Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:20:10

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 ส่งิ ตาง ๆ รอบตวั เรา 64 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม การสํารวจความรูกอนเรยี น นักเรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผิดก็ไดขึ้นอยกู บั ความรเู ดิมของนักเรยี น แตเ มื่อเรยี นจบบทเรียนแลว ใหนกั เรียนกลบั มาตรวจสอบคําตอบอกี ครั้งและแกไขใหถูกตอง ดังตัวอยาง เกิดการสนั่ เกดิ การสน่ั เกดิ การสั่น สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

65 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 ส่ิงตา ง ๆ รอบตวั เรา  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 ส่งิ ตา ง ๆ รอบตัวเรา 66 เรือ่ งท่ี 1 เสียงรอบตัวเรา ในเรือ่ งน้นี ักเรยี นจะไดเรียนรเู ก่ียวกับการเกิดเสียง และทศิ ทางการเคลื่อนทข่ี องเสียงจากแหลงกําเนิดเสยี ง จุดประสงคก ารเรียนรู 1. อธิบายและบอกประเภทของแหลง กําเนิดเสยี ง 2. สังเกตและบรรยายการเกดิ เสียงของวตั ถตุ า ง ๆ 3. สังเกตและบรรยายทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียง จากแหลง กาํ เนิดเสียง 4. สรางแบบจําลองและอธิบายทิศทางการเคลื่อนท่ี ของเสยี งจากแหลง กาํ เนิดเสยี ง เวลา 5 ชว่ั โมง วสั ดุ อุปกรณสําหรับทํากจิ กรรม บัตรภาพแหลงกําเนิดเสียง สอมเสียงพรอมไมเคาะ ไหมพรมหรือเชือก แหลงกําเนิดเสียงอ่ืน ๆ เชน เคร่ือง ดนตรตี า ง ๆ สือ่ การเรียนรแู ละแหลง เรียนรู หนา 26-32 หนา 28-39 1. หนังสอื เรียน ป.1 เลม 2 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 2 สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

67 คมู อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั เรา แนวการจดั การเรียนรู (60 นาที) ขน้ั ตรวจสอบความรู (10 นาท)ี 1. นกั เรียนทุกคนหลบั ตาและฟงเสยี งท่ีครูจะทาํ ขึน้ เชน เคาะแกว เปดเสียง ในการตรวจสอบความรู ครู นาฬิกาปลุก ทําใหลูกโปงแตก ส่ันกระด่ิง ทําของตกลงบนโตะ จากน้ัน เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ สนทนาเกยี่ วกบั เสียงทไี่ ดย ินโดยใชคาํ ถาม ดังน้ี ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน 1.1 เสียงตาง ๆ ที่ไดยินนั้นเกิดจากวัตถุใด (นักเรียนตอบตามความ ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง เขาใจของตนเอง เชน เสียงเคาะแกวเกิดจากการท่ีไมไปกระทบกับ จากการอานเนอ้ื เรื่อง แกว ) 1.2 เสียงท่ีไดยินเกิดข้ึนไดอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของ ตนเอง เชน เกิดจากการเคาะ ตี สั่น) ขนั้ ฝก ทกั ษะจากการอา น (30 นาท)ี 2. นักเรยี นอานช่ือเรือ่ ง และคําถามในคดิ กอนอาน ในหนังสือเรียนหนา 26 จากนั้นตอบคําถามตามความเขาใจของตนเอง ครูบันทึกคําตอบของ นักเรียนบนกระดานเพ่ือใชเปรียบเทียบกับคําตอบหลังจากการอานเนื้อ เรื่อง 3. ครูใหนักเรียนอานคําศัพทในคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียนอานไมได ครูควรสอนการอานใหถูกตอง) ครูชักชวนให นกั เรยี นหาความหมายของคาํ ตา ง ๆ จากเนอ้ื เรอื่ งที่อา น 4. นักเรียนอานเน้ือเร่ืองตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถของ นกั เรียน จากน้นั รวมกันอภปิ รายใจความสาํ คญั ตามแนวคาํ ถาม ดังนี้ 4.1 นักเรียนไดยินเสียงอะไรบางตั้งแตตื่นนอนตอนเชา (เสียงนาฬิกา ปลกุ เสียงเรียกของแม เสยี งนกรอง เสยี งกระดง่ิ ของรถขายขนม) 4.2 แหลงกาํ เนดิ เสียงคืออะไร (สง่ิ ทที่ าํ ใหเ กิดเสียง) 4.3 ประเภทของแหลงกําเนิดเสียงมีอะไรบาง (แหลงกําเนิดเสียงตาม ธรรมชาตแิ ละแหลงกาํ เนิดเสยี งท่มี นุษยส รางขึน้ )  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 สิ่งตาง ๆ รอบตัวเรา 68 ข้ันสรุปจากการอา น (60 นาท)ี การเตรียมตัวลวงหนา สาํ หรับครู เพอื่ จดั การเรียนรใู นครง้ั ถัดไป 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปจากเรื่องที่อานวา เสียง ร อ บ ตั ว เ ร า มี ม า ก ม า ย โ ด ย ส่ิ ง ท่ี ทํ า ใ ห เ กิ ด เ สี ย ง เ รี ย ก ว า ในครง้ั ถดั ไป นักเรยี นจะไดท าํ กิจกรรมท่ี แหลงกําเนิดเสียง ซ่ึงมีทั้งแหลงกําเนิดเสียงตามธรรมชาติและ 1.1 เสียงเกิดไดอยางไร ผานการสังเกต แหลงกาํ เนดิ เสยี งท่มี นุษยสรา งข้ึน โดยครูตองเตรียมอุปกรณลวงหนา คือ สอมเสียงพรอมไมเคาะ เพ่ือใหนักเรียน 6. นักเรียนตอบคําถามจากเรื่องที่อานในรูหรือยัง ในแบบบันทึก สังเกตการเกิดเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง กิจกรรม หนา 28 และครูอาจเตรียมภาพแหลงกําเนิดเสียง อื่น ๆ เชน ภาพนกรอง ภาพตนไผลูลม ฟา 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน แลบ นํ้าตก ฉิ่ง กลอง รถจักรยานยนต ในรูหรือยังกับคําตอบที่เคยตอบและบันทึกไวในคิดกอนอาน จากน้ัน วิทยุสําหรับใชในการอภิปรายเพ่ือนําเขาสู ใหนักเรียนฝกเขียนคําวา แหลงกําเนิดเสียง ในเขียนเปน ในแบบ บทเรยี น บันทึกกจิ กรรมหนา 28 8. ครูเนนย้ํากับนักเรียนเก่ียวกับคําถามทายเร่ืองที่อานวาเสียงตาง ๆ เกิดข้ึนไดอยางไร และตองนั่งท่ีตําแหนงใดจึงจะไดยินเสียงดนตรี ครู บันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบแต ชักชวนใหน กั เรยี นไปหาคําตอบจากการทาํ กจิ กรรมตอ ไป สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

69 คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สิ่งตา ง ๆ รอบตัวเรา แนวคาํ ตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม สิง่ ท่ีทําใหเ กิดเสียง แหลง กําเนิดเสียง แหลงกาํ เนดิ เสยี ง  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สงิ่ ตาง ๆ รอบตวั เรา 70 กิจกรรมท่ี 1.1 เสยี งเกิดไดอยา งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตวาเสียงเกิดจากการส่ัน สื่อการเรยี นรูและแหลง เรียนรู ของวัตถุที่เปนแหลงกําเนิดเสียง และบรรยายการเกิด เสยี งของวตั ถุตา ง ๆ 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 2 หนา 27-28 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 2 หนา 29-31 เวลา 2 ชว่ั โมง 3. ตวั อยา งวีดิทัศนปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตรเรื่องเสยี ง จดุ ประสงคก ารเรียนรู เกิดข้นึ ไดอยางไร http://ipst.me/8045 สงั เกตและบรรยายการเกิดเสียงของวัตถตุ าง ๆ วสั ดุ อุปกรณส ําหรบั ทํากจิ กรรม ส่งิ ที่ครูตอ งเตรียม/กลมุ สอ มเสียงพรอ มไมเคาะ 1 ชุด ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S8 การลงความเหน็ จากขอ มลู ทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว มมือ สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

