Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มีต่อการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต ปีการศึกษา 2562

ความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มีต่อการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต ปีการศึกษา 2562

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-09-06 12:39:52

Description: ความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มีต่อการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต ปีการศึกษา 2562

Satisfaction of the Students in International College Suan Sunandha Rajabhat University on Learning How to Think Mathematically Using Vedic Math, Academic Year 2019
โดย
ลือชัย ทิพรังศรี
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Email: [email protected]

Keywords: ความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่มีต่อการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต ปีการศึกษา 2562,เวทคณิต,ลือชัย ทิพรังศรี

Search

Read the Text Version

ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา ทม่ี ตี ่อการเรยี นรู้วิธีคดิ ทางคณิตศาสตรแ์ บบเวทคณิต ปกี ารศกึ ษา 2562 Satisfaction of the Students in International College Suan Sunandha Rajabhat University on Learning How to Think Mathematically Using Vedic Math, Academic Year 2019 ลือชยั ทพิ รังศรี วิทยาลยั นานาชาติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา Email: [email protected] บทคดั ย่อ โครงการวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ที่มี ต่อการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต ปีการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ 2562 นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ช้ันปีท่ี 2562 ปีการศึกษา 1 ท่ีมีต่อการเรียนรู้วิธีคิด ทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต และเพ่ือไปพัฒนาหรือปรับปรุงเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์ แบบเวทคณิต กลุ่มตัวอย่างที่ได้ศึกษาในงานวิจัยนี้ เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random) ซึ่งกลุ่ม ตัวอย่าง จานวน 85 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาธุรกิจการบิน จานวน 3 คน แบ่งออกเป็น 120คน สาขาวิชาการ จัดการโรงแรม จานวน คน ซึ่งเป็น 14 คน และ สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว จานวน 21นักศึกษา วิทยาลัย นานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ชั้นปีที่ ประจาปีก 1ารศึกษา 2562ระยะเวลาท่ีใช้ในการทาวิจัย ต้ังแต่ เดือนตุลาคม ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน 2562 ถึงเดือนธันวาคม 2562 ในรายวิชาGEN 0307 Miracle of Thought เรื่อง Vedic Mathematics ในด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านการพัฒนา คุณลักษณะของนักศึกษา ด้านหลักสูตรเน้ือหาวิชา ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอน ด้านปจั จัยและสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้ ภาพรวมของการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยเฉลี่ยอยูใ่ นระดบั มาก ทุกด้าน และผลการวิเคราะห์ความเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของความพึงพอใจของนักศึกษาพบว่า เน้ือหาหลักสูตร มีความทันสมัย รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง และสามารถบูรณาการ กับในรายวิชาอื่นไดจ้ ริง มีความสนใจในการเรยี นการสอน ทาใหบ้ รรยากาศในการเรียนสนกุ ท้าทายและไม่น่าเบื่อ คาสาคัญ : ความพึงพอใจ, วทิ ยาลัยนานาชาต,ิ การเรยี นร,ู้ คณติ ศาสตร,์ เวทคณติ

