โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 11 | การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ 89 11.2 หลกั ฐานแสดงการเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศบรรพกาล จุดประสงค์การเรยี นรู้ อธบิ ายหลกั ฐานที่ใชบ้ ง่ บอกการเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 4 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org แนวการจัดการเรยี นรู้ 1. ครนู ำ� เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นพจิ ารณารปู กราฟเกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของ โลกต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั จากลงิ ค์ https://earthobservatory.nasa.gov/features/ GlobalWarming/page3.php ซ่งึ แสดงอุณหภูมิเฉลยี่ ของโลกตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 500-2000 โดยเส้นสเี ขียวแสดงอณุ หภมู ิเฉลี่ยของโลกที่คำ� นวณได้จากหลักฐานต่าง ๆ เสน้ สีนำ�้ เงินแสดง อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของโลกทไ่ี ดจ้ ากการตรวจวดั หลงั จากมกี ารพฒั นาเครอื่ งมอื ตรวจวดั เมอ่ื ประมาณ ค.ศ. 1800 จากนัน้ รว่ มกันอภิปรายโดยใช้คำ� ถามดงั ตอ่ ไปนี้ กราฟแสดงอณุ หภมู ทิ ไี่ ดจ้ ากการตรวจวดั โดยเครอ่ื งมอื มกี ารเกบ็ ขอ้ มลู ยอ้ นไปไดป้ ระมาณกปี่ ี แนวค�ำตอบ ประมาณหนึง่ รอ้ ยปที ผี่ ่านมา นักเรียนคิดว่านักวิทยาศาสตร์บอกภูมิอากาศในช่วงเวลาก่อนท่ีจะมีเคร่ืองมือตรวจวัด ได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาจากหลักฐานต่าง ๆ เช่น บันทึกทางประวัติศาสตร์ หลกั ฐานทางธรณวี ิทยา หรอื นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง 2. ครใู หค้ วามรเู้ กยี่ วกบั หลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยา (geological evidence) ทไี่ ดบ้ นั ทกึ ลกั ษณะของ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่าง ๆ ไว้ และน�ำมาใช้บอกสภาพภูมิอากาศ บรรพกาลได้ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศึกษาวดี ิทัศนเ์ กยี่ วกับการเจาะแทง่ น�้ำแข็ง แสดงตวั อยา่ งของ การเก็บหลกั ฐานทางธรณีวิทยา จากนั้นรว่ มกันอภิปรายโดยใชค้ ำ� ถามดังตอ่ ไปนี้ เพราะเหตใุ ดนักวิทยาศาสตร์จงึ ศึกษาภมู ิอากาศบรรพกาลได้จากแท่งน้�ำแข็ง แนวคำ� ตอบ นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง (เพราะในแทง่ นำ�้ แขง็ มฟี องอากาศ ทกี่ กั เกบ็ แกส๊ ทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบของบรรยากาศในชว่ งเวลาในอดตี รวมทง้ั อาจยงั กกั เกบ็ ละอองลอยชนดิ ต่าง ๆ ท�ำให้สามารถเช่อื มโยงถึงภมู อิ ากาศในอดีตได)้ นกั เรียนคดิ วา่ นอกจากแท่งนำ�้ แขง็ แลว้ ยังมีหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาอย่างอน่ื อีกหรือไม่ ให้ยก ตวั อย่าง แนวคำ� ตอบ นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง (มหี ลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาอยา่ งอน่ื อกี เชน่ ตะกอนมหาสมทุ ร ตะกอนทะเลสาบ การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางธรณสี ณั ฐาน) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
90 บทที่ 11 | การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 3. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ขอ้ มลู จากหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทนี่ กั วทิ ยาศาสตรน์ ำ� มาใชเ้ พอื่ เชอื่ มโยงถงึ ภูมอิ ากาศบรรพกาลเรยี กว่าตวั บง่ ช้ี (proxies) โดยยกตัวอยา่ งตามหนงั สือเรียน ดงั น้ี นกั วทิ ยาศาสตรว์ เิ คราะหช์ นดิ และปรมิ าณแกส๊ ทอ่ี ยใู่ นฟองอากาศทถ่ี กู กกั เกบ็ ไวใ้ นแทง่ นำ้� แขง็ ทไี่ ดจ้ ากการขดุ เจาะพดื นำ้� แขง็ โดยเฉพาะ แกส๊ เรอื นกระจก และองคป์ ระกอบอน่ื ของอากาศ เช่น ฝุ่น เถา้ ภเู ขาไฟ ละอองเรณู ท่ตี กลงพรอ้ มกับหยาดน้�ำฟา้ และสะสมตัวในชัน้ นำ�้ แข็ง สมบตั ทิ างกายภาพและสมบตั ทิ างเคมี รวมถงึ ซากสง่ิ มชี วี ติ ทสี่ ะสมตวั รว่ มกบั ตะกอนมหาสมทุ ร และตะกอนทะเลสาบ ปริมาณออกซิเจนไอโซโทปในแท่งน้�ำแข็งและแท่งตะกอนมหาสมุทร โดยถ้าโลกมีอุณหภูมิ ลดลงจะพบการสะสมตวั ของ 16O บนพดื นำ�้ แขง็ มาก สว่ นตะกอนมหาสมทุ รจะพบการสะสมตวั ของ 18O มากโดยพบอยใู่ นเปลือกของสงิ่ มชี วี ิตเซลล์เดยี ว การเปลยี่ นแปลงของลกั ษณะทางธรณสี ณั ฐาน เชน่ แพเศษหนิ พดื นำ้� แขง็ (moraine) ซงึ่ เปน็ ธรณสี ณั ฐานทเี่ กดิ จากการสะสมตวั ของตะกอนขนาดตา่ ง ๆ ในธารนำ้� แขง็ ในขณะทอี่ ณุ หภมู โิ ลก ลดลงธารนำ�้ แขง็ จะขยายตวั พาตะกอนตา่ ง ๆ เคลอื่ นทไี่ ปดว้ ย และเมอื่ อณุ หภมู สิ งู ขน้ึ ธารนำ�้ แขง็ ละลายจึงเห็นแพเศษหินพืดน�้ำแข็งในบริเวณต่าง ๆ ท่ีเคยมีธารน้�ำแข็งอยู่ เว้าทะเล (sea notch) เป็นธรณีสัณฐานท่ีพบบนหน้าผาบริเวณชายฝั่งที่เกิดจากการกัดเซาะของ น้ำ� ทะเล มีลกั ษณะเป็นรอยเว้าในแนวระดบั ซึ่งจะขนานไปกบั ระดับนำ้� ทะเลในชว่ งเวลาและ ยุคต่างๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนั้นเว้าทะเลจึงเป็น หลักฐานส�ำคัญท่ีใช้ในการวิเคราะห์ระดับน�้ำทะเลในอดีตเทียบกับระดับน้�ำทะเลในปัจจุบัน และใช้บง่ บอกถึงภูมิอากาศในช่วงเวลาในอดตี ได้ 4. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า การศึกษาภูมิอากาศบรรพกาลไม่ได้ใช้ตัวบ่งชี้จากหลักฐานใดหลักฐาน หนง่ึ เทา่ นน้ั แตต่ อ้ งวเิ คราะหห์ ลกั ฐานและตวั บง่ ชอี้ นื่ ๆ ประกอบกนั รวมทงั้ ประมวลรว่ มกบั การ คำ� นวณและคา่ ทไ่ี ดจ้ ากการตรวจวดั ในปจั จบุ นั จากนนั้ นกั วทิ ยาศาสตรจ์ งึ นำ� มาจำ� ลองภมู อิ ากาศ บรรพกาลได้ 5. ครูอาจน�ำรูป แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศโลกในช่วงเวลาธรณีกาลเมื่อเปรียบเทียบกับค่า อุณหภมู เิ ฉลย่ี ของอากาศ ในชว่ งปี 2503-2533 โดยดาวโหลดได้จากเวปไซต์ https://upload. wikimedia.org/wikipedia/commons/5/5f/All_palaeotemps.svg กราฟนแี้ สดงใหเ้ หน็ วา่ โลกของเรามีการเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศมาตั้งแตใ่ นอดีต โดยในบางชว่ งเวลาอุณหภมู เิ ฉลยี่ ของ อากาศมีทั้งต�่ำกว่าและสูงกว่าอุณหภูมิเฉล่ียในปัจจุบัน ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาข้อมูลจาก หลักฐานทางธรณีวทิ ยาและจำ� ลองขอ้ มูลไปถึงช่วงเวลาธรณกี าล สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 11 | การเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ 91 แนวทางการวดั และประเมินผล KPA แนวทางการวัดและประเมนิ ผล K: หลกั ฐานแสดงการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ 1. การตอบคำ� ถาม บรรพกาล 2. การสรปุ องคค์ วามรูจ้ ากการอภิปราย 3. แบบฝึกหัดทา้ ยบท -- A: ความใจกว้าง การร่วมอภิปรายและการตอบค�ำถาม ความรเู้ พม่ิ เตมิ ภมู อิ ากาศบรรพกาลจากแกนนำ�้ แขง็ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาภูมิอากาศบรรพกาล โดยศึกษาแท่งน�้ำแข็งที่เจาะลงไปในพืดน�้ำแข็ง จากกรีนแลนด์ แอนตาร์กติกา และจากธารน้�ำแข็งในละติจูดสูงหลายบริเวณท่ัวโลกแล้วน�ำมา วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ ท�ำให้เหน็ การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศบรรพกาลโดยรวมของโลก ขอ้ มลู จากแกนนำ้� แขง็ นำ� มาใชบ้ อกเลา่ เรอื่ งราวการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ได้ เนื่องจากในขณะที่หิมะสะสมตัวเป็นช้ัน ๆ ในแต่ละช่วงเวลาน้ันได้กักเก็บตัวบ่งช้ีภูมิอากาศ ในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งตัวบ่งช้ีเหล่าน้ีได้บ่งบอกอุณหภูมิ องค์ประกอบของอากาศ ปริมาณ หยาดน�้ำฟ้า การระเบิดของภูเขาไฟและรูปแบบของลม เม่ือน�ำข้อมูลตัวบ่งช้ีมาวิเคราะห์ และ ประกอบกนั ทำ� ใหท้ ราบภมู อิ ากาศบรรพกาล ณ เวลาที่ตัวบง่ ชีน้ น้ั สะสมตัว ตวั บง่ ชภี้ มู อิ ากาศบรรพกาลทไี่ ดจ้ ากแกนนำ้� แขง็ เชน่ ละอองลอย แกส๊ อตั ราสว่ นไอโซโทปเสถยี ร ออกซิเจน โดยตัวบง่ ช้ีดังกล่าวถูกนำ� มาใชบ้ ง่ บอกภมู อิ ากาศแต่ละช่วงเวลาได้ ดงั น้ี ละอองลอย ชนิด ลักษณะ และปริมาณของละอองลอย เช่น ฝุ่น ละอองเรณู เถ้าภูเขาไฟ เกลอื ทะเลที่สะสมตัวในแท่งนำ้� แข็ง ถกู นำ� มาใชบ้ อกสภาพภมู ิอากาศ เช่น ชนดิ และปริมาณฝุน่ มคี วามสมั พนั ธก์ บั อณุ หภมู ใิ นชว่ งเวลานนั้ ๆ ละอองเรณถู กู นำ� มาวเิ คราะหช์ นดิ ของพชื ซง่ึ เชอ่ื มโยง ลกั ษณะภมู อิ ากาศทพ่ี ชื นนั้ ๆ สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ เถา้ ภเู ขาไฟบง่ บอกถงึ การเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ และปรมิ าณเกลอื ทะเลใชบ้ อกถึงรูปแบบของทศิ ทางลมได้ แกส๊ ในแกนน�้ำแข็งมีฟองอากาศเล็ก ๆ จ�ำนวนมาก ซึ่งภายในฟองอากาศมแี กส๊ ชนิดต่าง ๆ ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบของอากาศในชว่ งเวลาทชี่ นั้ นำ้� แขง็ สะสมตวั โดยเฉพาะแกส๊ เรอื นกระจก เชน่ คาร์บอนไดออกไซด์ มเี ทน ซึ่งนกั วทิ ยาศาสตร์น�ำมาเชอ่ื มโยงกับอุณหภมู ิอากาศในอดีต หากใน แกนนำ้� แขง็ นน้ั มปี รมิ าณแกส๊ เรอื นกระจกมากแสดงวา่ อณุ หภมู อิ ากาศในชว่ งดงั กลา่ วมแี นวโนม้ สงู กว่าช่วงเวลาอืน่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
92 บทท่ี 11 | การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 อัตราส่วนไอโซโทปเสถียรออกซิเจน (δ18O) คือ อัตราส่วนของ 18O ต่อ 16O ท่ีพบใน แท่งน�้ำแขง็ 16O มีมวลนอ้ ยกว่า 18O สง่ ผลให้ 16O ทอี่ ยูใ่ นแหลง่ นำ้� ระเหยได้งา่ ยกว่า สว่ น18O ที่มมี วลมากกวา่ จะระเหยข้ึนจากแหลง่ น�้ำได้ตอ่ เมอ่ื มีพลงั งานหรืออุณหภูมสิ งู กว่าปกติ เมือ่ 16O และ 18O ระเหยจากแหล่งน�้ำขึ้นไปในบรรยากาศจะควบแน่นเป็นหยาดน้�ำฟ้า จึงพบ16O และ 18O ในช้ันน�้ำแขง็ ในปริมาณที่แตกตา่ งกันซ่งึ ขนึ้ อยูก่ ับอณุ หภมู ิของโลกในช่วงเวลานัน้ เมื่อโลกมีอุณหภูมิสูง 18O ที่อยู่ในน้�ำในมหาสมุทรจะระเหยขึ้นไปในบรรยากาศได้มาก และ เม่อื อยู่ในรปู ของหมิ ะก็จะสะสมตัวเปน็ ชนั้ น้�ำแขง็ ท�ำใหใ้ นชน้ั นำ้� แข็งมี 18O มาก ในทางกลับกัน เม่ือโลกมีอุณหภูมิต่�ำหรืออยู่ในยุคน�้ำแข็ง 16O ท่ีมีมวลน้อยกว่าจะระเหยขึ้นไปในบรรยากาศได้ มาก และเม่ือเปน็ หิมะสะสมตวั เปน็ ชนั้ น�้ำแขง็ ทำ� ใหใ้ นชนั้ นำ�้ แข็งมี 16O มาก ดงั นัน้ อตั ราส่วน ของ 18O และ 16O จึงนำ� มาใช้พิจารณาอุณหภมู ิของอากาศในอดีตได้ อัตราส่วนไอโซโทปเสถียรออกซิเจนในแกนน้�ำแข็งเป็น อัตราส่วนระหว่างออกซิเจน ไอโซโทป 18 ตอ่ ออกซิเจนไอโซโทป 16 ของตัวอยา่ งท่วี เิ คราะห์ กบั คา่ มาตรฐานทีไ่ ดจ้ าก น้�ำทะเลตามมาตรฐานของที่ประชุมเวียนนา (Vienna Standard Mean Ocean Water หรือ VSMOW) โดยเขียนเปน็ สมการไดด้ งั นี้ 11.3 ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศและการชะลอการเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. รวบรวมขอ้ มูลและอธิบายผลจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศทมี่ ีต่อสง่ิ มชี ีวิตและสงิ่ แวดลอ้ ม 2. ออกแบบและนำ� เสนอแนวปฏิบตั ิเพ่ือลดปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก และ แนวทางการรบั มอื กบั ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขึ้น สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 4 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 11 | การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ 93 แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครนู �ำเข้าสู่บทเรยี น โดยให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกบั ขา่ ว บทความ หรือประสบการณท์ ่ี เคยรับร้เู ก่ยี วกับการเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศโลก 2. จากนนั้ แบง่ กล่มุ นักเรยี น แล้วใหป้ ฏิบตั ิกจิ กรรม 11.3 ตามหนงั สือเรยี นหนา้ 62 เพ่ือศกึ ษา ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศและการรับมอื กจิ กรรม 11.3 ผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศและการรบั มือ จุดประสงค์กจิ กรรม 1. รวบรวมขอ้ มลู และอธบิ ายผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ สงิ่ มชี วี ติ และ สง่ิ แวดล้อม 2. ออกแบบและนำ� เสนอแนวปฏบิ ตั เิ พอื่ ลดปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ และ แนวทางการรบั มือตอ่ ผลกระทบทีอ่ าจเกิดข้ึน ส่อื และแหลง่ เรียนร ู้ เอกสารวชิ าการ เช่น 1. สำ� นกั นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม. (2561). ความรู้พ้นื ฐานดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการ ปรับตัวของชุมชนต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์เดอื นตลุ าคม. 2. สำ� นกั นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม. (2558). แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ พ.ศ. 2558- 2593. 3. วกิ านดา วรรณวเิ ศษ. (2553). การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศกบั ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย. หอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกสว์ ุฒสิ ภา, ปที ่ี 5 (ฉบับท่ี 17), หน้า 1-17. 4. กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (2559). การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ และการเตรียมการดา้ น สาธารณสุข สำ� หรับเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 1). กรุงเทพฯ: โครงการผลิตส่ือ สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี ุน่ ). 5. พรพรรณ สอนเชอ้ื . (2560). การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศกบั โรคตดิ เชอ้ื . ธรรมศาสตรเ์ วชสาร, ปีท่ี 17 (ฉบับท่ี 3), หน้า 440 - 445. เวลา 1 ชั่วโมง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
94 บทท่ี 11 | การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ 1. เตรียมสำ� เนาเอกสารข้อ 1 – 3 จ�ำนวน 7 ชุด เพ่อื แจกให้กบั ทุกกลมุ่ 2. เตรียมส�ำเนาเอกสารข้อ 1 – 3 จ�ำนวน 7 ชุด เพ่ือแจกให้เฉพาะกับทุกกลุ่มท่ีได้หัวข้อ ผลกระทบต่อสุขภาพ 3. เตรยี มกระดาษแผ่นใหญ่และปากกาสีต่าง ๆ จำ� นวนเท่ากบั กลุ่ม 4. เตรยี มกระดาษกาวสำ� หรบั ติดผลงานเพือ่ ข้อเสนอแนะส�ำหรับครู ใชก้ ลวธิ ี expert group ในการทำ� กจิ กรรม เพอื่ บรหิ ารจดั การเวลาและฝกึ ใหน้ กั เรยี นมที กั ษะ ในการรวบรวมข้อมูลและสรปุ โดยปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. แบง่ กลมุ่ และจำ� นวนนกั เรยี นใหเ้ ทา่ กบั จำ� นวนหวั ขอ้ ผลกระทบ เชน่ จากตวั อยา่ งในขอ้ 1 ใหแ้ บง่ ออกเปน็ 6 กลุ่ม กลมุ่ ละ 6 คน 2. จากนั้นแบ่งหน้าท่ีให้กับสมาชิกทุกคนตามหัวข้อผลกระทบ ดังนั้นสมาชิกแต่ละคนจะ มหี น้าทศี่ ึกษา 1 หวั ข้อ 3. ให้สมาชิกของแต่ละกลุ่มในข้อ 1 กระจายเข้ากลุ่มใหม่ตามหัวข้อผลกระทบที่ก�ำหนด ดงั นัน้ สมาชกิ ทกุ คนในกล่มุ ใหมจ่ ะศกึ ษาในหัวข้อยอ่ ยเดยี วกัน 4. ให้สมาชิกในกลุ่มใหม่ร่วมกันศึกษาและสรุปความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการ เปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศและการรบั มือในหวั ขอ้ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ภายในเวลาที่ก�ำหนด 5. จากนน้ั สมาชกิ ในกล่มุ ใหมก่ ลับเข้ากลมุ่ ทแ่ี บ่งไว้เดมิ ในข้อ 1 เพ่อื น�ำข้อมลู ทไี่ ด้ไปศึกษา มาแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละรว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลง ภูมอิ ากาศและการรบั มอื 6. ออกแบบการนำ� เสนอผลงาน และน�ำผลงานของกล่มุ ตนเองไปติดไว้ขา้ งผนังหอ้ ง 7. ให้แต่ละกลุ่มเวียนชมผลงานของเพ่ือน ๆ ทีกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 3 นาที โดยรอฟัง สญั ญาณจากครู และหากมขี อ้ เสนอแนะใด ๆ ใหเ้ ขยี นใสก่ ระดาษตดิ ไวท้ ผี่ ลงานของกลมุ่ นนั้ ๆ วิธกี ารทำ� กจิ กรรม 1. ศกึ ษาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศในด้านตา่ ง ๆ ดงั ตัวอยา่ งดา้ นลา่ ง จาก เอกสารท่กี �ำหนด หรือแหลง่ เรียนรู้อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง - ผลกระทบต่อการเกษตร - ผลกระทบตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพและระบบนเิ วศ - ผลกระทบต่อทรัพยากรน้�ำและพน้ื ท่ชี ายฝัง่ - ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 11 | การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ 95 - ผลกระทบตอ่ ดา้ นพลงั งาน - ผลกระทบต่อระบบคมนาคม 2. อภปิ รายและอธิบายผลกระทบด้านตา่ ง ๆ ทสี่ ืบเนือ่ งจากการเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ 3. ศึกษาแผนแม่บทรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558 – 2593 เรอื่ งการปรบั ตวั ตอ่ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศและการลดแกส๊ เรอื นกระจก จากนั้นออกแบบแนวทางปฏิบัติของนักเรียนเพ่ือลดปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง ภมู อิ ากาศ และแนวทางการรับมือต่อผลกระทบท่อี าจเกิดขนึ้ 4. นำ� เสนอผลการท�ำกจิ กรรม เพ่ือรว่ มอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นในช้ันเรยี น ผลการท�ำกจิ กรรม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ 1. ผลกระทบตอ่ การเกษตร เช่น 1.1 ภมู ภิ าคในเขตรอ้ นมผี ลผลติ ทางการเกษตรลดตำ�่ ลง เนอื่ งจากอณุ หภมู ขิ องอากาศที่ สงู สง่ ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื บางชนดิ สง่ เสรมิ การระบาดของแมลงหรอื วชั พชื การเกิดไฟปา่ สภาพดินเสอ่ื มโทรม ปรมิ าณน�้ำไมเ่ พยี งพอเน่อื งจากความแหง้ แลง้ 1.2 ผลกระทบต่อการเล้ียงปศุสัตว์ ท�ำให้สัตว์เจ็บป่วยและตาย ปริมาณน้�ำนมลดลง เนอื่ งจากแหล่งอาหารลดลง การแพรก่ ระจายของเช้ือโรค คลื่นความร้อน 2. ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ เช่น แหล่งท่ีอยู่อาศัยของ สตั วต์ า่ ง ๆ รวมถงึ วงจรชวี ติ มรี ปู แบบทเ่ี ปลย่ี นไป เนอื่ งจากอากาศรอ้ น ฤดกู าลทเ่ี ปลย่ี นไป ระดบั น�้ำทะเลเพ่มิ สูงข้ึน 3. ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรน้�ำและพ้ืนทช่ี ายฝั่ง 3.1 นำ�้ ท่วมชายฝง่ั เนอ่ื งจากระดบั น้�ำทะเลท่ีเพิม่ สูง 3.2 สง่ิ มีชวี ติ และสงิ่ แวดล้อมบรเิ วณชายฝ่งั ถกู ทำ� ลายเน่ืองจากพายซุ ดั ฝงั่ 3.3 สัตวท์ ะเลอพยพยา้ ยถ่ิน เน่ืองจากน้�ำทะเลมอี ุณหภมู ิสูงข้นึ 4. ผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น เจ็บป่วยเนื่องจากคลื่นความร้อน ภัยพิบัติท่ีรุนแรง การแพร่กระจายของเชอื้ โรค 5. ผลกระทบต่อด้านพลังงาน 5.1 ความตอ้ งการใช้ไฟฟ้าและพลงั งานเพิม่ ขน้ึ เนือ่ งจากอณุ หภมู สิ งู 5.2 โรงไฟฟ้าที่ต้ังอยู่บริเวณชายฝั่งอาจได้รับความเสียหาย เน่ืองจากน้�ำทะเลท่วมถึง เกิดพายุ น�ำ้ ท่ีใชใ้ นการผลติ ไฟฟ้าไม่เพยี งพอ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
96 บทที่ 11 | การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 6. ผลกระทบตอ่ ระบบคมนาคม เช่น ถนนชำ� รดุ การเดนิ ทางรถไฟหยุดชะงัก เทยี่ วบินไม่ แนน่ อน เนอื่ งจากอณุ หภมู สิ งู ทำ� ใหผ้ วิ ถนนหรอื รางรถไฟเกดิ การขยายตวั ฝนตกหนกั ทำ� ให้ นำ�้ ทว่ ม ดินทรดุ ดนิ ถล่ม แนวทางการลดปจั จยั ที่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ ช่วยกันลดการปลอ่ ยแกส๊ เรือนกระจกโดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชวี ติ ประจำ� วัน เชน่ 1. เปล่ียนจากการใชร้ ถยนตส์ ่วนตวั มาใชร้ ถขนส่งสาธารณะ 2. ลดการใชไ้ ฟฟ้าภายในบา้ น 3. เปล่ียนมาใชพ้ ลังงานชีวภาพ 4. ใช้นำ�้ ประปาอยา่ งประหยัด 5. ลดปรมิ าณขยะภายในครวั เรือน 6. ปลูกต้นไม้ 7. ลดการเผาป่า หญา้ และตน้ ไม้ เพ่ือก�ำจัดวัชพืช 8. ใช้ปุ๋ยหมักจากธรรมชาตแิ ทนปุ๋ยเคมี แนวทางการรับมือต่อผลกระทบที่อาจเกิดข้นึ ที่นกั เรียนสามารถมสี ่วนรว่ มได้ 1. การปรับตวั ต่อสถานการณ์นำ้� อทุ กภัย และภยั แล้ง เชน่ เร่งฟื้นฟูปา่ ตน้ น้�ำ พฒั นาแหลง่ ชะลอนำ้� และปรับปรุงสภาพลำ� น้ำ� เพ่อื เตรียมตัวรับมอื กับอทุ กภยั 2. การปรบั ตวั ตอ่ สถานการณก์ ารเกษตรและความมนั่ คงทางอาหาร เชน่ ฟน้ื ฟแู ละปรบั ปรงุ คณุ ภาพดนิ พฒั นาเทคโนโลยที างการเกษตรทไี่ มส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม สรา้ งเครอื ขา่ ย ในการผลิตและจำ� หน่ายสนิ คา้ ในชมุ ชนเพื่อสร้างอำ� นาจต่อรอง ทำ� การประมงท่คี �ำนงึ ถึง ความสมดุลของทรพั ยากรและระบบนิเวศ 3. การปรับตัวดา้ นสาธารณสุข ศึกษาข่าวสารและข้อมูลทางด้านสาธารณสขุ หาแนวทาง ป้องกนั การเกิดและแพร่กระจายของพาหะนำ� โรค ตรวจสุขภาพอย่างสม�่ำเสมอ 4. การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ เช่น ฟ้ืนฟแู หล่งทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละระบบนเิ วศที่ เสอ่ื มโทรม ปลกู ปา่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศน์ เฝา้ ระวงั ไฟปา่ เพมิ่ พนื้ ทปี่ า่ ชายเลน ฟน้ื ฟพู นื้ ท่ี ชายฝั่งท่ถี ูกกดั เซาะ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 11 | การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ 97 สรุปผลการท�ำกจิ กรรม การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศทำ� ใหส้ ภาพลมฟา้ อากาศเกดิ ความแปรปรวนหรอื มคี วามรนุ แรง มากขนึ้ เชน่ อุณหภูมทิ ่รี ้อนหรอื หนาวผิดปกติ ความแปรปรวนของฤดูกาล ซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อสิง่ มชี วี ติ และสิง่ แวดล้อมในหลาย ๆ ดา้ น เชน่ ความหลากหลายทางชวี ภาพและระบบนเิ วศ สขุ ภาพของมนุษย์ ทรัพยากรนำ�้ พน้ื ทีช่ ายฝัง่ โดยมนษุ ย์สามารถมสี ่วนช่วยลดการเปลยี่ นแปลง ภมู อิ ากาศไดโ้ ดยการลดการปลดปลอ่ ยแกส๊ เรอื นกระจกเขา้ สบู่ รรยากาศทเ่ี กดิ จากการดำ� รงชวี ติ ในดา้ นตา่ ง ๆ และควรวางแผนรบั มือหรือปรบั ตวั เพ่ือใหส้ ามารถดำ� รงชวี ติ อยู่ได้อยา่ งปลอดภยั จากผลกระทบทเี่ กิดจากการเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ ค�ำถามท้ายกิจกรรม นักเรยี นจะปรบั พฤติกรรมของตนเองในเรอื่ งใดบ้างเพ่ือช่วยลดปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และมสี ว่ นชว่ ยไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ ตอบตามความคิดของนกั เรียนเอง โดยมแี นวคำ� ตอบดังตวั อยา่ งผล การท�ำกจิ กรรม 3. ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายผลการทำ� กจิ กรรม พรอ้ มตอบคำ� ถาม ทา้ ยกิจกรรม โดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบคำ� ถามดังแสดงดา้ นบน 4. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื สรปุ องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ และแนวทางการรับมือหรือปรับตวั โดยมแี นวทางการสรปุ การสรปุ ผลการท�ำกิจกรรม 5. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ ใหก้ บั นกั เรยี นเรอ่ื งนโยบายดา้ นการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศของประเทศไทย โดยสรุปดงั นี้ แนวทางการสรปุ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) มีข้อตกลงร่วมกัน เรยี กวา่ ขอ้ ตกลงปารีส (Paris agreement) ไดก้ ำ� หนดกฏกติการะหว่างประเทศใหม้ กี ารจ�ำกดั การเพิม่ อุณหภมู ิเฉลย่ี ของโลกไมใ่ หเ้ กิน 2 องศาเซลเซียสจากยุคปฏวิ ัตอิ ตุ สาหกรรม โดยประเทศไทยเป็นหนึ่งในสมาชิก และไดจ้ ดั ท�ำแผนเพ่อื รองรับขอ้ ตกลงดังกลา่ ว เรียกว่า แผนแมบ่ ทรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ พ.ศ. 2558 - 2593 โดยก�ำหนดเปา้ หมายท่ี จะลดการปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจกใหไ้ ด้ร้อยละ 20 – 25 ภายใน พ.ศ. 2573 และมีแนวทางและ มาตรการรองรับ 8 ดา้ น ได้แก่ การผลติ ไฟฟา้ การคมนาคมขนสง่ การใชพ้ ลังงานภายในอาคาร ภาคอุตสาหกรรม ภาคของเสยี ภาคการเกษตร ภาคป่าไม้ การจัดการเมอื ง นอกจากน้ี ประเทศไทยยงั ไดจ้ ัดท�ำแผนการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ ซึง่ ได้ สรุปไวด้ งั นี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
98 บทที่ 11 | การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 6. ครอู าจมอบหมายงานทบ่ี รู ณาการร่วมกับวชิ าอื่น ๆ โดยใหน้ ักเรยี นร่วมกันวางแผน ออกแบบ และน�ำเสนอแนวปฏิบตั ิที่เหมาะสมในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ ม และจดั ท�ำโครงการเพ่อื รณรงค์สร้างความตระหนักถึงการกระท�ำของมนุษย์ท่ีมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลก แนวทางการวัดและประเมนิ ผล KPA แนวทางการวัดและประเมินผล K: ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ 1. ผลงานของการปฏิบัติกิจกรรม 9.2 และการตอบ และแนวทางการรับมอื หรอื การปรับตวั ค�ำถามท้ายกิจกรรม จากผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ 2. การสรปุ องค์ความรู้จากการอภปิ ราย 3. แบบฝกึ หัดทา้ ยบท P: 1. การออกแบบแนวทางการลดกิจกรรมของมนุษย์ที่มี 1. การสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก 2. ความร่วมมือ การท�ำงานเป็นทีมและ 2. การแบง่ หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบในการทำ� งานกลมุ่ ภาวะผนู้ ำ� A: 1. การร่วมอภิปรายและการตอบค�ำถาม 1. ความใจกวา้ ง 2. การน�ำเสนอแนวทางเพื่อลดการเปล่ียนแปลง 2. คุณธรรมและจริยธรรมที่เก่ียวข้องกับ ภมู ิอากาศ วทิ ยาศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 11 | การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ 99 แบบฝึกหดั ท้ายบท 1. ท�ำเคร่ืองหมาย เพ่ือระบุผลที่มีต่ออุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศให้สอดคล้องกับปัจจัยที่ ก�ำหนด และระบเุ หตุผลประกอบ ก. เกดิ การกระเจิง ดดู กลืน และสะท้อนรงั สีดวงอาทติ ยไ์ ด้มากข้ึน ข. สามารถดูดกลนื พลงั งานและแผ่รังสีอนิ ฟาเรดกลับมายังพื้นผวิ โลกได้มากขนึ้ ค. สามารถสะท้อนรงั สีดวงอาทิตยไ์ ด้มากขึน้ ผลตอ่ อณุ หภูมิ เหตุผล ปจั จัย เฉลีย่ ของอากาศ ข เพมิ่ ขึน้ ลดลง ค ก การเพม่ิ ข้นึ ของปริมาณแก๊สเรอื นกระจก ค่าอตั ราสว่ นรงั สีสะทอ้ นของพ้นื ผิวโลก สงู ขึ้น การเพ่มิ ขึน้ ของละอองลอย 2. ยกตัวอย่างกจิ กรรมมนุษย์และเหตกุ ารณ์ธรรมชาติทท่ี �ำใหป้ ัจจัยทส่ี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลง ภูมิอากาศโลกเกดิ การเปล่ยี นแปลงไป ปจั จยั กิจกรรมมนุษย์ เหตกุ ารณ์ธรรมชาติ ปริมาณแกส๊ เรือนกระจก กระบวนการอุตสาหกรรม การย่อยสลายอินทรีย์สาร การเกษตร การคมนาคมขนสง่ ภูเขาไฟระเบิด ลักษณะพน้ื ผิวโลก การผลติ กระแสไฟฟา้ ของเสยี ปริมาณละอองลอย จากบา้ นเรอื น การสรา้ งชุมชนเมอื ง การหลอมเหลวของน้�ำแขง็ การตดั ไม้ท�ำลายป่า ข้ัวโลก ไฟปา่ กระบวนการอุตสาหกรรม ภูเขาไฟระเบดิ การเกษตร การคมนาคมขนสง่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
100 บทท่ี 11 | การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 3. เลอื กตวั อยา่ งผลกระทบตอ่ สงิ่ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ และนำ� เสนอแนวทางการรบั มือท่สี อดคล้องกัน ใส่ลงในตารางทีก่ ำ� หนด ผลกระทบ 1) โรคระบาด 2) ขาดนำ้� อปุ โภคบรโิ ภค 3) พชื และสตั ว์ในพืน้ ทน่ี ้ันอาจสญู พนั ธ ุ์ 4) ชายฝัง่ ถูกน�้ำทว่ มและกดั เซาะ การเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศ ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และ แนวทางการรับมือ สิ่งแวดลอ้ ม อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศและ โรคระบาด - ทำ� ลายแหล่งเพาะพนั ธข์ุ อง ความชนื้ สงู ข้นึ พาหนะน�ำโรค - ตรวจสอบสุขภาพอยา่ ง สมำ่� เสมอ - ออกกำ� ลงั กายและรบั ประทานอาหารทม่ี ี ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลง พืชและสัตว์ในพ้ืนท่ีนั้นอาจ ปรบั ปรุงพันธ์พุ ชื และพนั ธุ์ เขตภูมิอากาศโลก สูญพนั ธุ์ สตั วใ์ ห้เหมาะสมกับภูมิ อากาศท่เี กดิ ขนึ้ การเพิม่ ระดับน�้ำทะเล ชายฝง่ั ถกู นำ้� ทว่ มและกดั เซาะ - ฟ้ืนฟพู นื้ ท่ีชายฝ่ังทีถ่ กู กัดเซาะ - สร้างทอ่ี ยู่อาศัยให้ไกลจาก พนื้ ทเี่ ส่ยี ง การลดลงของปรมิ าณน้�ำฝน ขาดนำ�้ อปุ โภคบริโภค - ใช้นำ้� อย่างประหยดั - ปลกู ป่า สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 11 | การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ 101 4. พจิ ารณารปู ก และ ข จากรปู ให้ตอบค�ำถามตอ่ ไปนี้ 4.1 วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยใ์ นลกั ษณะตามรูปท�ำให้โลกได้รบั พลังงานแตกต่างกนั อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ วงโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ยใ์ นลกั ษณะตามรปู ก ทำ� ใหใ้ นเดอื นมกราคม และเดือนกรกฎาคม ไดร้ ับพลังงานแตกต่างกันไมม่ าก วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ในลกั ษณะตามรปู ข ทำ� ใหใ้ นเดอื นมกราคมและเดอื นกรกฎาคม ไดร้ บั พลงั งานแตกตา่ ง กนั มาก 4.2 จากรูป ข พลงั งานทโ่ี ลกไดร้ บั ในต�ำแหน่ง A และ B แตกตา่ งกันอย่างไร และสง่ ผลตอ่ ภูมอิ ากาศอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ พลงั งานทโ่ี ลกไดร้ บั ในตำ� แหนง่ A และ B แตกตา่ งกนั อยา่ งมาก โดยบรเิ วณ A จะไดร้ ับพลังงานจากดวงอาทติ ย์มากกวา่ บรเิ วณ B 5. ถ้าแผ่นธรณีบริเวณข้ัวโลกเคล่ือนท่ีลงมาทางละติจูดท่ีต่�ำลง จะส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง ภูมิอากาศต่อประเทศท่ีอยใู่ นแผน่ ธรณนี น้ั หรอื ไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ สง่ ผลท�ำให้ประเทศที่อย่ใู นบริเวณนั้นได้รับพลงั งานจากดวงอาทิตยเ์ พิม่ ข้นึ อณุ หภมู เิ ฉลี่ยเพ่มิ สงู ขน้ึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 102 กับการใช้ประโยชน์ 12บทท่ี | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยากบั การใชป้ ระโยชน์ Meteorological Information and Utilization ipst.me/8850 การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ 1. แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศบนแผนทอี่ ากาศ 2. วเิ คราะห์ และคาดการณล์ กั ษณะลมฟา้ อากาศเบอ้ื งตน้ จากแผนทอ่ี ากาศและขอ้ มลู สารสนเทศ เพอื่ วางแผนในการประกอบอาชีพและการด�ำเนนิ ชวี ติ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพลมฟ้าอากาศ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. แปลความหมายสญั ลกั ษณแ์ สดงข้อมลู ทส่ี ถานตี รวจอากาศผวิ พนื้ และระบสุ ภาพลมฟา้ อากาศ 2. แปลความหมายสัญลักษณ์แสดงสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างบนแผนที่อากาศผิวพ้ืนและ ระบสุ ภาพลมฟา้ อากาศ 3. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากภาพถ่ายดาวเทยี ม 4. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากขอ้ มลู เรดารต์ รวจอากาศ 5. น�ำขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวทิ ยาตา่ ง ๆ และพยากรณ์อากาศมาวางแผนการดำ� เนนิ ชวี ิต และประกอบอาชพี ให้สอดคลอ้ งกับสภาพลมฟ้าอากาศ ทักษะกระบวนการทาง ทกั ษะศตวรรษท่ี 21 จิตวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การตีความหมายข้อมูลและลง 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ การยอมรับความเห็นต่าง ข้อสรุป 2. ความรว่ มมือ การทำ� งาน เปน็ ทีมและภาวะผู้นำ� สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยา 103 กับการใชป้ ระโยชน์ แผนทอี่ ากาศผิวพืน้ ขอมลู สารสนเทศ ขอ มูลเรดาร ทางอุตนุ ิยมวทิ ยา ตรวจอากาศ ระบุ เชน ระบุ สภาพลมฟา อากาศ ณ ตำแหนง ตาง ๆ ภาพถา ยดาวเทียม บริเวณทพี่ บกลุมฝน สภาพลมฟา อากาศ อุตนุ ิยมวิทยา ความแรงของกลุม ฝน บริเวณกวาง ระบุ ทิศทางการเคล่อื นตวั ชนิดและปรมิ าณเมฆ ของกลมุ ฝน ทีป่ กคลมุ ทองฟา ความรุนแรง และความเรว็ ลมสงู สุด ใกลศนู ยก ลางของพายุ วางแผนการดำเนินงาน มปี ระโยชน การประกอบอาชีพ เชน เกษตรกร ตา ง ๆ ใหเหมาะสม ผูน ำเท่ียว กบั สภาพลมฟา อากาศ เตรียมรับมอื และลดผลกระทบ อ่นื ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 104 กับการใชป้ ระโยชน์ ลำ� ดบั แนวความคดิ ต่อเนอื่ งภายในบทเรียน ข้อมลู องค์ประกอบลมฟา้ อากาศท่นี ำ� ไปใช้ในการพยากรณอ์ ากาศ มาจากสถานีตรวจอากาศผวิ พ้ืนซ่งึ กระจายอย่ตู ามจดุ ตา่ ง ๆ ทว่ั โลก ขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศจะถกู นำ� มาจัดท�ำเป็น แบบแสดงขอ้ มลู ของสถานีตรวจอากาศผิวพนื้ เพอื่ ให้งา่ ยต่อการทำ� ความเข้าใจ แบบแสดงขอ้ มูลของสถานตี รวจอากาศผิวพ้ืนเป็นการแสดงขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศในรปู สัญลักษณ์และตวั เลขท่ีปรากฏบนแผนทีอ่ ากาศผวิ พืน้ เมือ่ น�ำขอ้ มูลจากสถานีตรวจอากาศผวิ พื้นแต่ละแหง่ มาวเิ คราะหร์ ่วมกนั จะท�ำใหท้ ราบลักษณะลมฟา้ อากาศในบรเิ วณกว้าง การใชแ้ ผนท่ีอากาศผิวพื้นร่วมกับสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยาชนิดอ่ืน ๆ ชว่ ยใหท้ ราบ สภาพลมฟา้ อากาศในบรเิ วณกว้างได้ดีขน้ึ และสามารถคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศ ไดแ้ มน่ ยำ� มากข้ึนด้วยเชน่ กนั ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ นุ ยิ มวทิ ยาเปน็ สารสนเทศทางอตุ ุนิยมวิทยาที่นำ� มาใช้ประโยชนใ์ นการตดิ ตาม การเคลอ่ื นตวั ของพายุหมุนเขตรอ้ น ระบชุ นิดและปรมิ าณเมฆปกคลุมในพน้ื ตา่ ง ๆ ขอ้ มูลเรดารต์ รวจอากาศเป็นสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวทิ ยา ท่ชี ว่ ยใหท้ ราบทิศทางการเคลอ่ื นทแ่ี ละความรนุ แรงของกลุ่มฝน การใช้สารสนเทศทางอุตุนยิ มวทิ ยาหลายชนิดประกอบกันจะชว่ ยให้คาดการณ์ สภาพลมฟา้ อากาศซึ่งสามารถนำ� มาเปน็ ข้อมลู ประกอบการวางแผนการด�ำเนินงาน การประกอบอาชีพ การเตรยี มรบั มอื และลดผลกระทบตา่ ง ๆ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวิทยา 105 กับการใช้ประโยชน์ สาระส�ำคญั ขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศจากทว่ั โลกจะแสดงผลในรปู แบบของสารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ในประเทศไทยมกี ารใชส้ ารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยาหลายประเภท เชน่ แผนทอี่ ากาศชนดิ ตา่ ง ๆ ภาพถา่ ยดาวเทยี ม ขอ้ มลู เรดารต์ รวจอากาศ โดยสารสนเทศแตล่ ะประเภท มีการน�ำมาใช้ประโยชน์แตกตา่ งกันดังนี้ แผนท่ีอากาศผิวพ้ืนแสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ณ ต�ำแหน่งต่าง ๆ บนพื้นโลก และ สภาพลมฟ้าอากาศบรเิ วณกว้าง ในรปู แบบของสัญลกั ษณต์ ่าง ๆ ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแสดงข้อมูลชนิดและปริมาณเมฆท่ีปกคลุมท้องฟ้า ความรุนแรง และความเร็วลมสูงสดุ ใกลศ้ ูนยก์ ลางพายุ ในรูปแบบของภาพท่มี ีเฉดสีตา่ ง ๆ ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศแสดงบริเวณท่ีพบกลุ่มฝน ความแรงและทิศทางการเคลื่อนตัวของ กลุ่มฝน ในรูปแบบของภาพทม่ี ีเฉดสีต่าง ๆ ต่อเน่อื งกันหลายภาพ การแปลความหมายสญั ลกั ษณบ์ นแผนทอี่ ากาศผวิ พน้ื รว่ มกบั ภาพถา่ ยดาวเทยี มอตุ นุ ยิ มวทิ ยา และ ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ จะช่วยใหส้ ามารถคาดการณส์ ภาพลมฟา้ อากาศในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ไดแ้ มน่ ยำ� ข้ึน และใช้วางแผนการด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลมฟ้าอากาศ เช่น การเลือกช่วงเวลา ในการเพาะปลูกใหส้ อดคลอ้ งกบั ฤดู การเตรียมพร้อมรับมือสภาพอากาศแปรปรวน เวลาที่ใช้ บทเรียนนค้ี วรใช้เวลาสอนประมาณ 12 ชั่วโมง 1. ขอ้ มูลและสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา 10 ช่ัวโมง 2. การใชป้ ระโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา 2 ชั่วโมง ความรู้กอ่ นเรียน องค์ประกอบลมฟา้ อากาศ การหมุนเวยี นอากาศบนโลก การเกิดเมฆ คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 106 กบั การใชป้ ระโยชน์ ตรวจสอบความรู้ก่อนเรยี น ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้ แลว้ เตมิ เครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ งคำ� ตอบของขอ้ ความ ท่ีถูก หรือเครอ่ื งหมาย ลงในช่องคำ� ตอบของขอ้ ความทผ่ี ิด ขอ้ ท่ี ความรูพ้ ้ืนฐาน ค�ำตอบ 1 คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ มหี ลายชว่ งความยาวคลนื่ เชน่ คลน่ื วทิ ยุ คลน่ื ไมโครเวฟ 2 อุณหภมู อิ ากาศ ความกดอากาศ อตั ราเร็วและทิศทางลม ความชืน้ สัมพัทธ์ ชนดิ และปรมิ าณเมฆปกคลมุ หยาดนำ�้ ฟา้ เปน็ องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศท่ี นำ� มาใช้ในการพยากรณอ์ ากาศ 3 บริเวณความกดอากาศสูงเป็นบริเวณท่ีอากาศมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศโดย รอบ (บรเิ วณความกดอากาศสงู เปน็ บรเิ วณทอี่ ากาศมอี ณุ หภมู ติ ำ่� กวา่ อากาศ โดยรอบ) 4 ลมพดั จากบรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศตำ�่ กวา่ ไปยงั บรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศ สูงกว่า (ลมพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าไปยังบริเวณท่ีมีความ กดอากาศต�่ำกวา่ ) 5 อตั ราเรว็ ลมแปรตามความแตกตา่ งของความกดอากาศของสองบรเิ วณ และ ระยะหา่ งระหว่างสองบริเวณนั้น 6 การจำ� แนกเมฆเปน็ 10 ชนิด ใช้รปู รา่ งและความสงู ฐานเมฆเป็นเกณฑ์ 7 เมฆคิวมโู ลนมิ บัสและเมฆนิมโบสเตรตัสทำ� ใหเ้ กดิ หยาดน้ำ� ฟา้ 8 วัตถุทส่ี ามารถสะท้อนแสงไดด้ ีจะมคี วามสวา่ งมาก 9 เมอ่ื คลืน่ กระทบกบั วัตถจุ ะเกิดการสะท้อน 10 อินฟราเรดเปน็ รงั สีคลื่นสัน้ แสงท่ีตามองเหน็ เป็นรังสีคล่ืนยาว (อนิ ฟราเรด เป็นรงั สคี ลืน่ ยาว แสงทต่ี ามองเห็นเป็นรงั สีคล่ืนสัน้ ) สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยา 107 กับการใชป้ ระโยชน์ ความเข้าใจคลาดเคลือ่ นท่ีอาจเกิดขน้ึ ได้ ความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคล่ือน ความเขา้ ใจทถี่ กู ต้อง สัญลักษณ์บนแผนท่อี ากาศผิวพ้ืน H หมายถงึ สญั ลักษณบ์ นแผนท่ีอากาศผิวพื้น H หมายถงึ อากาศร้อน (Hot) และ L หมายถึง อากาศเยน็ บรเิ วณความกดอากาศสงู และ L หมายถึง (Cool) หย่อมความกดอากาศต่�ำ 12.1 ขอ้ มลู และสารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. แปลความหมายสญั ลกั ษณแ์ สดงขอ้ มลู ทส่ี ถานตี รวจอากาศผวิ พนื้ และระบสุ ภาพลมฟา้ อากาศ 2. แปลความหมายสญั ลกั ษณแ์ สดงสภาพลมฟา้ อากาศบรเิ วณกวา้ งบนแผนทอ่ี ากาศผวิ พนื้ และระบุ สภาพลมฟา้ อากาศ 3. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม 4. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากขอ้ มลู เรดารต์ รวจอากาศ สื่อและแหลง่ เรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 4 2. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั แผนทอี่ ากาศผวิ พนื้ และสญั ลกั ษณจ์ ากสถานตี รวจอากาศผวิ พน้ื http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/weather-forcasting/weather-data/weather-chart 3. ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สญั ลกั ษณจ์ ากสถานตี รวจอากาศผวิ พนื้ http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/ book/book.php?book=4&chap=5&page=t4-5-infodetail19.html แนวการจัดการเรยี นรู้ 1. ครูน�ำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับสภาพลมฟ้าอากาศที่มีผลต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม เช่น พายุหมุนเขตร้อนส่งผลกระทบต่อพ้ืนท่ีชายฝั่ง พายุฝนฟ้าคะนองท่ีรุนแรง โดยใชร้ ูปเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขน้ึ จรงิ ประกอบ 2. ครูให้นักเรียนสังเกตรูปน�ำบทในหนังสือเรียนหน้า 69 จากนั้นครูถามนักเรียนโดยใช้ค�ำถาม ดังต่อไปนี้ จากรูป แสดงปรากฏการณใ์ ด แนวคำ� ตอบ ฟ้าผ่า ในรูปควรมสี ภาพลมฟ้าอากาศเป็นอย่างไรบา้ ง แนวค�ำตอบ พายฝุ นฟา้ คะนอง ฝนตกหนัก ลมพัดแรง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 108 กับการใชป้ ระโยชน์ สภาพลมฟ้าอากาศดังกลา่ วอาจส่งผลกระทบตอ่ สิง่ มชี วี ติ และส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งไร แนวค�ำตอบ อาจเกิดอันตรายจากฟ้าผ่า และเศษวัสดุหรือสิ่งของปลิว ลมกระโชกแรง อาจท�ำใหบ้ ้านเรือนเสยี หาย หากมีฝนตกหนักอาจเกดิ นำ้� ท่วม ถนนถกู ตดั ขาด หมายเหตุ คำ� ตอบข้อน้ีอาจมีได้หลากหลายขึ้นอยกู่ ับความรู้และประสบการณข์ องนกั เรยี น นกั เรยี นสามารถทราบสภาพลมฟา้ อากาศดงั กล่าวล่วงหน้าได้หรือไม่ ทราบไดอ้ ย่างไร แนวค�ำตอบ สามารถทราบลว่ งหนา้ ได้ โดยการติดตามพยากรณอ์ ากาศ 3. ครูให้นักเรียนสังเกตรูป 12.1 จากน้ันให้นักเรียนอภิปรายตามความคิดตนเอง ตามประเด็น ดงั ต่อไปน้ี จากรปู มีการตรวจวัดองค์ประกอบลมฟา้ อากาศแหลง่ ใดบ้าง ข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศที่ตรวจวัดได้ สามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง 4. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพ่ือหาค�ำตอบส�ำหรับประเด็นข้างต้น รวมถึงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ การพยากรณ์อากาศและการตรวจวัดองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากหนังสือเรียนหน้า 71 จาก น้นั อภปิ รายรว่ มกันโดยใช้ตัวอย่างคำ� ถามดังนี้ ปจั จบุ นั การพยากรณอ์ ากาศใชข้ อ้ มลู การตรวจวดั องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศจากแหลง่ ใดบา้ ง แนวค�ำตอบ สถานีตรวจอากาศผิวพื้น สถานีตรวจอากาศช้ันบน สถานีตรวจอากาศบนเรือ ทุน่ ลอยในมหาสมุทร สถานเี รดาร์ตรวจอากาศ อปุ กรณ์ตรวจวัดบนเครอ่ื งบนิ ดาวเทยี ม จากรปู 10.1 ระบุแหลง่ ตรวจวดั ข้อมลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศได้อยา่ งไรบ้าง แนวค�ำตอบ สามารถระบแุ หลง่ ตรวจวดั องค์ประกอบลมฟา้ อากาศไดด้ ังรูป หมายเหตุ ดูรายละเอียดของรปู ใน QR code ประจำ� บทในคู่มือครู สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวิทยา 109 กบั การใชป้ ระโยชน์ จ�ำนวนข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศมีผลต่อความแม่นย�ำในการพยากรณ์อากาศหรือไม่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ จำ� นวนข้อมูลลมฟา้ อากาศมผี ลต่อความแม่นยำ� ในการพยากรณอ์ ากาศ โดยขอ้ มูล องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศท่ีมีจำ� นวนมากทำ� ใหก้ ารพยากรณ์อากาศมีความแม่นย�ำมากข้ึน เพราะเหตใุ ด จงึ ต้องตรวจวดั ข้อมูลองคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศดว้ ยวิธที หี่ ลากหลาย แนวค�ำตอบ เพือ่ ใหค้ รอบคลุมขอ้ มลู ท่วั ทกุ บริเวณบนโลก ขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศท่ีตรวจวัดได้ สามารถน�ำไปใช้ประโยชนอ์ ะไรได้บา้ ง แนวค�ำตอบ น�ำไปใช้คาดการณส์ ภาพลมฟ้าอากาศทจ่ี ะเกิดข้นึ ในอนาคต 5. ครูสรุปและให้ความรู้เพิ่มเติมว่า “นักอุตุนิยมวิทยาจะน�ำข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศท่ีได้ จากการตรวจวัดจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มาแสดงผลอยู่ในรูปของสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา เชน่ แผนทีอ่ ากาศชนดิ ต่าง ๆ ภาพถา่ ยดาวเทยี มอตุ นุ ยิ มวทิ ยา ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ” 6. ครูให้นักเรียนสังเกตรูป 12.2 และค�ำอธิบายใต้รูป จากน้ันร่วมกันอภิปรายโดยใช้ค�ำถาม ดังต่อไปน้ี รปู ก และ ข เป็นสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยาประเภทใด แนวคำ� ตอบ แผนทอ่ี ากาศผวิ พน้ื ข้อมลู องค์ประกอบลมฟ้าอากาศทแ่ี สดงบนแผนท่ีอากาศในรูป ก และ ข ได้มาจากวธิ กี ารใด แนวคำ� ตอบ ขอ้ มลู องค์ประกอบลมฟ้าอากาศในรูป ก ไดจ้ ากการตรวจวัด และรูป ข ได้จาก แบบจ�ำลองพยากรณอ์ ากาศเชิงตัวเลข จากนนั้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เกย่ี วกับแผนทีอ่ ากาศผิวพ้ืนว่า “แผนที่อากาศผิวพ้นื เป็น สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยาทแี่ สดงขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศทงั้ จากการตรวจวดั และจาก แบบจ�ำลองพยากรณ์อากาศเชงิ ตวั เลข” 7. ครูให้นักเรียนสังเกตตัวอย่างแผนที่อากาศผิวพื้นท่ีแสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจาก การตรวจวัด จากนั้นให้นักเรียนบอกว่าพบสัญลักษณ์แบบใดบ้างและให้นักเรียนลองแปล ความหมายของสญั ลกั ษณท์ พ่ี บตามความคดิ ของตนเอง จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 12.1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 110 กบั การใช้ประโยชน์ กิจกรรม 12.1 สัญลกั ษณ์ลมฟา้ อากาศจากสถานีตรวจอากาศผวิ พ้ืน จดุ ประสงค์กจิ กรรม แปลความหมายสญั ลกั ษณล์ มฟา้ อากาศจากสถานตี รวจอากาศผวิ พน้ื และระบอุ งคป์ ระกอบ ลมฟา้ อากาศ เวลา 2 ช่วั โมง วสั ดุ-อปุ กรณ ์ 1. เอกสารความรูเ้ ร่ืองสญั ลกั ษณ์แสดงข้อมลู จากสถานตี รวจอากาศผวิ พ้ืน 2. ใบกจิ กรรมสัญลักษณล์ มฟา้ อากาศจากสถานีตรวจอากาศผิวพ้นื หมายเหตุ เอกสารความรดู้ าวนโ์ หลดไดจ้ าก QR Code การเตรียมตวั ล่วงหนา้ เพอื่ ความรวดเรว็ ในการทำ� กจิ กรรม ครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเอกสารความรเู้ รอ่ื งสญั ลกั ษณ์ แสดงข้อมูลจากสถานตี รวจอากาศผิวพน้ื มาลว่ งหนา้ โดยดาวน์โหลดเอกสารจาก QR Code วธิ ีการทำ� กิจกรรม 1. ศึกษาสญั ลักษณ์แสดงข้อมูลจากสถานตี รวจอากาศผวิ พ้นื จากเอกสารท่กี �ำหนด 2. ระบุข้อมูลของสัญลักษณ์สถานีตรวจอากาศผิวพ้ืนท่ีก�ำหนด และแปลความหมาย สัญลักษณ์เป็นข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากสถานีตรวจอากาศผิวพื้น ใน ใบกจิ กรรมสัญลกั ษณล์ มฟ้าอากาศจากสถานตี รวจอากาศผวิ พนื้ 3. น�ำเสนอขอ้ มูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศและอภปิ รายรว่ มกัน ตวั อยา่ งผลการทำ� กจิ กรรม สถานีที่ 1 31 104 60 15 25 3 5 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวิทยา 111 กบั การใชป้ ระโยชน์ สญั ลักษณ์ องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ ความหมาย 104 ความกดอากาศ 1010.4 เฮกโตปาสคาล 15 คา่ การเปลีย่ นแปลง 1.5 เฮกโตปาสคาล 31 ความกดอากาศในท่ีผา่ นมา 25 แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลง คงทีห่ รอื สงู ขึ้นแลว้ ลดลง หรอื ลดลงแลว้ 60 ความกดอากาศที่ผ่านมา ลดลงอย่างรวดเรว็ 31 องศาเซลเซียส อุณหภมู อิ ากาศ 25 องศาเซลเซียส อณุ หภมู จิ ดุ น�้ำค้าง 10 กโิ ลเมตร ทัศนวสิ ัย อัตราเรว็ และทิศทางลม 14 -19 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง, SW ปรมิ าณเมฆปกคลมุ 7/10 – 8/10 ของท้องฟา้ ชนิดเมฆชนั้ ตำ่� เมฆคิวมลู สั มียอดสงู มากคล้ายโดมหรอื หอคอย อาจมเี มฆคิวมูลสั ชนดิ อน่ื หรอื สเตรโตควิ มลู ัสปนอยู่ด้วย ชนดิ เมฆช้ันกลาง เมฆแอลโตคิวมลู ัสซงึ่ สว่ นใหญ่โปรง่ แสง เปล่ียนแปลงชา้ มากและอยูใ่ นระดบั เดียวกัน (มักมรี ปู คล้ายฝูงแกะ) ชนิดเมฆช้นั สงู เมฆซรี ์รสั หนาแนน่ บางคร้ังคลา้ ยกับส่วนที่ เหลืออย่ขู องเมฆคิวมูโลนิมบัส หรือ เมฆซรี ์รสั ท่ีเปน็ ช่อคล้ายป้อมปืน 3 ปริมาณเมฆชั้นต่�ำ 4/10 ของท้องฟ้า ทป่ี กคลุมทอ้ งฟ้า 5 ความสูงของฐานเมฆ 600 – 1,000 เมตร สภาพลมฟา้ อากาศ ฝนละออง ขนาดเบา ตกเป็นระยะ ๆ (ทศั นวิสัยน้อยกว่า 1 ก.ม.) สภาพลมฟา้ อากาศที่ผา่ นมา ฝนธรรมดา ขนาดเบา ตกเปน็ ระยะ ๆ (ทศั นวิสัยตั้งแต่ 5 ก.ม. ขึ้นไป) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 112 กับการใช้ประโยชน์ สรุปสภาพลมฟ้าอากาศ ความกดอากาศมีค่า 1010.4 เฮกโตปาสคาล ในช่วงเวลาท่ีผ่านมาความกดอากาศมีค่า เปล่ียนแปลงไป 1.5 เฮกโตปาสคาล โดยมีแนวโน้มคงที่หรือสูงข้ึนแล้วลดลง หรือลดลงแล้ว ลดลงอยา่ งรวดเรว็ อากาศในขณะนน้ั มอี ณุ หภมู ิ 31 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู จิ ดุ นำ้� คา้ ง 25 องศา เซลเซยี ส และมที ศั นวสิ ยั 10 กโิ ลเมตร ลมมที ศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ (SW) และมอี ตั ราเรว็ 14 – 19 กิโลเมตรตอ่ ช่ัวโมง ทอ้ งฟา้ มปี รมิ าณเมฆปกคลมุ 7/10 – 8/10 ของทอ้ งฟา้ โดยเปน็ เมฆ ควิ มลู สั สเตรโตควิ มลู สั แอลโตควิ มลู สั และซรี ร์ สั โดยเมฆชนั้ ตำ่� ปกคลมุ ทอ้ งฟา้ 4/10 ของทอ้ งฟา้ และฐานเมฆมคี วามสงู 600 – 1,000 เมตร สภาพลมฟ้าอากาศในขณะนน้ั มฝี นละออง ขนาดเบา ตกเป็นระยะ ๆ (ทศั นวิสยั น้อยกว่า 1 ก.ม.) และ ในช่วงเวลาที่ผ่านมาสภาพลมฟ้าอากาศมีฝนธรรมดา ขนาดเบา ตกเป็นระยะ ๆ (ทศั นวสิ ยั ตัง้ แต่ 5 ก.ม. ข้นึ ไป) สถานที ่ี 2 29 998 56 20 613 3 สญั ลักษณ์ องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศ ความหมาย 998 ความกดอากาศ 999.8 เฮกโตปาสคาล 13 ค่าการเปลี่ยนแปลง 1.3 เฮกโตปาสคาล 29 ความกดอากาศในทีผ่ า่ นมา 20 แนวโน้มการเปลยี่ นแปลง คงท่ีหรือสูงขนึ้ แลว้ ลดลง หรอื ลดลงแล้ว 56 ความกดอากาศท่ผี ่านมา ลดลงอย่างรวดเรว็ 29 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู อิ ากาศ 20 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิจดุ น�้ำค้าง 6 กิโลเมตร ทศั นวิสยั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา 113 กบั การใชป้ ระโยชน์ อัตราเรว็ และทิศทางลม 4 -13 กิโลเมตรต่อชวั่ โมง, SSE ปริมาณเมฆปกคลมุ 9/10 แต่ไมถ่ งึ 10/10 ของท้องฟา้ ชนิดเมฆชน้ั ตำ่� เมฆควิ มูลสั มยี อดสูงมากคลา้ ยโดมหรอื หอคอย อาจมเี มฆคิวมูลสั ชนิดอื่นหรอื สเตรโตคิวมูลสั ปนอยดู่ ว้ ย ชนดิ เมฆชนั้ กลาง เมฆแอลโตคิวมูลสั สองระดับหรือมากกว่า รวมกันหนาทึบไมแ่ ผข่ ยายคลุมทอ้ งฟ้า หรอื เมฆแอลโตคิวมูลัส ทป่ี นกบั เมฆแอลโตสเตรตสั หรอื เมฆนิมโบสเตรตัส 6 ปริมาณเมฆช้นั ต�่ำ 7/10 – 8/10 ของทอ้ งฟ้า ท่ีปกคลุมทอ้ งฟา้ 3 ความสงู ของฐานเมฆ 200 – 300 เมตร สภาพลมฟา้ อากาศ ฝนโปรย ขนาดเบา (ทศั นวิสัย 5 ก.ม. หรือนอ้ ยกว่า) สภาพลมฟ้าอากาศทผ่ี ่านมา พายุฟ้าคะนอง สรปุ สภาพลมฟ้าอากาศ ความกดอากาศมีค่า 999.8 เฮกโตปาสคาล ในช่วงเวลาที่ผ่านมาความกดอากาศมีค่า เปลี่ยนแปลงไป 1.3 เฮกโตปาสคาล โดยมีแนวโน้มคงท่ีหรือสูงข้ึนแล้วลดลง หรือลดลงแล้ว ลดลงอยา่ งรวดเรว็ อากาศในขณะนน้ั มอี ณุ หภมู ิ 29 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู จิ ดุ นำ้� คา้ ง 20 องศา เซลเซียส และมีทัศนวิสยั 6 กโิ ลเมตร ลมมที ศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตค้ อ่ นไปทางใต้ (SSE) และมี อตั ราเร็ว 4 – 13 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง ท้องฟา้ มปี ริมาณเมฆปกคลุม 9/10 แตไ่ ม่ถงึ 10/10 ของทอ้ งฟ้า โดยเปน็ เมฆ คิวมลู สั สเตรโตควิ มลู สั แอลโตควิ มลู สั แอลโตรสเตรตสั และนมิ โบสเตรตสั โดยเมฆชนั้ ตำ่� ปกคลมุ ทอ้ งฟา้ 7/10 – 8/10 ของทอ้ งฟา้ และฐานเมฆมีความสูง 200 – 300 เมตร สภาพลมฟ้าอากาศในขณะน้นั มฝี นโปรย ขนาดเบา (ทัศนวสิ ัย 5 ก.ม. หรอื นอ้ ยกว่า) และ ในชว่ งเวลาท่ีผา่ นมาสภาพลมฟา้ อากาศมีพายฟุ ้าคะนอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 114 กบั การใชป้ ระโยชน์ สถานที ี่ 3 91 15 1267 15 สัญลกั ษณ์ องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ความหมาย 167 ความกดอากาศ 1016.7 เฮกโตปาสคาล 2 คา่ การเปล่ียนแปลง 0.2 เฮกโตปาสคาล 15 ความกดอากาศในที่ผา่ นมา (ด้านบน) แนวโน้มการเปล่ยี นแปลง คงท่หี รือสงู ขน้ึ แลว้ ลดลง หรอื ลดลงแล้ว ความกดอากาศที่ผ่านมา ลดลงอยา่ งรวดเรว็ 15 (ดา้ นลา่ ง) อุณหภมู อิ ากาศ 15 องศาเซลเซียส 91 อณุ หภมู ิจุดนำ�้ คา้ ง 15 องศาเซลเซยี ส ทัศนวิสยั 0.05 กโิ ลเมตร ปรมิ าณเมฆปกคลุม ทอ้ งฟา้ ถูกบดบัง หรอื ไมส่ ามารถประมาณ สภาพลมฟา้ อากาศ สภาพลมฟา้ อากาศทผี่ ่านมา ค่าได้ หมอก (มองไม่เหน็ ท้องฟา้ ) สภาพลมฟ้าอากาศท่ีผา่ นมา ฝนละออง ขนาดเบา ตกเป็นระยะ ๆ (ทศั นวสิ ยั น้อยกวา่ 1 ก.ม.) หมอก หรือ หมอกแขง็ หรือ ฟ้าหลัวอยา่ งหนา สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวิทยา 115 กับการใชป้ ระโยชน์ สรุปสภาพลมฟา้ อากาศ ความกดอากาศมีค่า 1016.7 เฮกโตปาสคาล ในช่วงเวลาที่ผ่านมาความกดอากาศมีค่า เปล่ียนแปลงไป 0.2 เฮกโตปาสคาล โดยมีแนวโน้มคงที่หรือสูงข้ึนแล้วลดลง หรือลดลงแล้ว ลดลงอยา่ งรวดเรว็ อากาศในขณะนน้ั มอี ณุ หภมู ิ 15 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู จิ ดุ นำ้� คา้ ง 15 องศา เซลเซียส ท้องฟ้าถูกบดบังหรือไม่สามารถประมาณปริมาณเมฆปกคลุมได้ สภาพลมฟ้าอากาศใน ขณะนั้นมีหมอก (มองไม่เหน็ ทอ้ งฟ้า) และในช่วงเวลาทผี่ า่ นมาสภาพลมฟา้ อากาศมีฝนละออง ขนาดเบา ตกเป็นระยะ ๆ (ทัศนวิสัยน้อยกวา่ 1 ก.ม.) และหมอก หรอื หมอกแข็ง หรือฟ้าหลัว อยา่ งหนา สถานที ่ี 4 6238 12206 25 4 2 สญั ลกั ษณ์ องค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ความหมาย 126 20 ความกดอากาศ 1012.6 เฮกโตปาสคาล 28 คา่ การเปลย่ี นแปลง 2.0 เฮกโตปาสคาล 25 ความกดอากาศในทีผ่ า่ นมา 63 แนวโนม้ การเปล่ยี นแปลง ลดลงหรือคงท่แี ล้วสูงขึน้ หรอื สูงข้ึนแลว้ สงู ความกดอากาศท่ีผ่านมา ข้นึ อยา่ งรวดเรว็ อุณหภมู ิอากาศ 28 องศาเซลเซียส อุณหภูมจิ ุดนำ้� คา้ ง 25 องศาเซลเซยี ส ทศั นวิสัย 13 กิโลเมตร ปริมาณเมฆปกคลมุ เมฆปกคลุม 5/10 ของทอ้ งฟ้า และอตั ราเร็วลม และลมสงบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 116 กับการใชป้ ระโยชน์ ชนดิ เมฆช้ันตำ่� เมฆควิ มโู ลนมิ บัสทีม่ ักมรี ูปคล้ายทัง่ และ อาจมเี มฆคิวมโู ลนิมบสั ท่ยี อดเมฆยังไมเ่ ป็น รปู ทง่ั และอาจมเี มฆควิ มลู สั สเตรโตควิ มลู สั หรือสเตรตสั ปนอย่ดู ้วยก็ได้ ชนิดเมฆช้นั กลาง เมฆแอลโตควิ มูลัสซึ่งส่วนใหญโ่ ปร่งแสง และอยใู่ นระดบั เดยี วกนั ทัง้ หมด (มกั มีรปู คลา้ ยฝงู แกะ) ชนดิ เมฆช้นั สูง เมฆซรี ์โรสเตรตัสไม่แผข่ ยายตัว และไมป่ กคลมุ ทอ้ งฟ้าทง้ั หมด 2 ปรมิ าณเมฆชั้นตำ�่ 2/10 ถงึ 3/10 ของทอ้ งฟา้ ทีป่ กคลุมท้องฟา้ 4 ความสูงของฐานเมฆ 300 – 600 เมตร สรุปสภาพลมฟ้าอากาศ ความกดอากาศมีค่า 1012.6 เฮกโตปาสคาล ในช่วงเวลาท่ีผ่านมาความกดอากาศมีค่า เปล่ียนแปลงไป 2.0 เฮกโตปาสคาล โดยมีแนวโน้มลดลงหรือคงท่ีแล้วสูงขึ้น หรือสูงข้ึนแล้ว สงู ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ อากาศในขณะนน้ั มอี ณุ หภมู ิ 28 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู จิ ดุ นำ้� คา้ ง 25 องศา เซลเซยี ส และมที ศั นวสิ ยั 13 กโิ ลเมตร และลมสงบ ท้องฟ้ามีปริมาณเมฆปกคลุม 5/10 ของท้องฟ้า โดยเป็นเมฆ เมฆคิวมูโลนิมบัส คิวมูลัส สเตรโตควิ มลู สั สเตรตสั แอลโตควิ มลู สั และซรี ร์ สั โดยเมฆชนั้ ตำ่� ปกคลมุ ทอ้ งฟา้ 2/10 ถงึ 3/10 ของท้องฟา้ และฐานเมฆมคี วามสงู 300 – 600 เมตร สถานที ่ี 5 26 11159 21 4 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ ุนิยมวิทยา 117 กับการใชป้ ระโยชน์ สัญลกั ษณ์ องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ความหมาย 119 ความกดอากาศ 1011.9 เฮกโตปาสคาล 15 คา่ การเปลีย่ นแปลง 1.5 เฮกโตปาสคาล 26 ความกดอากาศในท่ีผา่ นมา 21 แนวโน้มการเปล่ียนแปลง ลดลงหรือคงที่แลว้ สงู ขนึ้ หรอื สูงขึน้ ความกดอากาศทผี่ ่านมา แลว้ สูงขน้ึ อยา่ งรวดเร็ว 26 องศาเซลเซียส อณุ หภมู ิอากาศ 21 องศาเซลเซยี ส อณุ หภูมจิ ุดนำ�้ ค้าง อัตราเร็วและทิศทางลม 33 – 40 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง SSE ปรมิ าณเมฆปกคลมุ 10/10 ของทอ้ งฟ้า 5/10 ของทอ้ งฟ้า 4 ปริมาณเมฆชน้ั ต�ำ่ ทีป่ กคลุม ทอ้ งฟา้ สรุปสภาพลมฟา้ อากาศ ความกดอากาศมีค่า 1011.9 เฮกโตปาสคาล ในช่วงเวลาท่ีผ่านมาความกดอากาศมีค่า เปลี่ยนแปลงไป 1.5 เฮกโตปาสคาล โดยมีแนวโน้มคงที่หรือสูงขึ้นแล้วลดลง หรือลดลงแล้ว ลดลงอยา่ งรวดเรว็ อากาศในขณะนนั้ มอี ณุ หภมู ิ 26 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู จิ ดุ นำ�้ คา้ ง 21 องศา เซลเซียส ลมมีทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้คอ่ นไปทางใต้ (SSE) และมอี ัตราเรว็ 33 – 40 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง ท้องฟ้ามีปรมิ าณเมฆปกคลมุ 10/10 ของท้องฟา้ โดยเมฆชน้ั ตำ่� ปกคลุมทอ้ งฟ้า 4/10 ของ ท้องฟา้ และฐานเมฆมคี วามสูง 600 – 1,000 เมตร คำ� ถามท้ายกิจกรรม 1. สถานีตรวจอากาศผิวพนื้ แสดงขอ้ มลู องค์ประกอบลมฟ้าอากาศอะไรบ้าง แนวค�ำตอบ ความกดอากาศ ค่าการเปลี่ยนแปลงความกดอากาศที่ผ่านมา อุณหภูมิ อากาศ อณุ หภูมจิ ดุ น้ำ� คา้ ง ทศั นวสิ ยั ความสูงของฐานเมฆ ปริมาณนำ�้ ฝน อตั ราเรว็ และ ทิศทางลม ปริมาณเมฆปกคลุม ปริมาณเมฆช้ันต�่ำที่ปกคลุมท้องฟ้า ชนิดเมฆชั้นต่�ำ ชนดิ เมฆช้นั กลาง ชนิดเมฆชน้ั สูง สภาพลมฟ้าอากาศ สภาพลมฟา้ อากาศทีผ่ ่านมา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 118 กับการใชป้ ระโยชน์ 2. แตล่ ะสถานีมีสัญลกั ษณเ์ หมอื นและแตกต่างกนั อย่างไรบ้าง แนวคำ� ตอบ โดยสว่ นใหญแ่ ตล่ ะสถานมี สี ญั ลกั ษณแ์ สดงขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศ แตกตา่ งกนั แตม่ บี างสญั ลกั ษณท์ เี่ หมอื นกนั ในหลายสถานี เชน่ สญั ลกั ษณแ์ สดงแนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงความกดอากาศท่ีผา่ นมาของสถานีที่ 1 สถานีท่ี 2 สถานที ่ี 3 และสถานี ท่ี 5 นอกจากน้ี สัญลักษณ์บางชนิดอาจไม่พบในบางสถานี เช่น สถานีที่ 5 ไม่ปรากฏ สัญลักษณ์ทัศนวิสัย สภาพลมฟ้าอากาศ สภาพลมฟ้าอากาศที่ผ่านมา ชนิดเมฆช้ันต่�ำ ชนิดเมฆช้นั กลาง ชนิดเมฆชั้นสูง ความสงู ของฐานเมฆ 3. สภาพลมฟา้ อากาศต่อไปนเ้ี กดิ ขึ้นท่สี ถานตี รวจวดั ใด 3.1 มีโอกาสเกิดฝน แนวคำ� ตอบ สถานีท่ี 4 เนื่องจากพบเมฆคิวมูโลนมิ บสั 3.2 มีเมฆปกคลุมน้อยที่สุด แนวคำ� ตอบ สถานที ี่ 4 โดยมเี มฆปกคลุม 5/10 ของทอ้ งฟ้า 3.3 เมฆกำ� ลังกอ่ ตัว แนวคำ� ตอบ สถานที ่ี 1 และ 2 เนื่องจากพบเมฆคิวมลู ลัสทีม่ ยี อดสงู ซึ่งอาจจะก�ำลงั ก่อตวั เปน็ เมฆคิวมูโลนิมบสั 3.4 มคี วามเร็วลมสงู สุด แนวคำ� ตอบ สถานีท่ี 5 โดยมีอัตราเร็วลม 33 – 40 กโิ ลเมตรต่อชวั่ โมง 4. สถานใี ดมสี ญั ลกั ษณท์ แ่ี สดงวา่ เกดิ หมอก และยงั มขี อ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศใดบา้ ง ทสี่ นับสนุนการเกิดหมอก แนวค�ำตอบ สถานีท่ี 3 เน่ืองจากมีสัญลักษณ์หมอกปรากฏบริเวณต�ำแหน่งสัญลักษณ์ สภาพลมฟ้าอากาศ นอกจากนี้ยังมีข้อมูลอ่ืนท่ีสนับสนุนการเกิดหมอก ได้แก่ ลมสงบ อณุ หภมู อิ ากาศเทา่ กบั อณุ หภมู จิ ดุ นำ�้ คา้ ง ทศั นวสิ ยั มคี า่ ตำ่� และทอ้ งฟา้ ถกู บดบงั ทำ� ใหไ้ ม่ สามารถประเมินปรมิ าณเมฆปกคลมุ ได้ 8. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม และรว่ มกนั อภิปรายผลการท�ำกิจกรรมพร้อม ตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม โดยมแี นวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบคำ� ถามดงั แสดงดา้ นบน 9. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตแผนทอ่ี ากาศแผน่ เดมิ ทเี่ คยใหส้ งั เกตกอ่ นทำ� กจิ กรรม จากนนั้ รว่ มกนั อภปิ ราย โดยใชต้ ัวอย่างค�ำถามดงั นี้ สญั ลักษณ์ทพี่ บในกจิ กรรม ปรากฏอยบู่ นแผ่นดินเท่านั้นหรือไม่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ สว่ นใหญ่ปรากฏอยู่บนแผน่ ดนิ และมบี างสว่ นปรากฏอยบู่ นมหาสมทุ ร ต�ำแหน่งท่ีปรากฏสัญลกั ษณด์ ังกลา่ วน่าจะเป็นตำ� แหนง่ ของสงิ่ ใด แนวคำ� ตอบ สถานีตรวจอากาศผวิ พนื้ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา 119 กบั การใชป้ ระโยชน์ 10. ครูใหค้ วามรเู้ พม่ิ เติมเกย่ี วกบั วนั และเวลาที่ปรากฏบนแผนท่ีอากาศผิวพน้ื ดงั น้ี เวลาทป่ี รากฏบนแผนทอ่ี ากาศผวิ พนื้ เปน็ เวลาเวลาสากลเชงิ พกิ ดั (Coordinate Universal Time, UTC) ซง่ึ สามารถแปลงเปน็ เวลาทอ้ งถน่ิ ในประเทศไทยโดยการบวกเพม่ิ อกี 7 ชวั่ โมง เชน่ 06 UTC คอื เวลา 13.00 น. ของประเทศไทย 11. ครใู หน้ กั เรยี นฝกึ แปลงวนั และเวลาทปี่ รากฏบนแผนทอ่ี ากาศผวิ พน้ื เปน็ วนั และเวลาทอ้ งถน่ิ ใน ประเทศ โดยใช้ตัวอยา่ งเวลาสากลและวนั ดงั น้ี เวลาสากลและวัน เวลาทอ้ งถน่ิ และวันในประเทศไทย 12 UTC, 5 MAY 2018 19.00 น. 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 00 UTC, 22 JULY 2017 7.00 น. 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 18 UTC, 13 DECEMBER 2017 1.00 น. 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 18 UTC, 31 JANUARY 2019 1.00 น. 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 12. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับสัญลักษณ์แสดงสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างดังนี้ “ข้อมูล องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศจากสถานตี รวจอากาศผวิ พนื้ แตล่ ะสถานจี ะถกู นำ� มาวเิ คราะหร์ ว่ มกนั เป็นสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างซึ่งแสดงเป็นสัญลักษณ์ที่แตกต่างจากสัญลักษณ์ ลมฟ้าอากาศจากสถานตี รวจอากาศผวิ พ้ืน” จากนั้นให้นักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 12.2 กิจกรรม 12.2 สัญลักษณ์แสดงสภาพลมฟา้ อากาศบรเิ วณกวา้ ง จุดประสงค์กจิ กรรม แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟา้ อากาศบรเิ วณกวา้ ง และระบุลกั ษณะลมฟ้าอากาศ เวลา 1 ชว่ั โมง วัสดุ-อุปกรณ์ 1. เอกสารความร้เู รือ่ งสัญลกั ษณ์แสดงข้อมลู สภาพลมฟา้ บรเิ วณกวา้ ง 1 ชดุ 2. แผนท่อี ากาศผวิ พ้ืน 1 ชุด หมายเหตุ เอกสารความรแู้ ละแผนทีอ่ ากาศผวิ พนื้ ดาวน์โหลดได้จาก QR Code การเตรียมตัวล่วงหนา้ เพื่อความรวดเร็วในการท�ำกิจกรรม ครูอาจให้นักเรียนศึกษาเอกสารความรู้เร่ืองสัญลักษณ์ แสดงข้อมลู สภาพลมฟ้าบริเวณกวา้ งมาล่วงหนา้ โดยดาวน์โหลดเอกสารจาก QR Code สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 120 กับการใช้ประโยชน์ วิธกี ารทำ� กจิ กรรม 1. ศึกษาสัญลักษณ์แสดงขอ้ มูลสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างจากเอกสารทก่ี �ำหนด 2. แปลความหมายสญั ลักษณท์ ี่ปรากฏบนแผนทอ่ี ากาศผวิ พื้นและระบสุ ภาพลมฟ้าอากาศ ของแผนทีแ่ ต่ละแผน่ 3. เปรยี บเทยี บสภาพลมฟา้ อากาศและคาดคะเนฤดกู าลของแผนทอ่ี ากาศผวิ พน้ื แตล่ ะแผน่ 4. นำ� เสนอผลการท�ำกิจกรรม จากนั้นอภิปรายรว่ มกนั ในชนั้ เรียน ตวั อย่างผลการท�ำกจิ กรรม แผนที่อากาศผวิ พ้ืนหมายเลข 1 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยา 121 กับการใชป้ ระโยชน์ สัญลกั ษณ์ องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ ความหมาย เสน้ ความกดอากาศเทา่ บรเิ วณท่ีเสน้ ความกดอากาศเท่าอยหู่ ่าง (isobar) กันมาก ลมบรเิ วณน้ันจะมีกำ� ลังอ่อน สว่ นบริเวณท่เี ส้นความกดอากาศเทา่ อยู่ใกล้กัน ลมบริเวณน้นั จะมีกำ� ลังแรง หยอ่ มความกดอากาศตำ�่ หากสญั ลกั ษณ์นีอ้ ยูเ่ หนือแผน่ ดิน (low pressure cell) หมายความว่าบรเิ วณนน้ั จะมอี ากาศร้อน และความช้นื ตำ�่ แตห่ ากสญั ลักษณน์ ี้ อยู่เหนอื ทะเลหมายความวา่ บรเิ วณนัน้ จะมีอากาศช้นื และมโี อกาสเกิดเมฆมาก บริเวณความกดอากาศสงู มอี ากาศเยน็ ความช้นื ต�่ำ และมกั พบ (high pressure area) ท้องฟ้าแจม่ ใส พายุไซโคลน มีฝนฟ้าคะนองและลมแรง (tropical cyclone) แนวปะทะอากาศเย็น มลี มแรงและพายฝุ นฟา้ คะนอง หลงั จากนน้ั (cold front) อุณหภูมจิ ะลดต่�ำลงและอาจมหี ิมะ แนวปะทะอากาศอนุ่ มีลมแรง เกดิ ฝนตกพร�ำ ๆ และอาจมี (warm front) หยาดน�ำ้ ฟ้าชนิดอื่น ๆ ตกเปน็ บรเิ วณ กวา้ งและเปน็ ระยะเวลานาน หลงั จากนั้น อณุ หภมู จิ ะเพ่มิ สูงขึน้ แนวปะทะอากาศรวม มีลมแรงและพายฝุ นฟ้าคะนอง อาจมี (occluded front) หมิ ะ หลังจากนัน้ อุณหภูมจิ ะลดต�่ำลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 122 กบั การใชป้ ระโยชน์ สรปุ สภาพลมฟ้าอากาศ บริเวณความกดอากาศสูงปกคลุมบริเวณประเทศจีนและประเทศโดยรอบ รวมถึงบาง บริเวณของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ท�ำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศเย็น ความชนื้ ตำ่� และทอ้ งฟา้ ค่อนขา้ งปลอดโปร่ง หย่อมความกดอากาศต�่ำปกคลุมบริเวณประเทศออสเตรเลียเป็นส่วนใหญ่ รวมถึงบาง บริเวณของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ท�ำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อน และความช้นื ตำ�่ มหาสมุทรอินเดียมพี ายุไซโคลนทำ� ใหบ้ ริเวณดังกล่าวมีฝนฟา้ คะนองและลมแรง เหนอื มหาสมทุ รแปซฟิ กิ ทางตะวนั ออกประเทศญป่ี นุ่ พบแนวปะทะอากาศชนดิ ตา่ ง ๆ ซงึ่ ทำ� ใหเ้ กิดสภาพลมฟ้าอากาศดงั นี้ - บรเิ วณแนวปะทะอากาศเยน็ มลี มแรงและพายฝุ นฟา้ คะนอง อาจมหี มิ ะ หลงั จากนน้ั อณุ หภมู ิจะลดตำ่� ลง - บรเิ วณแนวปะทะอากาศอุ่น มลี มแรง เกิดฝนตกพรำ� ๆ และอาจมีหยาดน�้ำฟา้ ชนดิ อ่นื ๆ ตกเปน็ บริเวณกวา้ งและเปน็ ระยะเวลานาน หลงั จากนัน้ อุณหภมู ิจะเพิม่ สูงขึน้ - บริเวณแนวปะทะอากาศรวม มีลมแรงและพายุฝนฟ้าคะนอง อาจมีหิมะ หลังจาก นั้นอณุ หภมู ิจะลดตำ่� ลง แผนทอี่ ากาศผวิ พืน้ หมายเลข 2 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยา 123 กบั การใชป้ ระโยชน์ สญั ลกั ษณ์ องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ความหมาย เสน้ ความกดอากาศเท่า บรเิ วณท่ีเส้นความกดอากาศเทา่ อยหู่ ่าง (isobar) กันมาก ลมบริเวณนัน้ จะมีก�ำลังอ่อน ส่วนบรเิ วณท่เี สน้ ความกดอากาศเทา่ อยใู่ กล้กัน ลมบรเิ วณน้ันจะมกี ำ� ลงั แรง หย่อมความกดอากาศตำ�่ หากสญั ลกั ษณ์น้อี ยเู่ หนือแผ่นดิน (low pressure cell) หมายความว่าบริเวณนน้ั จะมอี ากาศรอ้ น และความช้นื ต�ำ่ แตห่ ากสญั ลักษณ์นี้ อยเู่ หนือทะเลหมายความวา่ บรเิ วณนั้น จะมีอากาศชน้ื และมโี อกาสเกดิ เมฆมาก บรเิ วณความกดอากาศสงู มีอากาศเยน็ ความชน้ื ต�่ำ และมกั พบ (high pressure area) ทอ้ งฟา้ แจ่มใส พายุดีเปรสชัน มฝี นฟ้าคะนองและลมแรง (tropical depression) พายไุ ซโคลน มฝี นฟา้ คะนองและลมแรง (tropical cyclone) แนวปะทะอากาศคงที่ อาจมที อ้ งฟา้ จะปลอดโปรง่ หรือมโี อกาส (stationary front) เกดิ ฝนหรอื หิมะตกต่อเนอ่ื งเปน็ เวลานาน รอ่ งความกดอากาศตำ่� มีฝนตกชุก พายฝุ นฟา้ คะนอง และลม (low pressure trough กระโชกแรง line) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 124 กบั การใช้ประโยชน์ สรุปสภาพลมฟ้าอากาศ บริเวณความกดอากาศสูงปกคลุมบริเวณประเทศออสเตรเลีย รวมถึงบางบริเวณของ มหาสมทุ รแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดยี ทำ� ให้บริเวณดงั กล่าวมีอากาศเย็น ความช้ืนตำ่� และท้องฟา้ ค่อนข้างปลอดโปรง่ หย่อมความกดอากาศตำ่� ปกคลุมบรเิ วณประเทศจีน อินเดีย ไทย และประเทศข้างเคียง รวมถึงบางบริเวณของมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ท�ำให้บริเวณดังกล่าวมี อากาศร้อนและความชืน้ ตำ�่ ชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศจีนมีพายุโซนร้อน และบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกมีพายุ ดเี ปรสชนั ทำ� ใหม้ ฝี นฟา้ คะนองและลมแรง เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณใกล้ประเทศญ่ีปุ่นพบแนวปะทะอากาศคงที่ท�ำให้อาจมี ทอ้ งฟา้ จะปลอดโปร่ง หรอื มีโอกาสเกิดฝนหรอื หมิ ะตกต่อเน่อื งเป็นเวลานาน ร่องความกดอากาศต�่ำพาดผ่านบริเวณประเทศไทย พม่า และตอนบนของมหาสมุทร อินเดีย ทำ� ใหม้ ฝี นตกชกุ พายฝุ นฟา้ คะนอง และลมกระโชกแรง แผนท่อี ากาศผวิ พนื้ หมายเลข 3 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวทิ ยา 125 กับการใช้ประโยชน์ สญั ลกั ษณ์ องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ความหมาย เสน้ ความกดอากาศเท่า บรเิ วณท่เี สน้ ความกดอากาศเท่าอยู่ห่าง (isobar) กนั มาก ลมบรเิ วณน้นั จะมกี ำ� ลังออ่ น ส่วนบริเวณท่ีเส้นความกดอากาศเท่า อยใู่ กลก้ ัน ลมบรเิ วณนั้นจะมีกำ� ลังแรง หย่อมความกดอากาศตำ�่ หากสญั ลกั ษณ์น้ีอยู่เหนือแผ่นดนิ (low pressure cell) หมายความวา่ บรเิ วณนน้ั จะมอี ากาศร้อน และความชน้ื ต่ำ� แต่หากสัญลักษณน์ ้ี อยเู่ หนอื ทะเลหมายความวา่ บรเิ วณน้นั จะมีอากาศชนื้ และมีโอกาสเกดิ เมฆมาก บริเวณความกดอากาศสงู มอี ากาศเยน็ ความช้ืนต่�ำ และมักพบ (high pressure area) ทอ้ งฟ้าแจ่มใส พายุไซโคลน มฝี นฟา้ คะนองและลมแรง (tropical cyclone) แนวปะทะอากาศเย็น มลี มแรงและพายฝุ นฟา้ คะนอง หลงั จากนน้ั (cold front) อณุ หภมู ิจะลดต�่ำลงและอาจมีหิมะ แนวปะทะอากาศอุ่น มลี มแรง เกิดฝนตกพร�ำ ๆ และอาจมี (warm front) หยาดน�ำ้ ฟา้ ชนดิ อ่ืน ๆ ตกเป็นบรเิ วณ กวา้ งและเป็นระยะเวลานาน หลังจากน้ัน อณุ หภมู จิ ะเพมิ่ สงู ข้ึน แนวปะทะอากาศรวม มีลมแรงและพายฝุ นฟ้าคะนอง อาจมี (occluded front) หมิ ะ หลงั จากนัน้ อณุ หภูมจิ ะลดต่�ำลง แนวปะทะอากาศคงที่ อาจมที อ้ งฟ้าจะปลอดโปรง่ หรอื มโี อกาส (stationary front) เกิดฝนหรอื หิมะตกตอ่ เน่อื งเปน็ เวลานาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 126 กับการใช้ประโยชน์ สรุปสภาพลมฟา้ อากาศ บริเวณความกดอากาศสูงปกคลุมบริเวณประเทศอิหร่าน ตอนบนของประเทศจีน และ บางสว่ นของประเทศออสเตรเลยี รวมถงึ บางบรเิ วณของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ และมหาสมทุ ร อนิ เดีย ทำ� ให้บริเวณดังกลา่ วมีอากาศเย็น ความชืน้ ต่�ำ และทอ้ งฟ้าค่อนข้างปลอดโปรง่ หย่อมความกดอากาศต�่ำปกคลุมบริเวณประเทศอินเดีย เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และ บางสว่ นของประเทศออสเตรเลยี และประเทศขา้ งเคยี ง รวมถงึ บางบรเิ วณของมหาสมทุ ร แปซิฟิกและมหาสมทุ รอนิ เดยี ทำ� ให้บรเิ วณดงั กลา่ วมอี ากาศร้อนและความช้ืนต�่ำ ทางตอนเหนอื ของประเทศออสเตรเลยี มพี ายไุ ซโคลนทำ� ใหบ้ รเิ วณดงั กลา่ วมฝี นฟา้ คะนอง และลมแรง ทางตอนใตข้ องประเทศญปี่ นุ่ ถงึ ชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องประเทศจนี มแี นวปะทะ อากาศ บรเิ วณตอนเหนอื ของประเทศญป่ี นุ่ พบแนวปะทะอากาศเยน็ แนวปะทะอนุ่ และ แนวปะทะอากาศรวม ซงึ่ แนวปะทะอากาศชนดิ ตา่ ง ๆ ทำ� ใหเ้ กดิ สภาพลมฟา้ อากาศดงั น้ี - บริเวณแนวปะทะอากาศคงที่ท�ำให้อาจมีท้องฟ้าจะปลอดโปร่ง หรือมีโอกาสเกิดฝน หรือหิมะตกต่อเนื่องเปน็ เวลานาน - บรเิ วณแนวปะทะอากาศเยน็ มลี มแรงและพายฝุ นฟา้ คะนอง อาจมหี มิ ะ หลงั จากนนั้ อณุ หภมู ิจะลดต�่ำลง - บริเวณแนวปะทะอากาศอุ่น มีลมแรง เกิดฝนตกพรำ� ๆ และอาจมหี ยาดน�้ำฟา้ ชนดิ อืน่ ๆ ตกเปน็ บริเวณกว้างและเปน็ ระยะเวลานาน หลงั จากนั้นอุณหภูมิจะเพ่ิมสงู ขึน้ - บรเิ วณแนวปะทะอากาศรวม มลี มแรงและพายฝุ นฟา้ คะนอง อาจมหี มิ ะ หลงั จากนนั้ อณุ หภมู ิจะลดต่�ำลง สรุปผลการทำ� กิจกรรม บนแผนที่อากาศผิวพ้ืนมีสัญลักษณ์ต่าง ๆ ท่ีแสดงสภาพลมฟ้าอากาศท่ีเกิดข้ึนเป็นบริเวณ กว้าง ได้แก่ เส้นความกดอากาศเท่า หย่อมความกดอากาศต่�ำ บริเวณความกดอากาศสูง พายุหมุนเขตร้อน แนวปะทะอากาศ และร่องความกดอากาศต่�ำ สัญลักษณ์บนแผนท่ีอากาศ ผิวพื้นแต่ละแผ่นทำ� ให้ทราบสภาพลมฟ้าอากาศเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมพ้ืนท่ีระดับประเทศ ภมู ิภาค และทวีป ดงั นี้ - แผนท่ีอากาศผิวพ้ืนแผ่นที่ 1 บริเวณประเทศจีนและประเทศโดยรอบมีอากาศเย็น ความชื้นต�่ำ และทอ้ งฟา้ ค่อนข้างปลอดโปรง่ บรเิ วณส่วนใหญข่ องประเทศออสเตรเลยี มีอากาศร้อนและความชน้ื ตำ�่ บรเิ วณกลางมหาสมทุ รอนิ เดยี มฝี นฟา้ คะนองและลมแรง เนื่องจากพายุไซโคลน เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณใกล้ประเทศญ่ีปุ่นพบแนวปะทะ อากาศชนดิ ตา่ ง ๆ ซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ สภาพลมฟา้ อากาศแตกตา่ งกนั ตามชนดิ ของแนวปะทะอากาศ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 127 กับการใช้ประโยชน์ - แผนที่อากาศผิวพ้ืนแผ่นที่ 2 บริเวณประเทศจีน อินเดีย ไทย และประเทศข้างเคียงมี อากาศร้อนและความช้ืนต่�ำ บริเวณประเทศออสเตรเลียมีอากาศเย็น ความชื้นต่�ำ และ ท้องฟ้าค่อนข้างปลอดโปร่ง ชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศจีนและบริเวณมหาสมุทร แปซิฟิกมีฝนฟ้าคะนองและลมแรง เนื่องจากพายุโซนร้อนและพายุดีเปรสชันตามล�ำดับ เหนอื มหาสมทุ รแปซฟิ กิ บรเิ วณใกลป้ ระเทศญป่ี นุ่ พบแนวปะทะอากาศคงทท่ี ำ� ใหม้ ที อ้ งฟา้ ปลอดโปร่งหรือมีเมฆบางส่วน บริเวณประเทศไทย พม่า และตอนบนของมหาสมุทร อนิ เดยี มฝี นตกชกุ พายฝุ นฟา้ คะนอง และลมกระโชกแรงเนอ่ื งจากรอ่ งความกดอากาศตำ�่ พาดผา่ น - แผนท่ีอากาศผิวพื้นแผ่นท่ี 3 พื้นท่ีส่วนใหญ่บนแผ่นดินมีอากาศร้อนและความช้ืนต�่ำ สว่ นบรเิ วณมหาสมทุ รพนื้ ทสี่ ว่ นใหญม่ อี ากาศชน้ื และมโี อกาสเกดิ เมฆมาก พน้ื ทบี่ างบรเิ วณ มีอากาศเย็น ความชื้นต่�ำ และมักพบท้องฟ้าแจ่มใส บริเวณชายฝั่งทางตอนเหนือของ ประเทศออสเตรเลียมีฝนฟ้าคะนองและลมแรงเน่ืองจากพายุไซโคลน บริเวณประเทศ ญี่ปุ่นและชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีนพบแนวปะทะอากาศชนิดต่าง ๆ ซึ่งท�ำให้เกดิ สภาพลมฟา้ อากาศแตกต่างกันตามชนิดของแนวปะทะอากาศ ค�ำถามท้ายกจิ กรรม 1. แผนทีใ่ ดมีพายหุ มุนเขตรอ้ น และเป็นพายหุ มนุ เขตรอ้ นชนิดใด และพบท่มี หาสมทุ รใด แนวคำ� ตอบ แผนทที่ ง้ั 3 แผน่ มพี ายหุ มนุ เขตรอ้ น โดยแผนทห่ี มายเลข 1 พบพายไุ ซโคลน ที่มหาสมทุ รอนิ เดีย แผนทหี่ มายเลข 2 พบพายุดีเปรสชนั และพายุโซนรอ้ นทมี่ หาสมุทร แปซฟิ กิ และแผนทีห่ มายเลข 3 พบพายุไซโคลนทม่ี หาสมทุ รอนิ เดีย 2. แผนที่อากาศผิวพ้ืนแต่ละแผ่นมีแนวปะทะอากาศแบบใดบ้าง และแนวปะทะอากาศอยู่ ในเขตละติจดู ใด แนวคำ� ตอบ แผนทอี่ ากาศผวิ พน้ื หมายเลข 1 พบแนวปะทะอากาศเยน็ แนวปะทะอากาศอนุ่ และแนวปะทะอากาศรวม แผนท่ีอากาศผิวพ้ืนหมายเลข 3 พบแนวปะทะอากาศคงท่ี และแผนที่อากาศผิวพื้นหมายเลข 3 พบแนวปะทะอากาศเย็น แนวปะทะอากาศอุ่น แนวปะทะอากาศรวม และแนวปะทะอากาศคงที่ โยแนวปะทะอากาศอย่ใู นเขตละตจิ ูด ประมาณ 25 - 50 องศาเหนอื 3. จากแผนที่อากาศผิวพ้ืนแผนที่ 1 บริเวณประเทศไทยมีสภาพลมฟ้าอากาศเป็นอย่างไร พจิ ารณาจากสญั ลักษณใ์ ด แนวค�ำตอบ ลมมีก�ำลงั แรงและอากาศเย็น พจิ ารณาจากเสน้ ความกดอากาศเท่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 128 กับการใช้ประโยชน์ 4. จากแผนที่อากาศผิวพื้นแผนท่ี 2 บริเวณประเทศไทยมีสภาพลมฟ้าอากาศเป็นอย่างไร พิจารณาจากสญั ลกั ษณ์ใด แนวค�ำตอบ มีฝนตกชุก พายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง และอากาศร้อน พิจารณา จากสญั ลกั ษณห์ ยอ่ มความกดอากาศตำ�่ และร่องความกดอากาศต่�ำ 5. จากแผนที่อากาศผิวพื้นแผนท่ี 3 บริเวณประเทศไทยมีสภาพลมฟ้าอากาศเป็นอย่างไร พจิ ารณาจากสัญลกั ษณใ์ ด แนวคำ� ตอบ อากาศรอ้ นและความชนื้ ตำ�่ พจิ ารณาจากสญั ลกั ษณห์ ยอ่ มความกดอากาศตำ่� 12. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม และร่วมกันอภิปราย พร้อมตอบคำ� ถามท้าย กจิ กรรม โดยแนวทางการอภปิ รายและการตอบคำ� ถามดงั แสดงดา้ นบน 13. ครูอาจอธิบายนักเรียนเพ่ิมเติมเกี่ยวกับเส้นความกดอากาศเท่าบนแผนที่อากาศของ กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาซง่ึ มหี ลายรปู แบบวา่ เสน้ ความกดอากาศเทา่ บนแผนทอ่ี ากาศผวิ พน้ื ทจี่ ดั ทำ� โดยกรมอตุ ุนิยมวิทยามี 4 ลักษณะแตกต่างกันตามวัตถปุ ระสงค์ท่กี ำ� หนด ดงั นี้ เส้นสีน้�ำเงินแบบบาง ( ) เป็นเส้นความกดอากาศเท่าท่ีพบได้ทั่วไปบนแผนท่ี อากาศผิวพื้น แสดงความกดอากาศทุก 2 hPa เช่น 998 hPa 1000 hPa 1002 hPa ตามล�ำดับ เส้นสีน�้ำเงินแบบหนา ( ) เป็นเส้นความกดอากาศเท่าที่แสดงความกดอากาศ บางคา่ เชน่ 1020 hPa 1040 hPa ก�ำหนดขึน้ เพอื่ แสดงขอบเขตของอากาศท่ีหนาวเยน็ เสน้ ประสนี ำ้� เงนิ ( ) เปน็ เสน้ ความกดอากาศเทา่ ทป่ี รากฏขนึ้ ในบางบรเิ วณทเี่ สน้ ความกดอากาศเทา่ อยหู่ า่ งกนั โดยเสน้ ดงั กลา่ วแสดงความกดอากาศทเ่ี ปน็ เลขคี่ เชน่ 1015 hPa 1033 hPa เส้นสีแดง ( ) เป็นเส้นความกดอากาศเท่าที่มักจะปรากฏขึ้นบนแผนท่ีอากาศ ผวิ พนื้ ชว่ งทเ่ี ปน็ ฤดหู นาวของประเทศไทยเทา่ นนั้ โดยเปน็ เสน้ ทแ่ี สดงความกดอากาศ 1012 hPa กำ� หนดขน้ึ เพอื่ แสดงขอบเขตของอากาศที่ทำ� ใหร้ ้สู กึ เยน็ 14. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายรายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับสภาพลมฟ้าอากาศในฤดูต่าง ๆ โดยใชค้ �ำถามดงั ต่อไปนี้ ในฤดูร้อน (รูป 12.3) พบสัญลักษณ์แสดงสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างใดบ้างบริเวณ ประเทศไทย แนวค�ำตอบ สญั ลกั ษณ์หย่อมความกดอากาศต่�ำ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนยิ มวทิ ยา 129 กบั การใช้ประโยชน์ ในฤดูร้อน (รูป 12.3) เส้นความกดอากาศเท่าท่ีอยู่ระหว่างบริเวณความกดอากาศสูง เหนือประเทศจีนและหยอ่ มความกดอากาศต่�ำเหนือประเทศไทย มลี ักษณะเปน็ อย่างไร แนวค�ำตอบ มีลกั ษณะคลา้ ยลมิ่ มาทางประเทศไทย ลกั ษณะดังกล่าวบง่ ช้วี า่ อากาศมีการเคลือ่ นที่ในทศิ ทางใด แนวคำ� ตอบ อากาศเคลอ่ื นทจี่ ากบริเวณประเทศจนี มาทางประเทศไทย หากอากาศเยน็ เคลื่อนท่ีมาถงึ บริเวณท่ีมีอากาศรอ้ นปกคลุมอยู่ จะเกดิ สภาพลมฟา้ อากาศ อย่างไร แนวคำ� ตอบ เกดิ พายุฝนฟา้ คะนองและอาจมีลกู เหบ็ ตก นักเรียนจะปฏิบตั ิตนอยา่ งไรให้ปลอดภัยจากสภาพพายุฝนฟ้าคะนอง แนวค�ำตอบ หลีกเล่ียงการอยู่ในที่โล่งแจ้ง ใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ ท่ไี มแ่ ขง็ แรง ในฤดูฝน หากมีร่องความกดอากาศต�่ำพาดผ่านประเทศไทยจะมีโอกาสเกิดภัยพิบัติใด ไดม้ ากขึน้ เพราะเหตใุ ดจึงเปน็ เช่นนัน้ แนวคำ� ตอบ มีโอกาสเกิดน้�ำทว่ มและแผน่ ดินถล่มเนื่องจากไดร้ บั ปรมิ าณน้ำ� ฝนมากข้ึน ในฤดูหนาว (รูป 12.4) เส้นความกดอากาศเท่าท่ีอยู่ระหว่างบริเวณความกดอากาศสูง เหนือประเทศจีนและหย่อมความกดอากาศต่�ำเหนือประเทศไทย มีลักษณะเป็นอย่างไร แนวคำ� ตอบ มลี กั ษณะเปน็ แนวแผจ่ ากประเทศจนี ลงมายงั ประเทศไทยและประเทศใกลเ้ คยี ง ลกั ษณะดังกล่าวบ่งชี้วา่ อากาศมีการเคล่อื นทใ่ี นทศิ ทางใด แนวคำ� ตอบ อากาศเคล่ือนที่จากประเทศจนี มายงั ประเทศไทยและประเทศใกล้เคยี ง จากลกั ษณะการเคลอื่ นทข่ี องอากาศ นกั เรยี นควรเตรยี มพรอ้ มกบั สภาพลมฟา้ อากาศอยา่ งไรบา้ ง แนวคำ� ตอบ เตรยี มพรอ้ มกบั อากาศหนาวและระมดั ระวงั อนั ตรายจากปรมิ าณฝนทเ่ี พมิ่ มากขนึ้ 15. ใหน้ กั เรยี นตรวจสอบความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การระบฤุ ดขู องประเทศไทยจากสญั ลกั ษณแ์ สดงสภาพ ลมฟา้ อากาศบริเวณกว้างบนแผนทอ่ี ากาศผิวพ้ืน โดยใชค้ ำ� ถามในหนงั สอื เรยี นหน้า 76 ดงั นี้ ในช่วงฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ของประเทศไทย จะปรากฏสัญลักษณ์แสดงสภาพ ลมฟา้ อากาศบรเิ วณกวา้ งทแี่ ตกต่างกนั อย่างไรบ้าง แนวคำ� ตอบ ในชว่ งฤดรู ้อนจะพบสัญลกั ษณห์ ย่อมความกดอากาศปกคลมุ บริเวณ ประเทศไทย ในช่วงฤดฝู นจะพบสัญลักษณร์ อ่ งความกดอากาศต�ำ่ พาดผ่านบรเิ วณ ประเทศไทย และในชว่ งฤดหู นาวจะพบเสน้ ความกดอากาศเทา่ เปน็ แนวแผจ่ ากประเทศจนี ลงมาปกคลมุ ประเทศไทย 16. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับพายุหมุนเขตร้อนและ แนวปะทะอากาศ โดยใชค้ ำ� ถามดงั ต่อไปน้ี พายหุ มนุ เขตรอ้ นทีป่ รากฏในรปู 12.5 มีความรุนแรงของพายุอย่ใู นระดบั ใด แนวค�ำตอบ พายไุ ต้ฝุ่น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 130 กับการใชป้ ระโยชน์ พายดุ ังกล่าวเคลื่อนทไ่ี ปทางทศิ ใด แนวค�ำตอบ ทางทิศตะวันตกเฉยี งเหนือคอ่ นมาทางตะวันตกเลก็ นอ้ ย (WNW) บริเวณใดบ้างได้รับผลกระทบจากพายโุ ดยตรง และสง่ ผลกระทบอยา่ งไร แนวค�ำตอบ เกาะไหหลำ� และชายฝง่ั ประเทศเวียดนาม ท�ำใหเ้ กดิ ภัยพิบตั ิ เช่น คล่มื ลมแรง การกัดเซาะชายฝัง่ น้�ำทว่ ม ดนิ ถล่ม บรเิ วณใดของประเทศไทยท่ไี ดร้ ับผลกระทบจากพายุดงั กล่าว และส่งผลกระทบอยา่ งไร แนวค�ำตอบ บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทยไดร้ ับ ผลกระทบมากทีส่ ุด โดยท�ำให้เกดิ ฝนตกเป็นบริเวณกวา้ งซง่ึ ท�ำใหม้ ีโอกาสเกดิ อุทกภัยและ แผ่นดินถล่มมากขนึ้ ส่วนอา่ วไทยและทะเลอันดามนั อาจมีคล่นื ลมแรง จากรูป 12.6 แนวปะทะอากาศเย็นและแนวปะทะอากาศอ่นุ ก�ำลงั เคลื่อนทไ่ี ปทางทศิ ใด แนวค�ำตอบ แนวปะทะอากาศเย็นก�ำลังเคล่ือนท่ีไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และ แนวปะทะอากาศอุน่ กำ� ลงั เคลอ่ื นทไ่ี ปทศิ เหนือ ตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่นและทางตอนเหนือของประเทศญี่ปุ่นมีสภาพลมฟ้าอากาศเป็น อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ทางตอนใตข้ องประเทศญป่ี นุ่ เกดิ ลมพดั แรง พายฝุ นฟา้ คะนอง และอาจมหี มิ ะตก หลังจากนั้นอุณหภูมิอากาศจะลดลง ทางตอนเหนือของประเทศญ่ีปุ่นจะมีลมแรง เกิด ฝนตกพร�ำ ๆ และอาจมหี ยาดนำ้� ฟา้ ชนดิ อื่น ๆ ตกเปน็ บริเวณกว้างและเปน็ ระยะเวลานาน หลังจากน้นั อณุ หภูมิจะสูงขึน้ 17. ครใู หน้ กั เรยี นตอบคำ� ถามตามความคดิ ของตนเองวา่ “นอกจากแผนทอี่ ากาศผิวพื้นแลว้ ยังมี ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยาอะไรอีกบ้าง และสารสนเทศเหล่านั้นน�ำมาใช้ประโยชน์ อย่างไร” 18. ครูให้นักเรียนสังเกตตัวอย่างภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาในช่วงคลื่นอินฟราเรดท่ีปรับสี ดังตวั อย่างด้านล่าง ภาพถ่ายดาวเทยี มอุตนุ ิยมวิทยาในชว่ งคลืน่ อินฟราเรด หมายเหตุ ดรู ายละเอยี ดของรปู ใน QR code ประจ�ำบท สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวิทยา 131 กบั การใช้ประโยชน์ จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนอภิปรายตามความคดิ ของตนเองในประเดน็ ดงั นี้ นกั เรียนเคยเหน็ ภาพถา่ ยดาวเทยี มอตุ ุนิยมวิทยาดังรูปมาก่อนหรอื ไม่ อยา่ งไร ภาพถา่ ยดาวเทยี มดังกล่าวแสดงขอ้ มลู องค์ประกอบลมฟ้าอากาศอะไรบ้าง อย่างไร 19. ครใู ห้นักเรยี นร่วมกันหาคำ� ตอบโดยปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 12.3 กจิ กรรม 12.3 แปลความหมายข้อมูลภาพถา่ ยดาวเทียมอตุ ุนิยมวิทยา จุดประสงค์กิจกรรม ระบุชนิดของเมฆและบริเวณท่ีพบเมฆหรือพายุหมุนเขตร้อนในช่วงคลื่นอินฟราเรด และ ชว่ งคล่ืนที่มองเห็น วสั ดุ-อปุ กรณ ์ 1. เอกสารความรู้ เรอ่ื ง การแปลความหมายข้อมูลภาพถ่ายดาวเทยี ม 2. ภาพถา่ ยดาวเทียมในชว่ งคล่นื ต่าง ๆ หมายเหตุ เอกสารความร้ใู นข้อ 1 และภาพถ่ายดาวเทยี มในขอ้ 2 ดาวโหลดได้จาก QR Code การเตรยี มตัวลว่ งหน้า ครูอาจให้นักเรียนสืบค้นและบันทึกภาพถ่ายดาวเทียมมาล่วงหน้า โดยสืบค้นจากเว็บไซต์ กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา (www.tmd.go.th) และคลกิ ทค่ี ำ� วา่ \"หนา้ แรก\" บนแถบเมนดู า้ นบน จากนน้ั คลิกท่ีค�ำว่า\"ภายถ่ายจากดาวเทียม\"ท้ังน้ีครูอาจช้ีแจงนักเรียนเพิ่มเติมว่าให้เลือกบันทึกเฉพาะ ภาพถา่ ยดาวเทียมอตุ ุนยิ มวิทยาที่ระบวุ า่ เปน็ ภาพ IR, IR-Enh, VIS และ IR+VIS ขอ้ เสนอแนะส�ำหรบั ครู 1. เพอ่ื ความรวดเรว็ ในการทำ� กจิ กรรมครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเอกสารความรเู้ รอ่ื งการแปล ความหมายขอ้ มลู ภาพถ่ายดาวเทียมมาลว่ งหนา้ 2. ครูใหน้ ักเรยี นอา้ งอิงชอื่ ของพื้นท่ที ี่ตรวจพบเมฆจากแผนทีอ่ ้างอิงในเอกสารหมายเลข 2 แหลง่ เรียนรู้ เว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา > ภาพถ่ายดาวเทียม (http://www.sattmet.tmd.go.th/ satmet/mergesat.html) วิธกี ารท�ำกิจกรรม 1. ศึกษาการแปลความหมายภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคล่ืนต่าง ๆ จากเอกสารความรู้ ทกี่ ำ� หนดให้ 2. วเิ คราะหภ์ าพถ่ายดาวเทยี มในชว่ งคล่นื ตา่ ง ๆ ตามท่ีกำ� หนด และระบุขอ้ มูลในประเด็น ตอ่ ไปนี้ และบันทกึ ผล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 132 กับการใช้ประโยชน์ - วนั และเวลาทท่ี ำ� การตรวจวดั - พน้ื ทที่ ่ีตรวจพบเมฆ - สที ป่ี รากฏ - ชนดิ ของเมฆ 3. สบื คน้ ขอ้ มลู ภาพถา่ ยดาวเทยี มของประเทศไทย ณ เวลาปจั จบุ นั จากเวบ็ ไซตก์ รมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา วิเคราะห์และระบุข้อมูลเมฆท่ีปกคลุมภูมิภาคของตนเอง พร้อมคาดการณ์ลักษณะ ลมฟ้าอากาศ 4. นำ� เสนอผลการทำ� กิจกรรม จากนั้นอภปิ รายรว่ มกันในชั้นเรยี น ตัวอย่างผลการท�ำกจิ กรรม ตัวอย่างผลการแปลความหมายภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคล่ืนต่าง ๆ ท่ีท�ำการตรวจวัดใน วันท่ี 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2561 เวลา 07:50 UTC บรเิ วณที่ IR สี VIS IR + VIS การแปลความหมาย พบเมฆ IR enhance อ่าว เทา ขาว เทา ขาว ฟ้า ขาว ขาว ฟา้ พบเมฆฝนฟ้าคะนอง เบงกอล ขาวสวา่ ง เขยี ว เหลอื ง ขาวสวา่ ง ม่วง และเมฆชน้ั สงู สม้ มหาสมทุ ร เทา ขาว เทา ขาว ฟา้ ขาว ขาว ฟ้า พบเมฆฝนฟา้ คะนอง อินเดีย ขาวสวา่ ง เขยี ว เหลือง ขาวสว่าง มว่ ง เมฆชัน้ สงู และเมฆชน้ั ต่�ำ สม้ อา่ วไทย ขาวสว่าง เขยี ว ขาวสวา่ ง ขาว ฟ้า พบเมฆฝนฟ้าคะนอง ตอนบน เหลอื ง สม้ และเมฆชน้ั สูง ทะเลจนี ใต้ เทา ขาว เทา ขาว ฟา้ เทา ขาว ขาว ฟ้า พบเมฆฝนฟ้าคะนอง ขาวสว่าง เขียว เหลือง ขาวสว่าง และเมฆชน้ั สูง สม้ แดง จนี เทา เทา ขาว เทา ขาว ฟ้า พบเมฆชั้นต�ำ่ เป็นสว่ นใหญ่ ฟ้า เขยี ว มว่ ง และเมฆช้นั สูงเป็นสว่ นนอ้ ย หมายเหตุ IR หมายถงึ ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคล่ืนอนิ ฟราเรด, IR Enhance หมายถงึ ภาพถ่ายดาวเทียม ชว่ งคลืน่ อินฟราเรดทีป่ รบั ส,ี VIS หมายถงึ ภาพถ่ายดาวเทยี มชว่ งคล่นื ท่มี องเหน็ และ IR+VIS หมายถงึ ภาพถา่ ยดาวเทยี มทป่ี ระมวลผลร่วมกับระหวา่ งช่วงคลน่ื ทีม่ องเหน็ และอนิ ฟราเรด สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 133 กบั การใชป้ ระโยชน์ ตวั อยา่ งการแปลความหมายถ่ายดาวเทียมของประเทศไทยตามภมู ิภาคของตนเอง ภาพถ่ายดาวเทยี มในวนั ท่ี 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เวลา 05:50 UTC IR IR Enhance VIS IR+VIS สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 134 กับการใชป้ ระโยชน์ ตวั อยา่ งผลการแปลความหมายภาพถา่ ยดาวเทยี มประเทศไทยตามภมู ภิ าค ทท่ี ำ� การตรวจวดั ใน วนั ท่ี 17 ตลุ าคม พ.ศ. 2561 เวลา 05:50 UTC บรเิ วณทพี่ บ IR สี VIS IR + VIS การแปลความหมาย เมฆ IR enhance ภาคเหนอื เทา ขาว เทา ขาว ฟา้ เทา ขาว ขาว ฟ้า พบเมฆชน้ั ตำ�่ เป็น ขาวสวา่ ง เขยี ว เหลอื ง ขาวสว่าง ม่วง ส่วนใหญ่ พบเมฆฝน ฟ้าคะนองและเมฆชัน้ สงู กระจายเป็นแหง่ ๆ ภาคตะวันออก เทา ขาว เทา ขาว ฟา้ เทา ขาว ขาว ฟ้า พบเมฆชัน้ ตำ�่ เป็น เฉยี งเหนือ ขาวสว่าง เขยี ว เหลอื ง ขาวสวา่ ง ม่วง สว่ นใหญ่ พบเมฆฝน ฟ้าคะนองและเมฆช้นั สม้ แดง สงู ทางตะวันออกและ ตอนบนของภาค ภาคกลาง พบเมฆชน้ั ตำ�่ เปน็ เทา ขาว เทา ขาว เขยี ว เทา ขาว ขาว ฟ้า สว่ นใหญ่ พบเมฆฝนฟา้ ขาวสว่าง เหลอื ง ขาวสวา่ ง มว่ ง คะนองและเมฆชน้ั สงู กระจายเปน็ บางแหง่ เทา ขาว เทา ขาว ขาว ฟา้ พบเมฆชนั้ ตำ่� เปน็ ขาวสวา่ ง ขาวสวา่ ง มว่ ง สว่ นใหญ่ พบเมฆฝนฟา้ ภาคตะวนั ออก เทา ขาว เขียว คะนองและเมฆชนั้ สงู กระจายเปน็ บางแหง่ พบเมฆชนั้ ตำ่� เปน็ เทา ขาว เทา ขาว เทา ขาว ขาว ฟ้า สว่ นใหญ่ พบเมฆฝนฟา้ ภาคใต้ ขาวสวา่ ง ฟา้ เขยี ว ขาวสว่าง มว่ ง คะนองและเมฆชนั้ สงู กระจายเปน็ บางแหง่ หมายเหตุ IR หมายถงึ ภาพถา่ ยดาวเทยี มชว่ งคลน่ื อนิ ฟราเรด, IR Enhance หมายถงึ ภาพถา่ ยดาวเทยี มชว่ ง คล่ืนอินฟราเรดท่ีปรับสี, VIS หมายถึง ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคล่ืนท่ีมองเห็น IR+VIS หมายถึง ภาพถ่ายดาวเทยี มทป่ี ระมวลผลร่วมกบั ระหว่างชว่ งคลื่นท่ีมองเหน็ และอนิ ฟราเรด สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา 135 กับการใช้ประโยชน์ สรปุ ผลการทำ� กจิ กรรม การแปลความหมายจากภาพถ่ายดาวเทียมทก่ี ำ� หนดให้ บรเิ วณอา่ วเบงกอล มหาสมทุ รอนิ เดยี อา่ วไทยตอนบน และทะเลจนี ใต้ พบเมฆฝนฟา้ คะนอง และเมฆชั้นสงู ปกคลุมพ้ืนทีเ่ ปน็ สว่ นใหญ่ เน่อื งจากพบสีขาวสวา่ งในภาพถา่ ยดาวเทียมชว่ งคลืน่ อนิ ฟราเรด (IR) และชว่ งคล่ืนทม่ี องเหน็ (VIS) พบสีส้มและสแี ดงในภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคล่ืน อินฟราเรดท่ีปรับสี (IR Enhance) และพบสีขาวในภาพถ่ายดาวเทียมที่ประมวลผลร่วมกับ ระหวา่ งชว่ งคลนื่ ทม่ี องเหน็ และอนิ ฟราเรด (IR+VIS) นอกจากนยี้ งั พบเมฆชน้ั ตำ�่ ในบางพน้ื ที่ ไดแ้ ก่ อา่ วเบงกอล และมหาสมทุ รอนิ เดยี เนอ่ื งจากปรากฏสมี ว่ งในภาพถา่ ยดาวเทยี มทป่ี ระมวลผลรว่ ม กบั ระหวา่ งช่วงคลืน่ ทีม่ องเหน็ และอินฟราเรด (IR+VIS) บรเิ วณประเทศจนี พบเมฆเมฆชนั้ ตำ�่ เปน็ สว่ นใหญเ่ นอ่ื งจากปรากฏพนื้ ทสี่ เี ทาเปน็ บรเิ วณกวา้ ง ในภาพถ่ายดาวเทียมชว่ งคล่ืนอินฟราเรด (IR) และช่วงคลน่ื ทม่ี องเห็น (VIS) พบพื้นท่สี ขี าวเปน็ สว่ นใหญใ่ นภาพถา่ ยดาวเทยี มชว่ งคลนื่ อนิ ฟราเรดทปี่ รบั สี (IR Enhance) และพบพน้ื ทสี่ มี ว่ งเปน็ บริเวณกว้างในภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคล่ืนอินฟราเรดท่ีประมวลผลร่วมกับช่วงคล่ืนท่ีมองเห็น (IR+VIS) นอกจากน้ียังพบเมฆชน้ั สงู เป็นส่วนน้อยเนอ่ื งจากพบพน้ื ทสี่ ีเขยี วในภาพถ่ายดาวเทียม ชว่ งคลนื่ อนิ ฟราเรดทปี่ รบั สี (IR Enhance) และพบพนื้ ทส่ี ฟี า้ ในภาพถา่ ยดาวเทยี มทป่ี ระมวลผล ร่วมกับระหว่างชว่ งคลน่ื ท่ีมองเห็นและอนิ ฟราเรด (IR+VIS) การแปลความหมายถ่ายดาวเทยี มของประเทศไทยตามภูมิภาคของตนเอง ภาคเหนือ : พบเมฆชน้ั ตำ่� ปกคลุมพ้นื ทเ่ี ป็นสว่ นใหญ่ พบเมฆฝนฟา้ คะนองเป็นแห่ง ๆ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : พบเมฆช้ันต่�ำปกคลุมพื้นท่ีเป็นส่วนใหญ่ พบเมฆฝนฟ้าคะนองทาง ตอนเหนือของและตะวนั ออกของภาค ภาคกลาง : พบเมฆช้นั ตำ�่ ปกคลุมพื้นทีเ่ ปน็ ส่วนใหญ่ พบเมฆฝนฟา้ คะนองเป็นบางแหง่ ภาคตะวันออก : พบเมฆชน้ั ต�่ำปกคลุมพ้ืนทเ่ี ป็นส่วนใหญ่ พบเมฆฝนฟา้ คะนองเป็นบางแห่ง คำ� ถามทา้ ยกิจกรรม 1. ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคล่ืนอินฟราเรดมีเฉดสีแตกต่างกันตามสิ่งใด และ แปลผลแตกต่างกันอย่างไร แนวคำ� ตอบ ภาพถ่ายดาวเทยี มอตุ ุนิยมวิทยาชว่ งคลื่นอนิ ฟราเรดมีเฉดสีแตกต่างกนั ตาม อุณหภูมิของพ้ืนผิววัตถุ โดยพื้นผิวท่ีมีอุณหภูมิต่�ำจะปรากฏเป็นเฉดสีขาวหรือขาวสว่าง เชน่ เมฆชน้ั สงู เมฆควิ มโู ลนมิ บสั สว่ นเมฆทอ่ี ยใู่ นระดบั ตำ�่ ลงมาจะมอี ณุ หภมู พิ น้ื ผิวสงู ขนึ้ จึงปรากฏเป็นเฉดสีเทา พ้นื ดินและพนื้ น้�ำจะปรากฏเป็นเฉดสเี ทาเข้มจนถงึ ด�ำเน่ืองจากมี อุณหภูมสิ งู กว่าเมฆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 136 กบั การใช้ประโยชน์ 2. ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคล่ืนท่ีมองเห็นมีเฉดสีแตกต่างกันตามส่ิงใด และ แปลผลแตกต่างกันอย่างไร แนวค�ำตอบ ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคล่ืนที่มองเห็นมีเฉดสีแตกต่างกันตาม อตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นของวตั ถุ โดยวตั ถทุ มี่ อี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นสงู เชน่ เมฆฝนฟา้ คะนอง ท่ีมีความหนามาก จะสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ได้ดีท�ำให้ปรากฏเป็นสีขาว ส่วนวัตถุท่ีมี อตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นตำ่� ลงมา เชน่ เมฆทมี่ คี วามหนานอ้ ย จะปรากฏเปน็ เฉดสเี ทาไลร่ ะดบั ไปจนกระทง่ั เป็นสดี ำ� 3. หากพบเมฆสีขาวสว่าง ณ บริเวณหนึ่ง ในภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ชว่ งคล่นื อนิ ฟราเรด คาดวา่ จะเปน็ เมฆใด แนวค�ำตอบ อาจเปน็ เมฆชนั้ สงู หรอื เมฆควิ มโู ลนิมบสั (เมฆฝนฟา้ คะนอง) 4. ณ ต�ำแหน่งท่ีพบเมฆสีขาวสว่างในข้อ 3 ถ้าพิจารณาภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ชว่ งคลน่ื อนิ ฟราเรดทปี่ รบั สีแลว้ จะปรากฏสีใดได้บา้ ง แนวค�ำตอบ สีสม้ สแี ดง 5. ณ ตำ� แหนง่ ทพ่ี บเมฆสขี าวสวา่ งในขอ้ 3 ถา้ พจิ ารณาภาพถา่ ยดาวเทยี มชว่ งคลน่ื ทมี่ องเหน็ จะปรากฏสีใด แนวค�ำตอบ สขี าวสว่าง 6. ณ ต�ำแหน่งท่ีพบเมฆสีขาวสว่างในข้อ 1 ถ้าพิจารณาภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาท่ี ประมวลผลรว่ มกนั ของช่วงคลืน่ อนิ ฟราเรดและช่วงคล่ืนที่มองเหน็ จะปรากฏสีใด แนวคำ� ตอบ สขี าว สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวทิ ยา 137 กบั การใชป้ ระโยชน์ 20. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม และร่วมกันอภิปราย พร้อมตอบค�ำถาม ทา้ ยกจิ กรรม โดยแนวทางการอภปิ รายและการตอบค�ำถามดังแสดงด้านบน 21. ครใู ห้นักเรียนสงั เกตรูป 12.7 ในหนงั สือเรียนหนา้ 81 จากน้ันครูนำ� อภปิ รายโดยใชต้ วั อยา่ ง ค�ำถามดงั นี้ เมฆชั้นสูง เมฆที่มียอดอยู่สูง และเมฆชั้นต่�ำจะปรากฏบนภาพถ่ายดาวเทียมแตกต่างกัน อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ เมฆชนั้ สงู และเมฆทม่ี ยี อดอยสู่ งู จะปรากฏเปน็ สขี าว สว่ นเมฆชนั้ ตำ่� จะปรากฏ เปน็ สเี ทา เพราะเหตุใด เมฆท่ีมีความสูงต่างกันจึงปรากฏเป็นสีท่ีแตกต่างกันบนภาพถ่ายดาวเทียม ชว่ งคล่นื อนิ ฟราเรด แนวคำ� ตอบ เนื่องจากเมฆมอี ุณหภูมิแตกตา่ งกนั สีขาวและสีเทาที่ปรากฏบนภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคล่ืนอินฟราเรด สีใดบ่งบอกว่าเมฆมี อณุ หภมู ิสูงกว่าและสใี ดบ่งบอกวา่ เมฆมอี ุณหภมู ติ �่ำกว่า แนวคำ� ตอบ สีขาวบง่ บอกวา่ เมฆมีอุณหภมู ติ �่ำกว่าสเี ทา เมฆทีก่ อ่ ตวั ในแนวตั้งและมยี อดเมฆท่ีอยู่สงู จะปรากฏเป็นสใี ดบา้ ง อย่างไร แนวคำ� ตอบ ปรากฏเป็นสขี าว และอาจสงั เกตเหน็ สีเทาอยูโ่ ดยรอบ 22. ครูให้นักเรียนสังเกตรปู 12.8 ในหนงั สือเรยี นหน้า 82 จากนั้นครนู ำ� อภิปรายโดยใชต้ ัวอยา่ ง ค�ำถามดังน้ี รปู ก และ ข เป็นภาพถา่ ยดาวเทยี มประเภทใด แนวค�ำตอบ รูป ก เป็นภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคล่ืนอินฟราเรดก่อนปรับสี และรูป ข เป็นภาพถา่ ยดาวเทยี มในชว่ งคลน่ื อนิ ฟราเรดหลังปรับสี เพราะเหตใุ ด จึงตอ้ งมีการปรับสีของภาพถา่ ยดาวเทยี มในช่วงคล่ืนอินฟราเรด แนวคำ� ตอบ เพื่อช่วยใหแ้ ยกรายละเอียดอณุ หภมู ิของเมฆได้ดีข้นึ ในรูป ข ยอดเมฆในวงกลมสีแดงมอี ณุ หภมู ปิ ระมาณเท่าใด แนวคำ� ตอบ ประมาณ -80 ถงึ -60 องศาเซลเซยี ส การทราบอณุ หภมู ิของยอดเมฆมีประโยชนอ์ ยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ช่วยให้สามารถประเมนิ ความรุนแรงของฝนได้ 23. ครใู ห้นกั เรียนสงั เกตรูป 12.9 ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 83 จากนนั้ ครูนำ� อภิปรายโดยใช้ตวั อยา่ ง ค�ำถามดังน้ี ในวงกลมสแี ดงของทง้ั สองรปู เปน็ บรเิ วณทกี่ ำ� ลงั เกดิ สภาพลมฟา้ อากาศแบบใด พจิ ารณา จากอะไร แนวคำ� ตอบ พายหุ มุนเขตร้อน สังเกตจากแถบสีทีม่ ีลักษณะหมนุ วนรอบจุดศนู ย์กลาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 138 กับการใชป้ ระโยชน์ พายหุ มนุ เขตร้อนในรปู ใดมคี วามรนุ แรงมากกว่ากนั พจิ ารณาจากอะไร แนวค�ำตอบ พายุหมุนเขตร้อนในรูป ข มีความรุนแรงมากกว่าเน่ืองจากบริเวณใจกลาง พายปุ รากฏเปน็ แถบสแี ดงซง่ึ บง่ ชวี้ า่ มฝี นกำ� ลงั แรง ในขณะทรี่ ปู ก ปรากฏบรเิ วณใจกลาง พายุปรากฏเป็นแถบสีเหลอื งและสม้ เพยี งเลก็ นอ้ ยซึ่งบ่งชวี้ ่ามฝี นกำ� ลงั ปานกลาง 24. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตรปู 12.10 ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 84 จากนน้ั ครนู ำ� อภปิ รายโดยใชต้ วั อยา่ ง ค�ำถามดงั น้ี จากรูปเปน็ ภาพถ่ายดาวเทียมประเภทใด แนวค�ำตอบ ภาพถา่ ยดาวเทียมในชว่ งคลื่นที่มองเหน็ บริเวณ ก ข และ ค บรเิ วณใดมอี ัตราสว่ นรังสีสะทอ้ นมากท่สี ุด ทราบได้อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ บรเิ วณ ก มอี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นมากทสี่ ดุ เนอื่ งจากปรากฏเปน็ สขี าวสวา่ ง มากทสี่ ุด เมฆท่ีมีอัตราส่วนรังสีสะท้อนมากและเมฆท่ีมีอัตราส่วนรังสีสะท้อนน้อย จะมีความหนา แตกตา่ งกันอยา่ งไร เพราะเหตใุ ดจึงเป็นเชน่ นั้น แนวคำ� ตอบ เมฆทมี่ อี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นมากกวา่ เปน็ เมฆทม่ี คี วามหนามากทำ� ใหส้ ามารถ สะทอ้ นแสงไดด้ ี ส่วนเมฆทีม่ ีอัตราสว่ นรังสีสะทอ้ นน้อยกว่า เปน็ เมฆที่มคี วามหนานอ้ ย กวา่ ท�ำให้สะท้อนแสงไดน้ ้อยกว่า บริเวณ ก และ ข เมฆบรเิ วณใดมคี วามหนามากกว่า สงั เกตจากอะไร แนวค�ำตอบ เมฆบรเิ วณ ก มคี วามหนามากกวา่ เน่ืองจากปรากฏเป็นสีขาวสว่างซึง่ บ่งช้ี ว่าเปน็ เมฆท่ีมีอัตราส่วนรงั สีสะท้อนมาก หากพจิ ารณาจากรูปร่างของเมฆท่ปี รากฏในรูป เมฆบรเิ วณ ก ข และ ค บริเวณใดเป็น เมฆทีม่ ีรปู ร่างเปน็ กอ้ นและบรเิ วณใดเปน็ เมฆที่มรี ูปรา่ งเป็นแผ่น พิจารณาจากอะไร แนวค�ำตอบ บริเวณ ก เป็นเมฆที่มีรูปร่างเป็นก้อน เพราะเมฆมีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน มพี น้ื ผวิ ทขี่ รขุ ระ และปรากฏใหเ้ หน็ ขอบของเมฆชดั เจนกวา่ เมฆบรเิ วณอน่ื ๆ สว่ นบรเิ วณ ข และ ค เป็นเมฆท่ีมีรูปร่างเป็นแผ่น เพราะเมฆมีลักษณะแผ่ออกปกคลุมพื้นท่ีบริเวณ กวา้ ง มพี ้ืนผิวเรยี บ และไมป่ รากฏขอบของเมฆท่ชี ดั เจน 25. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตรปู 12.11 ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 84 จากนนั้ ครนู ำ� อภปิ รายโดยใชต้ วั อยา่ ง ค�ำถามดังนี้ บริเวณประเทศไทยปกคลุมดว้ ยเมฆทม่ี รี ูปร่างเปน็ ก้อนหรอื เปน็ แผ่น สังเกตจากอะไร แนวค�ำตอบ เมฆก้อน เพราะมีพน้ื ผวิ ทีข่ รขุ ระ และปรากฏให้เห็นขอบของเมฆชัดเจน 26. ครูให้นักเรียนสังเกตภาพถ่ายดาวเทียมท่ีใช้ในกิจกรรมอีกคร้ัง โดยครูอาจฉายภาพท้ัง 4 นี้ หนา้ หอ้ งเรยี นอกี ครงั้ เพอ่ื ความพรอ้ มเพรยี งและอภปิ รายรว่ มกนั ไดท้ ง้ั หอ้ ง จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น สังเกตท่บี ริเวณประเทศฟลิ ปิ ปินส์และเกาะนวิ กินี ดังรูป สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195