71 คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 ส่งิ ตา ง ๆ รอบตัวเรา แนวการจัดการเรียนรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียน โดยติดบัตรภาพแหลงกําเนิดเสียง เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให ตาง ๆ บนกระดาน มีทงั้ แหลง กาํ เนดิ เสียงตามธรรมชาติและแหลงกําเนิด หาคําตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม เสียงที่มนุษยส รางขึ้น (นํ้าตก ฉ่ิง กอไผลูตามลม กลอง นก ตา ง ๆ ในบทเรียน้ี รถจักรยานยนต ฟาแลบ วิทยุ) จากน้นั สอบถามตามแนวคาํ ตอบตอ ไปนี้ 1.1 สิ่งท่ีปรากฏในบัตรภาพน้ันสามารถทําใหเกิดเสียงไดหรือไม อยา งไร (ได เชน นกรอ งทําใหเกิดเสียง การเสียดสีกันของตนไผทํา ใหเ กิดเสียง ตกี ลองทําใหเกดิ เสียง) 1.2 สิ่งท่ที ําใหเ กิดเสยี ง เรียกอกี อยางวา อะไร (แหลงกําเนดิ เสยี ง) 1.3 นักเรียนสามารถจัดกลุมส่ิงที่ปรากฏในภาพไดก่ีกลุม อะไรบาง (2 กลมุ คอื แหลง กาํ เนิดเสียงตามธรรมชาติ และแหลงกําเนิดเสียง ทม่ี นุษยส รา งขนึ้ ) 1.4 วัตถทุ ีเ่ ปน แหลง กําเนิดเสยี ง สามารถทาํ ใหเกิดเสียงไดอยางไร และ ขณะเกิดเสียงน้ัน แหลงกําเนิดเสียงเปนอยางไร (นักเรียนตอบ คําถามตามความเขาใจของตนเอง) 2. นักเรียน อานช่ือกิจกรรม และทําเปนคิดเปน ในหนังสือเรียน หนา 27 จากนัน้ ครตู รวจสอบความเขาใจของนกั เรยี น โดยอาจใชคําถาม ดังน้ี 2.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนเกี่ยวกับเร่ืองอะไร (การเกิดเสียงของ วัตถตุ าง ๆ) 2.2 นักเรียนจะไดเรียนเรอ่ื งนีด้ วยวธิ ีใด (การสังเกต) 2.3 เมื่อเรียนแลว นักเรียนจะทําอะไรได (บรรยายการเกิดเสียงของ วัตถตุ าง ๆ) 3. นักเรียนบันทึกจุดประสงคของกิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 29 4. นักเรียนอาน ส่ิงท่ีตองใช ในกิจกรรมน้ีวามีวัสดุอุปกรณอะไรบาง ครูยัง ไมแ จกอุปกรณแกนกั เรียน แตนาํ มาแสดงเพ่ือใหนักเรียนบอกช่ืออุปกรณ และวิธีใช ในกรณีที่นักเรียนไมรูจัก ครูควรบอกชนิดของวัสดุน้ันและ แนะนําวิธีใชอุปกรณน้ัน ๆ ดวย เชน ในกิจกรรมนี้ ครูควรแนะนําวิธีใช สอมเสียง โดยใหใ ชบ ริเวณท่ีเปน ยางของไมเคาะ เคาะทขี่ าสอ มเสียง 5. นักเรียนอาน ทําอยางไร ในหนังสือเรียน หนา 27 โดยใชวิธีการอานที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจ  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สงิ่ ตาง ๆ รอบตัวเรา 72 เก่ียวกับขั้นตอนการทํากิจกรรมทีละข้ัน โดยอาจนําอภิปรายตามแนว คาํ ถาม ดงั นี้ 5.1 เม่อื ใชมือจับลําคอของตนเอง นักเรียนจะตองทําอะไร (สังเกตและ เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงที่ลําคอขณะออกเสียงและไมออก เสียง) 5.2 เมื่อใชไมเคาะสอมเสียง และนําสอมเสียงไวขางหูแลว นักเรียน จะตองทําอะไรตอไป (ใชมือแตะขาสอมเสียงเบา ๆ ขณะท่ียังมี เสียง แลว สงั เกตสง่ิ ที่เกดิ ขึน้ ) ครูอาจซักซอมความเขาใจใหตรงกันสําหรับการแตะสอมเสียง ซ่ึงครู อาจสาธิตใหด ูหรืออาจใหนกั เรียนสาธิตวิธกี ารแตะสอ มเสียงก็ได 5.3 นักเรียนจะตองทําอะไรตอไปหลังจากเคาะสอมเสียงอีกครั้ง แลว นําสอมเสียงไวขางหู (จับขาสอมเสียงใหสอมเสียงหยุดสั่นทันที แลวสงั เกตสง่ิ ท่เี กิดขึ้น) 6. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว นักเรียนจะไดปฏิบัติ ตามขนั้ ตอน ดังน้ี 6.1 สงั เกตการเปลี่ยนแปลงของลําคอตนเองขณะออกเสียงและไมออก เสียง บันทึกผล (S1) 6.2 สังเกตส่ิงที่เกิดข้ึนเม่ือใชไมเคาะสอมเสียงใหเกิดเสียงแลวนําสอม เสยี งไวข างหู จากนั้นใชมือแตะขาสอ มเสียงเบา ๆ บันทกึ ผล (S1) 6.3 สังเกตสิ่งท่ีเกิดข้ึนเม่ือใชไมเคาะสอมเสียงใหเกิดเสียง อีกคร้ัง จากนั้นจบั ขาสอมเสียงใหส อ มเสยี งหยุดส่นั ทันที บนั ทกึ ผล (S1) 6.4 นักเรียนนําเสนอผลการสังเกตและรวมกันอภิปรายส่ิงท่ีเกิดขึ้น จากนั้นรวมกันลงความเห็นจากขอมูลท่ีไดจากการทํากิจกรรม เกย่ี วกับการเกิดเสยี ง (S8) (C2, C4, C5) 7. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใชคําถาม ดังตอ ไปนี้ 7.1 เมื่อใชมือสัมผัสบริเวณลําคอของตนเองขณะออกเสียงและไมออก เสียง นักเรียนสังเกตพบอะไร (ขณะออกเสียง ลําคอจะสั่นและมี เสยี ง แตข ณะที่ไมออกเสยี ง ลาํ คอจะไมส ่นั และไมเ กดิ เสยี ง) 7.2 เมื่อเคาะสอมเสียง แลวนําไปไวขางหู นักเรียนสังเกตพบอะไร (ไดยนิ เสียง) สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

73 คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สิง่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา 7.3 เมื่อเคาะสอมเสียง แลวนําไปไวขางหู จากน้ันใชมือแตะขา การเตรียมตัวลว งหนาสําหรับครู เพอ่ื จดั การเรยี นรูในครง้ั ถัดไป สอมเสียงเบา ๆ นักเรียนสังเกตพบอะไร (ขาสอมเสียงสั่นและมี เสยี ง) ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํากิจกรรม ที่ 1.2 เสียงเคล่ือนที่ไปทิศทางใด โดยการ 7.4 เมือ่ เคาะสอมเสยี ง แลวนําไปไวขางหู จากนั้นใชมือจับขาสอมเสียง สังเกตทิศทางที่เสียงเคล่ือนท่ีไป ครูจะตอง เตรียมอุปกรณ คือ แหลงกําเนิดเสียงซึ่ง ใหหยุดสั่นทันที นักเรียนสังเกตพบอะไร (สอมเสียงหยุดสั่นและ อาจจะเปนสอมเสียงพรอมไมเคาะ หรือ ไมไ ดยนิ เสียง) เครื่องดนตรีอื่น ๆ โดยครูควรทดสอบวา แหลงกําเนิดเสียงท่ีจะนํามาใชทํากิจกรรม 7.5 จากกจิ กรรมนีแ้ หลง กําเนดิ เสยี งคอื อะไร (ลําคอ สอ มเสยี ง) นัน้ มีเสยี งดังเพียงพอที่จะใหนักเรียนสังเกต ไดหรือไมและในกรณีท่ีใชสอมเสียงเปน 7.6 แหลงกําเนิดเสียงท้ัง 2 ชนิด ที่ใชในกิจกรรมนี้มีการเปล่ียนแปลง แหลงกําเนิดเสียง หากเสียงไมดังเพียงพอ อยา งไรเม่อื เกิดเสยี ง (แหลง กาํ เนิดเสยี งจะเกิดการสนั่ ) ครูอาจเตรียมกลองกระดาษเปลาหรือโตะ สําหรบั ชวยขยายเสียงจากสอ มเสยี งดวย 8. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายลงความเห็นโดยเช่ือมโยงกับส่ิงท่ีได เรียนรูจากกจิ กรรมวา เสยี งเกิดจากการส่ันของแหลงกําเนิดเสียง โดยเม่ือ แหลง กําเนิดเสียงส่ันจะเกิดเสียง และเม่ือแหลงกําเนิดเสียงหยุดส่ัน ก็จะ ไมเ กดิ เสยี ง 9. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพ่ิมคําถามใน การอภปิ รายเพอ่ื ใหไดแ นวคาํ ตอบท่ถี ูกตอง 10. นักเรียนสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากน้ันนักเรียนอานสิ่งท่ีได เรยี นรู เพื่อเปรยี บเทยี บกบั ขอ สรปุ ของตนเอง 11. นักเรียนตั้งคําถามในอยากรูอีกวา จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาช้นั เรียน 12. ครูนําอภิปรายเพ่ือใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 ในข้นั ตอนใดบา ง 13. ครูอาจชักชวนนักเรียนรวมกันอภิปรายคําถามในชวนคิด ในหนังสือ เรียน หนา 28 วาทําไมหนังกลองจึงตองขึงใหตึง นอกจากน้ีครูอาจให นักเรียนรวมกันอภิปรายเลือกวัสดุสําหรับขึงกลอง ครูใหนักเรียนไป สบื คน ขอมูลเพอ่ื หาคําตอบ โดยใชเวลานอกชว่ั โมงเรยี น  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 ส่ิงตาง ๆ รอบตัวเรา 74 แนวคําตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม สังเกต บรรยาย ลาํ คอสนั่ ลําคอไมส น่ั ส่นั  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

75 คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 สิ่งตาง ๆ รอบตัวเรา ลําคอ สอมเสยี ง ส่ัน ไมส ่ัน สัน่ เสยี ง  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา 76 การสัน่ คําถามของนักเรยี นท่ีต้ังตามความอยากรขู องตนเอง ทาํ ใหเกิดการสั่นไดงา ย สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

77 คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สิ่งตาง ๆ รอบตวั เรา แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรียนรขู องนักเรียนทําได ดังน้ี 1. ประเมนิ ความรเู ดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรียน 2. ประเมนิ การเรยี นรูจากคําตอบของนกั เรียนระหวา งการจดั การเรยี นรูแ ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 จากการทาํ กจิ กรรมของนักเรียน การประเมนิ จากการทาํ กิจกรรมท่ี 1.1 เสยี งเกิดไดอยางไร ระดบั คะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี รหัส สง่ิ ที่ประเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอมลู ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C4 การสอื่ สาร C5 ความรวมมอื รวมคะแนน  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สิ่งตา ง ๆ รอบตัวเรา 78 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรงุ (1) S1 การสงั เกต บรรยาย สามารถใชป ระสาทสมั ผัสเก็บ สามารถใชประสาทสัมผัสเก็บ ไมสามารถบรรยาย ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ บ ร ร ย า ย ร า ย ล ะ เ อี ย ด ส่ิ ง ที่ S8 การลงความเห็น รายละเอียดที่ รายละเอยี ดและบรรยาย รายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นกับ เกิดข้ึนทั้งกับลําคอ จากขอมลู ลําคอหรือสอมเสียง โดยอาศัย ห รื อ ส อ ม เ สี ย ง ไ ด สงั เกตได รายละเอียดของสิ่งทเี่ กิดขนึ้ ท้ัง การช้แี นะจากครูหรือผอู ่นื แ ม ว า จ ะ ไ ด รั บ คํ า แ น ะ นํ า จ า ก ค รู ประกอบดวย กบั ลําคอและสอมเสยี งได โดย สามารถลงความเห็นไดว า เม่ือ หรอื ผูอนื่ แหลง กาํ เนิดเสียงสั่น จะเกิด - ส่ิงที่เกิดข้ึนกับ ไมเพ่มิ ความคดิ เห็น เสียง โดยอาศยั การชแ้ี นะจาก ไมสามารถลง ครูหรือผูอ่ืน ความเหน็ ไดวา เม่ือ ลํ า ค อ ข ณ ะ อ อ ก แหลงกําเนิดเสียงส่นั จะเกิดเสยี ง ได เสียงกับขณะหยุด แมวาจะไดรับ คาํ แนะนําจากครู ออกเสยี ง หรอื ผูอ่ืน - สิง่ ทเี่ กดิ ขนึ้ กับ สอ มเสียงเม่ือเคาะ แลวใชมอื แตะ เบาๆ และใชม ือ จับใหแนน ลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ ไดว าเมื่อ ขอมูลท่ีไดจากการ แหลง กําเนดิ เสียงสัน่ จะเกดิ สังเกตการ เสียง โดยลงความเหน็ ไดถ ูกตอง เปลย่ี นแปลงท่ี มเี หตผุ ลจากความรหู รือ ลําคอ เม่ือออก ประสบการณเ ดมิ ดว ยตนเอง เสยี งและการ สงั เกตผลการ เปลี่ยนแปลงเม่ือ สอมเสยี งสัน่ และ หยุดสัน่ ไดว า เมอื่ แหลง กําเนิดเสียง สั่น จะเกดิ เสยี ง สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

79 คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 ส่ิงตา ง ๆ รอบตัวเรา ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดงั น้ี ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรบั ปรงุ (1) C4 การสือ่ สาร การนําเสนอขอ มูล สามารถนําเสนอขอ มลู สามารถนาํ เสนอขอมลู ไมสามารถนําเสนอขอ มลู จากการอภปิ รายสิ่ง จากการอภปิ รายสง่ิ ท่ี จากการอภปิ รายสิ่งท่เี กิด จากการอภิปรายสงิ่ ท่เี กิด ท่เี กดิ ขึ้นกบั เกดิ ขึ้นกบั แหลงกาํ เนดิ ข้นึ กบั แหลง กําเนิดเสียง ขึน้ กบั แหลงกําเนิดเสยี งได แหลงกาํ เนิดเสยี ง เสียง ไดอยา งถูกตอ ง ไดอยางถูกตอ ง แตไม ครบถว น ครบถวน C5 ความ การมสี ว นรว ม มีสว นรวมทง้ั ในการทํา มสี ว นรว มกบั ผอู น่ื เปน ไมมสี ว นรวมกบั ผูอื่นทงั้ ใน รว มมอื ในการทํากจิ กรรม และการรวมกัน กจิ กรรม และการ บางครงั้ ทง้ั ในการทํา การทํากิจกรรมและการ อภปิ รายเกย่ี วกบั การเกดิ เสยี ง อภปิ รายเกี่ยวกบั การ กิจกรรมและการ อภิปรายเกีย่ วกับการเกิด เกิดเสียงตงั้ แตเรม่ิ ตน จน อภิปรายเกยี่ วกับการเกิด เสียง แมว า จะไดรับการ สาํ เร็จลลุ ว ง เสียง กระตุน จากครหู รือผูอน่ื  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 ส่ิงตา ง ๆ รอบตวั เรา 80 กิจกรรมท่ี 1.2 เสยี งเคล่อื นทไี่ ปทศิ ทางใด กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตและบรรยายทิศ ทางการเคล่ือนที่ของเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง พรอม สรางแบบจําลองเพื่ออธิบายทิศทางการเคลื่อนท่ีของ เสยี งจากแหลงกําเนิดเสยี ง เวลา 2 ชว่ั โมง จดุ ประสงคการเรียนรู 1. สงั เกตและบรรยายทศิ ทางการเคล่ือนที่ของเสียงจาก แหลง กําเนิดเสยี ง 2. สรา งแบบจาํ ลองและอธบิ ายทิศทางการเคลื่อนที่ของ เสียงจากแหลง กําเนดิ เสยี ง วสั ดุ อุปกรณส าํ หรับทาํ กจิ กรรม สอื่ การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู ส่งิ ท่คี รูตอ งเตรียม/กลุม 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 2 หนา 29-30 แหลงกําเนิดเสียง เชน สอมเสียงพรอมไมเคาะ เครื่องดนตรี 1 ชุด 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 2 หนา 32-34 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 3. ตวั อยางวดี ทิ ัศนปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตรเรอื่ งเสยี ง เคลอ่ื นที่ไปในทิศทางใด http://ipst.me/8046 S1 การสังเกต S7 การพยากรณ S8 การลงความเห็นจากขอ มลู S14 การสรา งแบบจาํ ลอง ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรา งสรรค C4 การสอื่ สาร C5 ความรว มมอื สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

81 คูมือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา แนวการจดั การเรยี นรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูทบทวนความรูพื้นฐานท่ีเรียนมาแลววาเสียงเกิดจากการสั่นของ เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให แหลงกําเนิดเสียง จากน้ันครูใชคําถามเพ่ือตรวจสอบความรูเดิมของ หาคาํ ตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม นกั เรียนวาเสียงท่เี กิดจากแหลง กําเนดิ เสยี งเคลอ่ื นท่ีไปในทิศทางใดบา ง ตาง ๆ ในบทเรียนี้ นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง ครูยังไมเฉลยคําตอบที่ ถกู ตอ ง แตชักชวนใหนกั เรยี นทาํ กิจกรรมตอ ไป 2. นักเรียน อานช่ือกิจกรรม และทําเปนคิดเปน ในหนังสือเรียน หนา 29 จากนนั้ ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน โดย อาจใชค าํ ถาม ดังนี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเก่ียวกับเร่ืองอะไร (ทิศทางการ เคลอ่ื นท่ีของเสียงจากแหลงกาํ เนิดเสยี ง) 2.2 นักเรียนจะไดเรียนเรื่องน้ีดวยวิธีใด (การสังเกตและการสราง แบบจาํ ลอง) 2.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (บรรยายและอธิบายทิศ ทางการเคลอื่ นทขี่ องเสยี งจากแหลงกําเนิดเสยี ง) 3. นักเรยี นบนั ทึกจุดประสงคข องกจิ กรรมในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 32 4. นักเรียนอานส่ิงท่ีตองใช วามีวัสดุอุปกรณอะไรบาง ครูอาจเตรียมวัสดุ อุปกรณตาง ๆ ไวพรอม แตยังไมแจกอุปกรณแกนักเรียน จากน้ันให นักเรียนบอกชื่อวัสดุอุปกรณและวิธีใชอุปกรณ ครูอาจใหคําแนะนํา เพ่ิมเตมิ เกีย่ วกับวิธีใชอ ปุ กรณต าง ๆ 5. นักเรียนอานทําอยางไร โดยครูใชวิธีการอานท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจข้ันตอนการ ทํากจิ กรรมทลี ะข้ัน และนาํ อภปิ รายตามแนวคําถาม ดังนี้ 5.1 ในขั้นแรกของการทํากิจกรรม นักเรียนตองสังเกตอะไร (สังเกต เสียงจากแหลง กาํ เนดิ เสยี งท่อี ยหู นา หองเรยี น) 5.2 เม่ือสังเกตเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงแลว นักเรียนตองรวมกัน อภปิ รายในเร่ืองใดบา ง (คนท่ีอยูตําแหนงใดบางจะไดยินเสียง และ เสียงมีการเคลอ่ื นที่ไปในทิศทางใด) 5.3 หลังจากสังเกตแหลงกําเนิดเสียงแลว นักเรียนตองพยากรณเรื่อง อะไร (ถา แหลง กําเนิดเสียงอยูกลางหอง คนที่ตําแหนงใดบางจะได ยนิ เสียงนัน้ )  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 ส่ิงตาง ๆ รอบตัวเรา 82 5.4 นักเรียนตองทํากิจกรรมอยางไรในการตรวจสอบการพยากรณ (ใหแตละคนไปอยูต ามตาํ แหนง ตา ง ๆ เชน หนาหอง หลังหอง ขาง หอง บนโตะ ใตโตะ หรือท่ีอ่ืน ๆ ในหองเรียน แลวฟงเสียงจาก แหลงกําเนิดเสียงที่อยูกลางหอง จากนั้นใหสลับที่ไปยังตําแหนง อน่ื ๆ จนครบทกุ ตําแหนง ) 5.5 นักเรียนตองสรางแบบจําลองเพื่ออธิบายเร่ืองใด (ทิศทางการ เคลอื่ นที่ของเสียงจากแหลง กําเนิดเสยี ง) 6. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว นักเรียนจะไดปฏิบัติ ตามขน้ั ตอน ดังน้ี 6.1 สังเกตเสียงจากแหลงกาํ เนดิ เสยี งทีอ่ ยหู นา หอ งเรยี น (S1) 6.2 รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของเสียง (C5) 6.3 พยากรณและบันทึกวาถาแหลงกําเนิดเสียงอยูกลางหอง คนที่ ตาํ แหนง ใดบา งจะไดยนิ เสยี ง (S7) 6.4 สรางแบบจําลองเพ่ืออธิบายทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียงจาก แหลงกาํ เนดิ เสยี งและนาํ เสนอผล (S14)(C1, C2, C4, C5) 6.5 รวมกันประเมินวาแบบจําลองของกลุมใดอธิบายทิศทางการ เคล่ือนท่ีของเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงไดดีท่ีสุด พรอมอธิบาย เหตผุ ลประกอบ (C2) 6.6 รวมกันลงความเห็นจากขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงท่ีไดยินเสียงจาก แ ห ล ง กํ า เ นิ ด เ สี ย ง แ ล ะ ทิ ศ ท า ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง เ สี ย ง จ า ก แหลงกําเนดิ เสยี ง (S8) 7. หลงั จากทํากจิ กรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใชคําถาม ดังตอไปน้ี 7.1 ผลการสังเกตของนักเรียนกับการพยากรณเหมือนกันหรือไม อยา งไร (นกั เรียนตอบตามผลการทํากิจกรรมของตนเอง) 7.2 นักเรียนในตําแหนงใดไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงบาง (ทุก ตาํ แหนง ทัง้ หนา หอง หลังหอง ขางหอง บนโตะ ใตโ ตะ) 7.3 เสียงเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดเสียงไปในทิศทางใดบาง (ทุก ทิศทาง) 7.4 แบบจําลองที่นักเรียนรวมกันสรางขึ้นมีลักษณะอยางไร เหตุใด นักเรียนจึงสรางแบบจําลองตามลักษณะดังกลาว (นักเรียนตอบ ตามความเปนจริงตามผลการทํากิจกรรม เชน โยงเสนไหมพรม หรือเชือกออกจากแหลงกําเนิดเสียงไปทุกทิศทาง เพราะสามารถ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

83 คมู ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตัวเรา แสดงใหเห็นวาเสียงเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดเสียงไปทุก ทิศทาง) 7.5 แบบจําลองท่ีนักเรียนสรางขึ้นมีประโยชนอยางไร (ใชเพ่ืออธิบาย วาเสียงเคลื่อนท่ีออกจากแหลงกําเนิดเสียงทุกทิศทาง ดังน้ันผูฟงที่ อยูทุกตําแหนง จะไดย ินเสียงจากแหลง กาํ เนดิ เสยี ง) 7.6 จากแบบจาํ ลองทิศทางการเคลือ่ นที่ของเสยี งจากแหลงกําเนิดเสียง ที่แตละกลุมนําเสนอ นักเรียนประเมินวาแบบจําลองของกลุมใด อธบิ ายทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสยี งจากแหลง กําเนิดเสียงไดดีท่ีสุด เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามผลการประเมินของตนเอง โดยให เหตุผลประกอบเชน มีการโยงเสนไหมพรมออกจากแหลงกําเนิด เสียงไปทุกทิศทาง ทําใหแบบจําลองมีความสมจริง สามารถใช อธิบายทศิ ทางการเคลอื่ นท่ีของเสยี งจากแหลงกําเนดิ เสยี งไดดี) 8. ครูและนักเรียนรวมกันเชื่อมโยงส่ิงท่ีไดเรียนรูจากกิจกรรมเพื่อลง ความเหน็ วา เสยี งเคลอื่ นทีจ่ ากแหลงกาํ เนดิ เสียงไปในทุกทิศทาง โดยผูฟง ท่ีอยูท ุกตําแหนงจะไดย ินเสียงจากแหลงกาํ เนดิ เสยี ง 9. นักเรียนตอบคําถามในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพิ่มคําถามในการอภิปราย เพ่อื ใหไดแนวคาํ ตอบทีถ่ ูกตอ ง 10.นักเรียนสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูในกิจกรรมน้ี จากน้ันนักเรียนอานสิ่งที่ได เรียนรู และเปรียบเทียบกบั ขอสรุปของตนเอง 11.ครแู นะนาํ ใหน ักเรียนใชแ อพพลิเคชันสาํ หรบั การแสดงผลภาพเสมือนจริง สามมิติ (AR) ในหนังสือเรียน หนา 30 และรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการ เคล่อื นท่ีของเสียงจากแหลง กําเนิดเสยี ง 12.นักเรียนตั้งคําถามในอยากรูอีกวา จากน้ันครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาชั้นเรียน และใหนักเรียนรวมกันอภิปราย คาํ ตอบ 13.ครูนําอภิปรายเพ่ือใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 ในขัน้ ตอนใดบา ง 14.นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หนา 31 ครูและ นักเรียนรวมอภิปรายเพื่อนําไปสูขอสรุปเก่ียวกับส่ิงท่ีไดเรียนรูในเรื่องนี้ จากนั้นครูกระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเนื้อเร่ือง ดังน้ี “ถาเรายืนอยูท่ีมุมหอง เราจะไดยินเสียงคนในหองหรือไม” ครูและ นักเรียนรวมกันอภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน เสียงออกจาก แหลงกาํ เนิดเสียงทุกทิศทาง ดงั นัน้ แมว า เราจะยืนอยทู ่ีมุมหอง เราก็จะได  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 สิง่ ตาง ๆ รอบตัวเรา 84 ยินเสียงคนในหอง นักเรียนอาจมีคําตอบที่แตกตางจากนี้ ครูควรเนนให นักเรียนตอบคําถามพรอมอธิบายเหตุผลประกอบ นอกจากน้ีครูอาจ ยกตัวอยางอื่นเพอื่ ใหนักเรียนรว มกนั อภิปราย เชน ถาเรายืนอยูท่ีมุมดาน หนง่ึ ของกาํ แพง เราจะไดยินเสียงคนที่อยูอีกดานหรือไม ท้ังน้ีครูอาจวาด รูปประกอบเพ่ือใหนักเรยี นเขา ใจสถานการณไ ดด ีขึ้น ดังน้ี 15.นกั เรยี นอา นและอภิปรายหัวขอเกร็ดนารู ในหนังสือเรียน หนา 32 แลว จดบันทกึ ผลการอภิปราย โดยใชเ วลานอกชวั่ โมงเรยี น สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

85 คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สิ่งตาง ๆ รอบตวั เรา แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม สงั เกต บรรยาย อธบิ าย คาํ ตอบข้ึนอยูกบั  การพยากรณข อง   นักเรยี น    สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 ส่ิงตา ง ๆ รอบตัวเรา 86 นกั เรยี นอาจวาดรูปแบบจาํ ลองที่มลี กั ษณะแตกตางไปจากรูปน้ี ใหครูสังเกตวา นักเรียน ไดว าดรปู แสดงใหเ ห็นวาเสยี งเคลอื่ นทอ่ี อกจากแหลงกําเนดิ เสียงทกุ ทศิ ทางหรือไม โดย ความจริงแลว การเคลอ่ื นท่ขี องเสียงเปน แบบ 3 มติ ิ แตน ักเรียน ป.1 อาจวาดใน 2 มิติ ดังรูปเทาน้ัน    สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

87 คูมือครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั เรา ทิศทาง ทุก ทุก คําถามของนักเรยี นท่ีตั้งตามความอยากรูของตนเอง  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 ส่ิงตาง ๆ รอบตวั เรา 88 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรูของนกั เรียนทําได ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความรูเ ดิมจากการอภปิ รายในชนั้ เรียน 2. ประเมินการเรยี นรจู ากคําตอบของนกั เรยี นระหวา งการจดั การเรียนรแู ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทาํ กจิ กรรมของนกั เรียน การประเมนิ จากการทาํ กจิ กรรมที่ 1.2 เสียงเคล่อื นท่ไี ปทิศทางใด ระดบั คะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี รหสั ส่ิงทป่ี ระเมนิ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอ มูล S14 การสรางแบบจําลอง ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ สรางสรรค C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

89 คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สิง่ ตาง ๆ รอบตวั เรา ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต ามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเกณฑการประเมนิ ดังน้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S1 การสงั เกต การบรรยาย สามารถใชป ระสาทสมั ผสั สามารถใชประสาทสัมผัสเก็บ ไ ม ส า ม า ร ถ เ ก็ บ S7 การพยากรณ ตําแหนง ท่ีไดยิน เกบ็ รายละเอียดส่ิงท่ีเกดิ ข้ึน รายละเอียดส่ิงท่ีเกิดข้ึนและ รายละเอียดส่ิงท่ีเกิดข้ึน เสียงจาก และสามารถบรรยาย บรรยายตําแหนงที่ไดยินเสียง และไมสามารถบรรยาย แหลงกําเนดิ เสยี ง ตาํ แหนงท่ีไดย ินเสียงจาก จากแหลงกําเนิดเสียงได ท้ังน้ี ตําแหนงที่ไดยินเสียง เม่ือแหลง กําเนิด แหลง กําเนดิ เสียงไดด วย โดยอาศัยการชี้แนะจากครูหรือ จากแหลงกําเนิดเสียงได เสยี งอยกู ลางหอง ตนเอง ผูอืน่ แมวา ครูหรือผูอ่ืนจะชวย การคาดการณส่งิ ท่ี สามารถคาดการณสิ่งท่จี ะ แนะนํา จะเกิดข้นึ เม่ือ เกิดขึน้ เมื่อสงั เกตเสียงท่ีได สงั เกตเสียงท่ีไดยิน ยนิ จากตําแหนง ตาง ๆ ได สามารถคาดการณสงิ่ ที่จะ ไมสามารถคาดการณสิง่ จากตําแหนง ตางๆ ถูกตอง โดยอาศัยความรู เกิดขน้ึ เมื่อสังเกตเสียงที่ไดย ิน ทจี่ ะเกิดข้ึนเม่ือสังเกต จากตาํ แหนงตาง ๆ ทัง้ นี้โดย เสียงทไี่ ดย นิ จาก หรือประสบการณเดมิ อาศยั การช้แี นะจากครูหรือผอู น่ื ตาํ แหนง ตาง ๆ แมว า จะ ไดร ับคําชี้แนะจากครู หรอื ผอู ืน่ S8 การลงความเห็น การลงความเหน็ สามารถลงความเห็นดวย สามารถลงความเหน็ จากขอมูล ไมสามารถลงความเหน็ จากขอมลู จากขอมูลไดว า ตนเองวาผูฟงทกุ ตําแหนง จะ ไดว า ผูฟงทุกตําแหนงจะไดย ิน จากขอมลู ไดวาผูฟง ทุก ผูฟง ทกุ ตําแหนงจะ ไดย นิ เสียงจากแหลงกําเนดิ เสยี งจากแหลง กาํ เนิดเสียง ท้ังนี้ ตําแหนงจะไดย นิ เสียง S14 การสราง ไดยินเสยี งจาก เสยี ง ท้ังนโี้ ดยอาศยั ความรู โดยอาศัยการช้ีแนะจากครูหรือ จากแหลงกาํ เนิดเสียง แบบจาํ ลอง แหลงกําเนิดเสยี ง หรือประสบการณเ ดิม ผอู ื่น แมวาจะไดรับคาํ ชีแ้ นะ การอธิบายทิศ สามารถอธิบายทิศทางการ จากครหู รอื ผูอน่ื ทางการเคลือ่ นที่ เ ค ล่ื อ น ท่ี ข อ ง เ สี ย ง จ า ก ของเสียงจาก แ ห ล ง กํ า เ นิ ด เ สี ย ง ใ น ทุ ก สามารถอธิบายทิศทางการ ไมสามารถอธิบายทิศ แหลงกําเนดิ เสียง ทิศทาง (3 มิติ) โดยใช โดยใชแบบจําลอง แบบจําลองที่สรางข้นึ ไดดวย เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง เ สี ย ง จ า ก ทางการเคลื่อนท่ีของ ท่สี รางขึน้ ตนเอง แหลงกําเนิดเสียงในทุกทิศทาง เสียงจากแหลงกําเนิด (3 มิติ) โดยใชแบบจําลองที่ เสียงในทุกทิศทาง (3 สรางขึ้น ท้ังนี้โดยอาศัยการ มิติ) โดยใชแบบจําลองที่ ชี้แนะจากครหู รอื ผูอน่ื สรางข้ึน แมวาจะได รับคําชี้แนะจากครูหรือ ผูอ ่ืน  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั เรา 90 ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเกณฑก ารประเมนิ ดงั นี้ ทักษะแหง รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 C2 การ การสราง สามารถสราง พอใช (2) ไมสามารถสราง สรา งสรรค แบบจาํ ลองเกย่ี วกับ แบบจาํ ลองเกี่ยวกบั ทิศ แบบจําลองเกย่ี วกบั ทิศ ทิศทางการเคล่ือนที่ ทางการเคล่ือนท่ีของ สามารถสรางแบบจําลอง ทางการเคล่ือนที่ของเสียง C4 การส่อื สาร ของเสียงจาก เสียงจากแหลง กาํ เนดิ เกี่ยวกบั ทศิ ทางการ จากแหลง กําเนิดเสยี งได แหลงกาํ เนิดเสียง เสยี งไดดว ยตนเอง เคล่อื นที่ของเสียงจาก แมว า จะไดร ับคําชี้แนะ แหลง กาํ เนดิ เสียงได โดย จากครหู รือผูอืน่ การนาํ เสนอ สามารถนาํ เสนอ ตองอาศัยการชแ้ี นะจากครู ไมส ามารถนําเสนอ แบบจาํ ลองเพอื่ แบบจําลองเพ่ืออธบิ าย หรอื ผูอื่น แบบจาํ ลองเพ่อื อธบิ าย อธิบายทิศทางการ ทิศทางการเคล่ือนท่ีของ สามารถนําเสนอ ทศิ ทางการเคลื่อนที่ของ เคล่ือนท่ีของเสียง เสียงจากแหลง กาํ เนดิ แบบจาํ ลองเพื่ออธิบายทิศ เสยี งจากแหลง กาํ เนดิ จากแหลงกาํ เนิด เสยี งไดอ ยางถูกตอ ง ทางการเคล่ือนท่ีของเสยี ง เสยี งได แมวา จะไดรับคาํ เสียง ครบถวน จากแหลงกําเนิดเสียงได ชี้แนะจากครูหรือผูอ่ืน อยางถูกตอง แตไ ม ครบถวน C5 ความ การมสี วนรวม มสี วนรว มในการทํา มีสว นรว มในการทาํ ไมมสี ว นรว มในการทาํ รวมมือ ในการทาํ กจิ กรรม กิจกรรม และการสรา ง กจิ กรรม หรอื การสรา ง กจิ กรรม และการสรา ง และการสราง แบบจาํ ลองเพอื่ อธิบาย แบบจาํ ลองเพือ่ อธิบายทิศ แบบจําลองเพื่ออธิบาย แบบจําลองเพ่อื ทศิ ทางการเคลื่อนที่ของ ทางการเคลอ่ื นที่ของเสยี ง ทศิ ทางการเคลื่อนที่ของ อธบิ ายทิศทางการ เสียงจากแหลงกาํ เนิด จากแหลงกําเนิดเสียงเปน เสียงจากแหลง กาํ เนิด เคล่ือนที่ของเสยี ง เสียงอยางสม่าํ เสมอจน บางโอกาส หรอื ตองไดรบั เสียง แมว า จะไดรับการ จากแหลงกําเนิด สาํ เรจ็ ลุลว ง การกระตุนจากครหู รือ กระตุนจากครหู รือผูอื่น เสยี ง ผอู นื่ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