บทนา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา เปน็ สถาบนั การศึกษาท่พี ร้อมขับเคลอื่ นส่คู วามสาเร็จในงานดา้ นวิชาการ โดย ได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอนั ดับ 1 ในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ีมีผลงานซง่ึ เป็นแม่แบบทางด้านการสอน การวิจัย บริการวิชาการ และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ความสาเร็จตาม วิสัยทัศน์, 2019 : 1) การดาเนินงานตามภารกิจดังกล่าว มหาวิทยาลัยให้ความสาคัญที่มุ่งเน้นการสร้างสรรค์พัฒนา นักศึกษาให้เป็นผ้ทู ่ีมีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และคุณธรรมจรยิ ธรรม ท่ีมีคุณภาพระดับแนวหน้า โดยเฉพาะ การประยุกต์ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ มุ่งเน้นการจัดการศึกษาท่ียึดผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถ พฒั นาตนเองตามความถนัดเต็มศักยภาพฝึกทักษะ การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบจาก ประสบการณ์จริง ให้คิดเป็น ทาเป็นเกิดการใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง สามารถเรียนรู้ร่วมกนั ระหว่างผู้สอนและผู้เรยี น ท่ามกลางกิจกรรม รูปแบบการ จัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย เพื่อสนองความต้องการของผู้เรียน เพ่ือให้เป็นบุคลกรที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศชาตอิ ยา่ งแท้จริง วิทยาลัยนานาชาติ ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานหนึ่งท่ีจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาและระดับ ปริญญาตรี ซ่ึงประกอบด้วย หลักสูตรและ สาขาวิชาต่างๆ และนักศึกษาช้ันปีที่ 1 ในทุกหลักสูตรและทุกสาขาวิชา จะต้องเรียน คือ รายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เรอื่ ง Vedic Mathematics ซงึ่ เปน็ สว่ นท่ีเกย่ี วกับเทคนิค การคิดและทักษะการคานวณทางคณิตศาสตร์ โดยท่ีคณิตศาสตร์ยังเป็นพ้ืนฐานของวิทยาการหลายสาขาวิชาและมี บทบาทสาคัญต่อความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่ที่ไม่ชอบวิชา คณติ ศาสตรด์ ้วยเหตุผลสว่ นตัวและบางกลมุ่ จะโทษครูคณติ ศาสตร์อยู่เสมอวา่ สอนไม่รูเ้ รือ่ ง จงึ เปน็ คาถามทผ่ี ู้สอนต้อง ตระหนักว่าการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนจะช่วยให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองตลอดชีวิต สามารถดารงตนเอง ในศตวรรษท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจากัดเพียงสัมผัสปลายนิ้วเท่าน้ีก็เกิดการเรียนรู้ได้ทุกเวลา แบบก้าวข้ามพรมแดนท่ัวทุกมุมโลกท่ีต้องการก้าวข้ามพรมแดนผ่านระบบเครือข่าย ดังน้ันผู้สอนจึงมีบทบาทในการ เป็นผู้อานวยความสะดวกและช้ีแนะแนวทางเพ่ือให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ และบางครั้งครูอาจจะต้องเป็นผู้ รว่ มเรียนรู้ไปพรอ้ มๆ กับนักศึกษา ฉะน้นั ครใู นยคุ นค้ี วรมคี ุณลักษณะที่เรียกว่า E-Teacher (Experienced Teacher) นน่ั หมายถงึ ตอ้ งมีประสบการณ์ ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อเทคโนโลยี ซ่ึงการ จะสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะเป็นเช่นไรย่อมเป็นสิ่งท้าทายที่ผู้บริหารต้องคิดและพัฒนาให้บรรลุเป้าหมาย สาหรับ คุณลักษณะของผู้เรียนที่สังคมคาดหวัง เช่น มีคุณธรรม เป็นคนดีมีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีทักษะที่หลากหลาย ได้แก่ ทางานเป็นทีม มีความรับผิดชอบรู้จักการแก้ไขปัญหา มีความสามารถด้านการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ อย่างน้อย 2 ภาษา มีพื้นฐานและทักษะการคิดคานวณท่ีดี และมีความชานาญในการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ พรอ้ มเผชิญปัญหาและสามารถเลือกวธิ ีการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสม ซง่ึ ในการจัดการศึกษา จาเป็นที่จะต้องหยิบยกมาพิจารณาและพัฒนาไปให้ถึง น่ันคือ ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงเป็นโลกยุคดิจิตอล

