Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ4

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ4

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-24 20:10:21

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ4
คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 4
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ4,คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์,โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 139 กบั การใชป้ ระโยชน์ IR IR Enhance VIS IR+VIS ครนู �ำให้ความรเู้ พ่ิมเตมิ เก่ียวกับการแปลความหมายภาพถ่ายดาวเทียมแตกตา่ งกันดงั น้ี  จากภาพถ่ายดาวเทยี มทง้ั 4 ภาพ สามารถแปลความหมายได้แตกตา่ งกัน  ภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงคล่ืนอินฟราเรด (IR) และอินฟราเรดที่ปรับสี (IR Enhance) แปลความหมายได้เปน็ เมฆฝนฟา้ คะนอง  ภาพถา่ ยดาวเทียมในชว่ งคล่ืนท่มี องเหน็ (VIS) แปลความหมายไดเ้ ป็นเมฆชั้นตำ่�  ภาพถ่ายดาวเทียมท่ีประมวลผลร่วมกับระหว่างช่วงคลื่นที่มองเห็นและอินฟราเรด (IR+VIS) แปลความหมายไดเ้ ปน็ เมฆแผ่น  การแปลความหมายที่แตกต่างกันเน่ืองจากในขณะทีท่ �ำการถ่ายภาพ บรเิ วณประเทศฟลิ ปิ ปินส์ และเกาะนิวกินีเป็นช่วงท่ีดวงอาทิตย์ใกล้ลับขอบฟ้าท�ำให้ได้รับแสงในปริมาณน้อย จึงเกิด การสะทอ้ นแสงมายงั ดาวเทยี มไดน้ อ้ ยตามไปดว้ ย ภาพถา่ ยดาวเทยี มในชว่ งคลน่ื ทมี่ องเหน็ (VIS) จงึ ปรากฏสีของเมฆฝนฟ้าคะนองเปน็ สีเทา และภาพถ่ายดาวเทยี มท่ปี ระมวลผลรว่ มกับระหวา่ ง ชว่ งคล่นื ทมี่ องเห็นและอินฟราเรด (IR+VIS) ปรากฏเป็นสฟี า้ ซึ่งหมายถงึ เมฆชน้ั ต่�ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 140 กบั การใชป้ ระโยชน์ 27. ใหน้ กั เรยี นตรวจสอบความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การแปลความหมายภาพถา่ ยดาวเทยี ม โดยใชค้ ำ� ถาม ในหนงั สือเรียนหน้า 85 ดังน้ี  ถา้ ภาพถ่ายดาวเทยี มอุตนุ ยิ มวทิ ยาชว่ งคลน่ื ที่มองเหน็ พบบรเิ วณทเ่ี ปน็ สเี ทา และภาพถา่ ย ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคลื่นอินฟราเรดพบว่าเป็นบริเวณสีเทาเช่นกัน เมฆบริเวณนี้ นา่ จะเป็นเมฆใด เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ เมฆชั้นต่�ำรูปร่างเป็นแผ่น เน่ืองจากในภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วง คลน่ื ทมี่ องเหน็ (VIS) พบบรเิ วณทเี่ ปน็ สเี ทาแสดงวา่ เปน็ เมฆแผน่ ซง่ึ มคี วามหนาไมม่ ากทำ� ให้ สะท้อนแสงได้น้อยจึงปรากฏเป็นสีเทา ในขณะที่ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ช่วงคล่ืนอินฟราเรดพบว่าเป็นบริเวณสีเทาแสดงว่าเป็นเมฆท่ีอยู่ในระดับต่�ำซึ่งมีอุณหภูมิ ค่อนขา้ งสงู จงึ ปรากฏเปน็ สเี ทา 28. ครูใหค้ วามร้เู พมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั การแปลความหมายภาพถ่ายดาวเทยี มและการใชป้ ระโยชนจ์ าก ภาพถา่ ยดาวเทยี มในการพยากรณอ์ ากาศดงั นี้  ภาพถ่ายดาวเทียมใชใ้ นการระบุต�ำแหนง่ ทีม่ ีโอกาสเกิดฝนฟา้ คะนองเป็นสว่ นใหญ่  ภาพถา่ ยดาวเทยี มแตล่ ะชว่ งคลนื่ นนั้ มขี อ้ ดแี ละขอ้ จำ� กดั ทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั นน้ั การใชป้ ระโยชน์ จากข้อมูลในภาพถ่ายดาวเทียมต้องน�ำข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมในหลายช่วงคล่ืนมา ประมวลผลร่วมกันเพื่อให้สามารถแปลผลข้อมูลได้แม่นย�ำ และสามารถน�ำมาคาดการณ์ สภาพลมฟ้าอากาศเบือ้ งตน้ ได้ 29. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายตามความคดิ ของตนเองวา่ “หากตอ้ งการตรวจวดั ทศิ ทางการเคลอ่ื นตวั ของกลมุ่ ฝน นักเรยี นจะมีวธิ ีการอย่างไรบ้าง” จากนั้นให้นักเรียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 10.4 เพ่อื ศกึ ษาการแปลความหมายขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ กจิ กรรม 12.4 แปลความหมายข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศ จุดประสงคก์ จิ กรรม 1. ระบุบรเิ วณทพ่ี บกล่มุ ฝน ความแรงของกลุ่มฝนจากข้อมูลเรดารต์ รวจอากาศ 2. วเิ คราะหท์ ศิ ทางการเคลอื่ นทข่ี องกลมุ่ ฝนจากขอ้ มลู เรดารต์ รวจอากาศ ณ เวลาตอ่ เนอื่ งกนั เวลา 1 ชว่ั โมง วสั ด-ุ อปุ กรณ์ 1. เอกสารความรู้ เรื่อง การแปลความหมายขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ 2. ข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศ 3. ข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศแบบตอ่ เนื่อง หมายเหตุ ขอ้ มลู 1, 2 และ 3 ดาวนโ์ หลดได้จาก QR Code สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา 141 กบั การใช้ประโยชน์ แหล่งเรยี นรู้ เวบ็ ไซต์กรมอตุ นุ ิยมวิทยา > เรดารต์ รวจอากาศ (http://weather.tmd.go.th/) การเตรียมตัวล่วงหน้า 1. ครเู ตรยี มคอมพวิ เตอรห์ รอื อปุ กรณอ์ นื่ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เรดารต์ รวจอากาศของ ท้องถน่ิ ตนเอง ณ เวลาปัจจบุ นั จากเวบ็ ไซต์กรมอตุ นุ ิยมวิทยา 2. ครูสามารถศกึ ษาเอกสารความรู้เกย่ี วกับการสบื ค้นขอ้ มลู เรดาร์ โดยดาวน์โหลดเอกสาร ไดจ้ าก QR code ของบทในคู่มือครู วธิ ีการท�ำกิจกรรม 1. ศึกษาการแปลความหมายขอ้ มลู เรดาร์ตรวจอากาศจากเอกสารความรูท้ ีก่ �ำหนดให้ 2. ศึกษาข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศทีก่ ำ� หนด เปรยี บเทยี บพืน้ ทที่ ต่ี รวจพบกลุม่ ฝนกบั พน้ื ท่ที ่ี พบเมฆในภาพถ่ายดาวเทยี มของกจิ กรรมท่ี 12.3 ซง่ึ เปน็ ขอ้ มูลในวนั เวลา และสถานท่ี เดียวกนั 3. ระบุข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี และบันทึกผล - วนั และเวลาทที่ �ำการตรวจวัด - ช่ือสถานีเรดาร์ตรวจอากาศ - รศั มีการตรวจวัด - พ้ืนท่ที ีต่ รวจพบกลุ่มฝน - ความเขม้ ของสัญญาณคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ 4. แปลความหมายขอ้ มลู ความเขม้ ของสัญญาณคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ในข้อ 3 และระบคุ วาม แรงของกลุ่มฝนโดยประมาณของแตล่ ะภาคในประเทศไทย และบันทกึ ผล 5. วิเคราะห์ขอ้ มลู เรดาร์ตรวจอากาศแบบต่อเน่อื งตามท่กี ำ� หนด และคาดการณ์แนวโน้ม ทศิ ทางของกล่มุ ฝน และบนั ทกึ ผล 6. สืบค้นข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศของท้องถิ่นตนเอง ณ เวลาปัจจุบันจากเว็บไซต์ กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา วเิ คราะหห์ ากลมุ่ ฝน และถ้าพบให้ระบขุ อ้ มลู พืน้ ท่ตี รวจพบความแรง และทศิ ทางการเคล่อื นที่ของกลุ่มฝน 7. น�ำเสนอผลการท�ำกจิ กรรม จากน้นั อภปิ รายรว่ มกนั ในชนั้ เรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอย่างผลการท�ำกจิ กรรม บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยา การระบุและแปลความหมายข้อมลู ความเขม้ ของสัญญาณคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากข้อมูลเรดารต์ รวจอากาศหมายเลข 1 142 กับการใชป้ ระโยชน์ ต�ำแหนง่ วันและเวลา รัศมกี ารตรวจวัด พน้ื ท่ีทีพ่ บกลมุ่ ฝน ความเขม้ ของสญั ญาณ ความแรง ปรมิ าณฝน สถานี ท้องถิน่ (กโิ ลเมตร) (จังหวดั ) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ของกล่มุ ฝน (มม./ชม.) สถานี 120 (dBZ) 1. ไมม่ ฝี นจนถึงฝนตกเลก็ นอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 สวุ รรณภูมิ 14 ตลุ าคม 2561 1. ราชบรุ ี 2. ไมม่ ีฝนจนถงึ ฝนตกเลก็ น้อยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 15:10 น. 2. สมทุ รสาคร 1. 11.5 – 39.0 3. ไมม่ ฝี นจนถึงฝนตกเลก็ น้อยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 3. นครปฐม 2. 11.5 – 39.0 4. ไมม่ ีฝนจนถึงฝนตกเล็กนอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 4. นนทบุรี 3. 11.5 – 39.0 5. ไม่มฝี นจนถงึ ฝนตกเลก็ นอ้ ยหรือฝนพร�ำ 0–5 5. กรุงเทพฯ 4. 14.5 – 31.5 6. ไมม่ ฝี นจนถึงฝนโปรย 0–5 6. ปทมุ ธานี 5. 14.5 – 31.5 7. ไม่มฝี นจนถงึ ฝนตกเลก็ นอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ วัดไม่ได้ 7. สระบุรี 6. 19.0 – 24.0 8. ไม่มีฝนจนถึงฝนตกเล็กน้อยหรือฝนพร�ำ 0 – 12 8. นครนายก 7. 14.5 – 39.0 9. ไมม่ ฝี นจนถงึ ฝนตกเล็กน้อยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 9. ปราจนี บรุ ี 8. 14.5 – 39.0 10. ไมม่ ีฝนจนถึงฝนตกเลก็ นอ้ ยหรือฝนพร�ำ 0 – 12 10. ชลบุรี 9. 11.5 – 39.0 11. ไมม่ ฝี นจนถงึ ฝนตกเลก็ นอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 11. ระยอง 10. 14.5 – 39.0 0–5 11. 19.0 – 31.5 หมายเหตุ ค่าความเข้มของสญั ญาณคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ และปริมาณฝนเป็นเพียงคา่ โดยประมาณเทา่ นัน้ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4

การระบแุ ละแปลความหมายขอ้ มูลความเข้มของสญั ญาณคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าจากข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศหมายเลข 2 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 ต�ำแหนง่ วนั และเวลา รศั มีการตรวจวดั พ้ืนทท่ี ีพ่ บกลมุ่ ฝน ความเข้มของสญั ญาณ ความแรง ปริมาณฝน สถานี ทอ้ งถ่นิ (กิโลเมตร) (จงั หวดั ) คล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ ของกลมุ่ ฝน (มม./ชม.) สถานี 120 (dBZ) 1. ไม่มีฝนจนถึงฝนตกเล็กนอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 สมุทรสงคราม 14 ตุลาคม 2561 1. เพชรบุรี 2. ไมม่ ีฝนจนถึงฝนตกหนกั ปานกลาง 0 – 50 15:10 น. 2. ราชบรุ ี 1. 16.5 – 39.0 3. ไมม่ ีฝนจนถงึ ฝนตกหนกั ปานกลาง 0 – 31 3. สมทุ รสาคร 2. 16.5 – 46.5 4. ฝนโปรยจนถึงฝนตกหนักปานกลาง 0 – 50 4. นครปฐม 3. 16.5 – 44.0 5. ไมม่ ีฝนจนถึงฝนตกเล็กน้อยหรอื ฝนพร�ำ 0 – 12 5. กรงุ เทพฯ 4. 24.0 – 46.5 6. ไม่มีฝนจนถงึ ฝนตกหนักปานกลาง 0 – 31 6. นนทบุรี 5. 16.5 – 39.0 7. ไมม่ ีฝนจนถงึ ฝนโปรย วัดไม่ได้ 7. ปทมุ ธานี 6. 16.5 – 44.0 8. ฝนโปรยจนถงึ ฝนตกเล็กนอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 8. สมุทรปราการ 7. 16.5 – 26.5 9. ไม่มฝี นจนถึงฝนตกหนกั ปานกลาง 0–3 9. ชลบรุ ี 8. 24.0 – 29.0 0 – 50 9. 16.5 – 46.5 ปริมาณฝน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมายเหตุ ค่าความเข้มของสัญญาณคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า และปริมาณฝนเปน็ เพยี งค่าโดยประมาณเท่าน้ัน (มม./ชม.) วัดไม่ได้ การระบแุ ละแปลความหมายข้อมลู ความเข้มของสัญญาณคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าจากขอ้ มลู เรดารต์ รวจอากาศหมายเลข 3 บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา 0–3 ต�ำแหน่ง วนั และเวลา รศั มีการตรวจวัด พน้ื ทท่ี พ่ี บกล่มุ ฝน ความเขม้ ของสัญญาณ ความแรง 0–3 กบั การใช้ประโยชน์ สถานี ทอ้ งถนิ่ (กโิ ลเมตร) (จงั หวัด) คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า ของกลุม่ ฝน 0–3 สถานี 240 (dBZ) 1. ฝนโปรย เชยี งราย 14 ตลุ าคม 2561 1. เชียงราย 2. ฝนโปรยจนถึงฝนตกเล็กนอ้ ยหรอื ฝนพรำ� 15:15 น. 2. ล�ำปาง 1. 24.0 3. ฝนโปรยจนถงึ ฝนตกเล็กนอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 3. พะเยา 2. 24.0 – 29.0 4. ฝนโปรยจนถงึ ฝนตกเลก็ นอ้ ยหรอื ฝนพร�ำ 4. น่าน 3. 24.0 – 29.0 4. 24.0 – 29.0 หมายเหตุ ค่าความเข้มของสัญญาณคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า และปริมาณฝนเปน็ เพียงคา่ โดยประมาณเท่าน้ัน 143

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การระบุและแปลความหมายข้อมูลความเข้มของสัญญาณคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศหมายเลข 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยา 144 กับการใชป้ ระโยชน์ ต�ำแหนง่ วนั และเวลา รศั มกี ารตรวจวดั พ้นื ทที่ ีพ่ บกล่มุ ฝน ความเข้มของสัญญาณ ความแรง ปริมาณฝน สถานี ทอ้ งถิน่ (กโิ ลเมตร) (จังหวัด) คล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า ของกลุ่มฝน (มม./ชม.) สถานี 240 (dBZ) 1. ไมม่ ฝี นจนถึงฝนตกเล็กน้อยหรือฝนพร�ำ 0 – 10 อบุ ลราชธานี 14 ตุลาคม 2561 1. บุรีรมั ย์ 2. ไม่มฝี นจนถึงฝนตกหนักปานกลาง 0 – 31 15:15 น. 2. สุรินทร์ 1. 10.0 – 36.5 3. ไมม่ ีฝนจนถงึ ฝนตกเลก็ นอ้ ยหรือฝนพรำ� 0 – 10 3. ศรสี ะเกษ 2. 16.5 – 44.0 4. ไมม่ ีฝนจนถงึ ฝนตกเลก็ น้อยหรอื ฝนพรำ� 4. อบุ ลราชธานี 3. 19.0 – 36.5 5. ไมม่ ีฝน 0–8 5. ยโสธร 4. 19.0 – 34.0 0 5. 19.0 ปริมาณฝน หมายเหตุ คา่ ความเขม้ ของสญั ญาณคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ และปริมาณฝนเป็นเพยี งค่าโดยประมาณเทา่ นนั้ (มม./ชม.) 0 – 10 การระบแุ ละแปลความหมายข้อมลู ความเขม้ ของสญั ญาณคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ จากข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศหมายเลข 5 0 – 12 0 – 50 ต�ำแหนง่ วันและเวลา รศั มีการตรวจวัด พนื้ ท่ที ี่พบกลมุ่ ฝน ความเข้มของสญั ญาณ ความแรง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 สถานี ทอ้ งถิน่ (กิโลเมตร) (จงั หวดั ) คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ของกลุ่มฝน สถานี (dBZ) . ไมม่ ีฝนจนถึงฝนโปรย สุราษฏรธ์ านี 14 ตุลาคม 2561 1. ชุมพร 2. ฝนโปรยจนถึงฝนตกเลก็ นอ้ ยหรือฝนพร�ำ 15:00 น. 2. สรุ าษฏร์ธานี 1. 10.5 – 26.5 3. ไม่มฝี นจนถึงฝนตกหนกั ปานกลาง 240 3. พมา่ 2. 24.0 – 39.0 3. 16.5 – 46.5 หมายเหตุ ค่าความเขม้ ของสญั ญาณคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ และปริมาณฝนเป็นเพียงค่าโดยประมาณเทา่ น้ัน

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวทิ ยา 145 กบั การใช้ประโยชน์ ทิศทางการเคลือ่ นทข่ี องกล่มุ ฝนจากขอ้ มลู เรดาร์ตรวจอากาศแบบตอ่ เน่ือง บริเวณ ทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ขี องกล่มุ ฝน จ.ปทมุ ธานี เคล่ือนทไี่ ปทางทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ จ.ปราจีนบรุ ี เคลื่อนท่ีไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ จ.สระบรุ ี เคลื่อนทีไ่ ปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ สรปุ ผลการท�ำกจิ กรรม ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศใหข้ อ้ มลู บรเิ วณทีพ่ บกลุ่มฝน และความแรงของกลมุ่ ฝน รวมท้งั ขอ้ มูล การติดตามและคาดการณ์แนวโน้มทิศทางการเคล่ือนที่ของกลุ่มฝน โดยแปลความหมายจากสี ท่ีสอดคลอ้ งกบั คา่ ความเขม้ ของคลืน่ ทสี่ ะทอ้ นกลบั ซึง่ มีหน่วยเดซิเบล คำ� ถามท้ายกิจกรรม 1. หากพบกลุ่มฝนสีส้ม (40 dBZ) ณ บริเวณหนึ่งเป็นเวลา 30 นาที นักเรียนคาดว่าจะมี ปริมาณนำ้� ฝนเทา่ ใด แนวค�ำตอบ พบกลมุ่ ฝนทีม่ คี วามเขม้ ของคลนื่ ทส่ี ะทอ้ นกลบั 40 dBZ แปลความหมายได้ ว่ามีปริมาณน้�ำฝน ประมาณ 12 มม./ชม. ดังน้ันถ้าฝนตกเป็นเวลา 30 นาที แสดงว่า บรเิ วณดังกล่าวมปี รมิ าณนำ�้ ฝนประมาณ 6 มิลลเิ มตร 2. นักเรียนมีแนวทางในการคาดการณ์แนวโน้มทิศทางการเคล่ือนที่ของกลุ่มฝนจากข้อมูล เรดารต์ รวจอากาศได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ พิจารณาข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศแบบต่อเน่ืองว่ากลุ่มฝนมีแนวโน้มทิศทาง การเคล่ือนทอ่ี ย่างไร 3. ถ้าหากต้องการศึกษากลุ่มฝนและเส้นทางการเคล่ือนที่ของกลุ่มฝนในบริเวณที่กว้างกว่า รศั มกี ารตรวจวดั ของเรดารท์ กี่ �ำหนด จะมวี ธิ กี ารอย่างไร แนวค�ำตอบ เลือกช่วงรัศมีการตรวจวัดที่กว้างขึ้นเป็น 240 กิโลเมตร หรือเลือกดูข้อมูล เรดาร์จากสถานใี กลเ้ คยี ง 30. ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำ� เสนอ และรว่ มกนั อภิปรายผลการทำ� กิจกรรม พร้อมตอบคำ� ถาม ทา้ ยกจิ กรรม โดยมแี นวทางการอภิปรายและตอบคำ� ถามดังแสดงด้านบน 31. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับหลักการท�ำงานของเรดาร์ตรวจอากาศและ การแปลความหมายจากหนงั สอื เรยี นหนา้ 87 จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายโดยตวั อยา่ งคำ� ถามดงั น้ี  เรดาร์ตรวจอากาศใชค้ ลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ชนิดใดในการตรวจวดั ข้อมูล แนวคำ� ตอบ คล่ืนไมโครเวฟ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 146 กบั การใชป้ ระโยชน์  เรดารต์ รวจอากาศมหี ลกั การตรวจวัดอยา่ งไร แนวค�ำตอบ ปล่อยคล่ืนไมโครเวฟไปรอบ ๆ เม่ือคล่ืนกระทบกับเมฆฝนฟ้าคะนองก็จะ สะทอ้ นกลับมาสู่ตัวรบั สัญญาณ  ความเขม้ ของคลนื่ ไมโครเวฟทสี่ ะทอ้ นกลบั มายงั ตวั รบั สญั ญาณจะเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั หรือไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ความเขม้ ของคลนื่ ทสี่ ะทอ้ นกลบั จะแตกตา่ งกนั ตามบรเิ วณของเมฆทค่ี ลน่ื ไป กระทบ เช่น บริเวณยอดเมฆ บริเวณตอนกลางของเมฆ บรเิ วณใต้ฐานเมฆ  เพราะเหตุใดกรมอตุ ุนยิ มวิทยาจงึ ตอ้ งกำ� หนดมุมเงยของเรดาร์ตรวจอากาศเพียงคา่ เดียว ในระดับใกลพ้ นื้ ผวิ โลกมาทส่ี ุดและยังขา้ มสงิ่ กีดขวางได้ แนวค�ำตอบ เพ่ือให้เรดาร์กวาดท�ำมุมได้ 360 องศา รอบต�ำแหน่งที่ต้ังของเรดาร์ ตรวจอากาศ  ภาพที่ได้จากเรดารต์ รวจอากาศเป็นภาพท่มี ีลักษณะอย่างไร แนวค�ำตอบ เปน็ ภาพที่มมี มุ มองเช่นเดยี วกับการมองลงมาจากด้านบน (top view) เรยี กวา่ ภาพแบบ PPI (plan position indicator) 32. ครูให้นักเรียนร่วมกันแปลความหมายข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศอีกครั้งโดยสังเกตรูป 12.13 ในหนงั สือเรยี นหน้า 88 จากนน้ั ร่วมกนั อภิปรายโดยตวั อยา่ งค�ำถามดังน้ี  จากภาพ ต�ำแหน่งของสถานีเรดาร์ตรวจอากาศอยู่บริเวณใดของประเทศไทย ทราบได้ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ ต�ำแหน่งของสถานเี รดารต์ รวจอากาศอยูใ่ นจงั หวดั สมทุ รปราการ บรเิ วณ ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ สงั เกตไดจ้ ากตำ� แหนง่ ของจดุ สแี ดงในภาพ หรอื ขอ้ มลู Site Name ทอี่ ยใู่ ต้ภาพ  เรดารต์ รวจอากาศดงั กล่าวมีรศั มีตรวจวดั เทา่ ใด ทราบได้อย่างไร แนวค�ำตอบ มีรัศมีตรวจวัด 120 กิโลเมตร สังเกตได้จากตัวเลขระบุระยะท่ีปรากฏใน แผนท่ีหรอื ขอ้ มลู Max Range ทอี่ ยใู่ ตภ้ าพ  จงั หวัดใดบ้างท่ีเกดิ ฝนตก แนวคำ� ตอบ ราชบรุ ี นครปฐม สมทุ รสาคร นนทบรุ ี ปทุมธานี สระบุรี กรุงเทพมหานคร สมทุ รปราการ นครนายก ปราจนี บรุ ี ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง  พื้นทบ่ี รเิ วณวงกลมสขี าวมคี วามแรงของกลุม่ ฝนเป็นอย่างไร แนวคำ� ตอบ ฝนตกเล็กนอ้ ยไปจนถึงฝนตกหนกั ปานกลาง  หากนกั เรยี นตอ้ งการทราบทศิ ทางการเคล่อื นตวั ของกลมุ่ ฝน นกั เรียนต้องทำ� อย่างไร แนวคำ� ตอบ นำ� ขอ้ มลู ตรวจวดั ในเวลาใกลเ้ คยี งกนั มาเปรยี บเทยี บตำ� แหนง่ ทเ่ี ปลย่ี นแปลง ไปในแต่ละเวลา หรอื ศกึ ษาจากข้อมลู เรดารต์ รวจอากาศแบบต่อเนื่อง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยา 147 กบั การใชป้ ระโยชน์ 33. ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับการแปลความหมายข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ โดยใช้คำ� ถามในหนงั สือเรียนหน้า 89 ดังน้ี  จากขอ้ มลู เรดาร์ตรวจอากาศ บริเวณชายฝ่ังดา้ นใดของภาคใตท้ พ่ี บกลุม่ ฝน และกลมุ่ ฝน มคี วามแรงเป็นอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ พบกลมุ่ ฝนบรเิ วณชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตก (ทะเลอนั ดามนั ) โดยพบเปน็ ฝนโปรย 34. ครใู หน้ ักเรยี นสังเกตรปู ในค�ำถามตรวจสอบความเข้าใจอกี ครัง้ โดยใหน้ กั เรียนสังเกตแถบสี เขียวท่ีเป็นแนวยาวออกจากสถานีเรดาร์อากาศ จากนั้นครูให้ความรู้เก่ียวกับข้อมูลท่ีไม่ได้ แสดงคา่ ความแรงของกลุ่มฝนทแี่ ทจ้ ริงดังนี้  การแปลความหมายขอ้ มลู เรดารอ์ าจตอ้ งระวงั เรอ่ื งขอ้ มลู ทไ่ี มไ่ ดแ้ สดงถงึ คา่ ความแรงของ ฝนท่ีแท้จริง โดยมักพบข้อมูลดังกล่าวมีลักษณะเป็นแถบยาวออกจากสถานีไปตามรัศมี ตรวจวัดหรอื บริเวณขอบของรัศมเี รดาร์  การระบุพ้ืนท่ีท่ีพบกลุ่มฝนจ�ำเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศและ ภาพถ่ายดาวเทียม เพ่ือชว่ ยให้การแปลความหมายมคี วามแมน่ ย�ำมากขึน้ 35. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายตามความคิดของตนเองว่า “สารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยาทั้ง แผนทีอ่ ากาศผวิ พน้ื ภาพถ่ายดาวเทียม และเรดาร์ตรวจอากาศ สามารถน�ำใช้ประโยชนใ์ น การวางแผนการประกอบอาชีพและการดำ� เนนิ ชีวิตได้หรอื ไม่ อยา่ งไร” สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 148 กบั การใชป้ ระโยชน์ แนวทางการวัดและประเมนิ ผล KPA แนวทางการวัดและประเมินผล K: 1. การตอบค�ำถามตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. การแปลความหมายสัญลักษณ์แสดง 2. การตอบคำ� ถาม และการน�ำเสนอผลการอภิปราย สภาพลมฟ้าอากาศบนแผนทอี่ ากาศ 3. แบบฝกึ หัด ผวิ พ้ืน รวมทง้ั ระบุสภาพลมฟ้าอากาศ 2. การแปลความหมายขอ้ มูลภาพถา่ ย ดาวเทยี ม 3. การแปลความหมายข้อมลู เรดาร์ตรวจ อากาศ P: 1. การแปลความหมายสญั ลักษณ์แสดงสภาพลมฟ้า 1. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป อากาศบนแผนที่อากาศผวิ พืน้ ภาพถา่ ยดาวเทียม 2. ความร่วมมือ การทำ� งานเป็นทมี และ และข้อมลู เรดารต์ รวจอากาศ ภาวะผนู้ ำ� 2. มสี ว่ นร่วมในการคิด ออกความเหน็ และตัดสินใจ รว่ มกับผู้อ่นื รวมท้งั มกี ารแบ่งหนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบในการทำ� งานกลุ่ม A: การยอมรับความเหน็ ตา่ ง การรับฟังความเหน็ ของผู้อื่นในการร่วมอภิปราย 12.2 การใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู สารสนเทศทางอุตุนยิ มวิทยา จุดประสงค์การเรยี นรู้ น�ำข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยาต่าง ๆ และพยากรณ์อากาศมาวางแผนการด�ำเนินชีวิตและ ประกอบอาชีพใหส้ อดคล้องกบั สภาพลมฟา้ อากาศ ส่อื การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 4 2. กรมอตุ ุนิยมวทิ ยา http://www.tmd.go.th แนวการจัดการเรยี นรู้ 1. ครูน�ำเข้าสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลสารสนเทศทาง อตุ ุนยิ มวทิ ยากบั การดำ� รงชวี ิตหรือการประกอบอาชพี โดยใช้ค�ำถามดังตวั อย่างตอ่ ไปนี้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา 149 กับการใชป้ ระโยชน์  จากข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนยิ มวิทยา สามารถนำ� มาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจ�ำวนั เรอื่ ง ใดบา้ ง แนวค�ำตอบ เกษตร ประมง การเดนิ ทาง กจิ กรรมกลางแจง้ 2. ครูให้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายตามความคิดของตนเองว่า “ข้อมลู องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ มีประโยชนต์ อ่ การประกอบอาชีพตา่ ง ๆ อยา่ งไร” จากน้นั ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 12.5 กิจกรรม 12.5 การใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ิยมวิทยา จุดประสงค์กจิ กรรม วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศอุตุนิยมวิทยาและพยากรณ์อากาศ และน�ำมาวางแผนในการ ประกอบอาชพี ตา่ ง ๆ เวลา 2 ชว่ั โมง วัสด-ุ อุปกรณ ์ 1. เอกสารขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยาประกอบสถานการณ์ท่ี 1 2. เอกสารข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยาประกอบสถานการณท์ ่ี 2 3. เอกสารขอ้ มลู โปรแกรมการท่องเท่ียวประกอบสถานการณท์ ่ี 2 หมายเหตุ เอกสารข้อมูล 1, 2 และ 3 ดาวน์โหลดไดจ้ าก QR Code การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ ครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเอกสารความขอ้ มลู มาลว่ งหนา้ โดยดาวนโ์ หลดเอกสารจาก QR code เพื่อความรวดเร็วในการท�ำกจิ กรรม วธิ ที �ำกิจกรรม 1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ เลือกสถานการณท์ ี่ก�ำหนดให้ 1 สถานการณ์ 2. ศกึ ษาและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทจ่ี ำ� เปน็ ในการวางแผนประกอบอาชพี จากสถานการณท์ เ่ี ลอื ก 3. วิเคราะห์ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยาจากเอกสารทก่ี �ำหนดให้และสอดคลอ้ งกับ สถานการณ์ที่เลอื ก 4. วางแผนการประกอบอาชพี ใหส้ อดคล้องกับเง่ือนไขของสถานการณ์ท่เี ลือก 5. น�ำเสนอผลการทำ� กจิ กรรมและอภิปรายร่วมกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 150 กบั การใชป้ ระโยชน์ สถานการณ์ที่ 1 เกษตรกรทา่ นหนง่ึ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอ้ งการทจี่ ะปลกู ขา้ วโพดหวาน ในชว่ งเดอื น กนั ยายน - พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 จงึ ได้ศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกับการเพาะปลูก ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ ข้าวโพดหวานเป็นพืชที่ชอบแสงแดด อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตอยู่ในช่วง ระหว่าง 24 - 35 องศาเซลเซยี ส ดนิ ท่ใี ชป้ ลกู เปน็ ดนิ ร่วนปนทรายท่มี กี ารระบายน้�ำและถ่ายเท อากาศไดด้ ี โดยข้าวโพดมีระยะการเจรญิ เติบโตดงั น้ี ระยะการเจรญิ เติบโต จ�ำนวนวนั หลังปลกู (วนั ) หยอดเมล็ด - เรม่ิ งอก สรา้ งช่อ 3-5 25 - 40 ออกดอกและผสมเกสร 53 - 58 สรา้ งเมล็ด 60 - 75 เกบ็ เกย่ี ว 70 - 75 การปลกู ขา้ วโพดหวานสามารถปลกู ไดต้ ลอดทง้ั ปหี ากมกี ารจดั การนำ้� อยา่ งเพยี งพอ โดยเมอ่ื หยอดเมล็ดควรให้น้�ำทันทีหรือเลือกปลูกหลังวันฝนตก และในช่วงระยะการเจริญเติบโตควร ระวงั อยา่ ให้เกิดการขาดน้�ำในชว่ งออกดอก ผสมเกสร และสรา้ งเมล็ด รวมทง้ั การใส่ปยุ๋ ซ่งึ ควร ใส่ในช่วง 20 - 25 วันหลงั เพาะปลูก หากขา้ วโพดหวานขาดน�้ำในชว่ งเวลาข้างตน้ จะทำ� ให้การ เจรญิ เตบิ โตชะงกั ได้ สว่ นอณุ หภมู จิ ะมผี ลตอ่ การสรา้ งเมลด็ โดยการสรา้ งเมลด็ จะไมด่ เี ทา่ ทค่ี วร ถ้าอณุ หภมู สิ ูงกวา่ 35 องศาเซลเซยี ส ปัญหาของสถานการณ์ที่ 1 1. เกษตรกรควรเร่มิ หยอดเมล็ดในวนั ใดได้บา้ ง เพราะเหตุใด 2. ระหวา่ งการเพาะปลูกน้นั เกษตรกรควรจะมีการจัดการน้�ำหรือไม่ อยา่ งไร 3. เกษตรกรควรเกบ็ เกี่ยวขา้ วโพดหวานในช่วงใด เพราะเหตุใด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวิทยา 151 กับการใชป้ ระโยชน์ สถานการณท์ ี่ 2 จากข้อมูลสถติ ดิ า้ นการทอ่ งเท่ียว กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา ปี พ.ศ. 2561 มีจ�ำนวน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาท่องเท่ียวในจังหวัดภูเก็ต จ�ำนวนมากถึง 1,301,294 คน การทอ่ งเทยี่ วในจงั หวดั ภเู กต็ มหี ลายรปู แบบ ไมว่ า่ จะเปน็ การทอ่ งเทย่ี วทางทะเล วฒั นธรรม การแสดง ผจญภัย นักเรียนและครอบครวั ไปเย่ียมญาติที่จงั หวัดภูเกต็ ในชว่ งวนั ท่ี 27 - 29 เมษายน พ.ศ. 2561 และมีเวลา 1 วัน ในการทอ่ งเทยี่ ว จึงไปตดิ ตอ่ บรษิ ทั ท่องเทย่ี วแห่งหน่งึ เพอ่ื เลอื กโปรแกรมการ ท่องเที่ยวส�ำหรับ 1 วัน ซ่ึงมีอยู่จ�ำนวน 4 โปรแกรม ดังเอกสารข้อมูลโปรแกรมการท่องเท่ียว ประกอบสถานการณ์ที่ 2 ปญั หาของสถานการณ์ท่ี 2 นกั เรียนจะเลือกท่องเที่ยวในวันใด โปรแกรมใด เพราะเหตใุ ด ตัวอย่างผลการทำ� กิจกรรม สถานการณ์ท่ี 1 ช่วงการเพาะปลูกท่ี จ�ำนวนวนั หลงั ช่วงเวลาท่ี การวเิ คราะห์สารสนเทศ ขาดน้�ำไม่ได้ ปลกู (วัน) ด�ำเนินการ อุตนุ ยิ มวิทยา หยอดเมล็ด - 1 – 6 ก.ย. มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 40-60 ของพนื้ ที่ ออกดอกและผสม 50 – 60 29 ต.ค. – 3 เปน็ ช่วงทเี่ ปลยี่ นจากฤดูฝนเป็นฤดู เกสร พ.ย. หนาว บริเวณประเทศไทยตอนบน ฝนและอุณหภมู จิ ะลดลงและเริม่ มี อากาศเย็นตงั้ แต่กลางเดอื น เปน็ ต้นไป อณุ หภูมเิ ฉลี่ยสงู สุด 31- 33 องศาเซลเซียส สรา้ งเมลด็ 60 – 75 5 – 20 พ.ย. ประเทศไทยตอนบนจะมฝี นน้อย เก็บเกี่ยว 70 – 75 15 – 20 พ.ย. และอากาศเย็นตลอดเดือน สถานการณ์ที่ 2 จากพยากรณอ์ ากาศระหว่างวนั ท่ี 27 – 29 เมษายน ตลอดท้งั สามวนั สภาพลมฟ้าอากาศมี เมฆมาก ฝนฟา้ คะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นท่ี ในทะเลมคี ลื่นสงู ประมาณ 2 เมตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 152 กับการใช้ประโยชน์ ดังน้ันโปรแกรมการท่องเท่ียวจึงควรเลือกโปรแกรมที่เท่ียวบนเกาะภูเก็ต ในวันที่ 27 หรือ 28 เมษายน โดยอาจเลอื กโปรแกรมที่ 1 เที่ยวรอบเมืองภเู ก็ต หรอื โปรแกรมท่ี 2 เทยี่ วภเู ก็ต เดินชมสัตว์น�้ำ ส่วนการท่องเท่ียวทางทะเลยังไม่เหมาะสมในช่วงเวลาดังกล่าวเนื่องจากยังมี โอกาสเกิดฝนฟ้าคะนอง และบรเิ วณท่มี ฝี นฟา้ คะนองจะมีคลื่นสงู ประมาณ 2 เมตร สรปุ ผลการทำ� กจิ กรรม ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยามปี ระโยชนต์ อ่ การนำ� มาใชใ้ นการวางแผนประกอบอาชพี เช่น เกษตรกรรม การท่องเที่ยว โดยอาชีพเกษตรกร อาจน�ำข้อมูลปริมาณน้�ำฝน อุณหภูมิ ความช้นื สมั พทั ธ์ พยากรณอ์ ากาศล่วงหน้าในปีนนั้ มาคาดการณส์ ถานการณน์ ำ้� สว่ นกจิ กรรมท่ี มกี ารทอ่ งเทย่ี วทางทะเล มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชข้ อ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา เชน่ ความสงู ของคลื่น ปริมาณฝน ทิศทางลม ความเร็วลม ประกอบการตัดสินใจในการเดินเรือ เพ่ือ ความปลอดภัยตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ ิน คำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. จากสถานการณ์ท่ี 1 ข้อมลู สารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวิทยาในเรอ่ื งใดบา้ ง ทใ่ี ชป้ ระกอบการ ตัดสนิ ใจในการเพาะปลกู แนวค�ำตอบ อุณหภูมิ ปริมาณฝน สภาพลมฟ้าอากาศ ความเรว็ ลม 2. จากสถานการณ์ที่ 2 ข้อมลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวิทยาในเรื่องใดบ้าง ทใ่ี ชป้ ระกอบการ ตัดสนิ ใจในการเลอื กโปรแกรมการทอ่ งเที่ยว แนวค�ำตอบ ความสูงคล่นื ปรมิ าณฝน ทศิ ทางและความเร็วลม 3. ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ น�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม และร่วมกนั อภิปราย พรอ้ มตอบคำ� ถาม ทา้ ยกจิ กรรม โดยมแี นวทางการอภิปรายและตอบคำ� ถามดังแสดงด้านบน 4. ครูให้นกั เรียนสังเกตรปู 10.13 ในหนงั สอื เรียนหน้า 269 จากน้นั ร่วมกันอภิปรายโดยอาจ ใช้ตัวอยา่ งค�ำถามดงั น้ี  จากรูป แสดงข้อมลู ใด แนวค�ำตอบ เสน้ ทางเดนิ พายุไต้ฝุ่นเชบี  ขอ้ มูลเสน้ ทางเดินพายไุ ต้ฝ่นุ เชบมี ปี ระโยชน์หรือไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ท�ำให้ทราบพนื้ ท่ีท่ีอาจได้รบั ผลกระทบ และสามารถเตรียมความพร้อมเพ่อื ลด การสญู เสยี ทีเ่ กดิ ข้ึน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตุนยิ มวิทยา 153 กับการใชป้ ระโยชน์ 5. ครูให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่นเชบีและการลดผลกระทบ ดังน้ี “พายุไต้ฝุ่นเชบีเคล่ือนที่เข้าสู่ทางชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 4 - 5 กันยายน พ.ศ. 2561 พายุไต้ฝุ่นเชบีได้สร้างความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง อาคาร บ้านเรือน สนามบินเสยี หาย ต้องยกเลกิ เที่ยวบินจำ� นวนมากกว่า 700 เที่ยวบิน แต่จากการตดิ ตามขอ้ มลู สารสนเทศดังกล่าว ท�ำให้ส�ำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (Japan Meteorological Agency) ได้ประกาศให้ประชาชนในพื้นที่ท่ีอาจได้รับผลกระทบกว่า 1 ล้านคน เตรียมความพร้อมและ อพยพไดท้ ันจงึ ลดการสูญเสยี ชีวติ และความเสยี หายในดา้ นตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งมาก” 6. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ ยงั มหี นว่ ยงาน องคก์ ร หรอื อาชพี ใดอกี บา้ งทใี่ ชป้ ระโยชนจ์ าก ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา แนวทางการอภปิ ราย หนว่ ยงานทมี่ ภี ารกจิ ในการบรหิ ารจดั การนำ้� การทำ� ฝนหลวง การคมนาคม ขนส่งท้งั ทางบก ทางน้�ำ และอากาศ การปฏิบัตกิ ารนอกชายฝง่ั กจิ กรรมกลางแจ้งต่าง ๆ แนวทางการวัดและประเมินผล KPA แนวทางการวัดและประเมนิ ผล K: 1. การตอบคำ� ถาม และการน�ำเสนอผลการอภิปราย วเิ คราะหข์ ้อมูลสารสนเทศทาง 2. แบบฝกึ หดั อุตุนยิ มวิทยา เพื่อใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำ� วันและการประกอบอาชพี P: 1. การวิเคราะหแ์ ละใช้เหตผุ ลทเ่ี หมาะสมในการตดั สิน 1. การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ใจตามกบั สถานการณท์ ีก่ �ำหนด 2. ความร่วมมอื การทำ� งานเปน็ ทมี และ 2. มสี ่วนรว่ มในการวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรปุ ภาวะผ้นู ำ� เกยี่ วกบั การหมุนเวียนของนำ�้ ผิวหนา้ มหาสมุทร A: การยอมรบั ความเหน็ ตา่ ง และผลทีม่ ีต่อภูมอิ ากาศ ลมฟ้าอากาศ สง่ิ มชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม การรับฟงั ความเห็นของผอู้ ื่นในการร่วมอภิปราย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 154 กับการใชป้ ระโยชน์ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 1. วาดสญั ลกั ษณ์แสดงองคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศจากสถานีตรวจอากาศผิวพ้ืน โดยใชข้ อ้ มูล ท่กี �ำหนดให้ ดงั นี้ องคป์ ระกอบลมฟ้า สถานที ่ี 1 สถานีที่ 2 สถานที ี่ 3 อากาศ ความกดอากาศ (hPa) 1008.3 1011.7 997.3 คา่ การเปลยี่ นแปลงความ 1.2 0.3 - กดอากาศท่ผี ่านมา (hPa) อุณหภูมิอากาศ (oC) 26 24 24 อณุ หภมู จิ ดุ น้ำ� ค้าง (oC) 25 23 24 ทัศนวิสัย (กม.) 10 20 5 ความสูงของฐานเมฆ (ม.) 300 400 400 ปริมาณเมฆปกคลมุ 9/10 10/10 10/10 ปริมาณเมฆชั้นต่�ำ 4/10 6/10 7/10 ที่ปกคลุมท้องฟา้ ทศิ ทางลม WSW SE ลมสงบ อตั ราเรว็ ลม (กม./ชม.) 2 10 ลมสงบ สภาพลมฟ้าอากาศ ฝนธรรมดา ฝนโปรยขนาดเบา ฝนโปรยขนาดเบา ขนาดเบา (ทศั นวิสัย ≤ 5 กม.) (ทศั นวสิ ัย ≤ 5 กม.) ตกเปน็ ระยะๆ (ทัศนวิสยั ≥ 5 กม.) สภาพลมฟ้าอากาศท่ีผา่ น พายุฟา้ คะนอง ฝนธรรมดา มา ขนาดเบา - (ไมม่ ฝี นตกที่สถานี) ตกเป็นระยะๆ (ทัศนวิสยั ≥ 5 กม.) สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวิทยา 155 กบั การใช้ประโยชน์ องคป์ ระกอบลมฟา้ สถานีที่ 1 สถานที ี่ 2 สถานที ่ี 3 อากาศ เมฆควิ มูลัสทมี่ ี เมฆคิวมูลสั ทกี่ อ่ ตัว เมฆสเตรตสั ขาดวนิ่ ชนิดเมฆช้นั ตำ่� ยอดบางยอด ในทางต้งั อย่างแรง เมฆแอลโตสเตรตัส ชนิดเมฆชั้นกลาง มีขอบทง้ั หมด มียอดสงู มากคล้าย โดมหรือหอคอย หนาทบึ ปดิ บัง ชนดิ เมฆชน้ั สูง เมฆแอลโตควิ มูลสั เมฆแอลโตควิ มูลัส จนมองไม่เหน็ สองระดับรวมกัน ดวงอาทิตย์ ทีป่ นกบั เมฆ อยู่ แอลโตสเตรตสั - หนาทบึ เมฆซรี โ์ รสเตรตสั - ไมแ่ ผ่ขยายตวั และ ไมป่ กคลมุ ทอ้ งฟ้า อยา่ งสมบูรณ์ แนวโนม้ การ คงทแี่ ล้วสูงขน้ึ ลดลงเรอ่ื ย ๆ - เปลย่ี นแปลงความกด อากาศท่ีผ่านมา สถานที ี่ 1 สถานีที่ 2 สถานีที่ 3 26 083 24 117 24 973 60 12 70 3 50 25 3 23 5 24 4 6 3 4 หมายเหตุ นักเรียนสามารถวาดสัญลกั ษณเ์ ป็นสีหรอื ขาวดำ� ก็ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 156 กับการใชป้ ระโยชน์ 2. ใช้แผนที่อากาศผิวพนื้ ท่กี �ำหนดให้ประกอบการตอบคำ� ถามขอ้ 1.1 – 1.4 (ก) (ข) (ค) 2.1 รปู (ก) (ข) และ (ค) เป็นแผนที่อากาศผวิ พนื้ ในฤดูใดบ้าง สังเกตจากอะไร แนวค�ำตอบ รูป (ก) เป็นแผนที่อากาศผิวพื้นในฤดูหนาว สังเกตจากบริเวณ ความกดอากาศสูงแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทย รูป (ข) เป็นแผนที่อากาศผิวพ้ืนใน ฤดูร้อน สังเกตจากหย่อมความกดอากาศต่�ำปกคลุมประเทศไทย รูป (ค) เป็นแผนที่ อากาศผิวพ้ืนในฤดูฝน สังเกตจากร่องความกดอากาศต�่ำพาดผ่านบริเวณประเทศไทย 2.2 แผนที่อากาศผิวพื้นในรูปใดบ่งชี้ว่าพื้นท่ีภาคใต้ของประเทศไทยอาจประสบกับ อุทกภัยและแผ่นดนิ ถล่ม ทราบได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ รูป (ก) เนื่องจากความกดอากาศสงู ทแ่ี ผ่ลงมาปกคลมุ ประเทศไทยท�ำให้ อากาศเคลือ่ นที่ผา่ นอา่ วไทย จงึ เกดิ ฝนตกบรเิ วณภาคใต้ฝงั่ ตะวนั ออก นอกจากน้ี พายหุ มนุ เขตรอ้ นมที ิศทางการเคลื่อนท่ีมาทางทศิ ตะวันตกซ่งึ มโี อกาสเคลือ่ นท่ไี ปยัง บริเวณภาคใตข้ องประเทศไทย 2.3 แผนท่ีอากาศผวิ พ้นื ในรปู ใดบง่ ชี้ว่าบริเวณประเทศไทยจะเกิดฝนตกอยา่ งตอ่ เน่อื งและ มปี รมิ าณฝนมากกว่าชว่ งอน่ื ของปี ทราบไดอ้ ยา่ งไร แนวคำ� ตอบ รปู (ค) เนอ่ื งจากมรี อ่ งความกดอากาศตำ�่ พาดผา่ นประเทศไทย 2.4 แผนท่ีอากาศผิวพื้นในรูปใดบ่งช้ีว่าจะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองบริเวณประเทศไทย ทราบได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ รปู (ข) เนอ่ื งจากอากาศเย็นจากบริเวณความกดอากาศต�่ำก�ำลัง เคลือ่ นทม่ี ายังบรเิ วณประเทศไทยซ่งึ ปกคลุมดว้ ยอากาศรอ้ น และ รูป (ค) เนื่องจากมี ร่องความกดอากาศต่ำ� พาดผา่ นประเทศไทย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทท่ี 12 | ข้อมูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา 157 กบั การใชป้ ระโยชน์ 3. จากแผนที่อากาศผวิ พ้ืนท่ีกำ� หนดให้ บรเิ วณ ก และ ข บรเิ วณใดมีลมพดั แรงและบรเิ วณใด มลี มพดั เบา เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน้ \\ ก ข แนวค�ำตอบ บริเวณ (ก) มีลมพัดแรง เน่ืองจากเส้นความกดอากาศเท่าอยู่ชิดกัน และ บรเิ วณ (ข) มีลมพัดเบา เนอ่ื งจากเส้นความกดอากาศเทา่ อย่หู ่างกัน 4. จากแผนที่อากาศผิวพ้ืนท่ีก�ำหนดให้ นักเรียนควรวางแผนการเดินทางหรือเตรียมตัวไปยัง บริเวณ ก และ ข ของประเทศญปี่ ุน่ อย่างไร เพราะเหตุใด ข ก แนวคำ� ตอบ หากเดนิ ทางไปยงั บริเวณ ก ควรเตรยี มอุปกรณ์กันหนาว เน่อื งจากบรเิ วณดงั กล่าวปกคลุมด้วยบริเวณความกดอากาศสูงท�ำให้อากาศมีอุณหภูมิต่�ำและหากเดินทางไปยัง บรเิ วณ ข ควรเลอ่ื นกำ� หนดการเดนิ ทางเนอื่ งจากพายไุ ตฝ้ นุ่ กำ� ลงั เคลอ่ื นทไี่ ปยงั บรเิ วณดงั กลา่ ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอุตุนยิ มวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 158 กบั การใช้ประโยชน์ 5. จงเติมเครื่องหมาย  ลงใน  เพอื่ แสดงหลักการตรวจวัด ชว่ งเวลาท่ีตรวจวัด และการ แปลความหมายทส่ี มั พันธ์กบั ประเภทของภาพถ่ายดาวเทยี มท่ีก�ำหนด ประเด็น ประเภทของภาพถ่ายดาวเทยี ม ชว่ งคลืน่ อินฟราเรด ชว่ งคลน่ื ท่มี องเห็น การตรวจวดั  ปรมิ าณของรังสีอนิ ฟราเรด  ปรมิ าณของรังสีอนิ ฟราเรด ทีแ่ ผ่ออกมาจากวตั ถุ ที่แผอ่ อกมาจากวัตถุ  การสะทอ้ นแสงของวตั ถุ  การสะทอ้ นแสงของวตั ถุ ช่วงเวลาท่ีสามารถ  กลางวนั  กลางวนั ตรวจวัดคล่ืน  กลางคนื  กลางคนื 1. เฉดสีขาวถึงเทาอ่อน 1. เฉดสขี าวสว่าง  วัตถุทมี่ ีอณุ หภูมติ ำ่�  วตั ถทุ ม่ี อี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นสงู  วัตถุทม่ี อี ณุ หภูมิสงู  วตั ถทุ ม่ี อี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นตำ�่ การแปล เชน่ เมฆชัน้ สูง เมฆฝนฟ้าคะนอง เช่น เมฆท่มี ีความหนามาก ความหมาย 2. เฉดสเี ทาเขม้ ถงึ ดำ� 2. เฉดสีเทาถึงด�ำ  วตั ถุทม่ี ีอุณหภูมติ ำ�่  วตั ถทุ มี่ อี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นสงู  วัตถทุ ี่มอี ุณหภูมิสงู  วตั ถทุ ม่ี อี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นตำ�่ เชน่ เมฆช้นั ต�่ำ เชน่ เมฆท่มี ีความหนานอ้ ย 6. จากภาพถ่ายดาวเทยี มชว่ งคล่ืนอินฟราเรด (ก) และชว่ งคลื่นที่มองเห็น (ข) ประจำ� วนั ท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2561 เวลา 2:10 UTC (ก) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวิทยา 159 กับการใชป้ ระโยชน์ (ข) จากข้อมลู ขา้ งต้น ภาคใดของประเทศไทยมโี อกาสเกดิ ฝนมากทีส่ ดุ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ ภาคใต้ จากขอ้ มลู ภาพถา่ ยดาวเทยี มชว่ งคล่นื อินฟราเรด พบภาพทีม่ สี ีขาว สวา่ งกวา่ บรเิ วณอืน่ แสดงว่าเป็นเมฆที่มีอุณหภูมิตำ�่ ประกอบกับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทยี ม ในช่วงคล่ืนที่มองเหน็ บริเวณภาคใตพ้ บกลุ่มเมฆท่ีมคี วามหนา มรี ูปทรงชัดเจน และมีเฉดสี ขาวมากกวา่ บรเิ วณอื่น ๆ แสดงวา่ เป็นเมฆกอ้ น ดังนั้น ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียมทง้ั สองช่วง คลืน่ แสดงใหเ้ หน็ ว่าภาคใตข้ องประเทศไทยมโี อกาสเกดิ ฝนมากกว่าภาคอ่นื ๆ 7. ภาพถ่ายดาวเทยี มช่วงคลน่ื อนิ ฟราเรดทปี่ รบั สีแลว้ ประจำ� วนั ท่ี 26 กนั ยายน พ.ศ. 2561 เวลา 07:40 UTC จากข้อมูลขา้ งต้น ให้ตอบคำ� ถามตอ่ ไปนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 4 160 กับการใชป้ ระโยชน์ 7.1 ภาคใต้ของประเทศไทยกับประเทศมาเลเซยี พ้ืนที่ใดท่มี ีโอกาสเกดิ ฝนตกมากที่สดุ ทราบได้อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ประเทศมาเลเซีย เพราะพบบริเวณทม่ี สี ีเหลอื งถึงสีสม้ แสดงถงึ บรเิ วณที่ มีเมฆอณุ หภูมใิ นชว่ ง -60 ถึง -50 องศาเซลเซยี ส ซงึ่ เปน็ เมฆที่มอี ณุ หภมู ติ ำ่� กว่าเมฆที่ ปกคลุมบริเวณโดยรอบและต่�ำกว่าเมฆที่ปกคลุมภาคใต้ของประเทศไทย จึงมีโอกาส เกิดฝนตกมากกว่าบริเวณภาคใตข้ องประเทศไทย 7.2 ในวันดงั กล่าวพบพายุหมุนเขตร้อนหรือไม่ ทราบไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ พบพายุหมุนเขตร้อน เน่ืองจากพบแนวเมฆที่เป็นลักษณะของพายุหมุน ปกคลุมในมหาสมทุ รแปซฟิ กิ 8. ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาท่ีประมวลผลร่วมกันของช่วงคล่ืนอินฟราเรดและช่วง คล่ืนท่ีมองเหน็ ประจ�ำวนั ท่ี 14 มถิ ุนายน พ.ศ. 2561 เวลา 07:45 UTC จากข้อมูลข้างต้นถ้ามีการแปลความหมายภาพถ่ายดาวเทียมว่า “ภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมีเมฆช้ันต่�ำและเมฆฝนฟ้าคะนองปกคลุม” นักเรียน เหน็ ดว้ ยกบั ข้อมูลดงั กลา่ วหรือไม่ เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ไมเ่ หน็ ดว้ ย เนอื่ งจากบรเิ วณภาคเหนอื ของประเทศไทยปรากฏแถบสมี ว่ งและสฟี า้ ซงึ่ หมายความวา่ บรเิ วณดงั กลา่ งปกคลมุ ดว้ ยเมฆชนั้ ตำ�่ และเมฆชน้ั สงู และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ปรากฏแถบสีฟ้าเป็นส่วนใหญ่ซ่ึงหมายความว่าบริเวณดังกล่าวปกคลุมด้วยเมฆช้ันต�่ำ เป็นสว่ นใหญ่ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 161 กับการใช้ประโยชน์ 9. ข้อมลู เรดาร์ตรวจอากาศประจำ� วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2561 (ก) 1:50 UTC (ข) 2:50 UTC (ก) (ข) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 12 | ข้อมลู สารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 162 กับการใชป้ ระโยชน์ จากขอ้ มูลเรดาร์ ให้ตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ี 9.1 กล่มุ ฝนบรเิ วณอ่าวไทยมีการเคลือ่ นท่ีหรอื ไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ มีการเคลื่อนที่ โดยเมื่อเวลา 1:50 UTC กลุ่มฝนปกคลุมอยู่ใน บริเวณอ่าวไทย และภาคตะวันออกบริเวณจังหวัดชลบุรี และเมื่อเวลาผ่านไปถึง 2:50 UTC กลุ่มฝนเคลือ่ นทีเ่ ขา้ ปกคลุมจงั หวดั สมทุ รปราการ กรงุ เทพฯ และทาง เหนือของจังหวดั ชลบุรี เชน่ บรเิ วณอำ� เภอพานทอง อ�ำเภอพนสั นิคม และอำ� เภอ บ่อทอง 9.2 กล่มุ ฝนบรเิ วณอา่ วไทยทวีความรนุ แรงขน้ึ หรืออ่อนกำ� ลงั ลง พร้อมใหเ้ หตุผล ประกอบ แนวคำ� ตอบ กลุ่มฝนอ่อนก�ำลังลง เพราะเมื่อเวลา 2:50 UTC พื้นท่ที ่ีเคยปรากฏ เป็นเขียวล้อมรอบสีเหลืองและสีส้ม เปล่ียนมาเป็นปกคลุมสีเขียวทั้งหมด แสดง ถึงความเข้มของคลื่นท่ีตรวจวัดได้ลดลงเหลือประมาณ 19 - 26 เดซิเบล ซึ่ง หมายความวา่ มีฝนโปรยจนถงึ ไมม่ ีฝน 10. ขอ้ มูลเรดารต์ รวจอากาศ ประจ�ำวนั ที่ 19 กนั ยายน พ.ศ. 2561 ณ สถานีเรดารร์ ะยอง ดงั รูปทีก่ ำ� หนดให้ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 บทที่ 12 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 163 กับการใชป้ ระโยชน์ ถ้านักเรยี นวางแผนจะไปเที่ยวทะเลทจี่ งั หวดั ระยองในวันดังกลา่ ว นกั เรยี นจะวางแผน การทอ่ งเท่ียวอยา่ งไรได้บา้ งและต้องเตรยี มตวั อย่างไร เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ ควรวางแผนเท่ียวบนชายฝั่งและเตรียมอุปกรณ์กันฝน ไม่ควรเดินทาง ไปยงั เกาะเสมด็ เนอื่ งจากอาจเกดิ พายฝุ นฟา้ คะนองระหวา่ งเดนิ ทางขา้ มไปยงั เกาะเสมด็ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก

165 ตวั อยา่ งเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที นี่ ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมท้ังข้อดีและข้อจำ�กัดของ แบบทดสอบรูปแบบตา่ ง ๆ เปน็ ดังน้ี 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลอื ก แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเปน็ ดังน้ี 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เปน็ แบบทดสอบทมี่ กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถี่ กู เพยี งหนงึ่ ตวั เลอื ก องค์ประกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 ส่วน คือ คำ�ถามและตัวเลือก แต่บางกรณอี าจ มีส่วนของสถานการณ์เพิ่มขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชน้ั โครงสร้างดังตวั อยา่ ง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเด่ยี วท่ไี ม่มีสถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

166 แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเดีย่ วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเปน็ ชดุ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 …………………………………………………………….................. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

167 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ชน้ั สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอื้ หา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ได้ นอกจากนนี้ ักเรียนท่ไี ม่มคี วามรู้สามารถเดาคำ�ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถูกหรือผิด เปน็ แบบทดสอบทมี่ ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นน้ั มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาว่าถูกหรือผิด ดงั ตวั อย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

168 แบบทดสอบแบบถกู หรือผิด คำ�สั่ง ให้พิจารณาว่าขอ้ ความต่อไปนีถ้ ูกหรือผดิ แลว้ ใส่เครื่องหมาย หรือ หนา้ ข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบนี้สามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเนื้อหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เป็นเทจ็ โดยสมบูรณใ์ นบางเน้อื ท�ำ ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจบั คู่ ประกอบด้วยสว่ นทีเ่ ป็นค�ำ สัง่ และข้อความ 2 ชดุ ท่ีใหจ้ บั คู่กัน โดยข้อความชดุ ท่ี 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ท่ี 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ท่ี 2 อาจมมี ากกวา่ ในชดุ ท่ี 1 ดงั ตวั อย่าง แบบทดสอบแบบจับคู่ ค�ำ สั่ง ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ถาม ชุดค�ำ ถาม ชุดคำ�ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

169 แบบทดสอบรูปแบบน้ีสร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียน จับค่ผู ดิ ไปแล้วจะทำ�ให้มกี ารจบั คู่ผิดในคอู่ ืน่ ๆ ด้วย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบที่ให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทวั่ ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแต่ละแบบเป็นดงั น้ี 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเตมิ คำ�หรือตอบอย่างส้ัน ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความที่ไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพื่อให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสนั้ ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามท่ีให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น ส่ิงที่กำ�หนดค�ำ ตอบใหม้ คี วามถกู ตอ้ งและเหมาะสม แบบทดสอบรูปแบบนสี้ ร้างไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาได้ยาก และสามารถวนิ ิจฉยั ค�ำ ตอบท่นี ักเรียน ตอบผิดเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถกู ต้องหรือยอมรบั ไดห้ ลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบอธบิ าย เป็นแบบทดสอบท่ีต้องการใหน้ ักเรียนสร้างคำ�ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบด้วยสถานการณ์และ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกนั โดยคำ�ถามเป็นค�ำ ถามแบบปลายเปิด แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

170 แบบประเมินทกั ษะ เม่ือนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ท้ังวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ อย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทีส่ �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครือ่ งมือทใ่ี ชป้ ระเมินดงั ตัวอยา่ ง ตวั อย่างแบบส�ำ รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลอง ผลการส�ำ รวจ รายการท่ตี ้องส�ำ รวจ มี ไม่มี (ระบจุ �ำ นวนครง้ั ) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขั้นตอน การสังเกตการทดลอง การบันทึกผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

171 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทักษะปฏิบตั ิ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เคร่อื งมือในการทดลอง เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไม่เหมาะสมกับงาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ต้องตามหลกั การ ต้อง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏิบัติ แต่ไม่ หลักการปฏบิ ตั ิ คลอ่ งแคลว่ การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ กำ�หนด แ ล ะ ขั้ น ต อ น ท่ี แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ข้ั น ต อ น ท่ี กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรบั ปรุงแก้ไขบา้ ง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แก้ไขเปน็ ระยะ ขั้นตอนที่กำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แก้ไข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

172 ตัวอย่างแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการทดลองท่ใี ชเ้ กณฑ์การให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า ทักษะทปี่ ระเมิน ผลการประเมนิ ระดับ 2 ระดับ 3 ระดบั 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ข้นั ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกตอ่ การใชง้ าน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถ้วนสมบรู ณ์ ตวั อย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขยี นรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ขั้ น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ� ดับข้ันตอนไม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไมส่ อ่ื ความหมาย ส่อื ความหมาย แบบประเมนิ คุณลกั ษณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกที่ปรากฏให้เหน็ ในลักษณะของคำ�พูด การแสดงความคดิ เห็น การปฏิบัติหรือพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ทสี่ ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สงิ่ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ประเมนิ คณุ ลักษณะด้านจติ วิทยาศาสตร์ ดงั ตวั อยา่ ง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

173 ตัวอยา่ งแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจติ วิทยาศาสตร์ คำ�ชีแ้ จง จงทำ�เครื่องหมาย ลงในช่องว่างท่ีตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจำ�แนก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถึง นักเรียนแสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นั้นอย่างสมำ่�เสมอ ปานกลาง หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เป็นคร้งั คราว น้อย หมายถงึ นกั เรียนแสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ น้นั น้อยครั้ง ไม่มกี ารแสดงออก หมายถงึ นักเรียนไม่แสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นัน้ เลย ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ ีการ ดา้ นความอยากรอู้ ยากเห็น กลาง แสดงออก 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม เม่ือเกิดความสงสัยใน เรือ่ งราววทิ ยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นชอบไปงานนิทรรศการ วิทยาศาสตร์ 3. นักเรียนนำ�การทดลองทส่ี นใจไป ทดลองต่อทบี่ า้ น ดา้ นความซื่อสัตย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามท่ี ทดลองได้จริง 2. เมอ่ื ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพอ่ื สง่ ครู 3. เมือ่ ครูมอบหมายให้ท�ำ ชน้ิ งาน ออกแบบสง่ิ ประดษิ ฐ์ นักเรยี นจะ ประดิษฐต์ ามแบบท่ปี รากฏอยใู่ น หนงั สือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

174 ระดับพฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ ีการ ดา้ นความใจกว้าง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรปุ ของสมาชกิ ส่วนใหญ่ 2. ถา้ เพอ่ื นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลที่ดีกว่า นักเรียนพร้อมที่ จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พ่ื อ น ไ ป ปรับปรงุ งานของตน 3. เม่ืองานท่ีนักเรียนต้ังใจและทุ่มเททำ� ถูกตำ�หนิหรือโต้แย้ง นักเรียนจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ดา้ นความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสรจ็ ส้นิ การทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซำ้� ๆ ก่อนที่จะ สรุปผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อปุ กรณก์ ่อนทำ�การทดลอง ดา้ นความมุ่งมัน่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอ่ื ผล การทดลองทไี่ ดข้ ดั จากทเี่ คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองท่ีนักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นักเรยี นก็เปลี่ยนไปศึกษาชดุ การ ทดลองทใี่ ช้เวลาน้อยกว่า สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

175 ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไม่มกี าร เจตคตทิ ด่ี ีตอ่ วทิ ยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แก้ปญั หาในชวี ิตประจำ�วนั อยู่เสมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ท่ี เกย่ี วข้องกับวิทยาศาสตร์ การประเมินการนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังราย ละเอียดต่อไปนี้ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลกั ทส่ี �ำ คญั ๆ เชน่ การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนอ้ื หา ความรแู้ ละการประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการ เขียนโดยใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมนิ ความถกู ต้องของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ เนื้อหาไมถ่ กู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่ ตอ้ งปรับปรุง เน้อื หาถูกต้องแต่ใหส้ าระสำ�คญั นอ้ ยมาก และไมร่ ะบแุ หลง่ ท่มี าของความรู้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คญั แตย่ งั ไมค่ รบถว้ น มกี ารระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ พอใช้ เนื้อหาถูกตอ้ ง มสี าระสำ�คญั ครบถว้ น และระบุแหลง่ ท่ีมาของความรชู้ ดั เจน ดี ดีมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

176 ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ต้องปรบั ปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเช่ือมโยง เนื้อหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� พอใช้ ไมถ่ กู ตอ้ ง ไม่อา้ งอิงแหล่งที่มาของความรู้ ดี ขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มี ดีมาก รายละเอียดไมเ่ พียงพอ เนอื้ หาบางตอนไมส่ มั พันธ์กัน การเรียบเรียบเนอ้ื หา ไมต่ อ่ เนอื่ ง ใช้ภาษาถูกต้อง อา้ งองิ แหลง่ ทีม่ าของความรู้ เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเรื่อง บอกความสำ�คัญและท่ีมา ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญทั้งหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตวั อยา่ ง รปู ภาพ แผนภาพประกอบ อ้างอิงแหลง่ ที่มาของความรู้ 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เปน็ การประเมนิ เพอื่ ตอ้ งการน�ำ ผลการประเมนิ ไปใช้ พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เกณฑ์ ยอ่ ย ๆ ในการประเมินเพื่อทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นที่ควรส่งเสริมและจุดด้อยที่ควรแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน ในส่วนนัน้ ๆ เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มีตวั อย่างดังนี้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

177 ตัวอยา่ งเกณฑก์ ารประเมนสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ดา้ นการวางแผน ต้องปรับปรงุ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทตี่ อ้ งการ พอใช้ เรยี นรู้ ดี ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นสำ�คญั ของปญั หาเป็นบางส่วน ต้องปรบั ปรุง ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน พอใช้ ดี ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนทช่ี ดั เจน ดมี าก และตรงตามจุดประสงคท์ ่ีต้องการ ดา้ นการด�ำ เนนิ การ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คล่องแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอื่ ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเสร็จทันเวลา ผลงานทุกขน้ั ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

178 รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ด้านการอธบิ าย ตอ้ งปรบั ปรุง อธบิ ายไม่ถูกตอ้ ง ขดั แยง้ กับแนวคิดหลกั ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ ดี อธิบายโดยอาศัยแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธิบายเป็นแบบ ดมี าก พรรณนาท่ัวไปซง่ึ ไม่คำ�นึงถึงการเช่อื มโยงกับปญั หาท�ำ ให้เข้าใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ จุดประสงค์ ใชภ้ าษาได้ถูกตอ้ งเขา้ ใจงา่ ย ส่อื ความหมายไดช้ ัดเจน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

179 บรรณานกุ รม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2554). หนงั สอื เรียนรายวชิ า เพม่ิ เติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. Ahrens, C. D. (2009). Meteorology Today: An Introduction to Weather, Climate, and Environment. 9th ed. Canada: Thomson Brook/Cole. Ahrens, C. D. and Robert Henson (2016). Meteorology Today: An Introduction to Weather, Climate, and Environment. 11th ed. Canada: Thomson Brook/Cole. Alan P. Trujillo and Harold V. Thurman. (2014). Essentials of Oceanography. 7th ed. USA: Pearson Education. Keith A. Sverdrup, Alison B. Duxbury and Alyn C. Duxbury. (2006). Fundamental of Oceanography. 5th ed. USA: McGraw-Hill. Stefan Rahmstorf . (2006). Thermohaline Ocean Circulation. Encyclopedia of Quaternary Sciences. Elsevier, Amsterdam 2006. กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา. ระบบเฝ้าระวัง ติดตามและพยากรณ์อากาศ: สบื ค้นเมื่อ 24 กนั ยายน 2561 จาก http://www.metalarm.tmd.go.th/monitor/typhoonSelect กรมอุตุนยิ มวิทยา. เอลนโี ญ. สบื ค้นเม่อื 2 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=17 กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา. เอลนโี ญ. สืบค้นเม่อื 2 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=18 โพสตท์ ูเดย.์ เอลนโี ญ และลานญี า ผลกระทบกบั สนิ คา้ โภคภณั ฑเ์ กษตร. สบื คน้ เมื่อ 5 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.posttoday.com/ finance/invest/434051 EarthNow Project. Effects of El Niño and La Niña on Phytoplankton and Fish: Retrieved August 31, 2018, from http://sphere.ssec.wisc.edu/20130315/ National Aeronautics and Space Administration (NASA). Climate and Earth’s Energy Budget: สืบคน้ เมอื่ 12 เมษายน 2561 จาก https://earthobservatory.nasa.gov/Features/EnergyBalance สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

180 National Aeronautics and Space Administration (NASA). Tropical Cyclone Tracks: Retrieved August 11, 2018, from https://www.climate.gov/ news-features/understanding-climate/tropical-cyclone-tracks National Geographic. La Niña : Retrieved August 31, 2018, from https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/la-nina/ National Oceanic and Atmospheric Administration. The science behind the polar vortex: Retrieved August 2, 2018, from https://www.noaa.gov/ infographic/science-behind-polar-vortex Science Education through Earth Observation for High Schools (SEOS). Nike Trainers and Rubber Ducks: Retrieved Febuary 20, 2018, from http://www.seos-project.eu/modules/oceancurrents/oceancurrents- c01-p02.html United States Geological Survey (USGS). How much water is there on, in, and above the Earth?: Retrieved January 31, 2018, from https://water.usgs.gov/edu/earthhowmuch.html สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

181 คณะกรรมการการจดั ทำ� คมู่ อื ครู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 4 ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 คณะที่ปรึกษา ผอู้ �ำนวยการ 1. ศาสตราจารย์ ดร. ชูกิจ ลิมปจิ �ำนงค ์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ ่วยผูอ้ ำ� นวยการ 2. ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศกั ด์ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผูจ้ ัดท�ำคูม่ ือครู รายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร์ โลก อวกาศ และดาราศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 4 1. นายสพุ จน์ วฒุ โิ สภณ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. นางสาวบุศราศิริ ธนะ ผู้ชำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ผศ.ดร.อลศิ รา ชชู าต ิ ผู้ชำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. นางพรรณทิพา ธนากรโยธิน ผชู้ ำ� นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. นางดาริกา วรี วินันทนกลุ ผชู้ ำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. นายมนตรี ประเสริฐฤทธิ์ ผชู้ ำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7. นางฤทยั เพลงวฒั นา ผู้ชำ� นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. นายนทิ ศั น์ ลิ้มผอ่ งใส นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9. นางสาววิชรุ าตรี กลบั แสง นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 10.นางสาวรมั ภา ศรบี างพลี นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11.นางสาวกัญญจติ จันเสนา นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

182 คณะผู้ร่วมพิจารณาคู่มือครู รายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ โลก อวกาศ และดาราศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 4 (ฉบับร่าง) 1. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจิศุภร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ดร.สงกรานต์ อกั ษร กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม 3. ดร.สธน วิจารณว์ รรณลักษณ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 4. ผศ.มาลี สทุ ธิโอภาส มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 5. นางเบ็ญจวรรณ ศรเี จริญ นักวชิ าการอิสระ 6. นายวทิ ยา อินโท โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝ่ายมธั ยม 7. นางสาวชณุ หภคั เทดิ อวยพร โรงเรยี นวดั สทุ ธิวราราม กรงุ เทพมหานคร 8. นายประเดิม วนั ทอง โรงเรียนเมืองกาฬสินธ์ุ จ.กาฬสินธ์ุ 9. นางสาวโศภติ า อุไพพานชิ นักวชิ าการ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10.วา่ ท่ี ร.ต.ภูรวิ ัจน์ จิราตันติพฒั น์ นกั วิชาการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11.นางสาวมนญั ญา ลกิ มลสวสั ด ิ์ นักวิชาการอิสระ คณะบรรณาธกิ าร กระทรวงดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม 1 ดร.สงกรานต์ อกั ษร จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจิศภุ ร จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 3. ดร.สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์ ผู้ชำ� นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย 4. นางสาวบศุ ราศริ ิ ธนะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผเู้ ชีย่ วชาญ 5. นายสุพจน์ วุฒิโสภณ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ำ� นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 6. นางฤทัย เพลงวัฒนา สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี