Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:03:40

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ป.1 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 14 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม คาํ ตอบ การสบื เสาะ การสบื เสาะ

15 คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 กิจกรรมที่ 1 จมหรอื ลอย กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดสังเกตเพื่อหาคําตอบวา ส่งิ ของใดจมหรือลอยนํ้า โดยอธิบายและใชวิธีการสืบเสาะ เพอื่ ตอบคําถามที่สงสัย เวลา 2 ชวั่ โมง จุดประสงคก ารเรียนรู สังเกตและอธิบายวิธีการสบื เสาะในการตอบคําถามท่ี สงสัย วัสดุ อุปกรณสําหรบั ทาํ กจิ กรรม ส่ิงที่ครูตองเตรียม/กลุม 1. ถังนาํ้ กนลึก 1 ใบ 2. ลูกบอลพลาสติก 1 ลกู สื่อการเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู 3. ยางลบ 1 กอ น 1. หนังสอื เรยี น ป.1 เลม 1 หนา 5-6 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 6-8 4. ชอนสเตนเลส 1 คัน 5. ชอ นพลาสตกิ 1 คนั 6. ไมบรรทดั เหล็ก 1 อัน 7. ดินนํ้ามนั 1 กอ น 8. แผนโฟม (ตัดเปนแผน ขนาดเลก็ ) 1 แผน 9. ฟองนํ้า (ตัดเปน แผน ขนาดเล็ก) 1 แผน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอ มูล ทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรวมมอื

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 16 แนวการจดั การเรยี นรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูและนักเรียนรวมสนทนาเก่ียวกับการเรียนรูของนักวิทยาศาสตรเพื่อ เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให ตรวจสอบความรเู ดมิ ของนกั เรียน โดยใชคาํ ถาม ดังน้ี หาคําตอบท่ีถูกตองจากกิจกรรม 1.1 นกั เรยี นรจู ักนกั วทิ ยาศาสตรหรือไม นักวิทยาศาสตรทํางานเกี่ยวกับ ตาง ๆ ในบทเรยี นี้ อะไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน นักวิทยาศาสตร เปนผคู น พบสงิ่ ใหม ๆ ทํางานเกี่ยวกับการทดลอง) 1.2 นักเรียนคิดวานักวิทยาศาสตรคนพบสิ่งใหม ๆ หรือเรียนรูสิ่งตางๆ ไดโดยวิธีการใดบาง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน โดยการทดลอง การสังเกต การสืบคน) 2. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน จากหนังสือเรียนหนา 5 จากนน้ั ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับส่ิงที่จะเรียน โดยใช คําถาม ดังน้ี 2.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนเกี่ยวกับเร่ืองอะไร (วิธีการสืบเสาะใน การตอบคําถามที่สงสยั ) 2.2 นกั เรียนจะไดเรยี นเรือ่ งนี้ดว ยวิธีใด (การสังเกต) 2.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายวิธีการสืบเสาะใน การตอบคําถามทส่ี งสัย) 3. นักเรียนอานส่ิงที่ตองใช วามีวัสดุอุปกรณอะไรบาง โดยใหนักเรียนบอก ชื่อวสั ดอุ ุปกรณและวธิ ีใชอุปกรณ ในกรณที น่ี กั เรยี นไมร จู ัก ครูควรบอกช่ือ หรือชนดิ ของวัสดอุ ปุ กรณนน้ั 4. นกั เรียนอา นทําอยา งไร ในหนงั สอื เรยี นหนา 5 โดยครอู าจใชวธิ กี ารอานที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นตรวจสอบความเขาใจ ข้ันตอนการทาํ กิจกรรมทลี ะขน้ั โดยอาจนาํ อภิปรายตามแนวคําถาม ดังน้ี 4.1 เม่ือสังเกตสิ่งของตาง ๆ ที่ใชในการทํากิจกรรมนี้ นักเรียนตองทํา อะไรตอ (ตง้ั คาํ ถามเกี่ยวกบั การจมและการลอยนํ้าของสิ่งของตาง ๆ จากนั้นบันทึกผล) 4.2 หลังจากคาดคะเนวาสิ่งของใดบางจะจมนํ้าหรือลอยน้ําแลวนักเรียน ตองทําอะไรตอ (นําส่ิงของแตละช้ินมาทดสอบการลอยนํ้าและ จมน้าํ ) 5. เม่ือนักเรียนเขาใจวิธีทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว นักเรียนจะไดปฏิบัติ ตามขัน้ ตอน ดังนี้ 5.1 สงั เกตสิ่งของ ตั้งคําถามเก่ียวกบั การจมน้ําและการลอยนํ้า บันทึกผล ในแบบบนั ทึกกิจกรรมหนา 6 (S1)

17 คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 5.2 คาดคะเนวาส่ิงใดจะจมน้ํา สิ่งใดจะลอยน้ํา แลวบันทึกผลในแบบ บนั ทึกกิจกรรมหนา 6-7 5.3 นาํ ส่งิ ของแตละชิ้นมาลอยนา้ํ สังเกตและบันทึกผล 5.4 บอกสิง่ ที่คนพบและนํามาเปรียบเทียบกบั คําตอบของเพ่ือน 5.5 นําเสนอส่ิงท่ีคนพบวาเหมือนหรือแตกตางจากเพื่อนอยางไร (S8) (C4, C5) 6. หลงั จากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใชคําถาม ดงั น้ี 6.1 ส่ิงของตาง ๆ ท่ีครูนํามา มีลักษณะเปนอยางไรบาง (นักเรียนตอบ ตามการสังเกตของตนเอง เชน ฟองน้ําเบาและนิ่ม ไมบรรทัดเหล็ก หนัก แบน และเปน แผนยาว ชอ นพลาสตกิ เบาและมสี ขี าว) 6.2 เมื่อสังเกตการลอยและจมของสิ่งของตาง ๆ แลว นักเรียนมีคําถาม อะไรบาง (นักเรียนลองต้ังคําถามตามความสงสัยของตนเอง เชน ส่ิงของใดบางจะจมและสิ่งของใดบางจะลอย ส่ิงของใดจะลอยได นานทสี่ ุด) 6.3 นักเรียนคนพบอะไรบางเกี่ยวกับการจมและการลอยของส่ิงของตาง ๆ (นักเรียนตอบตามสิ่งที่ตนเองคนพบ เชน ส่ิงของที่เบาจะลอยและ ส่ิงของที่หนักจะจม สิ่งของท่ีมีลักษณะแบนจะลอย ส่ิงของท่ีมี ลักษณะตนั จะจม) 6.4 สิ่งท่ีนักเรียนคนพบเหมือนหรือแตกตางจากเพื่อนอยางไร (นักเรียน ตอบตามผลทีไ่ ดจ ากการเปรยี บเทียบสิ่งที่คน พบกับเพ่ือน) 6.5 จากกิจกรรมน้ี ส่ิงของใดบางท่ีจมน้ําและสิ่งของใดที่ลอยนํ้า (ส่ิงของ ที่จม ไดแก ยางลบ ชอนสเตนเลส ไมบรรทัดเหล็ก ดินน้ํามัน และ ส่ิงของท่ีลอยนํ้า ไดแก ลูกบอสพลาสติก ชอนพลาสติก แผนโฟม ฟองนาํ้ ) คําตอบของนักเรยี นอาจแตกตางจากนี้ได เชน นกั เรียน บางคน อาจจะปนดินน้ํามันเปนรูปเรือ ทําใหไดผลวาดินนํ้ามันลอยนํ้าได หรือ นกั เรียนบางคนอาจวางชอนพลาสติกบนผิวน้ําโดยวางใหปลายชอนด่ิงลง น้ํา ทําใหไดผลวาชอนพลาสติกจมน้ํา ท้ังน้ีครูไมควรรีบสรุปคําตอบ แต ควรใหเวลานกั เรยี นอภปิ รายถงึ วิธีการในการหาคาํ ตอบของตนเอง 7. นักเรียนรวมกันอภิปรายและตอบคําถามในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพิ่ม คําถามในการอภิปรายเพ่ือใหไดแนวคําตอบที่ถูกตอง และบันทึกคําตอบ ในแบบบนั ทึกกจิ กรรมหนา 7-8

คูม ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 18 8. นักเรียนสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ โดยเช่ือมโยงส่ิงท่ีไดเรียนรู จากกิจกรรมเพื่อสรุปวาการสืบเสาะเปนวิธีการในการหาคําตอบที่สงสัย ทําไดโ ดยการตงั้ คาํ ถาม รวบรวมขอ มูลจากการทํากิจกรรมหรือการสังเกต อธิบายสิ่งที่คนพบ เปรียบเทียบเช่ือมโยงส่ิงท่ีตนคนพบกับผูอื่น และ สื่อสารสิ่งท่ีคนพบใหผูอื่นเขาใจ จากน้ันครูใหนักเรียนอานส่ิงท่ีไดเรียนรู และเปรยี บเทยี บกบั ขอสรุปของตนเอง 9. นักเรียนต้ังคําถามในอยากรูอีกวา จากน้ันครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาชั้นเรียนและใหนักเรียนชวยกันอภิปราย แนวคาํ ตอบ 10.ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในขนั้ ตอนใดบา ง 11.นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หนา 7 โดยครูนํา อภปิ รายเพ่อื นําไปสูข อสรปุ เกีย่ วกับสง่ิ ท่ีไดเรยี นรใู นเรือ่ งน้ี จากน้ันกระตุน ใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเน้ือเรื่อง ดังนี้ “ยังมีวิธีการอ่ืนอีก หรือไมท่ีจะส่ือสารส่ิงท่ีคนพบใหผูอื่นรับรูและเขาใจ” ครูและนักเรียน รวมกันอภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน การเขียน การถายภาพ นักเรียนอาจมีคําตอบที่แตกตางจากน้ี ครูควรเนนใหนักเรียนตอบคําถาม พรอ มอธิบายเหตุผลประกอบ การเตรียมตัวลว งหนา สาํ หรับครู เพือ่ จดั การเรยี นรูในครง้ั ถัดไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดอานเร่ือง ท่ี 2 การสังเกตและการลงความเห็นจาก ขอมูล โดยครูอาจเตรียมทําบัตรคํา “การ สังเกต” และ “การลงความเห็นจากขอมูล” เพือ่ สอนวิธกี ารสะกดคาํ

19 คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม ลอย

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 20 นักเรยี นคาดคะเน ตามความคิดของ ตนเอง ลอยนาํ้

21 คูมอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 สบื เสาะ คําถามของนกั เรยี นทต่ี ั้งตามความอยากรูของตนเอง

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 22 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรขู องนักเรียนทาํ ได ดงั นี้ 1. ประเมินความรเู ดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน 2. ประเมนิ การเรยี นรจู ากคาํ ตอบของนกั เรยี นระหวา งการจดั การเรยี นรูและจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทาํ กิจกรรมของนกั เรียน การประเมินจากการทาํ กจิ กรรมท่ี 1 จมหรอื ลอย ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช รหสั ส่ิงทีป่ ระเมนิ ระดับคะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต S8 การลงความเห็นจากขอ มลู ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน

23 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเกณฑก ารประเมิน ดังนี้ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรบั ปรุง (1) 1. การสงั เกต การบรรยาย สามารถบรรยายรายละเอียด สามารถบรรยายรายละเอยี ด ไมสามารถบรรยาย ลกั ษณะสิ่งของตา ง ลกั ษณะส่งิ ของตา ง ๆ จากการ ลักษณะส่งิ ของตาง ๆ จากการ รายละเอยี ดลักษณะ ๆ ท่นี าํ มาทาํ ใชประสาทสมั ผสั ไดครบถว น ใชป ระสาทสมั ผสั โดยอาศัย สิง่ ของตางๆ จากการ กิจกรรมโดยบอก สมบูรณโดยไมเ พมิ่ ความคิดเห็น ความรูห รอื ประสบการณเดิมได ใชประสาทสัมผสั รายละเอยี ดท่ี จากการช้แี นะของครูหรือผอู ่ืน แมว า จะไดรับ สังเกตได คําแนะนําจากครู หรอื ผูอืน่ 8.การลงความเห็น การลงความเห็น สามารถลงความเหน็ จากขอมูล สามารถลงความเหน็ จากขอมูล ไมสามารถลง จากขอ มูล จากขอมูลถงึ ไดวาสงิ่ ของลักษณะใดจะจมนํ้า ไดวา สิง่ ของลกั ษณะใดจะจมน้ํา ความเหน็ จากขอมลู ลกั ษณะของส่ิงของ และลอยนํ้าอยา งมเี หตผุ ลไดด วย และลอยนาํ้ อยา งมีเหตผุ ลไดโดย ไดวา สิง่ ของลักษณะ ทีจ่ ะจมนาํ้ และลอย ตนเอง อาศัยการชี้แนะของครูหรอื ผูอ่นื ใดจะจมนํ้าและลอย น้ํา น้าํ อยา งมเี หตผุ ลได แมวาจะไดร บั คาํ แนะนําจากครู หรือผอู ื่น

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 24 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดังน้ี ทักษะแหง รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 สามารถนาํ เสนอขอ มูลสิ่งท่ี พอใช (2) ไมสามารถนาํ เสนอขอมลู ส่งิ C4 การสือ่ สาร การนําเสนอขอ มลู คนพบและผลจากการ ทค่ี นพบและผลจากการ สง่ิ ทีค่ นพบและผล อภิปรายเปรยี บเทียบคําตอบ สามารถนําเสนอขอมูลสิง่ อภิปรายเปรยี บเทยี บ C5 ความ จากการอภิปราย กับเพ่ือน ไดอยา งถูกตอง ทค่ี น พบและผลจากการ คําตอบกบั เพอ่ื นได แมว า จะ รวมมือ เปรยี บเทียบคําตอบ ครบถว น อภปิ รายเปรยี บเทยี บ ไดรบั การกระตนุ จากครหู รือ กับเพื่อน คําตอบกับเพื่อน ไดอยาง ผูอ่นื มีสวนรวมกบั ผอู นื่ ในการทาํ ถกู ตอง แตไมครบถว น ไมม สี วนรวมในการทํา การมีสว นรวม กิจกรรม และการอภิปราย กิจกรรมและการอภปิ ราย ในการทํากจิ กรรม เกยี่ วกับการจมนํา้ การลอย มสี ว นรวมกบั ผูอนื่ ในการ เกย่ี วกับการจมน้ําการลอย และการรวมกัน น้ําของสิง่ ของตา ง ๆ อยาง ทํากจิ กรรม และการ น้ําของส่ิงของตา งๆ แมว า อภปิ รายเกีย่ วกบั ตอ เน่ืองต้ังแตเ ร่ิมตนจน อภิปรายเกีย่ วกบั การ จะไดร บั การกระตุน จากครู การจมนํ้าและการ สําเรจ็ ลลุ วง จมนา้ํ การลอยนํ้าของ หรือผูอ่นื ลอยนํ้าของสิ่งของ สงิ่ ของตา ง ๆ เปน ตางๆ บางขณะ

25 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 เร่อื งท่ี 2 การสงั เกตและการลงความเห็นจากขอ มูล ในเรือ่ งนีน้ กั เรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการใชประสาท สัมผัสในการสังเกตส่ิงตาง ๆ รอบตัวและการใช ประสบการณในการลงความเห็นจากขอมูล จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. สังเกตรปู ภาพเพ่อื เปรยี บเทยี บความเหมือนและ ความแตกตา ง 2. สงั เกตและระบสุ ิ่งตา งๆ ท่อี ยูในถุง 3. อภปิ รายความหมายของการสงั เกตและ การลงความเห็นจากขอมลู เวลา 5 ชั่วโมง วัสดุ อุปกรณส ําหรบั ทํากจิ กรรม สื่อการเรียนรแู ละแหลง เรียนรู ถุงกระดาษ ไมเสียบ ขาวโพดคั่วหรือของท่ีสามารถ 1. หนงั สอื เรียน ป.1 เลม 1 หนา 8-12 กินไดและมีกลน่ิ เพ่อื ใสใ นถงุ ปริศนา 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 9-16

คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 26 แนวการจัดการเรยี นรู (120 นาที) ขัน้ ตรวจสอบความรู (20 นาท)ี 1. ครูติดบัตรคําซ่ึงมีขอความวา การสังเกตและการลงความเห็น จาก ในการตรวจสอบความรู ครู ขอมลู บนกระดาน จากนั้นใหนกั เรียนอา นตามครทู ลี ะคํา เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน 2. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรยี นโดยนําการอภปิ ราย ดงั น้ี ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 2.1. ถาครูบอกใหนักเรียนสังเกตสิ่งของบางอยางเพ่ือบอกวามันมี จากการอา นเน้อื เร่อื ง ลักษณะอยางไร นักเรียนจะมีวิธีสังเกตอยางไรบาง (นักเรียน ตอบไดต ามความเขาใจของตนเอง) 2.2. นักเรยี นจะลงความเหน็ เกีย่ วกับส่ิงท่ีสังเกตน้ันไดวาอยางไรบาง (นกั เรยี นตอบไดต ามความเขา ใจของตนเอง) ครูบันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดาน ครูอาจแสดงส่ิงของ บางอยางประกอบการอภปิ รายเพ่อื ชว ยใหน กั เรยี นเขาใจคาํ ถามไดดีขึน้ ขั้นฝก ทกั ษะจากการอา น (40 นาที) 3. นักเรียนอา นช่อื เรื่อง และคําถามคิดกอนอาน จากหนังสือเรียนหนา 8 แลวตอบคําถามตามความเขาใจของตนเอง ครูบันทึกคําตอบบน กระดานเพ่อื ใชเ ปรียบเทียบกับคําตอบของนักเรียนภายหลังจากการ ทํากจิ กรรม 4. นักเรียนอานคําในคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นักเรียนยังอานคําไมได ครูควรสอนการอานคําใหถูกตองและให นักเรียนอธิบายความหมายของคําตามความเขาใจของตนเอง ครู ชักชวนใหห าความหมายของคาํ ตา ง ๆ จากการอา นเน้อื เร่อื ง 5. นักเรียนอานเนื้อเร่ืองดวยวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถ ของนักเรียนทีละยอ หนา จากน้ันรวมกันอภิปรายใจความสําคัญตาม แนวคาํ ถาม ดงั นี้ แนวคําถามในยอ หนา ท่ี 1 และ 2

27 คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 5.1. การสังเกตไอศกรีม มีวิธีสังเกตอยางไรบาง (ใชประสาทสัมผัส ตาง ๆ ทง้ั การดู การดม การชิมรส การฟง และการสัมผัส) 5.2. จากการสังเกต ไอศกรีมมีลักษณะอยางไร (เปนกอนกลม ๆ สเี ขยี ว ใสอ ยูในถวย) แนวคําถามในยอ หนา ที่ 3 5.3. จากขอมูล ไอศกรีมรสน้ีมีกลิ่นออน ๆ เปนการใชประสาท สัมผัสใดในการสงั เกต (การดมกลิ่น) 5.4. จากขอมูล เมื่อฉันเร่ิมกินไอศกรีมก็รูสึกเย็นท่ัวปากเปนการใช ประสาทสัมผัสใดในการสงั เกต (การสัมผสั ) 5.5. จากขอมูล รสชาติของไอศกรีมเปร้ียวปนหวาน เปนการใช ประสาทสัมผัสใดบา งในการสังเกต (การชิมรส) 5.6. จากขอมูล เมื่อฉันกัดถวยไอศกรีมก็ไดยินเสียงถวยแตกดังกรอบ เปน การใชประสาทสัมผสั ใดในการสังเกต (การฟง เสียง) แนวคาํ ถามในยอ หนาท่ี 4 5.7. จากเรื่องที่อาน ขอความใดเปนการลงความเห็นจากขอมูล (ไอศกรีมมกี ล่นิ หอม ถว ยทท่ี าํ จากขนมปงกรอบ) ขัน้ สรุปจากการอาน (60 นาท)ี 6. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจากเรื่องในบทเรียนจนไดขอสรุป เก่ียวกับความหมายของการสังเกตวาการสังเกตเปนการใชประสาท สัมผัสในการดู การดมกล่นิ การชิมรส การฟงเสยี ง และการสัมผัส ทํา ใหไดขอมูลเกี่ยวกับลักษณะตาง ๆ ของส่ิงท่ีสังเกต สวนการลง ความเห็นจากขอมูลเปนการใชความคิดเห็นของเรา หรือใช ประสบการณหรือส่ิงที่เราเคยรูมากอนมาอธิบายขอมูลที่สังเกตได ท้ังน้ีครูอาจถามนักเรียนเพิ่มเติมวาเขาใจคําวาประสบการณหรือไม คําน้ีมีความหมายวาอะไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ ตนเอง)

คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 28 หมายเหตุ ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับความหมายของคํา ประสบการณ วาหมายถึง ส่ิงที่เราไดรับรูมากอน เกิดจากการกระทํา หรือท่ีไดพบเห็นมา ดังนั้น การใชประสบการณในการอธิบายสิ่งท่ี คน พบหรือส่ิงท่สี งั เกตได จึงเปน การลงความเหน็ จากขอ มูล 7. ครูใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียนวาในการสังเกตน้ัน เราไดใช สวนตา ง ๆ ของรางกายในการสงั เกต ไดแ ก จมกู ใชใ นการดมกลน่ิ ตา ใชในการมองดู หู ใชใ นการฟง เสยี ง ปาก/ลิ้น ใชใ นการชิมรส มอื ผิวกาย ผิวหนงั ใชในการสัมผัส การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครู เพือ่ จดั การเรียนรูในครงั้ ถัดไป 8. นักเรยี นตอบคําถามรหู รอื ยงั ในแบบบันทกึ กจิ กรรมหนา 9 ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา 9. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน กิจกรรมที่ 2 การสังเกตและการลง ความเหน็ จากขอมูลทําไดอยา งไร การเลน ในรูหรือยัง กับคําตอบท่ีเคยตอบและบันทึกไวในคิดกอนอาน เกมจับผิดรูปและสังเกตสิ่งท่ีอยูในถุง ปริศนา ดังน้ันครูควรเตรียมถุงปริศนาไว จากน้ันฝกเขียนคําวา การสังเกต และการลงความเห็นจากขอมูล ใน ลวงหนา โดยอาจเตรียมกลุมละ 1 ถุง และเตรียมขาวโพดค่ัวหรือเตรียมของท่ี แบบบันทึกกิจกรรมหนา 10 สามารถกนิ ได และมกี ล่ิน 1 ชนิด ใสลงใน กลอ งปริศนา 10.ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน ในรูหรือยังกบั คําตอบทีเ่ คยตอบและบนั ทึกไวใ นคดิ กอนอา น 11.ครเู นน ย้าํ กบั นกั เรียนเก่ยี วกับคําถามทายเร่ืองท่ีถามวาการสังเกตและ การลงความเห็นจากขอมูลเปนอยางไร และแตกตางกันอยางไร และ อาจถามนกั เรียนเพ่ิมเติมวาการสังเกตและการลงความเห็นจากขอมูล มีประโยชนตอการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางไรบาง ครูบันทึกคําตอบ ของนักเรียนบนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบแตชักชวนใหนักเรียน ไปหาคําตอบจากการทํากจิ กรรมตอ ไป

29 คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวคาํ ตอบในแบบบันทึกกิจกรรม ดู ดม ฟง หอม อรอย

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 30 การสังเกต การสงั เกต การลงความเหน็ จากขอมูล การลงความเห็นจากขอมูล

31 คมู อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 กจิ กรรมที่ 2 การสังเกตและการลงความเห็นจากขอมลู ไดอ ยา งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเลนเกมเพื่ออธิบายวา ส่ือการเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู การสังเกตคือการใชประสาทสัมผัสเก็บขอมูลเก่ียวกับ ลักษณะของสิ่งตางๆ สวนการลงความเห็นจากขอมูลคือ 1. หนังสือเรยี น ป.1 เลม 1 หนา 10-12 การใชความเห็นหรือประสบการณมาอธิบายเกี่ยวกับ 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 12-16 ขอ มลู น้ัน ๆ 3. ตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการวิทยาศาสตรเร่ืองการ เวลา 3 ชว่ั โมง สังเกตและการลงความเห็นจากขอมูลทําไดอยางไร จุดประสงคก ารเรียนรู http://ipst.me/8115 เลนเกมเพ่ืออธิบายความแตกตางระหวางการสังเกต และการลงความเหน็ จากขอ มลู วัสดุ อปุ กรณส ําหรับทํากจิ กรรม สงิ่ ทคี่ รูตอ งเตรยี ม/กลุม 1. ถุงกระดาษ ขนาด 12 x 13 นว้ิ 1 ใบ 2. ไมเ สียบเทา จํานวนนักเรยี นในกลุม 1 ไม/คน 3. ขาวโพดควั่ หรอื ของท่ีสามารถกนิ ได และมีกล่ินเพ่ือใสใ นถุงปริศนา ประมาณ 1/3 ของถุง 1 ถุง ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S8 การลงความเหน็ จากขอ มูล ทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว มมือ

คูม ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 32 แนวการจดั การเรยี นรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูนําเขาสูบทเรียน ดวยการทบทวนความรูท่ีไดจากการศึกษาและทํา เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให กิจกรรมในครั้งที่ผานมาเร่ืองการสังเกตและการลงความเห็นจากขอมูล หาคําตอบท่ีถูกตองจากกิจกรรม รวมถึงอภิปรายเพมิ่ เตมิ เกี่ยวกับการใชป ระสาทสัมผสั โดยใชค าํ ถาม ดังนี้ ตา ง ๆ ในบทเรียนี้ 1.1 การสังเกตคืออะไร (การสังเกตคือการใชประสาทสัมผัสในการบอก ลักษณะของสงิ่ ของ) 1.2 ประสาทสัมผัสท่ีใชในการสังเกตมีอะไรบาง (การดมกลิ่น การฟง เสียง การชมิ รส การมองดู และการสัมผสั ) 1.3 เราใชส ว นใดของรางกายในการดมกลนิ่ (จมกู ) 1.4 เราใชสว นใดของรางกายในการฟงเสยี ง (ห)ู 1.5 เราใชสวนใดของรางกายในการชิมรส (ปาก/ล้นิ ) 1.6 เราใชส วนใดของรางกายในการมองดู (ตา) 1.7 เราใชส ว นใดของรา งกายในการสัมผัส (มือ ผิวกาย ผวิ หนัง) 1.8 ขอ มลู ทีเ่ ราไดจากการดมกล่นิ คืออะไร (มกี ลิ่น หรอื ไมม ีกลิ่น) 1.9 ขอมูลท่ีเราไดจากการฟงเสียง คืออะไร (มีเสียง/ไมมีเสียง เสียงสูง/ เสียงตา่ํ เสียงดัง/เสยี งคอ ย) 1.10ขอมูลที่เราไดจากการชิมรส คืออะไร (มีรสชาติ เชน เปร้ียว หวาน เคม็ ขม และไมมรี สชาติ) 1.11ขอ มูลทีเ่ ราไดจากการมองดู คอื อะไร (รูปรา ง สี ขนาด) 1.12ขอมลู ทเ่ี ราไดจากการสมั ผสั คืออะไร ถานักเรียนไมเขาใจคําถาม ครู อาจปรับคําถามใหม เชน ถาเอามือไปจับ ลูบหรือกดสิ่งของ ทําให เรารลู ักษณะของสง่ิ ของอยา งไรบาง (แขง็ น่มิ ลืน่ หยาบ ละเอียด) ครูใหความรูเพ่ิมเติมกับนักเรียนวากลิ่นหอมหรือเหม็นเปน การลงความเห็นจากขอมูลที่ไดจากการดมกล่ิน เชน ทุเรียนเปนผลไมท่ีมี กล่ิน แตบางคนจะลงความเห็นจากขอมูลวาหอมแตบางคนจะบอกวา เหม็น ทงั้ นี้ขึน้ อยกู ับความชอบของแตละคน การบอกกลิ่นทุเรียนจึงไมถือ เปนการสงั เกต แตเ ปน การลงความเหน็ จากขอมลู การฟงเสียงและการชิม รสก็เชนเดียวกันบางคนตอบวา ไพเราะ (เพราะ) แตบางคนบอกวา ไมไพเราะ (ไมเพราะ) บางคนบอกวาอรอย แตบางคนบอกวาไมอรอย

33 คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ดังนั้น ความไพเราะหรือไมไพเราะ ความอรอยหรือไมอรอย จึงไมใชสิ่งที่ ไดจากการสงั เกต แตเปนการลงความเห็นจากขอมลู 1.13การสังเกตเกี่ยวของกับการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางไร (การสังเกต เปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหน่ึงท่ีชวยใหเรารูลักษณะ ของส่งิ ตา ง ๆ ได) 2. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน ในหนังสือเรียนหนา 10 จากน้ันครูตรวจสอบความเขา ใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะเรียน โดย อาจใชค ําถาม ดงั นี้ 2.1. กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (การสังเกตและ การลงความเห็นจากขอมูล) 2.2. นักเรยี นจะไดเรยี นเรอ่ื งนดี้ ว ยวธิ ีใด (การเลน เกม) 2.3. เม่ือเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายความแตกตางระหวาง การสังเกตและการลงความเห็นจากขอ มลู ) 3. นักเรียนอานส่ิงท่ีตองใช วากิจกรรมนี้ตองใชวัสดุอุปกรณอะไรบาง ให นักเรียนบอกชื่อวัสดุอุปกรณและวิธีใชอุปกรณ เน่ืองจากกิจกรรมนี้ มีการใชไมเสียบเพื่อจ้ิมส่ิงของในถุงปริศนามาใหนักเรียนสังเกต ครูควร ระวังไมใหนักเรียนนําไมเสียบมาเลนกันระหวางการทํากิจกรรมเพราะ อาจเกดิ อนั ตรายได 4. นักเรียนอานทําอยา งไร ในหนังสือเรยี นหนา 10 โดยครูอาจใชวิธีการอาน ท่ีเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบ ความเขาใจข้ันตอนการทํากิจกรรมทีละข้ัน โดยอาจนําอภิปรายตามแนว คําถาม ดงั นี้ 4.1 นักเรียนเคยเลนเกมจับผิดรูปหรือไม (นักเรียนตอบไดตาม ประสบการณข องตนเอง) 4.2 ส่งิ ท่ีนกั เรียนตอ งทําในการเลนเกมจับผิดรูป คืออะไร (รวมกันสังเกต และเปรียบเทียบรปู ทงั้ สองรูป จากนั้นหาวารปู ทั้งสองมีจุดท่ีแตกตาง กันทีใ่ ดบาง) 4.3 เมื่อนักเรียนพบจุดท่ีแตกตางกันของรูปทั้งสองแลว นักเรียนตองทํา อยา งไร (ใหว งกลมลอมรอบส่ิงที่รูปท้งั สองแตกตา งกัน ลงบนรูปท่ี 2)

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 34 4.4 นักเรียนเขาใจความหมายของคําวาปริศนาหรือไม เขาใจวาอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง จากนั้นครูอธิบาย ความหมายคําวา ปรศิ นา หมายถึง สง่ิ ท่ีปกปด ไวเพื่อให ทา ทาย) 4.5 ขณะนักเรียนสังเกตถุงปริศนา นักเรียนจะไดทํากิจกรรมตามลําดับ อยางไรบาง (1. เขยาถุงปริศนาและฟงเสียง 2. เจาะรูบนถุงปริศนา แลวดมกลิ่น 3. หลับตาแลวสัมผัสสิ่งท่ีอยูในถุงปริศนา 4. หลับตา แลวชิมรสสิ่งที่อยูในถุงปริศนา 5. เปดตาแลวมองดูสิ่งที่อยูใน ถุงปรศิ นา) ในการอภิปรายเก่ียวกับวิธีการทํากิจกรรมแตละข้ันตอน ครูอาจ สาธิตและใหนักเรียนทําตาม เชน เขยาถุงปริศนา ครูอาจใหนักเรียนทําทา เพอื่ ใหเ ขาใจความหมายของคําวา เขยา ตรงกัน และครูควรชี้แจงใหนักเรียน เขา ใจตรงกันวา เม่อื นักเรียนเจาะรูบนถุงปริศนาแลวใหสังเกตโดยการดมกลิ่น เทา นน้ั หามใชต าดสู ิ่งท่ีอยูในถุงเดด็ ขาด 4.6 ระหวา งการสงั เกตแตละข้นั ตอน นักเรียนตองทําอะไรบาง (บันทึกสิ่งที่ สังเกตได และบันทึกการลงความเห็นในทุกข้ันตอนของการสังเกตวา สิ่งที่อยูในถุงมีลกั ษณะอยา งไรและลงความเห็นวา สิ่งนั้นคืออะไร) ครูควรย้ําเตือนใหนักเรียนบันทึกลักษณะของสิ่งท่ีสังเกตไดตามจริง โดยไมเพิ่มความเห็นสวนตัวลงไป นักเรียนสามารถใชประสบการณของ ตนเองในการบนั ทึกเพอ่ื สรปุ วาสิ่งทอี่ ยูในถุงนน้ั คอื อะไร 4.7 หลังจากลงความเห็นจากขอมูลเสร็จแลว นักเรียนตองทําอยางไร ตอไป (นาํ เสนอผลการลงความเห็นจากขอ มูล) 5. เมอื่ นกั เรยี นเขาใจวธิ ีทาํ กิจกรรมในทําอยางไรแลว ใหนักเรียนปฏิบัติตาม ขัน้ ตอน ดังนี้ 5.1 เลน เกมจับผดิ รปู โดยรวมกันสังเกตรูปแตล ะรปู เพ่ือเปรียบเทียบส่ิงที่ เหมอื นและแตกตางของรูปท้ังสอง บันทึกผลการทํากิจกรรมในแบบ บนั ทึกกิจกรรมหนา 12 (S1) (C5) 5.2 นักเรียนแตละกลุมรับถุงปริศนาซ่ึงภายในบรรจุขาวโพดค่ัวไว ให นกั เรียนใชป ระสาทสมั ผสั สงั เกตสง่ิ ที่อยูในถุงตามลําดับข้ันตอน และ นกั เรียนบันทึกผลลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรมหนา 13 (S1)

35 คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม 5.3 นักเรียนใชประสบการณของตนเองลงความเห็นวาส่ิงที่อยูในถุง ครูอาจใชคําถามในระหวางที่ให คอื อะไร (S8) นักเรียนทํากิจกรรมการสังเกตถุงปริศนา ในแตละข้ันตอน เชน เม่อื ใหนักเรียนเขยา 5.4 นาํ เสนอผลการลงความเหน็ จากขอมูล (C4) ถุงและฟงเสียง ครูอาจถามวาใชประสาท 6. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใชคําถาม สัมผัสใดในการสังเกต และใชสวนใดของ รา งกายในการสงั เกต ดงั นี้ 6.1 นักเรียนทําอยางไรจึงสามารถจับผิดรูปได (ใชการสังเกตและ เปรียบเทยี บความแตกตาง) 6.2 ในการเลนเกมจับผิดรูป นักเรียนใชประสาทสัมผัสใดเพื่อการสังเกต (การดู) 6.3 การสังเกตชวยใหเราจับผิดรูปไดอยางไร (การสังเกตลักษณะและ รายละเอียดของรูปแตละรูป แลวนํามาเปรียบเทียบกัน ทําให สามารถเหน็ ขอ แตกตางได) 6.4 เมือ่ นกั เรียนเขยา ถงุ ปรศิ นาและฟงเสยี ง นกั เรียนใชป ระสาทสัมผัสใด ในการสงั เกต (การฟงเสียง) 6.5 สว นของรา งกายที่ใชคอื อะไร (หู) 6.6 ไดข อ มลู อะไรจากการฟงเสยี ง (มเี สยี งหรือไมมีเสยี ง) 6.7 เมือ่ นกั เรยี นเจาะถงุ ปริศนาแลว ดมกล่ินส่ิงของที่อยูในถุงปริศนา โดย หา มใชต าดู นกั เรยี นใชประสาทสัมผัสใดในการสงั เกต (การดมกลนิ่ ) 6.8 สวนของรางกายท่ใี ชค อื อะไร (จมกู ) 6.9 เมื่อนักเรียนหลับตาแลวใชมือสัมผัสส่ิงท่ีอยูในถุงปริศนา นักเรียนใช ประสาทสัมผสั ใดในการสังเกต (การสมั ผัส) 6.10สว นของรา งกายทใ่ี ชค อื อะไร (มอื ) 6.11 เมือ่ นกั เรียนหลับตาแลวใชม อื หยบิ สิ่งท่ีอยูในถุงปริศนามาคนละ 1 ช้ิน เพื่อชิมรส นักเรียนใชป ระสาทสมั ผัสใดในการสังเกต (การชิมรส) 6.12สวนของรา งกายทีใ่ ชคอื อะไร (ปากหรือลนิ้ ) 6.13เม่ือนักเรียนมองดูส่ิงท่ีอยูในถุงปริศนา นักเรียนใชประสาทสัมผัสใด ในการสงั เกต (การมองดู) 6.14สว นของรา งกายท่ใี ชค อื อะไร (ตา)

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 36 6.15กิจกรรมถุงปริศนา เราใชประสาทสัมผัสอะไรบางในการสังเกตส่ิงที่ การเตรยี มตวั ลว งหนาสําหรบั ครู อยใู นถงุ ปริศนา (การฟงเสียง การดมกล่นิ การสัมผสั การชมิ รส และ เพอื่ จดั การเรยี นรใู นครง้ั ถดั ไป การมองดู) ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดศึกษา 6.16 การสังเกตในกิจกรรมถุงปริศนาเหมือนหรือแตกตางจากกิจกรรม เร่ืองท่ี 3 การจําแนกประเภท โดยครูอาจ จับผิดรูปอยางไร (แตกตางกัน กิจกรรมสังเกตรูปใชประสาทสัมผัส เตรียมสิ่งของตาง ๆ เชน ของเลนของใช เพียงอยางเดียวคือการมองดู สวนกิจกรรมถุงปริศนาใชประสาท เสื้อผา มาใหนักเรียนจําแนกประเภท สัมผัสหลายอยา ง) ทั้งน้ีเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจเรื่องที่อาน ไดด ยี งิ่ ข้ึน ครูใหค วามรูเพ่ิมเติมวา บางครั้งเราสงั เกตโดยใชป ระสาทสัมผัสเพียงอยาง เดียวก็สามารถอธิบายสงิ่ ตางๆ ได แตบ างครัง้ เราจําเปน ตอ งใชป ระสาทสัมผัส นอกจากน้ีครูอาจเตรียมทําบัตรคํา มากกวา 1 อยา งในการสงั เกตเพอื่ อธบิ ายสิง่ ตา ง ๆ จากน้ันครถู ามตอไปวา “การจําแนกประเภท” เพื่อสอนวิธีสะกด คาํ ดวย 6.17การสังเกตโดยใชประสาทสัมผัสในกิจกรรมน้ี เราทําอยางไรจึง สามารถระบุไดวาสิ่งท่ีอยูในถุงคืออะไร (ใชขอมูลท่ีไดจากการสังเกต มาเทียบเคียงกับสิ่งท่ีเคยกระทําหรือมีความรูมากอน เชน เคยเห็น เคยไดกลน่ิ เคยกนิ ขา วโพดควั่ มากอน) 6.18 การใ ชคว ามรู หรือ ประส บกา รณท่ี เคย มีมาก อนม าอธิ บาย ขอมู ล เรยี กวา อะไร (การลงความเห็นจากขอมูล) 6.19นักเรียนคิดวาการลงความเห็นมีประโยชนอยางไร (ประสบการณที่ เราเคยกินขาวโพดคั่วมากอน ทําใหเราสามารถอธิบายหรือบอกได อยางแมนยําวาส่งิ ทอ่ี ยูในถงุ คอื ขาวโพดค่ัว) 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเชื่อมโยงสิ่งที่ไดเรียนรูจากกิจกรรมเพ่ือ ล ง ค ว า ม เ ห็ น ว า ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข อ มู ล เ ป น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่เราใชในการเรียนรูเก่ียวกับ สงิ่ ตาง ๆ รอบตัว 8. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพ่ิมคําถามใน การอภิปรายเพอื่ ใหไ ดแนวคําตอบทถ่ี ูกตอง 9. นักเรียนสรุปสิง่ ทไี่ ดเรียนรูในกิจกรรมน้ี จากน้นั นักเรียนอานสงิ่ ทไี่ ดเรียนรู และเปรยี บเทียบกับขอ สรปุ ของตนเอง 10.นักเรียนตั้งคําถามในอยากรูอีกวา จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาช้ันเรียนและใหนักเรียนชวยกันอภิปราย แนวคาํ ตอบ

37 คมู อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 11.ครูนําอภิปรายใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ในขั้นตอนใดบาง 12.นักเรียนอานรูอะไรในเรื่องน้ี ในหนังสือเรียน หนา 12 โดยครูและ นกั เรยี นรวมกนั อภิปรายเพ่ือนาํ ไปสูขอ สรปุ เกย่ี วกบั สิ่งทไี่ ดเรียนรูในเร่ืองน้ี จากน้ันครูกระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเน้ือเร่ือง ดังนี้ “นอกจากการสังเกตและการลงความเห็นจากขอมูลแลว ยังมีทักษะอ่ืน อีกหรือไมท่ีนักวิทยาศาสตรใชในการหาความรู” ครูใหนักเรียนลองตอบ คําถามตามท่ีตนเองคิด เชน การจําแนกประเภท การสรางแบบจําลอง ท้ังนี้นักเรียนอาจมีคําตอบที่แตกตางจากน้ี ครูยังไมตองเฉลยคําตอบแต บอกนักเรียนวายังมีทักษะอยางอื่นอีกท่ีนักวิทยาศาสตรใชในการหา ความรู เราจะไดเ รยี นรใู นเร่ืองตอ ๆ ไป

คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 38 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม

39 คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1    ขาวอมเหลือง มีเสยี งดัง… มีกลนิ่ ...  มรี ส... กลม แขง็ กดแลว แตก ผวิ ไมเ รยี บ ตอบตาม ตอบตาม ตอบตาม ตอบตาม ตอบตาม ความคดิ ของ ความคิดของ ความคิดของ ความคิดของ ความคดิ ของ นกั เรยี น นักเรียน นักเรียน นักเรยี น นักเรยี น ขา วโพดคว่ั

คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 40    

41 คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1  ประสบการณต างกัน การมองดู ประสบการณ การสังเกต การลงความเห็น

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 42 คาํ ถามของนกั เรียนท่ตี ้ังตามความอยากรูของตนเอง

43 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรียนรขู องนักเรยี นทําได ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความรเู ดิมจากการอภปิ รายในชนั้ เรยี น 2. ประเมินการเรยี นรูจากคําตอบของนักเรยี นระหวางการจดั การเรยี นรแู ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทาํ กจิ กรรมที่ 2 การสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอ มูลทําไดอ ยางไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช รหัส ส่งิ ทป่ี ระเมิน ระดบั คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอ มลู ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน

คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 44 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเกณฑก ารประเมนิ ดงั น้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) 1. การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถบรรยาย สามารถบรรยายรายละเอียด ไ ม ส า ม า ร ถ บ ร ร ย า ย ร า ย ล ะ เ อี ย ด ที่ รายละเอยี ดของสิ่งทีส่ ังเกต ดวยการใชป ระสาทสัมผสั รายละเอียดของสิ่งที่สังเกต สั ง เ ก ต ไ ด ดวยการใชป ระสาทสมั ผัส โดยอาศยั การชแ้ี นะของครู ได แมว า จะไดรับคําแนะนํา ประกอบดวย โดยไมเ พิ่มความคิดเหน็ หรือผอู ืน่ จากครูหรอื ผอู น่ื - ตําแหนง ของ สวนที่ไม เหมือนกันในรูป - ลกั ษณะของ ขา วโพดควั่ 8.การลงความเห็น การลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ จาก ไมส ามารถสามารถลง จากขอมูล เกี่ยวกับสิง่ ท่ีอยใู น ขอมลู เก่ียวกับส่งิ ท่ีอยูใ นถงุ ขอ มูลเกี่ยวกบั ส่งิ ท่ีอยใู นถุง ความเห็นจากขอมลู ถุงปรศิ นา ปรศิ นาไดด ว ยตนเอง ปริศนาได โดยอาศยั การ เกย่ี วกับสง่ิ ท่ีอยใู นถุง ชีแ้ นะของครหู รือผูอ่นื ปรศิ นาได แมว า จะไดร บั คําแนะนําจากครูหรือผูอ ่ืน

45 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเกณฑการประเมนิ ดังนี้ ทักษะแหง รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษที่ 21 สามารถนาํ เสนอผลการลง พอใช (2) ไมส ามารถการนาํ เสนอ C4 การสือ่ สาร การนําเสนอผลการ ความเหน็ จากขอมลู ผลการลงความเหน็ จาก ลงความเห็นจาก เกีย่ วกบั ส่ิงท่ีอยูในถุง สามารถนาํ เสนอผลการลง ขอ มลู เกีย่ วกบั สิ่งที่อยูใน C5 ความ ขอ มูลเก่ยี วกบั สิ่งท่ี ปริศนา ไดอยางถูกตอง ความเห็นจากขอมลู เก่ยี วกับ ถุงปริศนาได รว มมอื อยูในถงุ ปรศิ นา ครบถวน สิง่ ท่อี ยใู นถงุ ปริศนา ไดอยาง มสี วนรวมในการสงั เกตรปู ถกู ตอง แตไมค รบถวน ไมมีสว นรว ม การมีสว นรว ม และการสังเกตสิง่ ท่ีอยใู นถุง ในการสงั เกตรปู และการ ในการสงั เกตรปู ปริศนาตั้งแตเ ริ่มตน จน มีสวนรว มในการสังเกตรปู สงั เกตส่งิ ท่ีอยูในถุง และการสังเกต สาํ เรจ็ ลุลว ง หรือการสงั เกตสิ่งท่ีอยใู นถุง ปริศนา สงั เกตสงิ่ ท่ีอยใู นถุง ปริศนาเปน บางขณะ ปรศิ นา

คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 46 เรื่องที่ 3 การจําแนกประเภท ในเรื่องนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการจําแนก ประเภทสิ่งของ โดยสังเกตและจําแนกส่ิงของตามลักษณะ ท่ีเหมือนกัน อธิบายความหมายและประโยชนของการ จาํ แนก จุดประสงคก ารเรยี นรู 1. สังเกต อภปิ ราย อธิบายความหมายและประโยชน ของการจาํ แนกประเภท 2. สังเกตและจาํ แนกสิ่งของตามลักษณะท่เี หมือนกนั เวลา 2 ชั่วโมง วัสดุ อุปกรณสาํ หรบั ทํากจิ กรรม สอื่ การเรยี นรแู ละแหลงเรียนรู กระดมุ แบบตา ง ๆ 1. หนงั สอื เรียน ป.1 เลม 1 หนา 13-16 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 16-19

47 คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ในการตรวจสอบความรู ครู เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ แนวการจัดการเรียนรู (60 นาที) ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง ขน้ั ตรวจสอบความรู (20 นาที) จากการอานเนอ้ื เรอ่ื ง 1. ครูเร่ิมตนการสอนโดยเขียนคําวา การจําแนกประเภท บนกระดาน จากนั้นใหนักเรียนอานตามครู จากน้ัน ชักชวนนักเรียนอภิปรายเพ่ือ ตรวจสอบความรเู ดมิ ของนกั เรยี น โดยใชคําถามดังนี้ 1.1 การจําแนกประเภทหมายถึงอะไร (นักเรียนตอบไดตามความคิด ของตนเอง เชน การจัดส่ิงตาง ๆ ออกเปนกลุมตามลักษณะที่ เหมอื นหรอื แตกตา งกัน) 1.2 การจําแนกประเภทส่ิงของทําไดอยางไรบาง (นักเรียนตอบไดตาม ความคิดของตนเอง เชน ส่ิงของประเภทเดียวกันจัดรวมไว ดวยกนั ) 1.3 การจําแนกประเภทมีประโยชนหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบได ตามความคิดของตนเอง เชน หองเปน ระเบียบ หาของไดงา ย) 1.4 ถา เราไมมีการจําแนกประเภทของสิ่งของจะเปนอยางไร (นักเรียน ตอบไดต ามความคดิ ของตนเอง เชน หอ งอาจไมเ ปนระเบยี บ) ครูเชื่อมโยงสูการเรียนเรื่องการจําแนกประเภท จากน้ันใหนักเรียน พิจารณารูปในหนังสือเรียน หนา 13 แลวชวนนักเรียนสนทนา เก่ียวกับรูปหองนอนวาเปนอยางไร ครูอาจใหนักเรียนมองหาเสื้อหรือ กางเกงที่มีลักษณะบางอยาง เชน เสื้อสีฟาปกสีน้ําเงิน จากในภาพ แลว ถามวาหาพบหรอื ไม และมองหางา ยหรือยาก ข้ันฝก ทกั ษะจากการอาน (40 นาที) 2. ครูใหนักเรยี นอานชอื่ เร่ือง และคําถามในคิดกอนอาน ในหนังสือเรียน หนา 13 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพื่อหาแนวคําตอบ ครูบันทึก คําตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใชเปรียบเทียบคําตอบหลัง การอา นเนอ้ื เรอ่ื ง 3. นักเรียนอานคําในคําสําคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และอาจ ใหนักเรียนอธิบายความหมายตามความเขาใจ หากนักเรียนยัง

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 48 อานไมได ใหครูสอนวิธีสะกดคํา ครูอาจเขียนคําศัพทและคําอาน บนกระดาน ดังน้ี การจําแนกประเภท อานวา กาน-จํา-แนก-ประ-เพด 4. ครูชวนนักเรียนอานเน้ือเร่ือง ตามวิธีการอานท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนกั เรยี น จากน้ันรวมกันอภิปรายใจความสําคัญตาม แนวคาํ ถามดงั น้ี 4.1. นอกจากเสื้อผาแลว ในแตละวันนักเรียนใชสิ่งของอ่ืนอีกหรือไม อะไรบาง (นกั เรยี นตอบไดตามประสบการณข องตนเอง) 4.2. ถาวางของปะปนกัน จะเลือกหยิบของที่เราตองการ ไดงายหรือ ยากเพราะเหตุใด (นกั เรยี นตอบไดตามความเขา ใจของตนเอง) 4.3. จากเร่ืองท่ีอาน นักเรียนคิดวาการจําแนกประเภทหมายถึงอะไร (การจัดส่ิงของตาง ๆ ออกเปนกลุม ตามความเหมือนหรือความ แตกตางกนั ) 4.4. เราจําแนกประเภทของสิ่งของไดอยางไรบาง (ทําไดโดยการแยก ส่งิ ของออกเปนพวก ๆ ตามลักษณะการใชงาน หรือนักเรียนอาจ ตอบวาตามลกั ษณะทีเ่ หมอื นกันของส่ิงของ เชน สี ขนาด รปู รา ง) 4.5. การจําแนกประเภทมีประโยชนอยางไรบาง (หยิบก็งาย หายก็รู ดูก็งามตา หรือสามารถหยิบสิ่งของมาใชไดงาย เกิดความเปน ระเบยี บ เรียบรอย สบายตา) ขั้นสรปุ จากการอา น (10 นาที) 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปจากเรื่องท่ีอานวา การจาํ แนกประเภท คอื การจดั ส่ิงของตาง ๆ ออกเปนกลุม ตามความ เหมือนหรือความแตกตางกัน หรือตามลักษณะการใชงานซึ่งมี ประโยชนทําใหหยิบส่ิงของมาใชไดงาย เกิดความเปนระเบียบ เรียบรอย 6. นกั เรียนตอบคําถามจากเร่อื งทีอ่ านในรูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 16

49 คมู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 การเตรียมตวั ลว งหนา สาํ หรับครู เพ่ือจัดการเรยี นรูในครง้ั ถัดไป 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน ในรูหรือยังกับคําตอบท่ีเคยตอบและบันทึกไวในคิดกอนอาน จากนั้น ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา ฝกเขียนคําวา การจําแนกประเภท ในเขียนเปน ในแบบบันทึก กิจกรรมท่ี 3 เร่ือง การจําแนกประเภท กิจกรรม หนา 16 ทําไดอยางไร โดยการสังเกตและจําแนก กระดุม ดังน้ัน กิจกรรมนี้ครูควรเตรียม 8. ครูชักชวนนักเรียนลองตอบคําถามทายเร่ืองที่อาน ดังนี้ การจําแนก กระดุมหลากหลายแบบ เพ่ือแจกใหแต ประเภททาํ ไดอ ยางไร ครูบันทกึ คําตอบของนักเรยี นบนกระดานโดยยัง ละกลมุ อยางนอ ยกลุมละ 10 เมด็ หรือให ไมเฉลยคําตอบแตช ักชวนใหนักเรียนไปหาคําตอบจากการทํากิจกรรม นักเรียนชว ยกันเตรียมกระดุมแบบตาง ๆ ตอไป มาจากท่ีบาน และทุกกลุมควรไดรับ ก ร ะ ดุ ม ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ห มื อ น กั น แ ล ะ มี จํานว นเทากัน เพ่ือส ะดวกในการ อภิปรายผลการจําแนกประเภทของ กระดุม

คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 50 แนวคําตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม เหมอื น แตกตา งกนั การจาํ แนกประเภท การจําแนกประเภท

51 คูม ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 กจิ กรรมที่ 3 จําแนกสิง่ ของไดอ ยา งไร กิจกรรมนน้ี กั เรียนจะไดจ ําแนกส่งิ ของ โดยการสังเกต สอื่ การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู และจําแนกประเภทสิ่งของตามลักษณะที่เหมือนหรือ แตกตา งกันของส่งิ ของ 1. หนังสอื เรียน ป.1 เลม 1 หนา 14-15 เวลา 1 ชว่ั โมง 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.1 เลม 1 หนา 17-19 จุดประสงคการเรยี นรู 3. ตวั อยา งวดี ทิ ัศนปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตรเร่ือง สังเกต และจําแนกประเภทสิ่งของตามลักษณะท่ี เหมือนหรือแตกตางกัน การจาํ แนกประเภททําไดอยา งไร วัสดุ อุปกรณสําหรับทํากจิ กรรม http://ipst.me/8118 สง่ิ ที่ครตู อ งเตรยี ม/กลุม กระดุมแบบตา ง ๆ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสังเกต S4 การจําแนกประเภท ทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความรวมมือ

คูม อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 52 แนวการจัดการเรยี นรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานท่ีไดจากการเรียนรูในการเรียนคร้ังที่ผานมา เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให เรอ่ื งการจําแนกประเภท โดยใชคาํ ถามดงั นี้ หาคําตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม 1.1 การจําแนกประเภทคืออะไร (การแยกส่ิงของออกเปนกลุมตาม ตา ง ๆ ในบทเรยี น้ี ลักษณะที่เหมือนกัน เชน มีสีเหมือนกัน มีรูปรางเหมือนกัน หรือใช งานไดเ หมือนกัน) 1.2 การจําแนกประเภทนํามาใชในชีวิตประจําวันไดหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง เชน การแยกประเภท ของเลน ของใช) 1.3 การจําแนกประเภททําไดอยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจ ของตนเอง) 2. นักเรียนเปดหนังสือเรียน หนา 14 อานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับส่ิงที่จะเรียน โดย อาจใชค ําถาม ดงั นี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเก่ียวกับเร่ืองอะไร (การจําแนก ประเภท) 2.2 นักเรียนจะไดเรียนเร่ืองน้ีดวยวิธีใด (การสังเกตและการจําแนก ประเภทของสงิ่ ของ) 2.3 เม่ือเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (จําแนกประเภทส่ิงของตาม ลักษณะท่เี หมือนหรือแตกตางกนั ) 3. นักเรียนอานทําอยางไร โดยครูอาจใชวิธีการอานท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเขาใจข้ันตอนการ ทาํ กิจกรรมทีละขน้ั โดยอาจนาํ อภิปรายตามแนวคาํ ถาม ดังน้ี 3.1 กิจกรรมนี้ สิ่งของทีน่ กั เรยี นตองจําแนกคืออะไร (กระดุม) 3.2 กอนการจําแนก นักเรียนตองทําอะไรบาง (สังเกตลักษณะของ กระดมุ แตละเมด็ ) 3.3 จําแนกกระดมุ โดยใชสิง่ ใด (ลักษณะของกระดมุ ที่สงั เกต) 3.4 เมื่อจําแนกเสร็จแลว นักเรียนตองทําอะไรบาง (นําเสนอผล การจาํ แนกใหเ พือ่ นกลมุ อ่ืนฟง ) 4. หลังจากนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมแลว ใหนักเรียนลงมือทํา กิจกรรม ดังน้ี 4.1 สังเกตลักษณะของกระดุมแตละเม็ดวามีลักษณะเหมือนกันและ แตกตา งกันอยางไร (S1)

53 คมู อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 4.2 เลือกลักษณะของกระดุมที่จะนํามาใชในการจัดกลุม เชน สี ขนาด รูปราง โดยครูใหนักเรียนแตละกลุมเลือกลักษณะของกระดุมท่ีจะ นํามาใชในการจําแนกที่แตกตางกัน และใชลักษณะเดียวกัน อยางนอ ยลักษณะละ 2 กลมุ 4.3 จําแนกหรือแยกกระดุมเปนกลุมตามลักษณะท่ีเลือกไว โดยให กระดุมที่มีลักษณะเหมือนกันอยูในกลุมเดียวกัน (S4) (C5) โดยครู อาจใหนักเรียน ติดกระดุมท่ีจําแนกแลวลงบนกระดาษ A4 จากน้ัน บนั ทึกผลการทํากจิ กรรมในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา 17 4.4 นําเสนอผลการจําแนกกระดุม และเปรียบเทียบกับกลุมอ่นื ๆ (C4) 5. หลังจากการนําเสนอของนักเรียน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผล การทํากิจกรรม โดยครูอาจใชคาํ ถาม ดังน้ี 5.1 จากกิจกรรมน้ี นักเรียนใชลักษณะใดในการจําแนกกระดุมออกเปน กลุม (นกั เรียนตอบไดตามผลการทาํ กิจกรรม) 5.2 กลุมใดใชลักษณะที่เหมือนกันในการจําแนกกระดุม (นักเรียนตอบ ไดต ามผลการทํากิจกรรม เชน กลุมท่ี 1และ 5 ใช สี ในการจําแนก กระดุม) 5.3 เม่ือใชลักษณะของกระดุมที่แตกตางกันในการจําแนกกระดุม กลุม ของกระดุมเปลีย่ นไปหรือไม อยา งไร (เปล่ยี นไป กลุมของกระดุมจะ เปลี่ยนไปตามลักษณะที่ใชจําแนก เชน กลุมที่ใชสีของกระดุมใน การจําแนก จะมีการแบงกลุมของกระดุมแตกตางกับกลุมท่ีใช ขนาดหรือรูปรา งของกระดุมในการแบงกลมุ ) 5.4 นักเรียนคิดวา การจําแนกกระดุมออกเปนกลุมมีประโยชนอยางไร บาง (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง เชน ชวยใหหยิบ กระดุมมาใชไ ดงา ยขน้ึ คน หากระดมุ ไดง ายข้ึน สามารถเลือกกระดุม ไปใชใหเหมาะสมไดงา ยขึน้ ) 6. ครูนําคําถามท่ีถามนักเรียนในตนช่ัวโมง มาอภิปรายอีกคร้ัง เพ่ือ ตรวจสอบความรูของนกั เรยี นหลงั การทํากจิ กรรม โดยใชค ําถามดงั นี้ 6.1 การจําแนกประเภทคืออะไร (คือการแยกส่ิงของออกเปนกลุมตาม ลักษณะที่เหมือนกัน เชน มีสีเหมือนกัน มีรูปรางเหมือนกัน หรือ ใชงานเหมอื นกนั ) 6.2 การจําแนกประเภทนํามาใชในชีวิตประจําวันไดหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง เชน การจัดตูเสื้อผา

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 54 แบงเส้ือผาออกเปนกลุมเสื้อ กางเกง หรือการจัดของใชในหองครัว แบงออกเปน กลุมจาน ชาม เปน ตน ) 6.3 นักเรียนสามารถจําแนกประเภทนักเรียนในหองไดก่ีกลุม และใช ลักษณะใดในการจําแนก (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ ตนเอง เชน จําแนกโดยใชเพศไดเปน 2 กลุม หรือจําแนก โดยใช สเี สอ้ื ของนักเรยี นไดเ ปน 2 กลมุ เปน ตน ) 7. นักเรียนรวมกันอภิปรายและตอบคําถามในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพิ่ม คาํ ถามในการอภิปรายเพ่ือใหไ ดแ นวคาํ ตอบท่ีถูกตอง 8. นักเรียนสรุปสิ่งท่ีไดเรียนรูในกิจกรรมน้ี โดยครูและนักเรียนรวมกัน เชื่อมโยงสิ่งที่ไดเรียนรูจากกิจกรรมเพื่อสรุปวา การจําแนกประเภท เปน การจดั กลุม ของสิ่งตาง ๆ โดยใชลักษณะทเี่ หมอื นหรือแตกตา งกัน ชวยให เราสามารถแยกส่ิงของที่มีลักษณะแตกตางกันออกจากกัน และจัดกลุม ส่ิงของนั้นใหมตามลักษณะท่ีเหมือนกันจากนั้นครูใหนักเรียนอานสิ่งที่ได เรยี นรู และเปรียบเทยี บกับขอสรุปของตนเอง 9. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกต้ังคําถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีสงสัยหรืออยากรู เพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา จากน้ันครูอาจสุมนักเรียน 2 -3 คน นําเสนอ คําถามของตนเองหนาชั้นเรียน และใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาํ ถามท่ีนาํ เสนอ 10.ครูนําอภิปรายใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในขั้นตอน ใดบา ง

55 คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม นักเรยี นตอบไดตามผลการทํากิจกรรม เชน ลกั ษณะของกระดุมที่ เลือกใชใ นการจดั กลุม คือ สี จดั กลุมกระดุมได 2 กลุม ดังนี้ กระดุมสเี ขียว 3 เม็ด สขี าว 4 เมด็ นกั เรยี นตอบไดตามผลการทํากจิ กรรม เชน ลักษณะอื่น ๆ ทีส่ ามารถ นํามาใชใ นการจดั กลมุ กระดุม คอื ขนาด รูปราง จํานวนรูตรงกลางเม็ด กระดมุ

คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 56 คําตอบตามผลการทาํ กิจกรรมของนกั เรยี น เชน  พนื้ ผวิ หรือจาํ นวนรู  ลกั ษณะ สี ขนาด รปู รา ง

57 คมู ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 จดั กลุม ความเหมือน คาํ ถามของนกั เรียนที่ต้ังตามความอยากรขู องตนเอง

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 58 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรูข องนักเรยี นทําได ดงั นี้ 1. ประเมินความรูเดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรยี น 2. ประเมินการเรียนรจู ากคําตอบของนกั เรียนระหวา งการจัดการเรยี นรูและจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทาํ กิจกรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทาํ กิจกรรมที่ 3 จําแนกสงิ่ ของไดอยา งไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช รหัส สิ่งท่ปี ระเมิน ระดบั คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S4 การจําแนกประเภท ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C4 การส่อื สาร C5 ความรวมมอื รวมคะแนน

59 คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเกณฑก ารประเมิน ดังน้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S1 การสงั เกต การบรรยาย สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชป ระสาทสมั ผสั ไมสามารถใชป ระสาท รายละเอยี ด เกบ็ รายละเอยี ดของขอมูล เก็บรายละเอียดของขอ มูล สัมผัสเกบ็ รายละเอยี ดของ เกยี่ วกบั ลกั ษณะ เก่ียวกบั ลักษณะของ เก่ียวกับลกั ษณะของกระดุม ขอมูลเกีย่ วกับลักษณะของ ของกระดุมท่ี กระดมุ ท่สี งั เกตได เชน สี ทสี่ ังเกตได เชน สี ขนาด กระดมุ ท่สี ังเกตได เชน สี สงั เกตได เชน สี ขนาด จํานวนรู และรปู ราง จํานวนรู และรปู รางของ ขนาด จํานวนรู และรูปราง ขนาด จํานวนรู ของกระดุมไดดว ยตนเอง กระดุมได จากการช้แี นะของ ของกระดุมได แมว า จะได และรปู รางของ โดยไมเ พิ่มเติมความ ครูหรือผอู ืน่ หรือมีการ รับคําชแี้ นะจากครหู รือ กระดมุ คิดเหน็ เพิม่ เติมความคิดเห็น ผูอ่ืน S4 การจําแนก การจําแนกกระดุม สามารถจดั กลมุ ของ สามารถจัดกลมุ ของกระดุม ไมสามารถจัดกลุม ของ ประเภท โดยใชล กั ษณะท่ี กระดุมแบบตา ง ๆ โดยใช แบบตา ง ๆ โดยใชลกั ษณะท่ี กระดมุ แบบตาง ๆ โดยใช เหมือนหรอื ลกั ษณะท่ีเหมือนหรือ เหมอื นหรือแตกตางกันของ ลกั ษณะท่ีเหมือนหรอื แตกตา งกันของ แตกตา งกันของกระดุมใน กระดมุ ในการจาํ แนกไดอยาง แตกตางกนั ของกระดุมใน กระดมุ ในการ การจําแนกไดอยางถูกตอง ถกู ตองจากการช้แี นะของครู การจําแนกได แมว า จะ จาํ แนก ดว ยตนเอง หรอื ผูอ ่นื ไดร ับคําแนะนําจากครูหรือ ผูอ่ืน

คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 60 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดงั นี้ ทักษะแหง รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 สามารถนาํ เสนอขอ มูล พอใช (2) ไมส ามารถนําเสนอขอมลู จาก C4 การสอ่ื สาร นําเสนอขอมลู จาก จากการอภปิ ราย การอภปิ รายลักษณะของ การอภปิ ราย ลกั ษณะของกระดมุ เพ่อื สามารถนําเสนอขอมูลจาก กระดมุ เพื่อจําแนกกระดุม C5 ความ ลกั ษณะของกระดุม จาํ แนกกระดุมออกเปน การอภิปรายลกั ษณะของ ออกเปนกลุม เชน โดยใช รว มมอื เพ่ือจําแนกกระดุม กลมุ เชน โดยใชคําพดู กระดุม เพื่อจาํ แนกกระดมุ คําพูด หรือเขยี นบรรยาย ออกเปน กลุม หรอื เขยี นบรรยาย ออกเปน กลุม เชน โดยใช เพ่อื ใหผูอน่ื เขา ใจได แมวาจะ เพ่อื ใหผ ูอ ืน่ เขาใจไดดว ย คําพดู หรอื เขียนบรรยาย ไดรบั คาํ ชแ้ี นะจากครูหรือ ทาํ งานรวมกบั ผูอ่ืน ตนเอง เพ่ือใหผูอ ่นื เขาใจได โดย ผอู ื่น ในการทาํ กิจกรรม สามารถทํางานรวมกับ อาศยั การชีแ้ นะจากครหู รือ ไมสามารถทํางานรวมกบั และการรว มกัน ผูอื่นในการทํากิจกรรม ผูอ่นื ผอู ื่นไดต ลอดเวลาที่ทํา อภิปรายเก่ียวกบั และการรวมกันอภิปราย สามารถทาํ งานรวมกับผูอื่น กจิ กรรม การจําแนกกระดุม เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จํ า แ น ก ในการทาํ กิจกรรม และการ แบบตา ง ๆ รวมท้งั ก ร ะ ดุ ม แ บ บ ต า ง ๆ รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ยอมรับความ รว ม ทั้งย อม รับค ว า ม ก า ร จํ า แ น ก ก ร ะ ดุ ม แ บ บ คดิ เห็นของผูอ่ืน คิดเห็นของผูอื่นต้ังแต ตาง ๆ รวมท้ังยอมรับความ เร่มิ ตนจนสาํ เร็จ คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู อื่ น บ า ง ชว งเวลาที่ทาํ กิจกรรม

61 คูมอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 เรอ่ื งที่ 4 การพยากรณ ในเรื่องนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเก่ียวกับการพยากรณ โดยการสังเกตและลงความเห็นจากขอมูล เพื่อพยากรณ ส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนและอธิบายความหมายและประโยชนของ การพยากรณ จดุ ประสงคการเรียนรู 1. สังเกต อภปิ ราย และอธบิ ายความหมายและ ประโยชนของการพยากรณ 2. สังเกตและพยากรณส ิ่งที่จะเกิดขึน้ จากรปู ท่นี ําเสนอ เวลา 2 ชว่ั โมง วสั ดุ อุปกรณส าํ หรบั ทํากจิ กรรม สอ่ื การเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู หนา 17-20 หนา 20-22 - 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 1 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.1 เลม 1

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 62 แนวการจดั การเรยี นรู (60 นาที) ขัน้ ตรวจสอบความรู (10 นาที) 1. ครเู ร่มิ ตน การสอนโดยเขยี นคาํ วา การพยากรณ บนกระดานจากน้ัน ครู ในการตรวจสอบความรู ครู ตรวจสอบความรเู ดมิ ของนกั เรยี นโดยชกั ชวนนกั เรียนอภปิ ราย ดังน้ี เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 นักเรียนเคยไดยินคําวาการพยากรณหรือไม ไดยินจากที่ใดบาง ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน (นกั เรียนตอบไดตามความเขา ใจของตนเอง เชน พยากรณอากาศ) ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 1.2 การพยากรณเก่ียวของกับนักเรียนหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบ จากการอานเน้อื เรอ่ื ง ไดต ามความเขาใจของตนเอง เชน เกีย่ วขอ ง โดยใชขอมูลจากการ พยากรณอ ากาศเพอ่ื วางแผนการเดินทาง) เม่ือนกั เรียนตอบคาํ ถามแลว ครูเช่ือมโยงสูการเรียนเรื่อง การพยากรณ โดยกลา ววา นักเรียนอาจหาคาํ ตอบไดเ มอื่ อา นเรอ่ื ง การพยากรณ ข้นั ฝกทักษะจากการอา น (40 นาที) 2. ครใู หน ักเรยี นอา นช่ือเร่อื ง และคาํ ถามในคิดกอนอาน ในหนังสือเรียน หนา 17 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพ่ือหาแนวคําตอบ ครูบันทึก คําตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใชเปรียบเทียบคําตอบหลัง การอา นเน้อื เรื่อง 3. นักเรียนอานคําในคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และอาจ ใหนักเรียนอธิบายความหมายตามความเขาใจ หากนักเรียนยังอาน ไมได ใหครูสอนวิธีสะกดคํา ครูอาจเขียนคําศัพทและคําอานบน กระดาน ดังนี้ การพยากรณ อา นวา พะ-ยา-กอน 4. ครูใหนักเรียนอานเน้ือเร่ืองตามวิธีการอานท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนกั เรียน จากน้ันรวมกันอภิปรายใจความสําคัญตาม แนวคาํ ถาม ดงั นี้ 4.1. จากเน้ือเรอื่ งท่อี าน ขอมูลท่ีไดจากการสังเกตมีอะไรบาง (ทองฟา มดื และมเี มฆหนาปกคลมุ )

63 คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 4.2. เหตใุ ดเดก็ ในรปู จึงตัดสินใจเลนอยูในบานแทนที่จะออกไปเลนนอก บาน (จากขอมูลเม่ือวันกอนที่พบวา เม่ือทองฟามืด และมีเมฆหนา ปกคลุม ฝนจะตก ดังนั้น เด็กจึงตัดสินใจเลนอยูในบานแทนท่ีจะ ออกไปเลนนอกบา น) 4.3. เด็กในรูปใชการพยากรณหรือไม เพราะเหตุใด (ใชการพยากรณ เพราะ มีการใชขอมูลท่ีเคยพบมากอน มาพยากรณหรือ คาดการณส ่ิงท่จี ะเกดิ ตอ ไปได) ขนั้ สรปุ จากการอา น (10 นาที) 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปจากเรื่องท่ีอานวา การพยากรณเปนการใชขอมูลที่เคยพบมากอนมาใชพยากรณหรือ คาดการณสิง่ ท่ีจะเกดิ ข้นึ 6. นักเรยี นตอบคําถามจากเรอ่ื งที่อานในรูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 20 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน ในรูหรือยงั กบั คําตอบทเ่ี คยตอบและบันทึกไวในคดิ กอนอา น 8. ครชู กั ชวนนักเรียนลองตอบคําถามทายเร่ืองท่ีอาน ดังน้ี การพยากรณ ทําไดอ ยางไร ครูบันทกึ คาํ ตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไมเฉลย คําตอบแตช ักชวนใหนกั เรยี นไปหาคาํ ตอบจากการทํากจิ กรรมตอไป