบิ ตั ิการทดลองและการอภิปราย ตรวจสอบ • ค้นหาแหล่งข้อมลู ทเี่ ช่ือถือได้และบรู ณา • ค้นหาข้อมลู และการสอ่ื ความหมายคำตอบ การข้อมลู เหลา่ น้ันกบั การสงั เกตของ ตนเอง • สรา้ งคำบรรยายและคำอธิบายจากสงิ่ ที่ • ศกึ ษาประวัติการทำงานของ สงั เกต นกั วทิ ยาศาสตร์ • นำเสนอประวตั ิการทำงานของ นกั วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 สามารถ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สามารถ • สำรวจตรอบสอบ • สำรวจตรอบสอบท่เี น้นการใช้ทกั ษะทาง วิทยาศาสตร์ • ตง้ั คำถามทางวิทยาศาสตร์ • รวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง การมองหา • ตคี วามหมายข้อมลู และคิดอย่างมี แบบแผนของข้อมูล การส่ือความหมาย วิจารณญาณโดยมีหลกั ฐานสนบั สนนุ และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ คำอธิบาย • เข้าใจความแตกต่างระหว่าง • เข้าใจธรรมชาตวิ ทิ ยาศาสตรจ์ ากประวตั กิ าร วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำงานของนกั วิทยาศาสตรท์ ี่มคี วามมานะ อุตสาหะ • เข้าใจการทำงานทางวทิ ยาศาสตรผ์ า่ น ประวัติศาสตร์ของนักวทิ ยาศาสตรท์ ุก เพศท่ีมีหลายเช้ือชาติ วฒั นธรรม สามารถอา่ นขอ้ มลู เพิ่มเตมิ เก่ียวกบั การจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ การสืบเสาะหาความรู้ทาง วิทยาศาสตรแ์ ละ การจัดการเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากคู่มือการใช้ หลักสตู ร http://ipst.me/8922 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
พ คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ แนวคิดสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พทุ ธศกั ราช 2545 ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเปิด โอกาสให้ผู้เรียนคิดและลงมือปฏบิ ตั ิดว้ ยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อให้เกดิ การเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองเต็ม ตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ห้องเรยี น เพราะสามารถทำใหผ้ สู้ อนประเมนิ ระดบั พฒั นาการการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นได้ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศกึ ษาค้นคว้า กจิ กรรมศึกษาปญั หาพิเศษ หรอื โครงงานวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ ตามในการทำกิจกรรมเหล่านี้ต้องคำนึงว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน นักเรียนจึงอาจท ำงาน ชน้ิ เดยี วกนั ได้สำเรจ็ ในเวลาทีแ่ ตกต่างกัน และผลงานทีไ่ ดก้ อ็ าจแตกต่างกันดว้ ย เม่อื นักเรยี นทำกิจกรรมเหล่าน้ี แล้วก็ต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรียนได้ทำและผลงานเหล่านี้ต้องใช้ วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพื่อช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สึก นกึ คิดทแี่ ท้จริงของนกั เรียนได้ การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธภิ าพก็ต่อเมื่อมีการประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวธิ ี ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทสี่ อดคล้องกบั ชวี ิตจรงิ และตอ้ งประเมินอย่างต่อเน่ือง เพื่อจะได้ข้อมูลท่ี มากพอท่ีจะสะทอ้ นความสามารถท่แี ท้จรงิ ของนกั เรยี นได้ จุดมงุ่ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. เพื่อค้นหาและวนิ จิ ฉัยว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเน้ือหาวิทยาศาสตร์ มีทักษะความชำนาญ ในการสำรวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็น แนวทางใหค้ รสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรขู้ องนักเรียนได้ อย่างเต็มศกั ยภาพ 2. เพ่อื ใช้เป็นข้อมลู ย้อนกลบั สำหรบั นกั เรียนว่ามีการเรยี นร้อู ยา่ งไร 3. เพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการสรปุ ผลการเรยี น และเปรียบเทยี บระดับพัฒนาการดา้ นการเรียนรขู้ องนักเรยี น แต่ละคน การประเมินการเรยี นรู้ของนกั เรยี น มี 3 แบบ คอื การประเมนิ เพื่อคน้ หาและวินิจฉยั การประเมิน เพือ่ ปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน และการประเมนิ เพอื่ ตดั สินผลการเรียนการสอน การประเมินเพ่ือค้นหาและวินิจฉัย เป็นการประเมินเพื่อบ่งชี้ก่อนการเรียนการสอนวา่ นักเรียนมี พื้นฐานความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคลื่อนอะไรบ้าง การประเมินแบบนี้สามารถ บ่งชไี้ ด้ว่านกั เรียนคนใดต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษในเรือ่ งท่ีขาดหายไป หรือเปน็ การประเมินเพ่ือพัฒนา ทักษะที่จำเป็นก่อนที่จะเรียนเรื่องต่อไป การประเมินแบบนี้ยังช่วยบ่งชี้ทักษะหรือแนวคิดที่มีอยู่แล้วของ นักเรียนอีกด้วย การประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน เป็นการประเมินในระหว่างช่วงที่มีการเรียนการ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ฟ สอน การประเมินแบบนีจ้ ะช่วยบง่ ชี้ระดับที่นกั เรียนกำลังเรียนอยูใ่ นเร่ืองที่ไดส้ อนไปแล้ว หรือบ่งชี้ความรู้ของ นักเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ทีไ่ ด้วางแผนไว้ เป็นการประเมินท่ีให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนและกับครู ว่าเป็นไปตามแผนการที่วางไว้หรือไม่ ข้อมูลที่ได้จากการประเมินแบบนี้ไม่ใช่เพื่อเป้าประสงค์ในการให้ระดับ คะแนน แต่เพอ่ื ชว่ ยครใู นการปรับปรงุ การสอน และเพือ่ วางแผนประสบการณต์ ่างๆ ทจี่ ะให้กับนกั เรยี นตอ่ ไป การประเมินเพอ่ื ตัดสินผลการเรยี นการสอน เกดิ ขน้ึ เม่ือสนิ้ สดุ การเรยี นการสอนแล้ว ส่วนมากเป็น “การสอบ” เพ่อื ใหร้ ะดับคะแนนแกน่ ักเรยี น หรือเพอ่ื ให้ตำแหน่งความสามารถของนักเรยี น หรอื เพ่อื เป็นการบ่งช้ี ความก้าวหน้าในการเรียน การประเมินแบบนี้ถือว่ามีความสำคัญในความคิดของผู้ปกครองนักเรียน ครู ผู้บรหิ าร อาจารย์แนะแนว ฯลฯ แต่กไ็ มใ่ ชเ่ ป็นการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครู ต้องระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมเพื่อตัดสินผลการเรียนของนักเรียน ทั้งน้ีเพื่อให้เกิดความสมดุล ความ ยตุ ธิ รรม และเกดิ ความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอ้างอิง ส่วนมากการประเมิน มกั จะอ้างอิงกลุ่ม (norm reference) คือเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่ม หรือคะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุ่มนี้จะมี “ผู้ชนะ” และ “ผู้แพ้” อย่างไรก็ตามการประเมิน แบบอิงกลุ่มนี้จะมีนักเรียนครึ่งหนึ่งที่อยู่ต่ำกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิง เกณฑ์ (criterion reference) ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑ์ที่ตั้งเอาไว้โดยไม่ คำนึงถึงคะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ ฉะนั้นจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนจะต้องชัดเจนและมีเกณฑ์ที่บอกให้ ทราบว่าความสามารถระดับใดจึงจะเรียกว่าบรรลุถึงระดับ “รอบรู้” โดยที่นักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละ ชนั้ หรอื โรงเรยี นแตล่ ะโรงจะไดร้ ับการตดั สินว่าประสบผลสำเร็จกต็ ่อเม่ือ นักเรยี นแตล่ ะคน หรือช้นั เรียนแต่ละช้ัน หรือโรงเรียนแต่ละโรงได้สาธิตผลสำเร็จ หรือสาธิตความรอบรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ข้อมูลที่ใช้สำหรับการประเมินเพื่อวินิจฉัย หรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการ สอนสามารถใช้การประเมินแบบอิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ เท่าท่ผี า่ นมาการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอนจะ ใช้การประเมินแบบอิงกลุ่ม แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การเรียนรู้จะบรรลตุ ามเป้าหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ่วี างไว้ ควรมีแนวทางดังต่อไปน้ี 1. วัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมดา้ นวิทยาศาสตร์ รวมท้ังโอกาสในการเรียนรู้ของนักเรียน 2. วธิ ีการวัดและประเมินผลต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรูท้ ่ีกำหนดไว้ 3. เก็บขอ้ มลู จากการวัดและประเมินผลอยา่ งตรงไปตรงมา และตอ้ งประเมินผลภายใต้ข้อมลู ทมี่ ีอยู่ 4. ผลของการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนต้องนำไปสูก่ ารแปลผลและลงข้อสรุปที่สมเหตุสมผล 5. การวัดและประเมินผลต้องมีความเที่ยงตรงและเป็นธรรม ทั้งในด้านของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมนิ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ภ ค่มู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 วิธีการและแหล่งข้อมลู ท่ีใชใ้ นการวดั ผลและประเมินผล เพอื่ ใหก้ ารวดั ผลและประเมนิ ผลได้สะท้อนความสามารถท่ีแท้จรงิ ของนกั เรยี น ผลการประเมนิ อาจ ได้มาจากแหลง่ ข้อมูลและวธิ กี ารต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. สงั เกตการแสดงออกเปน็ รายบคุ คลหรือรายกลมุ่ 2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณท์ ้ังแบบเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ 4. บันทึกของนกั เรยี น 5. การประชมุ ปรกึ ษาหารือร่วมกันระหว่างนักเรยี นและครู 6. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏบิ ัติ 7. การวดั และประเมินผลดา้ นความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูโ้ ดยใชแ้ ฟ้มผลงาน ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ม ตารางแสดงความสอดคลอ้ งระหว่างเนื้อหาและกิจกรรม ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เลม่ 2 กบั ตัวช้วี ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หนว่ ยการ ชื่อกจิ กรรม เวลา ตวั ชี้วดั เรียนรู้ (ช่วั โมง) บทที่ 1 การทำให้วตั ถแุ ละวัสดุเปล่ียนแปลง หนว่ ยที่ 3 การ เรื่องท่ี 1 ถอดออก ประกอบใหม่ 1 ว 2.1 ป. 3/1 เปล่ียนแปลง ของวัตถแุ ละ กจิ กรรมที่ 1 การทำวัตถชุ นิ้ ใหม่ 1 อธิบายว่าวัตถุประกอบขึ้นจากชิ้น วสั ดุ จากวตั ถชุ ้ินเดมิ ไดอ้ ย่างไร 2 ส่วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถแยกออก จากกันได้และประกอบกันเป็นวัตถุ ชิ้นใหม่ได้ โดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ เรือ่ งที่ 2 รอ้ นข้ึน เยน็ ลง ว 2.1 ป.3/2 กจิ กรรมที่ 2 ความรอ้ นมผี ลต่อ 1 อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ วัสดุอยา่ งไร 3 เมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ กจิ กรรมท้ายบทที่ 1 การทำใหว้ ัตถแุ ละวัสดุ 1 เปล่ยี นแปลง หนว่ ยที่ 4 แรง บทท่ี 1 แรงสัมผสั และแรงไม่สมั ผัส 1 ว 3.2 ป.3/1 ในชวี ิต เรอื่ งที่ 1 แรงสมั ผสั กับการเปลี่ยนแปลงการ 1 ร ะ บ ุ ผ ล ข อ ง แ ร ง ท ี ่ ม ี ต ่ อ ก า ร ประจำวนั เคล่ือนที่ของวตั ถุ เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ กิจกรรมท่ี 1 แรงมผี ลต่อการ 2 จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เคลอื่ นที่ของวัตถุอย่างไร ว 3.2 ป.3/2 เรอ่ื งที่ 2 แรงไม่สัมผัสกบั การเปลยี่ นแปลง 1 เปรียบเทียบและยกตัวอย่างแรง การเคลื่อนท่ีของวัตถุ สัมผัสและแรงไม่สัมผัสที่มีผลต่อ กจิ กรรมท่ี 2.1 แรงแมเ่ หล็กเปน็ 2 การเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้ อยา่ งไร หลักฐานเชงิ ประจักษ์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ย คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 หน่วยการ ชื่อกิจกรรม เวลา ตวั ชวี้ ดั เรยี นรู้ (ช่ัวโมง) กิจกรรมท่ี 2.2 หาขั้วแมเ่ หลก็ ได้ หน่วยท่ี 5 อยา่ งไร 2 ว 3.2 ป.3/3 พลังงานกบั ชีวิต กจิ กรรมท่ี 2.3 แรงระหวา่ ง จำแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับ แมเ่ หลก็ เปน็ อย่างไร แม่เหล็ก เป็นเกณฑ์จากหลักฐาน กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 แรงสัมผสั และ แรงไมส่ ัมผสั เชงิ ประจกั ษ์ บทที่ 1 ดวงอาทติ ยแ์ ละปรากฏการณข์ อง โลก 2 ว 3.2 ป.3/4 เรื่องที่ 1 ดวงอาทติ ย์และโลก ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่ กจิ กรรมที่ 1.1 การหมนุ รอบตวั เอง ของโลกทำให้เกดิ ปรากฏการณ์ เกิดขน้ึ ระหว่างขั้วแม่เหลก็ เมื่อนำมา อะไรบา้ ง 1 เข้าใกล้กันจากหลักฐานเ ชิ ง กิจกรรมท่ี 1.2 ดวงอาทิตย์สำคัญ อยา่ งไร ประจกั ษ์ กจิ กรรมทา้ ยบทที่ 1 ดวงอาทิตย์และ ปรากฏการณข์ องโลก 1 ว 3.1 ป. 3/1 บทที่ 2 พลังงานไฟฟ้า เรอื่ งท่ี 1 พลังงานไฟฟ้ากบั ชีวิต อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและ กิจกรรมที่ 1.1 พลังงานหน่งึ เปลี่ยนเป็นพลงั งานอะไรไดบ้ ้าง 1 ตก ของดวงอาทิตย์โดยใช้หลักฐาน กจิ กรรมที่ 1.2 ผลิตไฟฟ้าได้อย่างไร เชงิ ประจักษ์ 4 ว 3.1 ป. 3/2 อธิบายสาเหตุการเกดิ ปรากฏการณ์ การขน้ึ และตกของดวงอาทิตย์ การ เกิดกลางวนั กลางคนื และการ กำหนดทศิ โดยใช้แบบจำลอง 1 ว 3.1 ป. 3/3 ตระหนกั ถึงความสำคัญของ 1 ดวงอาทิตย์ โดยบรรยายประโยชน์ ของดวงอาทิตย์ต่อสง่ิ มชี วี ติ 1 ว 2.3 ป.3/1 1 ยกตวั อย่างการเปล่ียนพลงั งานหน่ึงไป 2 เป็นอีกพลังงานหนึ่งจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ 2 ว 2.3 ป.3/2 บรรยายการทำงานของเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการ ผลิตไฟฟา้ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ร หนว่ ยการ ชอื่ กจิ กรรม เวลา ตวั ชว้ี ัด เรียนรู้ (ชว่ั โมง) กจิ กรรมท่ี 1.3 ใช้ไฟฟ้าอย่าง 2 ว 2.3 3/3 ประหยัดและปลอดภยั ได้อย่างไร ตระหนักในประโยชน์และโทษของ ไฟฟ้าโดยนำเสนอวิธกี ารใช้ไฟฟ้าอยา่ ง ประหยดั และปลอดภัย กจิ กรรมท้ายบทที่ 1 พลังงานไฟฟ้า 1 แบบทดสอบท้ายเล่ม 1- รวมจำนวนชว่ั โมง 39 หมายเหต:ุ กจิ กรรม เวลาท่ีใช้ และส่ิงท่ีต้องเตรียมล่วงหน้านน้ั ครสู ามารถปรับเปลยี่ นเพ่ิมเติมไดต้ ามความ เหมาะสมของสภาพท้องถ่ิน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ล คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 รายการวสั ดุอุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์ ป.3 เล่ม 2 ลำดบั ที่ รายการ จำนวน/กลมุ่ จำนวน/หอ้ ง จำนวน/คน หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของวัตถแุ ละวสั ดุ 1 ชุด 1 ก้อน 1 ตวั ต่อรปู เรขาคณิต 1 เล่ม 1 อัน 2 พาราฟนิ หรือเศษเทยี นเก่า 1 ใบ 1 ใบ 3 มีดพลาสติกปลายมน 1 อนั 1 ชุด 4 ไม้ไอศกรมี 1 ชุด 1 ผืน 5 แกว้ ขนาดเล็ก 1 ซอง 6 บกี เกอร์ขนาด 250 ml 1 ขวด 1 มว้ น 7 เทอรม์ อมิเตอร์ 1 ลูก 8 ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 อนั 1 เส้น 9 ขาต้ังพร้อมทจ่ี ับหลอดทดลอง 1 เส้น 2 แทง่ 10 ผ้าสำหรับทำความสะอาด 1 อนั 1 ก้อน 11 สีชนิดผง 1 แผ่น 1 กระป๋อง 12 น้ำมนั หอมระเหย 1 อัน 1 อนั 13 เชือก หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวัน 1 ลกู บอล 2 ตะเกยี บ 3 ลวดเหลก็ 4 ลวดทองแดง 5 แท่งแม่เหล็ก 6 ไมบ้ รรทัดพลาสตกิ 7 ยางลบ 8 กระดาษ 9 กระป๋องน้ำอัดลม 10 ไม้จมิ้ ฟัน 11 ลวดเสียบกระดาษ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 ว ลำดับท่ี รายการ จำนวน/กล่มุ จำนวน/ห้อง จำนวน/คน 1 ใบ 12 แก้วพลาสติก 1 เส้น 1 กลอ่ ง 13 ยางรัดของ 1 แท่ง 1 ตัว 14 กลอ่ งใส่ลวดเสียบกระดาษ 1 เหรยี ญ 4 เส้น 15 ดินสอไม้ 1 ท่อน 2 ตวั 16 ตะปู 1 อัน 1 อัน 17 เหรียญห้าบาท 18 เชือกฟาง 19 แท่งไม้ 20 เกา้ อ้ีไม้ หรือเกา้ อีพลาสติก 21 เทปกาว 22 เข็มทิศ หนว่ ยที่ 5 พลงั งานกบั ชีวิต 1 ลูกโลก 1 ลกู 1 กระบอก 2 ไฟฉาย 1-2 เลม่ 1 แผ่น 3 กรรไกร 1 ก้อน 1 มว้ น 4 กระดาษแข็งเทาขาว 1 อนั 1 อัน 5 ดนิ น้ำมัน 1 ดวง 1 เครอ่ื ง 6 เทปใส 2 เส้น 1 ก้อน 7 ไม้จมิ้ ฟนั 1 ชุด 1 ชดุ 8 ไมบ้ รรทัด 1 ชุด 9 โคมไฟ 10 เครอื่ งคิดเลขหรือของเลน่ ท่ใี ช้เซลลส์ ุริยะ 11 สายไฟฟา้ แบบคลิปปากจระเข้ 12 ถ่านไฟฉาย 1.5 โวลต์ 13 หลอดไฟฟา้ พรอ้ มฐานหลอด 14 มอเตอร์ไฟฟ้าท่ีตดิ ใบพัด 15 ชดุ สาธิตเครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
1 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 การเปลย่ี นแปลงของวตั ถุและวัสดุ หน่วยที่ 3 การเปล่ียนแปลงของวตั ถแุ ละวัสดุ ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู้ ระจำหน่วยท่ี 3 การเปล่ียนแปลงของวตั ถแุ ละวสั ดุ บท เรือ่ ง กิจกรรม ลำดบั แนวคิดต่อเน่อื ง ตวั ชว้ี ัด บทที่ 1 การทำให้ เรอื่ งที่ 1 แยกออก กิจกรรมท่ี 1 ทำวตั ถุ • ว ั ต ถ ุ อ า จ ท ำ จ า ก ชิ้ น ว 2.1 ป. 3/1 วัตถแุ ละวัสดุ ประกอบใหม่ ช้นิ ใหมจ่ ากวัตถุชิ้น ส่วนย่อย ๆ มาประกอบ อธิบายวัตถุประกอบขึ้นจาก เปลย่ี นแปลง กันเมื่อแยกชิ้นส่วนแต่ละ ชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถ เดิมได้อยา่ งไร ชิ้นของวัตถุนั้นออกจาก แยกออกจากกันได้และ กัน สามารถนำชิ้นส่วน ประกอบกันเป็นวัตถุชิ้นใหม่ เหล่านั้นมาประกอบเป็น ได้ โดยใช้หลักฐ า น เ ชิ ง วตั ถุชิ้นใหม่ได้ ประจักษ์ เรื่องท่ี 2 ร้อนข้ึน กจิ กรรมท่ี 2 ความ • เมื่อทำให้วัสดุร้อนขึ้นหรือ ว 2.1 ป. 3/2 เย็นลง รอ้ นมผี ลตอ่ วัสดุ ทำให้เย็นลง วัสดุจะเกิดการ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของ อย่างไร เปลี่ยนแปลงลักษณะหรือ วัสดุเมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือทำ สมบัติ ให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิง ประจกั ษ์ รว่ มคดิ รว่ มทำ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 การเปลยี่ นแปลงของวัตถุและวสั ดุ 2 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
3 คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงของวตั ถุและวสั ดุ บทที่ 1 การทำใหว้ ัตถแุ ละวัสดเุ ปลีย่ นแปลง จุดประสงค์การเรียนร้ปู ระจำบท เมอ่ื เรยี นจบบทน้ี นักเรียนสามารถ 1. อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของวตั ถุเมื่อมีการแยกชิน้ ส่วนยอ่ ย ๆ ออกจากกันและประกอบช้นิ ส่วนนั้นขนึ้ ใหม่ 2. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงของวสั ดุเมื่อทำใหร้ ้อนขน้ึ หรอื ทำใหเ้ ย็นลง เวลา 9 ชว่ั โมง แนวคดิ สำคัญ วัตถทุ ี่ประกอบข้ึนจากชิน้ ส่วนย่อย ๆ สามารถแยก ชิน้ ส่วนน้ัน ๆ ออกแล้วประกอบเป็นวัตถชุ ้ินใหม่ซ่ึงมีรูปร่าง ขนาด และการใช้งานแตกต่างไปจากวัตถุเดิมได้ วัตถุที่ทำ มาจากวัสดุบางชนิดเมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง วัสดุนั้น อาจเปล่ียนแปลงลักษณะหรอื สมบัติได้ ส่ือการเรียนรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น ป.3 เล่ม 2 หน้า 1-21 บทนี้มีอะไร 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.3 เล่ม 2 หนา้ 1-17 เรื่องที่ 1 แยกออก ประกอบใหม่ กจิ กรรมท่ี 1 ทำวัตถุชนิ้ ใหม่จากวตั ถชุ นิ้ เดิมได้อยา่ งไร เร่อื งท่ี 2 ร้อนขึ้น เยน็ ลง กจิ กรรมท่ี 2 ความร้อนมีผลต่อวสั ดุอยา่ งไร ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 การเปลยี่ นแปลงของวตั ถแุ ละวัสดุ 4 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 กจิ กรรมท่ี 12 รหัส ทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวัด S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสมั พันธร์ ะหว่าง สเปซกบั สเปซ สเปซกับเวลา S6 การจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มูล S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S9 การต้งั สมมตฐิ าน S10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร S11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสร้างสรรค์ C2 การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ C3 การแกป้ ัญหา C4 การสอื่ สาร C5 ความรว่ มมอื C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร หมายเหตุ : รหัสทกั ษะทป่ี รากฏนี้ ใชเ้ ฉพาะหนังสือคมู่ อื ครเู ลม่ นี้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
5 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 การเปล่ียนแปลงของวัตถแุ ละวัสดุ แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคิดคลาดเคล่ือนที่อาจพบและแนวคิดท่ีถูกต้องในบทท่ี 1 การทำให้วตั ถุและวสั ดุเปลี่ยนแปลง มีดงั ต่อไปน้ี แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคิดที่ถูกต้อง - - ถา้ ครพู บวา่ มีแนวคิดคลาดเคล่ือนใดท่ียังไม่ได้แกไ้ ขจากการทำกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูควรจัดการเรยี นร้เู พิ่มเติมเพือ่ แก้ไข ต่อไปได้ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 การเปล่ียนแปลงของวัตถแุ ละวัสดุ 6 บทนเี้ ริ่มตน้ อย่างไร (1 ชว่ั โมง) ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน ครู ควรให้เวลานักเรียนคิดอย่างเหมาะสม 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับสมบัติที่สังเกตได้ รอคอยอย่างอดทน นักเรียนต้องตอบ ของวัสดุ ซึ่งเคยเรียนผ่านมาแล้วในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 คำถามเหล่านี้ได้ถูกต้อง หากตอบ โดยครูอาจนำสร้อยคอที่ร้อยด้วยลูกปัดพลาสติกหลากสีมาให้ ไม่ไดห้ รือลืมครูตอ้ งให้ความรู้ที่ถูกต้อง นักเรียนดู แล้วใช้คำถามดงั นี้ ทันที 1.1 สร้อยคอเส้นนี้ทำมาจากวสั ดุใดบ้าง (สรอ้ ยคอเส้นน้ีประกอบ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครู ไปด้วยลกู ปดั และเสน้ เอน็ โดยลูกปดั ทำมาจากพลาสติกและ รับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็นสำคัญ เสน้ เอ็นยืดทำมาจากยาง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน ให้หาคำตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม 1.2 ลูกปัดมีลักษณะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตามที่สังเกต เช่น ต่าง ๆ ในบทเรยี นนี้ ลกู ปดั มหี ลากหลายสี ทรงกลม แข็ง ผวิ เรียบ) 1.3 เส้นเอ็นมีลักษณะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตามท่ีสังเกต เชน่ สีขาวขุ่น น่มุ ยืดได)้ 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับการทำให้วัตถุและ วัสดุเปลี่ยนแปลง โดยใช้ไฟเผาเส้นเอ็นของสร้อยคอเพื่อให้ เสน้ เอ็นขาด จากนนั้ ครูใช้คำถามดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 วัสดุที่ใช้ทำสร้อยคอเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เกิดการ เปลยี่ นแปลง โดยเส้นเอ็นขาดเพราะได้รับความร้อน) 2.2 เส้นเอน็ และลูกปัดจากสร้อยคอที่ขาดนี้สามารถนำมาทำเป็น อะไรได้อีกบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น นำมาทำสรอ้ ยขอ้ มอื ลูกปัด ตุ๊กตาลูกปัด) 2.3 นอกจากความร้อนทที่ ำใหว้ ตั ถุและวัสดุเปลีย่ นแปลงแล้วยังมี อะไรอีกบ้างที่ทำให้วัตถุและวัสดุเปลี่ยนแปลงได้ (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น การใช้แรงในการบีบ ทบุ ดดั ดงึ ) 3. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องการทำให้วัตถุและวัสดุ เปลี่ยนแปลง โดยให้อ่านชื่อหน่วย และอ่านคำถามสำคัญ ประจำหน่วย ในหนังสือเรียน ดังนี้ “การเปลี่ยนแปลงของ วัตถุเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้าง” นักเรียนตอบคำถาม โดยครูยัง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
7 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงของวัตถแุ ละวัสดุ ไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตอบอีก ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ คร้ังหลังจากเรียนจบหน่วยนแ้ี ล้ว คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 4. นักเรียนอ่าน ชื่อบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำบท ใน คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง หนังสือเรยี นหน้า 1 จากน้ันครใู ชค้ ำถามดงั น้ี อดทน และรับฟังแนวความคิด ของนกั เรียน 4.1 บทนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การทำให้วัตถุและวัสดุ เปลี่ยนแปลง) 4.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียน สามารถทำอะไรได้บ้าง (อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ เมื่อมีการแยกออกและประกอบขึ้นใหม่และอธิบายการ เปลีย่ นแปลงของวสั ดุเมือ่ ทำให้รอ้ นข้ึนหรอื ทำใหเ้ ยน็ ลง) 5. นักเรียนอ่านชื่อบท และแนวคิดสำคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 2 จากนั้นครูใช้คำถามดังน้ี จากการอ่านแนวคิดสำคัญ นักเรียน คิดว่าจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (เรียนเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงของวัตถุที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย ๆ แล้วแยก ชน้ิ สว่ นยอ่ ย ๆ มาประกอบเป็นวตั ถุช้นิ ใหม่ และการเปลย่ี นแปลง ของวสั ดุบางชนิดเมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรอื เยน็ ลง) 6. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หน้า 2 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรยี น ครใู ช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ จากการอา่ น โดยใชค้ ำถามดังน้ี 6.1 จากเนื้อเรื่องที่อ่าน กำไลข้อมือทำจากวัสดุใดบ้าง (ทองและ พลอยสสี ันต่าง ๆ) 6.2 เราสามารถนำทองจากกำไลข้อมือที่ชำรุดไปทำอะไรได้บ้าง (เราสามารถนำทองไปหลอมขึ้นรูปเป็นเครือ่ งประดับช้ินใหม่ ท่มี ีลวดลายตา่ งไปจากเดมิ ) 6.3 เราสามารถนำมาทำพลอยจากกำไลข้อมืออะไรไดบ้ า้ ง (นำไป ประกอบเป็นเครื่องประดับชิ้นใหม่ เช่น ประดับหัวเข็มขัด หวั แหวน) 6.4 นอกจากกำไลทองที่เราแยกทองและพลอยมาทำเป็น เครื่องประดับชิ้นใหม่แล้ว ยังมีของเล่นของใช้ชนิดอื่น อีกหรือไม่ ที่สามารถแยกชิ้นส่วนแล้วประกอบเป็นวัตถุชิ้น ใหมไ่ ด้ (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 การเปลย่ี นแปลงของวตั ถแุ ละวสั ดุ 8 7. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับการทำให้วัตถุและวัสดุ การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรับครู เปลี่ยนแปลงในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม เพื่อจดั การเรยี นรใู้ นครง้ั ถดั ไป หนา้ 3 โดยนักเรยี นอา่ นคำถามแตล่ ะข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจ ของนักเรียน จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้ ในคร้งั ถดั ไป นกั เรยี นจะได้เรียน นักเรียนตอบคำถาม โดยคำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน เรื่องที่ 1 แยกออก ประกอบใหม่ ซ่ึง และคำตอบอาจถูกหรือผิดก็ได้ เกี่ยวข้องกับการทำวัตถุชิ้นใหม่จากวัตถุ ชิ้นเดิม ครูควรเตรียมภาพม่านที่ทำด้วย 8. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี เชือก เพอ่ื ให้นกั เรยี นสงั เกตและอภิปราย แนวคดิ เกย่ี วกับการทำให้วัตถุและวัสดเุ ปลย่ี นแปลง โดยอาจสมุ่ ให้ ก่อนอา่ นเร่อื ง นักเรียน 2 – 3 คน นำเสนอคำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลย คำตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบคำตอบอีกครั้ง หลังจากเรียนจบบทน้ีแล้ว ทัง้ น้ีครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือน หรือแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน แล้วนำมาใช้ในการออกแบบ การจดั การเรียนรู้เพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อ ยอดแนวคดิ ทน่ี า่ สนใจของนกั เรียน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
9 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงของวัตถแุ ละวัสดุ แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม การสำรวจความร้กู ่อนเรยี น นักเรียนอาจตอบคำถามถูกหรือผดิ ก็ได้ขึ้นอยกู่ บั ความรเู้ ดมิ ของนักเรยี น แตเ่ มือ่ เรยี นจบบทเรยี นแล้ว ให้นักเรียนกลับมาตรวจสอบคำตอบอกี ครั้งและแก้ไขให้ถกู ต้อง ดงั ตวั อยา่ ง คำตอบขึ้นอยู่กบั ความคิดเหน็ ของนกั เรยี น เชน่ กำแพงบ้าน กระถางตน้ ไม้ เกา้ อ้ี ชั้นวางของ น้ำหวานที่แช่ในชอ่ งแช่แขง็ ถูกทำให้เยน็ ลง ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311