ท่ีทุกคนต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ 3R และ 7C โดยที่ 3R ได้แก่ การอ่าน (Reading) การเขียน (writing) และ คณิตศาสตร์ (arithmetic) ส่วน 7C ได้แก่ คิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา (Critical thinking & problem solving) คิดสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรม (Creativity & innovation) เข้าใจบนวัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลาย (Cross- cultural understanding) ค ว าม ร่ว ม มื อ ท างาน เป็ น ที ม แ ล ะ ภ าว ะ ผู้ น า (Collaboration, teamwork & leadership) การสื่อสาร รู้เท่าทันสื่อ และข้อมูลสารสนเทศ (Communications, information & media literacy) มีทักษะ ด้านคอมพิวเตอร์และส่ือเทคโนโลยี (Computing & ICT literacy) และมีทักษะการเรียนรู้และ อาชีพ (Career & learning skills) เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์พื้นฐานสาคัญที่ทุกคนต้องเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ คณิตศาสตร์จึงมีความจาเป็นตอ่ การดารงชีวติ ของทุกคน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และมาตรฐานและตัวช้ีวดั (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ไดก้ าหนดคุณภาพผูเ้ รยี นท้ังที่ เรียนจบระดับมัธยมศึกษา โดยเน้นการนาเน้ือหาสาระการเรียนรู้ไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ หรืออธิบาย เหตกุ ารณ์ ต่าง ๆ และตัดสินใจได้ รวมทั้งผสู้ อนคณิตศาสตร์ต้องเน้นทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ่ีจาเป็น และต้องพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา การสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตผุ ล และการคดิ สร้างสรรค์ นกั ศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ทุกคนได้ผ่านการเรียนรู้ในหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ที่มีหลักการของการเรียนรู้คณิตศาสตร์มี ขั้นตอน 3ดังนี้ ข้ันที่ การใช้ส่ิงที่เป็นรูปธรรม 1(concrete step) ข้ันที่ การใช้ส่ิงท่ีเป็นภาพ 2(pictorial step) และขั้นท่ี การสร้างแนวคิดท่ีเป็นนามธรรม 3(abstract step) และเน่ืองจากนักศึกษาส่วนมากมีความคิดเห็นว่าการ คดิ ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นเรอื่ งท่ยี าก แต่ผู้วิจัยได้ศกึ ษาวิธีการคดิ เลขเร็วแบบอินเดีย (Vedic Mathematics : เวทคณิต) พบว่า สามารถช่วยให้การคดิ เลขง่ายและรวดเร็วขนึ้ ได้คาตอบสมบรู ณ์ ถกู ต้อง แม่นยา รวมท้ังมกี ารตรวจสอบความ ถูกต้องได้ดว้ ยวิธีการที่ง่าย จึงคิดนาเทคนิควิธีการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย (Vedic Mathematics : เวทคณิต)ดังกล่าว มาจัดการเรียนรู้ให้นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาช้ันปีท่ี 2562 1ปีการศึกษา เพ่ือให้ สามารถคิดเลขได้อย่างรวดเร็ว มีความม่ันใจและมีทัศนคติต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ดีย่ิงข้ึน พร้อมท้ังศึกษาความพึง พอใจของนักศึกษากลมุ่ ดงั กลา่ วท่ีมตี ่อการเรยี นรู้วิธีคดิ ทางคณิตศาสตรแ์ บบเวทคณิต ต่อไป วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการวจิ ัย 1.เพอื่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนักศกึ ษาวทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ช้นั ปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ที่มีตอ่ การเรยี นรวู้ ธิ ีคิดทางคณิตศาสตรแ์ บบเวทคณิต

2. เพอื่ ไปพฒั นาหรือปรับปรุงเทคนิควธิ ีการจัดการเรียนรู้วิธคี ิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต ขอบเขตของโครงการวิจัย 1. ดา้ นเน้อื หา ประกอบดว้ ย เทคนคิ วธิ ีการคิดคานวณเกย่ี วกบั การ บวก ลบ คูณ หาร แบบเวทคณติ 2. ดา้ นประชากร นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา ช้นั ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 150 คน วธิ ีดาเนนิ การวิจยั การวิจยั เรื่อง ความพึงพอใจของนักศกึ ษา วทิ ยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ที่มีต่อการ“ เรียนรู้วธิ คี ิดทางคณติ ศาสตร์แบบเวทคณติ ปกี ารศกึ ษา ”2562รายละเอยี ดของการดาเนินการวจิ ยั มีดงั นี้ 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิคเวทคณิต และต้องการพัฒนาหรือปรับปรุงเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้วิธีคิดแบบเวทคณิต ประชากรและกลุ่มตัวอย่างของการ วิจัยนี้เป็นกลุ่มตัวอย่างโดยทาการสุ่มตัวอย่างแบบช้ันภูมิ (Stratified Random) จากนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 2. ขั้นตอนการดาเนนิ งานวจิ ยั 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2. กาหนดกลุ่มประชากรทศี่ กึ ษา ได้แก่นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา ชั้นปีที่ 2562 ปีการศกึ ษา 1 3. สร้างเคร่ืองมือเป็นแบบฝึกสาหรับนักศึกษาใช้ในการคิดคานวณและแบบสอบถามความพึงพอใจของ นักศึกษาต่อการเรียนรู้ในการคิดคานวณโดยใช้เทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอินเดีย :เวทคณิต)Vedic Mathematics( พรอ้ มทง้ั หาคณุ ภาพเครอื่ งมอื โดยใช้ IOC (Index of Item-Objective Congruence ) 4. ผู้วิจัยจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักศึกษาได้ปฏิบัติจริงในการคิดคานวณโดยใช้เทคนิคการคิดเลขเร็ว แบบอินเดีย :เวทคณิต)Vedic Mathematics( ในแบบฝึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน และผู้วิจัยสังเกตการทางานของนักศึกษาและการแสดงออกโดยภาพรวม พร้อมท้ังให้นักศึกษาตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจในการเรียนรูเ้ ก่ียวกับการคดิ ทางคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิคการคิดเลขเรว็ แบบอนิ เดีย :เวทคณิต)Vedic Mathematicsเมือ่ เสร็จสนิ้ การจดั การเรยี นการสอน (

3. เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย ลักษ ณ ะของเคร่ืองมือที่ ใช้ใน การวิจัย ได้ แก่ แบ บ สอบ ถามแบ่ งออกเป็ น 3 ตอน ดั งน้ี ตอนที่ 1 สอบถามเก่ียวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะของแบบสอบถามเป็น แบบตรวจสอบรายการ(Check List) ตอนที่ 2 สอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นด้านการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาความพึงพอใจของ นักศึกษาทีม่ ตี ่อการจดั การเรียนการสอน รายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เรื่อง Vedic Mathematics และ ประโยชน์ที่ได้รับ ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยใช้มาตราส่วน ประมาณค่าของลิเคิร์ท (Likert) โดยกาหนดความพึงพอใจเป็น 5 ระดับ ซ่ึงผู้วิจัยได้กาหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดับ ดงั นี้ ระดบั ความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ียระหวา่ ง 4.5 1– 5.00 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ คา่ เฉลยี่ ระหวา่ ง3.5 1– 4.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง2.5 1– 3.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง1.5 1– 2.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อย คา่ เฉล่ยี ระหว่าง1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อยที่สุด ตอนท่ี 3 สอบถามเก่ียวกับข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ลักษณะของ แบบสอบถามเป็นแบบคาถามปลายเปิด 4. วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล แจกแบบสอบถามโดยวิธีสุ่มตัวอย่างให้แก่นักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ช้นั ปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 จานวน 150 คน 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพโดยใช้สถิติพรรณนา จากการหาค่าเฉล่ีย ( x ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความพึงพอใจ ค่าร้อยละ (%) ของจานวนนักเรียนท่ีมีความ พึงพอใจแต่ละระดับ รวมท้ังวิเคราะห์ สรุปการเขยี นแสดงความคดิ เห็นของนักศกึ ษา

ผลการวิจัย สรปุ และอภิปรายผลการวิจัย ดังน้ี 1. การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งเป็น นักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่มีต่อการเรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต รายวิชา)GEN0307 Miracle of Thought เร่ือง ) Vedic Mathematics ช้ันปีท่ี ซ่ึง 2562 ประจาปีการศึกษา 1 จาแนกตาม เพศ การเข้าเรียนต่อ การศึกษาสาขาวชิ า มผี ลการวจิ ัย ดังนี้ เพศ กลุ่มประชากรที่ตอบแบบสอบถามในการวิจัยในคร้ังน้ี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน คน 89 และ เพศชาย จานวน คน 31 การเข้าเรียนต่อภาคการศึกษากลุ่มประชากรผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการเข้าเรียนต่อภาคเรียน ท่ีเข้า เรียนต้ังแต่ 5-ครั้งต่อภาคการศึกษา 10 จานวน ครั้ง 10 คน และจานวนการเข้าเรียนต้ังแต่ 18 ข้ึนไปต่อภาค การศกึ ษา จานวน คน 102 สาขาวิชา กลุ่มประชากรผู้ตอบแบบสอบถาม แบ่งออกเป็นนักศึกษาสาขาวิชาธุรกิจการบิน จานวน 85 คน และสาขาวชิ าการจัดการท่องเท่ยี ว 21 คน สาขาวชิ าการจดั การโรงแรม จานวนจานวน คน 14 2. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ท่ีมีต่อการ เรียนรู้วิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบเวทคณิต รายวิชา( GEN0307 Miracle of Thought เร่ือง Vedic Mathematics( ชน้ั ปีที่ มีผลการวิจัยในภาพรวม และรายด้าน ดังนี้ 2562 ประจาปกี ารศึกษา 1 2.1 ด้านอาจารย์ผู้สอน นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เร่ือง ภาพรวมอยู่ใน Vedic Mathematicsระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้อมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเช่นกัน เรียงลาดับได้ดังน้ี อาจารย์ผู้สอนมีความเช่ียวชาญในวิชาท่ีสอน และอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจน มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลาในการเข้าสอน เอาใจใส่และทุ่มเทต่อปัญหาในการ เรียนของนักศึกษา มีความยตุ ิธรรมในการจัดกิจกรรมและการให้คะแนน และมีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด แต่ยังอยู่ ในระดับมาก คือ มเี ทคนิค วิธกี ารสอนเพ่ือการถ่ายทอดความรู้ 2 .ด้านการพัฒนาคณุ ลักษณะของนักศึกษา 2 นกั ศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนใน รายวชิ า GEN0307 Miracle of Thought เรอื่ ง ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เมื่อพจิ ารณาราย Vedic Mathematics ข้อพบว่า ทกุ ข้อมรี ะดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากเช่นกัน เรียงลาดับได้ดังน้ี ดา้ นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรบั ผดิ ชอบ ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข และดา้ นทักษะทางปญั ญา ด้านความรู้ และมีระดับความพงึ พอใจ น้อยท่ีสดุ แตอ่ ยใู่ นระดบั มากคอื ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม 2 .3 ด้านหลักสูตรเน้ือหารายวิชา นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา GEN 0307 Miracle of Thought เรื่อง ภาพรวมอยู่ในร Vedic Mathematicsะดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อ

พบว่า ทุกข้อมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากเช่นกัน เรียงลาดบั ได้ดังนี้ เนอื้ หาวิชามีกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ที่ สรา้ งสรรค์ ความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา การจัดเนอ้ื หาวิชาตรงตามหลักสูตรเป็นไปตามความตอ้ งการ ของผู้เรียน และสามารถประยุกใช้และได้รับความรู้ทาง เทคโนโลยีวิทยาการท่ีทันสมัย และมีระดับความพึงพอใจ น้อยทสี่ ุด แต่ยงั อยใู่ นระดับมาก คอื สามารถบรู ณาการกับศาสตร์ตา่ ง ๆ ได้ 2.4 ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนการสอน นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เรื่อง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก Vedic Mathematicsเม่ือ พิจารณารายข้อพบว่า ทุกข้อมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเช่นกัน เรียงลาดับได้ดังนี้ มีการวัดผลก่อนและ หลังเรียนทุกหัวข้อที่สอน มีการกาหนดเกณฑ์การวัดผลประเมินผลที่ชัดเจน มีการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้อง สัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียน มีการวัดผลเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มด้วยวิธีที่หลากหลาย และมีระดับความพึง พอใจนอ้ ยท่สี ุด แต่อยใู่ นระดับมากคอื มชี อ่ งทางและกระบวนการตรวจสอบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 2. 5ด้านการกิจกรรมการเรียนการสอน นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เร่ือง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก Vedic Mathematicsเม่อื พิจารณาราย ข้อพบว่า ทุกข้อมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเช่นกัน เรียงลาดับได้ดังน้ี ฝึกนักศึกษาให้ทางานทั้งแบบเด่ียว และแบบกลุ่ม ให้นักศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์เชิงปฏิบัติ ฝึกให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์ ใช้สื่อ ประกอบการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย และมีระดับความพึงพอใจน้อยท่ีสุด แต่อยู่ในระดับมากคือ เปิดโอกาสให้ นกั ศึกษาซักถามและแลกเปลยี่ นเรียนรู้กบั อาจารยผ์ ู้สอน 2 .ด้านปัจจัยและสภาพแวดล้อมการเรยี นรู้ 6 นักศกึ ษามีความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรยี นการสอนใน รายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เร่อื ง ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณาราย Vedic Mathematics ข้อพบว่า ทุกข้อมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเช่นกัน เรียงลาดับได้ดังน้ี มีแหล่งเรียนรู้ ทันสมัย เหมาะสม เพียงพอ มีสถานที่จัดการเรียนการสอนเหมะสม มีส่ือ โสตทัศนูปกรณ์ วัสดุ อุปกรณ์ ความเหมาะสม มีระบบ สารสนเทศทันสมัย เพยี งพอ และมรี ะดบั ความพึงพอใจน้อยท่ีสุด แต่อยู่ในระดับมากคือ มชี ่องทางการบรกิ าร อานวย ความสะดวกต่อการศกึ ษาคน้ ควา้ 3. ผลการวิเคราะห์ความเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพ่ือปรับปรุงและพัฒนา ในการจัดการเรียนการสอน ผลจากการวิจัยเร่ืองความพึงพอใจต่อการจัดการเรียน การสอนในรายวิชา GEN0307 Miracle of Thought เรอ่ื ง ดังน้ี Vedic Mathematics 3.รายวิชาท่ีจัดการเรยี นการสอน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 1 3.เนอื้ หาหลักสูตรมีความทันสมยั 2 3.3 ความรสู้ ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ และสามารถบูรณาการกับวิชาอื่น ๆ ได้จริง 3.มกี ารจดั กจิ กรรม สว่ นใหญ่ 4เป็นกิจกรรมกลุม่ ใหญ่ ๆ เนอ่ื งจากมีระยะเวลาจากัด

3.ผสู้ อนมีประสบการณ์ สามารถถ่ายทอดกระบวนการคิดนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิจริงและ 5 ปรบั ใช้ได้ ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ัยในครัง้ ตอ่ ไป ศึกษาปจั จัยและทัศนคติและความคาดหวังท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของนักศกึ ษา ต่อการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี เพ่ือนาผลการวิจัยเป็นข้อมูลสาหรับการตัดสินของผู้บริหารในระดับ คณะ และมหาวทิ ยาลัยต่อไป บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธิการ) .2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ. กชกร เป้าสุวรรณ, ธนภทั ร ปจั ฉมิ และสุจติ รา ฉายปัญญา) .2550). ความคาดหวงั และความพงึ พอใจต่อการมาศกึ ษา ต่อที่มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดุสติ ศนู ย์สุโขทัยสถาบันวิจยั และพัฒนา :กรงุ เทพฯ . มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต. ไชยยศ เรืองสวุ รรณ) .2533(. เทคโนโลยีการศกึ ษา.โอเดียนสโตร์ :กรงุ เทพฯ .ทฤษฎีและการวิจยั : พิษณนุ ุ่นสมบรู ณ์และกติ ติพันธค์ งสวสั ดิ์เกยี รติ) .2556). ความพงึ พอใจของระบบการชาระค่าเล่าเรยี นของนักศึกษา ในระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลัยรามค าแหง วิทยาเขตหวั หมาก. วารสารการเงิน การลงทนุ การตลาด และ การบริหารธรุ กจิ,3(4), 175-192. มนตรี สังข์ทองและคณะ. )2556). ความพงึ พอใจของนักศึกษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สวุ รรณภมู ิท่ีมีต่อ การเรยี นการสอนปรับพืน้ ฐานวชิ าคณิตศาสตร์. Journal of the Association of Resesrchers Vol. 18 No. 3 September - December 2013. ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ) .2543(. เทคนิคการวิจยั ทางการศึกษาพมิ พ์ครัง้ ท่ี .3. กรงุ เทพฯ: สวุ ีริยาสาสน์ . วจิ ารณ์ พานิช) .2555). วถิ สี ร้างการเรยี นรู้เพื่อศษิ ยใ์ นศตวรรษที่21. กรงุ เทพฯ: มูลนิธิสดศรี.สฤษดิว์ งศ-์ สรุ างค์ โค้วตระกลู ) .2541). จิตวิทยาการศึกษา.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :กรงุ เทพฯ . สุรางค์ โคว้ ตระกูล. (2556). จติ วิทยาการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ .11. กรงุ เทพฯจุฬาลงกรณ์ :.มหาวิทยาลยั อรวรรณ ธนูศร.) 2561). ความพงึ พอใจของนสิ ิตตอ่ การจัดการเรยี นการสอนหลักสตู รการศกึ ษา บณั ฑิตสาขาวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ .