290 บทที่ 25 | มนุษย์กบั ความยั่งยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ชวี วทิ ยา เลม่ 6 จ�ำ นวนสปีชสี ท์ พ่ี บ ประเภทนก ป่าดิบช้นื สวนปาล์มน้ำ�มนั สวนยางพารา นกผูล้ ่า 54 3 นกกนิ ผลไม้ 13 1 1 6.1 จากข้อมูลในตารางนักเรียนคิดว่าเกิดอะไรข้ึนกับความหลากหลายชนิดของนก ในบรเิ วณนี้ ความหลากหลายชนิดของนกลดลงในทกุ ประเภทนกในภาพรวม 6.2 ถ้านักเรียนต้องการเพ่ิมความหลากหลายชนิดของนกในพ้ืนท่ีน้ีให้กลับมาสมบูรณ์ เหมอื นเดิม นักเรียนจะท�ำ อย่างไร เพมิ่ พน้ื ทป่ี า่ ดบิ ชนื้ ใหม้ ากขน้ึ ลดพน้ื ทส่ี วนปาลม์ น�้ำ มนั และสวนยางพาราลง เพอื่ ขยาย พน้ื ทอี่ าศยั ท่ีเหมาะสมใหน้ กเหล่าน้ี 7. นักวิทยาศาสตร์ได้ปล่อยแมลงเบียน (Aulacidea subterminalis) ลงในทุ่งหญ้าแห่งหน่ึง ในประเทศนวิ ซแี ลนดเ์ พอื่ ควบคมุ พชื ตา่ งถนิ่ (Hieracium pilosella) ดงั รปู โดยแมลงเบยี น ชนดิ นจี้ ะสรา้ งกอล (gall) ลงบนสโตลอน (stolon) ของพชื ชนดิ นี้ ซงึ่ สง่ ผลใหพ้ ชื เจรญิ ขยาย พันธไุ์ ดช้ ้าลง เม่อื เวลาผา่ นไป ได้มีการคำ�นวณมวลชวี ภาพ วัดความยาวของสโตลอนและ กงิ่ ของพชื ตา่ งถน่ิ แตล่ ะตน้ ในแปลงทไ่ี มม่ กี ารปลอ่ ยแมลงเบยี นและมกี ารปลอ่ ยแมลงเบยี น ได้ผลดังน้ี แปลง มวลชีวภาพ ความยาวของ จ�ำ นวนกงิ่ ความยาวของก่ิง ต่อตน้ สโตลอนต่อต้น ตอ่ ตน้ ตอ่ ต้น ไม่มกี ารปลอ่ ยแมลงเบยี น (กรมั ) (mm) มกี ารปล่อยแมลงเบยี น (mm) 37 9.3 27 3,200 1,250 7.5 2,600 850 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 6 บทท่ี 25 | มนุษย์กับความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม 291 ล�ำ ต้น สโตลอน กงิ่ จากขอ้ มลู ในตาราง การใชแ้ มลงเบยี นในการควบคมุ ประชากรพชื ตา่ งถน่ิ ชนดิ นไ้ี ดผ้ ลหรอื ไม่ จงอธบิ าย ได้ผลเพราะพืชถูกแมลงเบียนชนิดนี้เป็นปรสิตที่ทำ�ให้การเจริญเติบโตของพืชลดลง มีมวลชีวภาพต่อต้นลดลง และทำ�ให้ส่วนขยายพันธ์ุของพืชชนิดนี้แบบไม่อาศัยเพศ เช่น สโตลอน มขี นาดส้นั ลง แสดงวา่ รศั มกี ารแพรก่ ระจายย่อมลดลงเช่นกนั 8. แมวบ้าน (Felis catus) จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถ่ิน เม่ือมีการนำ�แมวบ้านเข้าไปอยู่บนเกาะ และแมวบ้านมีการเพิ่มจำ�นวนมากข้ึน ก็จะกินส่ิงมีชีวิตขนาดเล็กบนเกาะ โดยท่ัวไป แมวบ้านเป็นสัตว์ท่ีล่าเหยื่อได้หลายประเภท เม่ือล่าได้จะกินเหย่ือหรืออาจเล่นกับเหย่ือ จนเหย่ือถึงแก่ความตาย นักวิทยาศาสตร์สำ�รวจกลุ่มประเภทและปริมาณของเหยื่อท่ีแมว น�ำ กลบั มาใหเ้ จา้ ของระหวา่ งปลอ่ ยออกภายนอกบา้ นจาก 1,400 ครวั เรอื น ไดจ้ �ำ นวนเหยอ่ื ทุกกลุ่มทัง้ หมด 14,370 ตัว 8.1 ถ้ากำ�หนดให้ปริมาณเหยื่อท่ีถูกล่ามากกว่า 1,000 ตัว เป็นประเภทเหยื่อท่ีได้รับผล กระทบจากการลา่ ของแมวบา้ นสงู ปรมิ าณเหยอ่ื ทถ่ี กู ลา่ นอ้ ยกวา่ 120 ตวั เปน็ ประเภท เหย่อื ที่ไดร้ บั ผลกระทบจากการล่าของแมวบา้ นต่�ำ และปรมิ าณเหยือ่ ทถ่ี ูกลา่ ระหวา่ ง 120-1,000 ตวั เปน็ ประเภทเหยอ่ื ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการลา่ ของแมวบา้ นปานกลาง จากข้อมูลในตารางให้จัดว่าเหยื่อแต่ละประเภทได้รับผลกระทบจากการล่าของ แมวบา้ นในระดับใดบ้าง จงค�ำ นวณ และเติมขอ้ มลู ในตารางใหค้ รบถว้ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
292 บทท่ี 25 | มนษุ ย์กับความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ชวี วิทยา เลม่ 6 กลุ่มของเหยอ่ื ประเภทของเหยือ่ ปรมิ าณ ผลกระทบจาก ของเหย่ือ จำ�นวนตัว การลา่ ของแมว (%) สงู สงู สตั ว์เลยี้ งลูกด้วย สัตวก์ นิ แมลงขนาดเล็ก 12.89 1,852 สูง น้ำ�นม สตั วฟ์ ันแทะ 44.32 6,369 ปานกลาง กระตา่ ย 8.65 1,243 นก 2.70 388 สูง สัตว์เลอ้ื ยคลาน สตั วเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนำ้�นม ปานกลาง สตั ว์สะเทินน้ำ� ประเภทอ่นื 18.78 2,699 ปานกลาง นกเกาะคอน 4.82 693 ปานกลาง สะเทนิ บก 1.00 144 ปลา นกประเภทอื่น 4.11 591 ต่�ำ ก้ิงกา่ และงู ตำ�่ แมลงและแมง 0.22 32 ต่ำ� สตั ว์กลมุ่ อน่ื กบและซาลามานเดอร์ 0.76 109 ปานกลาง 0.24 34 ปลาตะเพยี น 1.51 218 แมลงปอและผเี สอ้ื แมลงและแมงประเภทอน่ื - หมายเหตุ จำ�นวนตวั เป็นค่าประมาณจากการคำ�นวณซงึ่ ไดจ้ ากการประมาณเป็นจ�ำ นวนเตม็ 8.2 ถา้ ตอ้ งการลดผลกระทบจากการลา่ ของแมวบา้ นตอ่ เหยอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ สามารถท�ำ ได้ อย่างไร อธิบาย สามารถประยุกต์จากแนวทางการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของชนิดพันธุ์ต่างถ่ิน เชน่ สรา้ งความตระหนกั ใหก้ บั ประชาชนทเี่ ลยี้ งแมวบา้ น โดยรณรงคใ์ หเ้ ลยี้ งแมวบา้ น ในระบบปิดไม่ให้ออกมาลา่ เหยอ่ื ได้ เฝา้ ระวังและควบคุมประชากรแมวบ้านให้อยใู่ น ระดับที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ปล่อยแมวบ้านที่เลี้ยงไว้ให้เป็นแมว จรจดั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก
294 ภาคผนวก ชวี วทิ ยา เลม่ 6 ตวั อยา่ งเครือ่ งมอื วดั และประเมินผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะของ แบบทดสอบ รวมท้งั ขอ้ ดีและขอ้ จำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ ประโยชนใ์ นการสร้างหรอื เลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและ ขอ้ จ�ำ กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เป็นดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเปน็ ดังนี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เป็นแบบทดสอบที่มีการกำ�หนดตัวเลือกให้หลายตัวเลือก โดยมีตัวเลือกที่ถูกเพียงหนึ่ง ตัวเลอื ก องคป์ ระกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 สว่ น คอื คำ�ถามและตวั เลอื ก แต่บางกรณีอาจมีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลาย รปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำ ถาม 2 ช้ัน โครงสรา้ งดงั ตัวอย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเด่ียวทไ่ี ม่มสี ถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 6 ภาคผนวก 295 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเป็นชุด สถานการณ์…………………………………………………………….. คำ�ถามท่ี 1 …………………………………………………………….. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …………………………………………………………….. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
296 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 6 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …(ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามท่ี 1)…… …………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………...... แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุมเนื้อหา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ได้ นอกจากน้นี กั เรียนทีไ่ มม่ คี วามรูส้ ามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผดิ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ ักเรยี นพิจารณาวา่ ถูกหรือผิด ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ ค�ำ ส่ัง ให้พิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปนถ้ี ูกหรือผิด แล้วใสเ่ ครอื่ งหมาย √ หรือ × หน้าข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 2. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 6 ภาคผนวก 297 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี ามารถสรา้ งไดง้ า่ ย รวดเรว็ และครอบคลมุ เนอื้ หา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเนอ้ื หาทำ�ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทเี่ ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชดุ ทใี่ หจ้ บั คกู่ นั โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเป็นค�ำ ตอบหรอื ตัวเลือก โดยจำ�นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกว่าในชุด ที่ 1 ดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจบั คู่ คำ�สง่ั ใหน้ ำ�ตัวอกั ษรหน้าข้อความในชุดค�ำ ตอบมาเติมในชอ่ งว่างหน้าข้อความในชุดคำ�ถาม ชุดคำ�ถาม ชุดค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนสี้ รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะส�ำ หรบั วัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียนจับคู่ผิด ไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ กี ารจับคผู่ ดิ ในคู่อ่ืน ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบที่มี การตอบแต่ละแบบเป็นดังนี้ 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ ค�ำ หรอื ตอบอย่างส้นั ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สงิ่ ท่กี ำ�หนดคำ�ตอบใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
298 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เลม่ 6 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทนี่ กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถูกต้องหรอื ยอมรบั ได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทตี่ อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกัน โดยค�ำ ถามเป็นคำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรูปแบบนี้ให้อิสระแก่นักเรียนในการตอบจึงสามารถใช้วัดความคิดระดับสูงได้ แต่เนื่องจากนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดและเขียนคำ�ตอบมาก ทำ�ให้ถามได้น้อยข้อ จึงอาจทำ�ให้ วดั ไดไ้ มค่ รอบคลมุ เน้ือหาทัง้ หมด รวมท้ังตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจให้คะแนนอาจไม่ตรงกนั แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไปจะ ประเมนิ 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบตั กิ ารทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครื่อง มอื ทใี่ ชป้ ระเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลอง รายการที่ตอ้ งส�ำ รวจ ผลการสำ�รวจ การวางแผนการทดลอง มี ไมม่ ี การทดลองตามข้ันตอน (ระบุจ�ำ นวนคร้งั ) การสงั เกตการทดลอง การบนั ทึกผล การอภปิ รายผลการทดลอง ก่อนลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 6 ภาคผนวก 299 ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารทดลองทีใ่ ชก้ ารให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง คะแนน 321 การเลอื กใช้อปุ กรณ์/ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลอื กใชอ้ ุปกรณ/์ เคร่อื งมือในการทดลอง เครือ่ งมอื ในการทดลองได้ เครื่องมอื ในการทดลองได้ เครื่องมือในการทดลอง ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน ถกู ตอ้ งแต่ไม่เหมาะสมกบั ไมถ่ กู ตอ้ ง งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ ใช้อปุ กรณ/์ เครื่องมอื ใน ใชอ้ ุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ใน ใชอ้ ปุ กรณ์/เครื่องมือใน เครื่องมือในการทดลอง การทดลองไดอ้ ยา่ ง การทดลองไดถ้ ูกตอ้ งตาม การทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว และถูกต้อง หลักการปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ การทดลองตามแผนที่ ตามหลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคลว่ ก�ำ หนด ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ทดลองตามวธิ กี ารและ ขนั้ ตอนทกี่ �ำ หนดไว้อย่าง ขัน้ ตอนท่กี ำ�หนดไว้ มกี าร ข้ันตอนท่ีกำ�หนดไว้หรอื ถูกตอ้ ง มีการปรับปรุง ปรับปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ดำ�เนินการขา้ มขัน้ ตอนที่ แกไ้ ขเปน็ ระยะ กำ�หนดไว้ ไม่มกี าร ปรับปรงุ แก้ไข ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลองทีใ่ ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ 1. วางแผนการทดลองอยา่ งเป็นขั้นตอน 321 2. ป ฏบิ ตั กิ ารทดลองได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว สามารถเลอื กใช้ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 อปุ กรณ์ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และจดั วางอุปกรณ์เปน็ หมายถึง หมายถึง หมายถึง ระเบียบ สะดวกตอ่ การใช้งาน ปฏบิ ัติได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 3. บันทกึ ผลการทดลองได้ถูกตอ้ งและครบถ้วนสมบรู ณ์ 3 ขอ้ 2 ข้อ 1 ขอ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
300 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 6 ตัวอย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 32 1 เขียนรายงานตามลำ�ดบั ขนั้ ตอน เขียนรายงานการทดลอง เขียนรายงานโดยลำ�ดบั ขน้ั ตอน ผลการทดลองตรงตามสภาพจรงิ ตามล�ำ ดบั แต่ไม่สือ่ ความหมาย ไม่สอดคลอ้ งกัน และสื่อความหมาย และไม่สือ่ ความหมาย แบบประเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทปี่ รากฏให้เห็นในลกั ษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ช้ี ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เคร่ืองมือท่ใี ช้ประเมนิ คุณลักษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่างแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ค�ำ ช้ีแจง จงท�ำ เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องว่างที่ตรงกับคณุ ลักษณะทีน่ กั เรียนแสดงออก โดยจำ�แนกระดับพฤตกิ รรม การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นอย่างสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เป็นครง้ั คราว นอ้ ย หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นักเรียนไมแ่ สดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านนั้ เลย รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ดา้ นความอยากรอู้ ยากเห็น มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. นักเรียนสอบถามจากผรู้ หู้ รอื ไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ แสดงออก เมือ่ เกดิ ความสงสัยในเรอื่ งราววิทยาศาสตร์ 2. น ักเรยี นชอบไปงานนทิ รรศการวิทยาศาสตร์ 3. น กั เรยี นนำ�การทดลองที่สนใจไปทดลองตอ่ ท่ีบ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 6 ภาคผนวก 301 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก ด้านความซอื่ สัตย์ มาก ปานกลาง น้อย ไมม่ กี าร 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามทีท่ ดลองได้จรงิ แสดงออก 2. เมื่อทำ�การทดลองผดิ พลาด นกั เรียนจะลอก ผลการทดลองของเพือ่ นส่งครู 3. เมื่อครมู อบหมายใหท้ �ำ ช้นิ งานออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ นกั เรยี นจะประดิษฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยู่ในหนงั สือ ด้านความใจกวา้ ง 1. แมว้ ่านกั เรยี นจะไมเ่ ห็นด้วยกบั การสรุปผลการทดลอง ในกลุ่ม แตก่ ย็ อมรับผลสรุปของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพือ่ นแย้งวธิ ีการทดลองของนกั เรียนและมเี หตผุ ลท่ี ดีกวา่ นกั เรยี นพรอ้ มท่จี ะน�ำ ขอ้ เสนอแนะของเพื่อนไป ปรับปรงุ งานของตน 3. เมื่องานทีน่ ักเรียนตัง้ ใจและทุ่มเทท�ำ ถูกตำ�หนหิ รอื โต้แย้ง นกั เรียนจะหมดกำ�ลังใจ ด้านความรอบคอบ 1. นกั เรียนสรุปผลการทดลองทันทเี ม่อื เสร็จสิน้ การทดลอง 2. นักเรยี นท�ำ การทดลองซ้�ำ ๆ ก่อนทีจ่ ะสรปุ ผล การทดลอง 3. น กั เรยี นตรวจสอบความพรอ้ มของอุปกรณ์ก่อนทำ� การทดลอง ด้านความมงุ่ มัน่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานคน้ คว้าทีท่ ำ�อยมู่ ีโอกาสส�ำ เร็จได้ยาก นกั เรียนจะยงั คน้ ควา้ ต่อไป 2. น ักเรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เม่อื ผลการทดลอง ทีไ่ ด้ขดั จากท่เี คยไดเ้ รยี นมา 3. เมือ่ ทราบวา่ ชุดการทดลองท่นี กั เรยี นสนใจต้องใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นักเรยี นกเ็ ปลยี่ นไป ศึกษาชดุ การทดลองท่ีใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
302 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 6 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก เจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. น กั เรยี นนำ�ความรูท้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใชแ้ กป้ ญั หาใน แสดงออก ชวี ิตประจำ�วนั อยูเ่ สมอ 2. นกั เรียนชอบทำ�กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั วทิ ยาศาตร์ 3. นกั เรียนสนใจตดิ ตามขา่ วสารที่เกี่ยวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ วิธีการตรวจใหค้ ะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตวั เลอื กในชอ่ งตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความท่ีมคี วามหมายเป็นทางบวก ก�ำ หนดให้คะแนนแต่ละขอ้ ความดังน้ี ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 สว่ นของขอ้ ความทมี่ คี วามหมายเปน็ ทางลบการก�ำ หนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะขอ้ ความจะ มีลกั ษณะเป็นตรงกันขา้ ม การประเมนิ การนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอื่น คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ดา้ นการเขยี นโดยใช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดังตัวอย่างต่อไปน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 ภาคผนวก 303 ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ เน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรุง เน้ือหาถูกต้องแต่ให้สาระสำ�คัญน้อยมาก และ พอใช้ ไมร่ ะบุแหล่งท่ีมาของความรู้ เน้ือหาถกู ตอ้ ง มีสาระสำ�คญั แต่ยงั ไม่ครบถ้วน มี ดี การระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุ ดีมาก แหลง่ ท่มี าของความรู้ชัดเจน ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุด ประสงค์ ขาดการเช่ือมโยงเน้ือหาบางส่วน พอใช้ ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสม และสะกดคำ�ไม่ถูกต้อง ไม่อ้างอิงแหล่งท่ีมาของ ดี ความรู้ เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มีรายละเอียด ไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียบเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง ใช้ภาษา ถูกตอ้ ง อา้ งองิ แหล่งทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของ เร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมาของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็น สำ�คัญทั้งหมด เน้ือหาบางตอนเรียบเรียงไม่ ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหล่งทีม่ าของ ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
304 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 6 รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดีมาก เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความส�ำ คญั และทมี่ าของปญั หา จดุ ประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ 2) การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เป็นการประเมินเพื่อต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใช้พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในสว่ นน้ัน ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มีตัวอย่างดังน้ี ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการวางแผน ต้องปรับปรุง พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ต่ไม่ ดี ตรงกับประเด็นปัญหาทีต่ ้องการเรียนรู้ ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เปน็ บางสว่ น ออกแบบครอบคลมุ ประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เป็นส่วนใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน ออกแบบไดค้ รอบคลุมทุกประเด็นส�ำ คญั ของ ปญั หาอย่างเป็นขน้ั ตอนทช่ี ดั เจนและตรงตาม จดุ ประสงคท์ ี่ต้องการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 6 ภาคผนวก 305 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการด�ำ เนนิ การ ต้องปรบั ปรงุ ด�ำ เนนิ การไมเ่ ป็นไปตามแผน ใช้อปุ กรณ์และสอ่ื ประกอบถูกตอ้ งแตไ่ มค่ ล่องแคล่ว พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละส่ือ ดี ประกอบถกู ตอ้ งแต่ไม่คล่องแคล่ว ด�ำ เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อปุ กรณ์และสือ่ ดมี าก ประกอบการสาธติ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทันเวลา ผลงานในบางขั้นตอนไม่เป็นไปตามจุด ต้องปรบั ปรุง ประสงค์ พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ุปกรณ์และสื่อ ดี ประกอบไดถ้ ูกต้อง คล่องแคลว่ และเสรจ็ ทัน ดีมาก เวลา ผลงานทกุ ขัน้ ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ ดา้ นการอธิบาย อธิบายไม่ถกู ต้อง ขัดแยง้ กบั แนวคดิ หลักทาง วิทยาศาสตร์ อธิบายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธบิ ายเปน็ แบบพรรณนาทวั่ ไปซ่ึงไม่ ค�ำ นงึ ถงึ การเช่ือมโยงกบั ปัญหาทำ�ให้เขา้ ใจยาก อธิบายโดยอาศยั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปัญหาแต่ขา้ มไปในบางขัน้ ตอน ใชภ้ าษาได้ถูกตอ้ ง อธบิ ายตามแนวคดิ หลักทางวทิ ยาศาสตร์ ตรง ตามประเด็นของปญั หาและจุดประสงค์ ใช้ ภาษาได้ถกู ต้องเข้าใจงา่ ย ส่อื ความหมายได้ ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
306 บรรณานุกรม ชวี วิทยา เล่ม 6 บรรณานุกรม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2558). คัมภีร์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังของไทย (พิมพ์คร้ังท่ี 1). นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำ กดั . โครงการศึกษาเชิงลึกโอกาสทางเศรษฐกิจของทรัพยากรชีวภาพ กรณีศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ สำ�นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ. เร่ืองน่ารู้เก่ียวกับความหลากหลายทาง ชีวภาพในประเทศไทย. สืบค้นเมอื่ 03 มิถุนายน 2562, จาก https://www.bedo.or.th/bedo/ new-content.php?id=789 เจษฎา เดน่ ดวงบรพิ นั ธ.์ (2555). ววิ ฒั นาการ (Evolution) (พมิ พค์ รง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ว.ี พรน้ิ ท์ (1991) จ�ำ กดั . ชยั วุฒิ สุดทองคง. (2560). ปลาหมอคางดำ�. สบื ค้นเม่อื 5 กุมภาพนั ธ์ 2562, จาก https://www4. fisheries.go.th/local/file_document/20171114193058_1_file.pdf ธวชั ชยั สนั ตสิ ขุ . (2555). ปา่ ของประเทศไทย (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พส์ �ำ นกั งานพระพทุ ธ ศาสนาแหง่ ชาติ. ฝ่ายตรวจและบังคับการ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. (2535). พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กฎ ประกาศ และระเบยี บท่เี กี่ยวข้องด้านการควบคมุ มลพิษ (พมิ พ์ครัง้ ที่ 6 แก้ไขเพิม่ เติม). กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก. ฝ่ายเลปโตสไปโรสิส เมดิออยโดสีสและบรูเซลโลซิส สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย.์ (2562). โรคไลม์ (Lyme disease). สบื คน้ เมอื่ 16 กนั ยายน 2562, จาก http://nih.dmsc.moph.go.th/data/data/fact_sheet/8_62.pdf สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บรรณานุกรม 307 พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.2562. (2562, 29 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 71 ก. พระราชบัญญัติสงวนและค้มุ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562. (2562, 29 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ 136 ตอนที่ 71 ก. พระราชบญั ญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2562. (2562, 29 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ 136 ตอนที่ 71 ก. ไพศาล สทิ ธิกรกลุ และศวิ าพร ลงยันต์. (2557). กายวิภาคของสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลงั Anatomy of the invertebrates (พิมพ์ครัง้ ที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษทั ซคั เซสพบั พลิเคช่นั . ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาชีววิทยา สมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ รว่ มกบั องคก์ ารยเู สด. (2532). ความหลากหลายทางชวี ภาพ ในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บริษัท ประชาชน จำ�กัด. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2543. (2543, 17 มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ที่ 117 ตอนพเิ ศษ 5 ง. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศพั ทว์ ิทยาศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน (พิมพ์คร้ังที่ 5 แก้ไขเพมิ่ เติม). กรงุ เทพฯ: หา้ งหนุ้ สว่ นจำ�กดั อรณุ การพมิ พ.์ ราชบัณฑิตยสถาน. (2558). พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรงุ เทพฯ: สำ�นักพิมพค์ ณะรฐั มนตรีและราชกิจจานุเบกษา. ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสาร ส�ำ นกั อทุ ยานแหง่ ชาต.ิ การจดั การความรู้ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2554. สบื คน้ เมอ่ื 10 กนั ยายน 2562, จาก http://www.dnp.go.th/np_info/KM_info54.htm ศนู ยส์ ่อื สารวทิ ยาศาสตรไ์ ทย สวทช. (2551). นำ�้ ทะเลเปล่ยี นสที บ่ี างแสน. สบื ค้นเม่ือ 25 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.nstda.or.th/sci2pub/thaismc/factsheet/hotnews/FS-026.pdf สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
308 บรรณานุกรม ชวี วิทยา เลม่ 6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553). คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐาน ชีววิทยา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำ หรบั นกั เรยี นทเ่ี นน้ วทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (พมิ พค์ ร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2555). คมู่ อื ครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน ชวี วทิ ยา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำ หรบั นกั เรยี นทเ่ี นน้ วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (พมิ พค์ ร้งั ที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 8). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). หนังสือเรียนรู้ เพ่ิมเตมิ เสรมิ ศักยภาพวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 ชวี วิทยา เล่ม 2 ฺBIOLOGY II (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ :บรษิ ทั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จ�ำ กดั . ส่วนส่งเสรมิ และพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลน ส�ำ นกั อนรุ กั ษท์ รัพยากรปา่ ชายเลน กรมทรพั ยากรทาง ทะเลและชายฝ่ัง. (2556). คู่มือความรู้เร่ืองป่าชายเลน (พิมพ์คร้ังท่ี 5). นนทบุรี: บริษัท พลอยมีเดีย จ�ำ กดั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 6 บรรณานุกรม 309 ส่วนสารสนเทศด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า สำ�นักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์พุ ืช. (2562). เขตพน้ื ทร่ี กั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ และเขตพน้ื ทห่ี า้ มลา่ สตั วป์ า่ . สบื คน้ เมอ่ื 16 กนั ยายน 2562, จาก http://www.dnp.go.th/wildlife_it/n_web/lacegant/conservation_areas_search.php สาขาชวี วทิ ยา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2532). โปรตสิ ต์บางชนิดที่พบ ในประเทศไทย เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ: สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2559). 10 พฤติกรรมที่มีส่วนทำ�ให้เชื้อด้ือยา. สบื คน้ เมอื่ 27 มถิ นุ ายน 2562, จาก https://www.facebook.com/thai.antibiotic.awareness/ photos/fpp.1566496656905883/1877757432446469/?type=3&theater ส�ำ นกั งานราชบัณฑติ ยสภา. (2560). พจนานกุ รมศัพท์พฤกษศาสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑิตยสภา (พิมพ์ ครง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ: สำ�นกั พิมพค์ ณะรฐั มนตรีและราชกจิ จานุเบกษา. ส�ำ นกั นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม. (2561). มติคณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2561 เร่ืองมาตรการป้องกัน ควบคุม และกำ�จัด ชนิดพันธ์ุต่างถิ่น. กรุงเทพฯ: กองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ. สำ�นักวิชาการ สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2562). เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy). สบื คน้ เมือ่ 20 สิงหาคม 2562, จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/ content-issue/2562/hi2562-010.pdf สำ�นกั อทุ ยานแหง่ ชาติ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุพ์ ชื . (2562). อุทยานแห่งชาต.ิ สบื ค้น เมือ่ 20 สิงหาคม 2562, จาก http://park.dnp.go.th/visitor/indexnationpark.php สกุ าญจน์ รตั นเลศิ นสุ รณ.์ (2550). หลกั การอนรุ กั ษแ์ ละการจดั การชวี ภาพ (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ: สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ). องคก์ ารกระจายเสยี งและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย. (2562). ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แกไ้ มไ่ ด้ ถ้ารฐั ไม่ใส่ใจ จัดการจริงจัง. สบื ค้นเม่ือ 1 กนั ยายน 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/ content/283522 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
310 บรรณานุกรม ชวี วิทยา เลม่ 6 องคก์ ารกระจายเสยี งและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย. (2562). ขา่ วดี พรคุ วนเครง็ ฝนุ่ PM2.5 ลดลงอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน. สบื คน้ เมอ่ื 18 สงิ หาคม 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/ content/282848 องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. (2562). ช้างป่า แอบซุ่มลอยคอใน น้ำ� เตรียมบุกสวนผลไม้. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/ content/282787 องค์การกระจายเสยี งและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย. (2562). ตะลึงเอเลียนสปีชสี ์ หนอน ตัวแบนนิวกินี โผล่ไทย-ติด 100 ชนิดรุกรานท่ีสุดของโลก. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/267494 องคก์ ารกระจายเสยี งและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย. (2562). พบพนั ธไ์ุ มช้ นดิ ใหมข่ องโลก พรหมจฬุ าภรณ์ รอต่อยอดยาตา้ นมะเรง็ . สบื ค้นเม่อื 1 กนั ยายน 2562, จาก https://news. thaipbs.or.th/content/283064 องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. (2562). มองโกเลีย เล็งใช้ ถุงเพาะ ชำ�ชวี ภาพ จากไทยพลิกฟ้ืนทะเลทราย. สืบคน้ เมือ่ 18 สงิ หาคม 2562, จาก https://news. thaipbs.or.th/content/282960 องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. (2562). รวบพรานป่า อ.เชียงดาว พร้อมซากเลียงผา-เก้ง. สืบค้นเม่ือ 18 สิงหาคม 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/ content/279030 องคก์ ารกระจายเสยี งและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย. (2562). ลอ่ ซอ้ื ลกู หมคี วาย รอดเหยอ่ื ค้าสัตว์ป่าออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/con- tent/280155 องคก์ ารกระจายเสยี งและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย. (2562). เศรา้ มาเรยี มลกู พะยนู ขวญั ใจ ตาย ชอ็ ก-เจอถงุ พลาสตกิ . สืบค้นเมอ่ื 20 สิงหาคม 2562, จาก https://news.thaipbs.or.th/ content/283006 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 6 บรรณานกุ รม 311 องค์การสวนพฤกษศาสตร์. (2554). โคลงเคลงขนตอ่ ม. สบื ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2562, จาก http:// w w w. q s b g . o r g / D a t a b a s e / B O TA N I C _ B o o k % 2 0 f u l l % 2 0 o p t i o n / s e a r c h _ d e t a i l . asp?botanic_id=2481 อรยุพา สังขะมาน, ธนากร ไชยยศ, ชฎาภรณ์ ศรีใส และวรางคณา จันดา. สถานการณ์ป่าไม้ไทย พทุ ธศกั ราช 2560-2561 มลู นธิ สิ บื นาคะเสถยี ร. สบื คน้ เมอื่ 03 มถิ นุ ายน 2562, จาก https:// www.seub.or.th/document/สถานการณป์ า่ ไมไ้ ทย/รายงานสถานการณ์ปา่ ไมไ้ ทย -6/ อจั ฉรยิ า รงั ษริ จุ .ิ (2555). ววิ ัฒนาการ: จากทฤษฎีสู่การประยุกต์ (พิมพค์ รงั้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท เทก็ ซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำ�กดั . Aratrakorn, S., Thunhikorn, S. & Donald, P. F. (2006). Changes in bird communities following conversion of lowland forest to oil palm and rubber plantations in southern Thailand. Bird conservation international, 16(1), 71-82. Baran, E. (2006). Fish migration triggers in the Lower Mekong Basin and other tropical freshwater systems. MRC technical paper, 14, 1-55. Barnes, B. V., Zak, D. R., Denton, S. R. & Spurr, S. H. (1997). Forest ecology (4th ed.). New York: John Wiley and Sons. Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V. & Reece, J. B. (2018). Biology: A global approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Cowan, M. K., & Talaro, K. P. (2009). Microbiology: a systems approach (2nd ed). New York: McGraw-Hill Education. Cunningham, W. P., Cunningham, M. A. & Saigo, B. W. (2001). Environmental science: A global concern (4th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Decharat, S. (2016). Heavy metals exposure and hygienic behaviors of workers in sanitary landfill areas in Southern Thailand. Scientifica, 2016, 9269210. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
312 บรรณานุกรม ชีววทิ ยา เล่ม 6 DeSalle, R., Heithaus & M. R. (2008). Holt Biology. Orlando: Holt, Rhinehart and Winston. Dushenkov, V., Kumar, P. N., Motto, H. & Raskin, I. (1995). Rhizofiltration: the use of plants to remove heavy metals from aqueous streams. Environmental science & Technology, 29(5), 1239-1245. Fangsuwannarak, K. & Triratanasirichai, K. (2013). Improvements of palm biodiesel properties by using nano-TiO2 additive, exhaust emission and engine performance. The Romanian Review Precision Mechanics, Optics & Mechatronics, 43, 111-118. Government of Canada. (2014). Pathogen safety data sheets: Infectious substances- Clostridium spp. Retrieved May 14, 2019, from https://www.canada.ca/en/ public-health/services/laboratory-biosafety-biosecurity/pathogen-safety-data-sheet s-risk-assessment/clostridium.html Hickman, C. P., Roberts, L. S., Keen, S. L., Larson, A. & Eisenhour, D. J. (2015). Animal diversity (7th ed). New York: McGraw-Hill Education. Hufnagel, D. A., Depas W. H. & Chapman M. R. (2015). The biology of the Escherichia coli extracellular matrix. Microbiol Spectr, Retrieved June 26, 2019, from doi:10.1128/ microbiolspec.MB-0014-2014 Kardong, K. V. (2015). Vertebrates: comparative anatomy, function, evolution (7th ed). New York: McGraw-Hill Education. Klöppel, M., Smith, L. & Syrett, P. (2003). Predicting the impact of the biocontrol agent Aulacidea subterminalis (Cynipidae) on growth of Hieracium pilosella (Asteraceae) under differing environmental conditions in New Zealand. Biocontrol Science and Technology, 13(2), 207-218. Krebs, C. & Elwood, B. (2008). The ecological world view. Oakland: University of California Press. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 6 บรรณานุกรม 313 Krebs, C. J. (1989). Ecological methodology. New York: Harper & Row. Krebs, C. J. & Krebs, C. J. (1994). Ecology: the experimental analysis of distribution and abundance (6th ed). San Francisco, CA: Pearson Benjamin Cummings. Lindeman, R. L. (1942). The trophic‐dynamic aspect of ecology. Ecology, 23 (4), 399-417. Mader, S. S. (2010). Biology (10th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Mason, K. A., Losos, J. B., Raven, P. H., Johnson, G. B. & Singer, S. R. (2017). Biology.New York: McGraw-Hill Education. Mohammad, A. G. & Adam, M. A. (2010). The impact of vegetative cover type on runoff and soil erosion under different land uses. Catena, 81(2), 97-103. Molles, M. (2016). Ecology: concepts and applications (7th ed). New York: McGraw-Hill Education. Mora, C., Tittensor, D. P., Adl, S., Simpson, A. G. B., & Worm, B. (2011). How Many Species Are There on Earth and in the Ocean? PLoS Biology, 9(8). doi: 10.1371/journal. pbio.1001127 Odum, E. P. & Barrett, G. W. (2005). Fundamentals of ecology (5th ed). Belmont, CA: Thomson Brooks/Cole. Økelsrud, A., Lydersen, E. & Fjeld, E. (2016). Biomagnification of mercury and selenium in two lakes in southern Norway. Science of the total environment, 566, 596-607. Roskov Y., Ower G., Orrell T., Nicolson D., Bailly N., Kirk P.M., Bourgoin T., DeWalt R.E., Decock W., Nieukerken E. van, Zarucchi J., Penev L., eds. (2019). Species 2000 & ITIS Catalogue of Life, 2019 Annual Checklist. Retrieved November 6, 2019, from digital resource at www.catalogueoflife.org/annual-checklist/2019. Species 2000: Naturalis, Leiden, the Netherlands. ISSN 2405-884X. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
314 บรรณานกุ รม ชีววทิ ยา เลม่ 6 Ruppert, E. E., Fox, R. S. & Barnes, R. D. (2004). Invertebrate zoology : a functional evolutionary approach (7th ed). California:Brooks/Cole, a division of Thomson Learning Inc. Smith, R. L. (1990). Ecology and field biology (4th ed). New York: HarperCollins Publishers. Solomon, E. P., Berg, L. R. & Martin, D. W. (2011). Biology (9th ed). Belmont, CA: Thomson Brooks/Cole. Springer, J. T. & Holley, D. (2013). An introduction to zoology : investigating the animal world (1st ed). Massachusetts: Jones & Bartlett Learning, LLC, and Ascend Learning Company. Talaro, K. & Talaro A. (1996). Foundations in microbiology (2nd ed). Dubuque, IA: Wm. C. Brown Publishers. Tepedino, V. J., Bradley, B. A. & Griswold, T. L. (2008). Might flowers of invasive plants increase native bee carrying capacity? Intimations from Capitol Reef National Park, Utah. Natural areas journal, 28(1), 44-51. Terborgh, J. (1992). Diversity and the tropical rain forest. New York: Scientific American Library. Whitmore, T. C. (1998). An introduction to tropical rain forests. New York: Oxford University Press. Woods, M., McDonald, R. A. & Harris, S. (2003). Predation of wildlife by domestic cats Felis catus in Great Britain. Mammal review, 33(2), 174-188. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บรรณานุกรม 315 ทม่ี าของรปู รปู (หน้า) - ต้นไมใ้ นป่าดิบช้นื (265) ทมี่ า เอื้อเฟื้อโดย คณุ นธิ นิ นั ท์ มานะภาคย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
316 คณะกรรมการจดั ท�ำ คมู่ อื ครู ชีววิทยา เล่ม 6 คณะกรรมการจดั ทำ�คู่มือครู รายวิชาเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วทิ ยา เลม่ 6 ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คณะท่ีปรกึ ษา ผูอ้ �ำ นวยการ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. ศ.ดร.ชกู จิ ลมิ ปิจำ�นงค ์ ผู้ชว่ ยผอู้ ำ�นวยการ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศักด ์ิ คณะผู้จดั ท�ำ คู่มอื ครู รายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 6 1. รศ.ดร.ธรี พงษ์ บัวบชู า จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธิกรกุล ผเู้ ชย่ี วชาญพิเศษ 3. นายธีรพฒั น์ เวชชประสทิ ธ์ิ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. รศ.ดร.วรี ะวรรณ สทิ ธิกรกุล ผู้อ�ำ นวยการสาขาเคมแี ละชีววิทยา 5. นางเพ็ชรรตั น์ ศรีวลิ ัย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. ผศ.ดร.พชั นี สิงหอ์ าษา ผู้เชย่ี วชาญ 7. นายณรงค์ พ่วงศร ี สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. ดร.อรสา ชสู กลุ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้ชู �ำ นาญ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญสาขาเคมแี ละชวี วทิ ยา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 คณะกรรมการจดั ทำ�คู่มอื ครู 317 9. ดร.ขวญั ชนก ศรัทธาสุข นกั วิชาการสาขาเคมีและชีววิทยา 10. ดร.ภณั ฑลิ า อุดร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11. นางสาวปุณยาพร บริเวธานันท ์ นกั วิชาการสาขาเคมแี ละชวี วทิ ยา 12. ดร.ธเณศ เกดิ แกว้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิชาการสาขาเคมีและชวี วทิ ยา สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวชิ าการสาขาเคมแี ละชีววิทยา สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผรู้ ่วมพจิ ารณาค่มู ือครู รายวิชาเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชวี วิทยา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เล่ม 6 1. ผศ.ดร.ชชั วาล ใจซือ่ กลุ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2. ผศ.ดร.อาจอง ประทตั สนุ ทรสาร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 3. ผศ.ดร.ชุมพล คุณวาส ี นกั วิชาการอิสระ 4. นางกนษิ ฐา ศรีเอม โรงเรยี นปากช่อง จ.นครราชสีมา 5. นายไกรสิภณณ์ พงษ์วทิ ยภานุ โรงเรยี นวสิ ุทธริ ังษี จ.กาญจนบรุ ี 6. นางสาวจนั ทรสั ม์ สัตตรัตนขจร โรงเรยี นเสริมงามวิทยาคม จ.ลำ�ปาง 7. นางสาวจนั ทมิ า มลี า โรงเรยี นเรณูนครวิทยานกุ ลู จ.นครพนม 8. นางสาวชยาภา พมุ่ สมบตั ิ โรงเรยี นขาณุวทิ ยา จ.กำ�แพงเพชร 9. นางธนดั ดา คงมที รัพย์ โรงเรียนอา่ งทองปัทมโรจน์วิทยาคม จ.อ่างทอง 10. นางนันท์นลิน เพชรรกั ษ์ โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามคั คี) จ.สงขลา 11. นายปรชั ญา ละงู โรงเรยี นเมืองถลาง จ.ภเู ก็ต 12. นางสาวปาจรยี ์ แก้วเจริญ โรงเรยี นศรียานสุ รณ์ จ.จนั ทบรุ ี 13. นางสาวปาริชาติ กิตตมิ าสกุล โรงเรยี นปทมุ คงคา กรุงเทพฯ 14. นางสาวพิมพิสุทธิ์ แสนพงษ ์ โรงเรยี นพบิ ูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี 15. นายมโนชย์ จงรกั วทิ ย ์ โรงเรียนมัธยมประชานเิ วศน์ กรุงเทพฯ 16. นายรัฐราษฎร์ เก้ือสกุล โรงเรยี นสรุ ศักดิ์มนตรี กรงุ เทพฯ 17. นางวจิ ิตต์ สุทธ ิ โรงเรียนวงั จันทรว์ ทิ ยา จ.ระยอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
318 คณะกรรมการจัดทำ�คมู่ ือครู ชวี วทิ ยา เลม่ 6 18. นายววิ ัฒน์ บญุ ธรรม โรงเรียนโยธนิ บรู ณะ ๒ (สุวรรณสทุ ธาราม) 19. นางสาวศศิธร บวั ลา โรงเรยี นพระหฤทัย จ.เชยี งใหม่ 20. ดร.สุนดั ดา โยมญาต ิ ผู้ชำ�นาญสาขาเคมีและชวี วทิ ยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 21. นางสาววิลาส รตั นานุกูล นกั วชิ าการอาวโุ สสาขาเคมแี ละชวี วทิ ยา สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22. ดร.นนั ทยา อัครอารยี ์ นักวิชาการสาขาเคมีและชีววิทยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23. นางสาวปาณิก เวยี งชัย นักวชิ าการสาขาเคมีและชีววทิ ยา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะบรรณาธิการ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 1. รศ.ดร.ธีรพงษ์ บวั บชู า จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ผศ.ดร.ชัชวาล ใจซอ่ื กุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. ผศ.ดร.อาจอง ประทตั สุนทรสาร นักวชิ าการอสิ ระ 4. ผศ.ดร.ชมุ พล คณุ วาส ี ผชู้ ว่ ยผอู้ �ำ นวยการ 5. ดร.วนิดา ธนประโยชนศ์ ักด์ิ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผเู้ ชย่ี วชาญพิเศษ 6. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธิกรกลุ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้อำ�นวยการสาขาเคมีและชีววทิ ยา 7. นายธรี พฒั น์ เวชชประสิทธิ ์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบนั สง� เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ� ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331