91 คูม อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา กิจกรรมทายบทท่ี 2 เสียงในชวี ิตประจําวัน (2 ช่ัวโมง) 1. นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทนี้ ในแบบบันทึก กิจกรรม หนา 35 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบ กับภาพสรุปเนื้อหาประจําบทในหัวขอรูอะไรในบทนี้ ในหนังสือเรียน หนา 33 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอน เรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 26 อีกครั้ง หากคําตอบไมถูกตอง ใหขีดเสนทับขอความเหลานั้น แลวแกไขคําตอบใหถูกตอง หรืออาจ แกไขคําตอบดวยปากกาที่มีสีตางจากเดิม นอกจากนี้ครูอาจนํา สถานการณหรือคําถามในรูปนําบทในหนังสือเรียน หนา 24 มารวม กันอภิปรายคาํ ตอบอีกครั้ง 4. นักเรียนทําแบบฝกหัดทายบทที่ 2 เสียงในชีวิตประจําวัน ในแบบ บันทึกกิจกรรม หนา 36-38 จากนั้นใหนักเรียนนําเสนอคําตอบหนา ช้ันเรียน ถาคําตอบยังไมถูกตอง ครูอาจนาํ อภิปรายหรือใหสถานการณ เพ่ิมเติมเพื่อแกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนใหถูกตอง 5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรมรวมคิด รวมทํา ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 39 โดยการรวมกันสํารวจเสียงตาง ๆ ที่อยูรอบตัว จากนั้นจด บันทึกและจําแนกประเภทแหลงกําเนิดเสียงที่สาํ รวจได 6. นักเรียนรวมกันอานและอภิปรายเนื้อเรื่องในหัวขอวิทยใกลตัว ใน หนังสือเรียน หนา 35 โดยครูกระตุนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของ ความรูจากสิ่งที่ไดเรียนรูในหนวยนี้วาสามารถนําไปใชประโยชนใน ชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง ดังน้ี 6.1 นักเรียนเคยเห็นเครื่องดนตรีจากวัสดุเหลือใช เชน กลองจาก หมอ ยางรถยนต หรือถังน้ํา (นักเรียนตอบตามประสบการณ ของตนเอง)  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา 92 6.2 นักเรียนเคยสังเกตไหมวาเครื่องดนตรีที่ทําจากวัสดุที่แตกตาง กัน เชน กลองที่ทาํ จากถังพลาสติก หรือแกวที่บรรจุน้ํา ทําให เกิดเสียงไดอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน เมื่อเคาะถังพลาสติก หรือแกวที่บรรจุนํ้า จะทําใหถัง พลาสติกและแกวท่ีบรรจุนํา้ เกิดการส่ัน จึงเกิดเสียง) สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

93 คูมอื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 ส่ิงตาง ๆ รอบตัวเรา สรุปผลการเรียนรขู องตนเอง รปู หรือขอความสรปุ สิ่งที่ไดเ รียนรูจ ากบทน้ตี ามความเขาใจของนักเรยี น  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตัวเรา 94 แนวคําตอบในแบบฝก หัดทายบท x x สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

95 คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตัวเรา 96 ทุกทิศทาง แหลงกาํ เนิดเสยี ง ตามธรรมชาติ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

97 คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สิง่ ตาง ๆ รอบตวั เรา นักเรยี นบนั ทกึ ผลการสํารวจตามที่สาํ รวจไดจ รงิ  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟาของเรา 98 สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

99 คูมอื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา ˹‹Ç·Õè 4 âÅ¡áÅзŒÍ§¿Ò‡ ¢Í§àÃÒ ภาพรวมการจดั การเรียนรูประจาํ หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา บท เรือ่ ง กิจกรรม ลําดบั การจดั การเรียนรู ตัวชี้วัด บทท่ี 1 หนิ เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะของหนิ กิจกรรมที่ 1 หินมี • หิ น พ บ ไ ด ทั่ ว ไ ป ใ น มาตรฐาน ว 3.2 ลกั ษณะอยา งไร ธรรมชาติ 1. อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ ภ า ย น อ ก ข อ ง หิ น • หินมีลักษณะภายนอก ท่ีสั งเ กต ได เ ชน สี จ า ก ลั ก ษ ณ ะ รูปทรง และเนอ้ื หนิ • หินตามที่ตาง ๆ อาจมี เฉพาะตัวที่สังเกต ลั ก ษ ณ ะ ท้ั ง ท่ี ได เ ห มื อ น กั น แ ล ะ แตกตา งกัน รวมคดิ รวมทาํ บทท่ี 2 ทองฟาและดาว เร่อื งท่ี 1 ดาวบนทอ งฟา กิจกรรมท่ี 1.1 มองเห็น • บ น ท อ ง ฟ า มี ด ว ง มาตรฐาน ว 3.1 ดาวอะไรบา งบนทองฟา อาทิตย ดว งจันท ร 1. ระบุดาวท่ปี รากฏบน กิจกรรมที่ 1.2 และดาว ท อ ง ฟ า ใ น เ ว ล า กลางวันดาวหายไปไหน • ในเวลากลางวันจะ มองเห็นดวงอาทิตย ก ล า ง วั น แ ล ะ และอาจมองเห็นดวง กลางคืนจากขอมูล จันทรบางเวลาในบาง ท่รี วบรวมได วั น แ ล ะ ใ น เ ว ล า 2. อธิบายสาเหตุท่ีมอง กลางคืนจะมองเห็น ไมเ ห็นดาวสว นใหญ ดวงจนั ทรและดาว ใ น เ ว ล า ก ล า ง วั น  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 100 บท เรื่อง กิจกรรม ลําดับการจัดการเรยี นรู ตวั ช้วี ดั • ในเวลากลางวันมองไม จ า ก ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง เห็นดาวสวนใหญบน ประจักษ ทองฟาเน่ืองจากแสง ของดวงอาทิตยสวาง มากจึงกลบแสงของ ดาวเหลานน้ั รว มคิดรว มทํา สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

101 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา บทที่ 1 หิน จดุ ประสงคก ารเรียนรูประจําบท เม่อื เรียนจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ บรรยาย ลกั ษณะภายนอกของหนิ แนวคิดสําคัญ หิ น พ บ ไ ด ท่ั ว ไ ป ใ น ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ภายนอกทีส่ ังเกตได เชน สี รปู ทรง และเนอื้ หิน บทนี้มีอะไร เรอ่ื งท่ี 1 ลักษณะของหิน คําสาํ คัญ - กิจกรรมท่ี 1 หินมีลกั ษณะอยางไรคาํ สําคญั ส่ือการเรยี นรแู ละแหลงเรียนรู 1. หนงั สือเรยี น ป.1 เลม 2 หนา 37-45 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.1 เลม 2 หนา 41-52  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา 102 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 รหสั ทกั ษะ กจิ กรรมที่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต  S2 การวดั S3 การใชจํานวน S4 การจาํ แนกประเภท S5 การหาความสัมพันธร ะหวาง  สเปซกบั สเปซ  สเปซกับเวลา S6 การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมลู  S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมูล  S9 การตั้งสมมตฐิ าน S10 การกําหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร S11 การกําหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายขอมลู และลงขอสรุป S14 การสรา งแบบจําลอง ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 C1 การสรา งสรรค C2 การคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ  C3 การแกปญหา C4 การส่อื สาร  C5 ความรว มมอื  C6 การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

103 คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา บทนเ้ี รม่ิ ตนอยางไร (1 ชั่วโมง) 1. ครูใหนักเรียนเปด หนังสอื เรยี นหนา 37 อานชอื่ หนวย ชอ่ื บท และจุดประสงค การเรียนรปู ระจําบท จากนั้นครูใชคําถามวา เม่ือจบบทน้ีนักเรียนสามารถทํา อะไรไดบ าง (สามารถบรรยายลกั ษณะภายนอกของหนิ ) 2. ครูใหนักเรียนเปดหนังสือเรียนหนา 40 โดยเร่ิมจากการอานชื่อบทและ แนวคิดสาํ คัญ จากน้ันครใู ชค าํ ถามดงั ตอ ไปนี้ 2.1 ในบทนีจ้ ะเรยี นเรอ่ื งอะไรบา ง (หนิ และลกั ษณะของหนิ ) 2.2 ลักษณะใดของหินที่สังเกตได (สี รปู ทรง และเนือ้ หิน) 3. ครูนําเขาสูบทท่ี 1 เร่ืองหินโดยชักชวนนักเรียนสังเกตรูปในหนังสือเรียน แลว รวมกันอภปิ รายเกย่ี วกบั ส่งิ ทีไ่ ดเหน็ จากรูป โดยใชค ําถามดงั ตอ ไปน้ี 3.1 นกั เรียนเห็นอะไรบางในรปู (หนิ ตน ไม ลาํ ธาร ภูเขา ทอ งฟา ) 3.2 หินในรูปมีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน เปน เหลย่ี ม มีสเี ทา) 3.3 นักเรียนคดิ วา เราสามารถพบหนิ ไดท ใี่ ดบาง (นักเรยี นตอบตามความเขาใจ ของตนเอง เชน บนภูเขา ในโรงเรยี น) 3.4 หินท่ีพบในที่อื่น ๆ จะเหมือนหรือแตกตางจากในรูป (นักเรียนตอบตาม ความเขาใจของตนเอง เชน แตกตางกัน โดยหินท่ีพบในโรงเรียนมี ลกั ษณะและสสี นั สวยงามกวา) 4. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามในสํารวจความรูกอนเรียน โดยใหนักเรียน สั ง เ ก ต รู ป แ ล ะ ต อ บ คํ า ถ า ม เ ก่ี ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง หิ น ล ง ใ น แบบบันทึกกจิ กรรม หนา 42 โดยอา น ช่ือหนวย ชอื่ บท 5. ครูใหนักเรียนอานคําถามและตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับ คําถามแตละขอ จนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียน ตอบคาํ ถาม โดยคําตอบของแตละคนอาจแตกตางกันได และอาจตอบถูกหรือ ผดิ ก็ได 6. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีแนวคิด เก่ียวกับหินและลักษณะของหินอยางไรบาง โดยครูยังไมตองเฉลยคําตอบท่ี ถูกตอง แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบอีกคร้ังหลังเรียนจบบทน้ีแลว ท้ังน้ี ครูอาจบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดท่ีนาสนใจของนักเรียน แลวนํามา ออกแบบการจดั การเรียนการสอนเพอ่ื แกไ ขแนวคิดใหถกู ตอง  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 104 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม การสาํ รวจความรกู อนเรียน นกั เรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผิดก็ไดข้ึนอยูกับความรเู ดมิ ของนักเรยี น แตเ ม่อื เรยี นจบบทเรียนแลว ใหนกั เรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอกี ครั้งและแกไขใหถูกตอง ดงั ตัวอยา ง สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

105 คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา       สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 106 เรอื่ งท่ี 1 ลกั ษณะของหิน เร่ืองนี้นักเรียนจะไดเรียนรูวาหินแตละกอนมี ลักษณะตาง ๆ เชน สี รูปทรง และเนื้อหิน ท่ีอาจเหมือน หรือแตกตางกนั ซ่ึงสามารถนาํ ไปใชประโยชนไ ด จุดประสงคการเรียนรู สงั เกตและบรรยายลักษณะภายนอกของหิน เวลา 5 ชั่วโมง วัสดุ อุปกรณส ําหรบั ทาํ กจิ กรรม ตัวอยา งหนิ แวนขยาย ตะกรา กระดาษ สือ่ การเรยี นรแู ละแหลงเรียนรู 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 2 หนา 40-45 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 2 หนา 44-52 สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

107 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา แนวการจัดการเรียนรู (90 นาที) ขัน้ ตรวจสอบความรู (30 นาที) 1. ครตู รวจสอบความรเู ดิมของนกั เรียนเร่ืองหนิ โดยใชแนวคําถาม ดงั ตอไปนี้ ในการตรวจสอบความรู ครู 1.1 นกั เรยี นรจู ักหนิ หรอื ไม (นกั เรยี นตอบตามความเขาใจของตนเอง) เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ 1.2 หนิ มลี ักษณะอยา งไร (นักเรียนตอบตามความเขา ใจของตนเอง เชน หิน ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน มีลกั ษณะเปนกอ น ๆ มสี ีตาง ๆ แขง็ และหนกั ) ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 1.3 นักเรียนเคยพบหินท่ีไหนบาง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของ จากการอา นเนอ้ื เรอื่ ง ตนเอง เชน พบทส่ี วนหลงั บาน นํา้ ตก ในปา ในโรงเรียน) 1.4 หินท่ีพบตามท่ีตาง ๆ มีลักษณะเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร นักเรียนอาจไมสามารถตอบ (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชนหินมีสีดําเหมือนกัน คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว แตบางกอ นเปนสเี่ หล่ยี ม บางกอ นเปน ทรงกลม) คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด 1.5 เรานําหินมาใชประโยชนอะไรไดบ า ง (นกั เรยี นตอบตามความเขาใจ อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน ของตนเอง เชน ทาํ ครก โตะ เกาอ)้ี และรบั ฟง แนวความคดิ ของนกั เรียน ขัน้ ฝก ทกั ษะจากการอาน (30 นาท)ี 2. ครูใหนักเรียนอาน ช่ือเรื่อง และคําถามในคิดกอนอาน ในหนังสือ เรียนหนา 40 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพื่อหาแนวคําตอบ ครู บนั ทกึ คําตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใชเปรียบเทียบคําตอบหลัง การอา นเน้อื เร่ืองจบแลว 3. ครูชวนนักเรียนอานนิทานเร่ืองของขวัญคุณยา โดยฝกวิธีการอานที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน แลวรวมกันอภิปรายใจความ สาํ คัญโดยใชค าํ ถามดังน้ี 3.1 หนิ มลี ักษณะอยางไรบา ง (หนิ มีหลายสี มเี นื้อสาก เปนกอนกลม) 3.2 หินมีประโยชนอะไรบาง (ทําท่ีเหยียบแกเม่ือย ทําท่ีขัดสนเทา ทํา ทีท่ ับกระดาษ ทาํ ท่ลี ับมีด) 3.3 คุณยาไดใหขอคิดกับเด็ก ๆ ไววาอยางไร (หินอยูในธรรมชาติจะ สวยท่ีสุด แตถาจะนํามาใชตองใชใหเกิดประโยชนและรักษาไวให นาน ๆ)  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา 108 3.4 นักเรียนเคยพบหินที่มีลักษณะเหมือนหินในนิทานหรือไม การเตรียมตวั ลวงหนา สําหรบั ครู (นกั เรยี นตอบไดตามประสบการณเดิม) เพือ่ จัดการเรียนรใู นครงั้ ถัดไป ข้ันสรปุ จากการอา น (30 นาท)ี ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดทํา กิจกรรมที่ 1 หินมีลักษณะอยางไรโดย 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวาหินท่ีพบตามท่ีตาง การสังเกตและอธิบายลักษณะของหิน ๆ มีลักษณะเชน สี รูปทรง และเน้ือหินท้ังที่เหมือนและแตกตางกัน ซ่ึง ครูเตรียมการจัดกิจกรรม โดยให สามารถนําไปใชป ระโยชนไ ด นักเรียนนําหินท่ีเก็บจากธรรมชาติมา คนละ 1 กอน และครูควรเตรียมหิน 5. นกั เรยี นตอบคําถามจากเร่อื งที่อานใน รูหรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม สาํ หรับนักเรียนทไี่ มไดนําหนิ มา หนา 44 6. ครแู ละนกั เรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียนใน รูหรือยังกับคําตอบที่เคยตอบในคิดกอนอาน ซึ่งครูบันทึกไวบน กระดาน 7. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามทายเร่ืองท่ีอานวาหินที่นํามาใหคุณยามี ลักษณะตาง ๆ แลวหินกอนอ่ืน ๆ มีลักษณะเปนอยางไร ครูบันทึก คําตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบแตชักชวนให นกั เรียนหาคาํ ตอบจากการทาํ กจิ กรรมตอ ไป สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

109 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา แนวคําตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม เปน กอ นเลก็ ๆ หลาย ๆ สี เปนกอ นเทากาํ ปน มนี าํ้ หนักเบา เปน หินเนือ้ สาก สีน้าํ ตาล เปน กอ นกลม ๆ มผี วิ เรยี บ  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 110 ใชทาํ แผนเหยียบแกเ มื่อย ใชขัดสน เทา ใชวางทับกระดาษ สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

111 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา กิจกรรมที่ 1 หนิ มีลกั ษณะอยางไร กิจกรรมนีน้ ักเรียนจะไดบ รรยายลักษณะของหิน โดยนําหนิ มาสังเกตดว ยวธิ ีการตาง ๆ เวลา 4 ชว่ั โมง จุดประสงคก ารเรยี นรู สังเกตและบรรยายลักษณะของหิน วัสดุ อปุ กรณส าํ หรบั ทาํ กจิ กรรม สง่ิ ที่ครูตองเตรียม/กลมุ 1. แวนขยาย 3 อัน 2. ตะกรา 1 ใบ สง่ิ ท่นี ักเรียนตอ งเตรยี ม/คน 1. หิน 1 กอน 2. กระดาษ 1 แผน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสังเกต ส่อื การเรยี นรูและแหลง เรียนรู หนา 41-42 หนา 46-49 S6 การจัดกระทําและสือ่ ความหมายขอมูล 1. หนังสอื เรยี น ป.1 เลม 2 S8 การลงความเหน็ จากขอมูล 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 2 ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความรวมมอื  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 112 แนวการจัดการเรยี นรู ขอเสนอแนะเพม่ิ เติม 1. ครทู บทวนความรทู ี่ไดเรียนมาแลวโดยใชประเด็นคําถามดังนี้ 1. ครูควรแนะนําวาหากนักเรียนตองการ สังเกตสีของหินใหเห็นชัดเจน ใหนําหินวาง 1.1 เราพบหินในบริเวณใดไดบาง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของ บนกระดาษสขี าว ตนเอง เชน พบไดทีโ่ รงเรียน นํา้ ตก ภเู ขา ทะเล) 2. ในการสังเกตหิน ครูควรกระตุนให นักเรียนใชประสาทสัมผัสหลาย ๆ อยาง 1.2 หินท่ีพบมีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง ร ว ม กั น เ ช น ต า ดู สี แ ล ะ รู ป ท ร ง เชน เปนกอนกลม สดี ํา และสากมอื ) มือสัมผัสความหยาบ ละเอียดของเนื้อหิน และรูปทรง จมูกดมกลิ่น หูฟงเสียงโดยใช 2. ครูเช่ือมโยงเขาสูกิจกรรมท่ี 1 โดยใชคําถามนักเรียนวาถาจะสังเกตหิน ดนิ สอเคาะหิน สามารถสังเกตไดโดยวิธีใดบาง (สังเกตโดยการดู การสัมผัส การดม การ 3. ครูควรคํานึงถึงการบันทึกขอมูลการ ฟง) และหากตองการสังเกตลักษณะของหินใหละเอียดยิ่งข้ึน จะตองใช สงั เกตตองมาจากการใชประสาทสัมผัสของ อปุ กรณอ ะไร หากนักเรยี นไมส ามารถตอบไดวาแวนขยาย ครูอาจช้ีนําให นักเรียนเทาน้ัน ไมควรมีการลงความเห็น เหน็ ความจําเปนท่ตี องใชแวนขยายชวยขยายภาพใหเราเห็นสิ่งตาง ๆ ได หรือขอ มลู ท่เี กิดจากประสบการณเ ดิมมาใช ละเอยี ดและชดั เจนย่งิ ขนึ้ จากนัน้ ครูแนะนําวธิ ีการใชแวนขยายและเตือน ไมใ หน าํ แวน ขยายไปสองดูดวงอาทิตยหรือแหลงกําเนิดแสงอื่น ๆ เพราะ อาจทําใหตาบอดได 3. ใหนักเรียนเปดหนังสือเรียนหนา 41 อานชื่อกิจกรรม และ ทําเปนคิด เปน ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับจุดประสงคในการทํา กจิ กรรม โดยอาจใชค าํ ถามตอไปนี้ 3.1 กิจกรรมน้นี กั เรยี นจะไดเ รียนรูเกย่ี วกบั เรอื่ งอะไร (ลักษณะของหนิ ) 3.2 นักเรียนจะไดเ รยี นรเู รอ่ื งนีด้ ว ยวิธีใด (การสงั เกต) 3.3 เม่อื เรียนแลว นกั เรยี นจะทาํ อะไรได (บรรยายลกั ษณะของหนิ ) 4. ใหน ักเรยี นบนั ทกึ จุดประสงคข องกจิ กรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 46 และ อา นส่งิ ที่ตองใชในการทํากจิ กรรม 5. ใหนักเรียนอาน ทําอยางไร โดยครูใชวิธีฝกการอานท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับ ขน้ั ตอนการทาํ กิจกรรมทีละขัน้ โดยอาจใชคาํ ถาม ดังนี้ 5.1 ในการสังเกตหินเราใชประสาทสัมผัสอะไรบางและแตละอวัยวะรับ สัมผัสสังเกตพบลักษณะใดของหิน (ใชการดูสังเกตสี รูปทรง และ สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

113 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา เน้ือหิน โดยใชอวัยวะรับสัมผัสคือตา ใชการสัมผัส สังเกตรูปทรง และเนือ้ หนิ โดยใชอ วัยวะรับสมั ผสั คือมือ) 5.2 เมื่อนักเรียนสังเกตหินที่ตนเองนํามาอยางละเอียดแลว นักเรียน จะตองบันทึกอะไรบาง (บันทึกลักษณะของหินโดยการวาดรูปและ เขยี นบรรยายลักษณะของหนิ ของตนเอง) 5.3 เม่ือรวบรวมหินพรอมคําบรรยายลักษณะหินของกลุมตนเองใส ตะกราเสร็จแลวนักเรียนตองทําอะไรตอไป (นําตะกราของกลุม ตนเองไปแลกกับตะกรา ของเพ่ือนกลมุ อนื่ ) 5.4 เม่ือไดตะกราของเพื่อนกลุมอ่ืนมาแลวนักเรียนตองทําอะไร (รวมกัน อา นคาํ บรรยายลักษณะของหินเพอื่ หาหนิ ทตี่ รงกับคาํ บรรยายนั้น) 5.5 นักเรียนจะทราบไดอยางไรวากลุมตนเองจับคูหินกับคําบรรยายได ถกู ตอ ง (นาํ ไปสอบถามกลุมที่เปนเจา ของหิน) 5.6 นกั เรียนควรทําอยางไรเพื่อใหเพ่ือนกลุมอื่นจับคูหินกับคําบรรยายได ถูกตอง (ตองเขียนคําบรรยายลักษณะของหินท่ีนํามาของตนเองให ละเอยี ด ชัดเจน และวาดรูปใหใ กลเคียงทส่ี ดุ ) 6. เม่ือนักเรียนเขาใจวิธีทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว นักเรียนจะไดปฏิบัติ ตามขนั้ ตอน ดังนี้ 5.1 สังเกตลกั ษณะหินของตนเอง (S1) 5.2 วาดรปู และบรรยายลักษณะหนิ ของตนเอง (S6) 5.3 รวบรวมหินและคาํ บรรยายลักษณะหินของกลมุ ตนเองไปแลกเปลี่ยน กบั เพื่อนกลุมอ่นื (C5) 5.4 ชวยกันสังเกตลักษณะหินและจับคูหินกับคําบรรยายของเพ่ือนให ตรงกนั (S1, S8) (C2, C4, C5) 5.5 ใหเพ่ือนกลุมท่ีเปนเจาของหินตรวจสอบผลการจับคูหินกับคํา บรรยาย (C4) 6. ครูใหนักเรียนวาดรูปและบรรยายลักษณะหินของเพ่ือนลงในแบบบันทึก กจิ กรรมอยางนอยสองกอน เมอ่ื เสรจ็ เรียบรอยจงึ คืนใหก ลุมเจา ของหนิ 7. รับตะกราหินของกลุมตนเองคืนจากน้ันติดรูปหินของตนเองและ คาํ บรรยายลงในแบบบันทกึ กิจกรรม  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี