ชีววิทยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพชื 239 12.1.2 ไซโทไคนิน ครูให้นักเรียนศึกษาการทดลองที่ทำ�ให้ค้นพบไซโทไคนิน แหล่งสร้างไซโทไคนิน ผลของ ไซโทไคนิน และไซโทไคนินกับการนำ�ไปใช้ จากน้ันครูอาจกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้ นักเรียนดูรูป 12.6 ซึ่งเป็นรูปการตัดแต่งก่ิงเพ่ือควบคุมทรงพุ่มของต้นทุเรียน และรูป 12.7 ความ เข้มข้นของออกซินและไซโทไคนินที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเน้ือเยื่อพืช ถ้าต้องการชักนำ�ให้พืช เกดิ แคลลสั และรากความเขม้ ขน้ ของออกซนิ ตอ้ งสงู กวา่ ไซโทไคนนิ แตถ่ า้ ตอ้ งการชกั น�ำ ใหพ้ ชื เกดิ ยอด ความเขม้ ขน้ ของออกซินตอ้ งต่ำ�กวา่ ไซโทไคนนิ และถามคำ�ถามในหนงั สอื เรยี น ดังนี้ เพราะเหตใุ ดชาวสวนต้องตัดยอดแตง่ กงิ่ ทเุ รียนเพ่อื ควบคุมทรงพุ่ม เพอื่ ท�ำ ใหต้ น้ ทเุ รยี นแตกตาขา้ งออกมาใหม่ ทรงพมุ่ โปรง่ และท�ำ ใหผ้ ลทเุ รยี นไดร้ บั ธาตอุ าหาร และเจรญิ เติบโตไดอ้ ย่างเตม็ ที่ การตดั ยอดแต่งก่ิงมีผลต่อการท�ำ งานของออกซนิ และไซโทไคนินอยา่ งไร การตัดยอดแตง่ กงิ่ เปน็ การลดแหล่งสรา้ งออกซิน ทำ�ให้ตาขา้ งท่อี ยู่ใกล้ยอดสามารถเจริญได้ เนือ่ งจากสดั สว่ นของออกซนิ ตอ่ ไซโทไคนนิ ตำ่� ทำ�ให้ต้นพืชแตกกิ่งข้างออกเปน็ พุ่ม ถา้ ไม่ใช้วธิ กี ารตดั ยอดแต่งกิ่ง การทำ�ให้ทุเรียนแตกตาข้างสามารถท�ำ ไดอ้ ยา่ งไร การใหส้ ารสงั เคราะหท์ ่ีมสี มบัตคิ ลา้ ยไซโทไคนิน เช่น BA เพื่อชว่ ยเร่งการแตกตาขา้ ง จากรปู 12.7 นักเรียนจะสรปุ ไดว้ า่ อย่างไร ออกซินและไซโทไคนินสามารถชักนำ�ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงของเนอื้ เยอ่ื พืช ทั้งนขี้ นึ้ อยกู่ ับ สดั สว่ นของออกซินและไซโทไคนนิ ครูอาจอธบิ ายเพิ่มเตมิ ว่า ไซโทไคนนิ ในธรรมชาติ คือ ซีเอทนิ และสารสงั เคราะห์ที่มีสมบตั ิ คลา้ ยไซโทไคนนิ เช่น ไคเนทนิ มสี ตู รโครงสร้างทค่ี ล้ายกันในสว่ นของอะดนี ีนดงั รปู CH3 CH CH C HN CH2 CH HN CH2 C CH N N CH2OH N NO N CH ซีเอทิน CH ไคเนทิน NH N NH สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
240 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจริญเติบโตและการตอบสนองของพชื ชีววทิ ยา เล่ม 3 12.1.3 จบิ เบอเรลลิน ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาการทดลองทท่ี �ำ ใหค้ น้ พบจบิ เบอเรลลนิ แหลง่ สรา้ งจบิ เบอเรลลนิ ผลของ จิบเบอเรลลนิ และจบิ เบอเรลลนิ กบั การนำ�ไปใช้ ครูอาจใชร้ ปู 12.8 ในหนังสอื เรียน เพอื่ ให้สรุปไดว้ า่ สาร GA3 ช่วยยืดช่อผลองุ่นให้ยาว และขยายขนาดของผล และต้ังคำ�ถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ ของนักเรียนเพมิ่ เติม ดงั น้ี จบิ เบอเรลลนิ มผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื ด้านใด กระตนุ้ การงอกของเมลด็ กระต้นุ เซลล์ทลี่ �ำ ต้นพืชใหม้ กี ารยดื ตวั และแบ่งเซลลม์ ากขึน้ 12.1.4 เอทลิ ีน ครูอาจให้นักเรียนศึกษาการทดลองของ Dimitry Neljubov ดังรูป 12.9 ในหนังสือเรียน เรื่องการเจริญของตน้ กล้าถั่วลันเตาท่ีได้รบั แก๊สเอทลิ ีน และใชค้ ำ�ถามถามนักเรียน ดงั น้ี การทดลองของ Dimitry Neljubov สรุปได้วา่ อยา่ งไร เอทลิ นี ท�ำ ใหต้ น้ กลา้ ถวั่ ลนั เตาไมย่ ดื ตวั ล�ำ ตน้ สนั้ มกี ารเพมิ่ ความหนาของล�ำ ตน้ ท�ำ ใหต้ น้ อว้ น และมกี ารเจรญิ ของยอดในแนวนอน จากนน้ั ครเู พมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั แหลง่ สรา้ งของเอทลิ นี ในพชื โดยในเกอื บทกุ สว่ นของพชื สามารถ สร้างเอทลิ นี ได้ แตจ่ ะพบเอทลิ นี มากในเน้ือเย่อื พืชทีต่ อบสนองต่อภาวะเครยี ด ในพชื ทเ่ี ข้าสูก่ ารเสอื่ ม ตามอายุ รวมทัง้ ผลไม้สกุ ส�ำ หรบั ผลของเอทิลนี ท่มี ีตอ่ พืช เชน่ กระต้นุ การสกุ ของผลไม้ที่บ่มใหส้ กุ ได้ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การรว่ งของใบและผล เปน็ ต้น หลังจากนักเรียนได้ศึกษาเรื่องเอทิลีนกับการนำ�มาใช้ประโยชน์แล้ว จากน้ันให้ตอบคำ�ถาม ในหนังสอื เรียน ซ่งึ มแี นวคำ�ตอบดงั นี้ เอทลิ ีนสามารถนำ�ไปใชก้ ับเทคโนโลยหี ลังการเก็บเก่ยี วของผลไม้ประเภทบม่ สกุ ไดอ้ ย่างไร ชะลอการสุกของผลไม้ โดยลดการสร้างเอทิลีน เช่น การขนส่งโดยใช้ห้องเย็น เพื่อทำ�ให้ ผลไม้ไม่สุกและเกิดการเน่าเสียระหว่างการขนส่ง หรือเร่งผลไม้ให้สุกพร้อมกันจำ�นวนมาก เพื่อให้พร้อมทีจ่ ะจำ�หนา่ ยได้ โดยกระตุ้นการสร้างเอทิลีนหรือใชส้ ารท่มี ีสมบตั คิ ล้ายเอทลิ นี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช 241 จากความรู้เรื่องกระบวนการตอบสนองของพืชต่อฮอร์โมนพืชและผลของเอทิลีน สามารถ น�ำ ไปใช้เพื่อยดื อายุการปักแจกนั ของไมต้ ัดดอกได้อยา่ งไร ใชส้ ารทยี่ บั ยงั้ การสรา้ งหรอื การท�ำ งานของเอทลิ นี หรอื เกบ็ ไวใ้ นตคู้ วบคมุ อณุ หภมู ติ �ำ่ เพอ่ื ลด เมแทบอลิซึมของไม้ตัดดอก ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับการนำ�เอทิลีนไปใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรอื่น ๆ ได้อีก เช่น การใช้เอทิฟอนทาท่ีเปลือกต้นยางพารา เพ่ือกระตุ้นให้น้ำ�ยางจับตัวแข็งช้าลงจึงทำ�ให้มีปริมาณ นำ้�ยางต่อการกรดี แตล่ ะครั้งมากขึน้ ดงั นน้ั เกษตรกรสามารถลดจ�ำ นวนความถใ่ี นการกรดี ยางลง เช่น กรดี ยางวนั เวน้ สองวนั เปน็ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ยางพารา และตน้ ยางพารามอี ายใุ ชก้ รดี ยาง ไดย้ าวนานขนึ้ 12.1.5 กรดแอบไซซกิ ครูให้นักเรียนศึกษาการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ท่ีค้นพบกรดแอบไซซิก ซึ่งพบว่ากรด แอบไซซกิ มผี ลตอ่ การพกั ตวั ของตา และการรว่ งของผลฝา้ ย และครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั แหลง่ สรา้ ง กรดแอบไซซกิ ผลของกรดแอบไซซกิ และกรดแอบไซซกิ กบั การน�ำ มาใชป้ ระโยชนใ์ นหนงั สอื เรยี น จาก นัน้ ครูใช้คำ�ถามเพมิ่ เติมถามนกั เรยี น ดังนี้ กรดแอบไซซกิ มผี ลต่อพืชด้านใด ทำ�ให้เมลด็ และตา เกดิ การพกั ตวั กระตนุ้ ใหป้ ากใบปิดในภาวะที่พืชขาดน�ำ้ หลังจากท่ีนักเรียนได้ศึกษาฮอร์โมนพืชท้ัง 5 กลุ่ม แล้ว ครูอาจมีประเด็นอภิปรายเพิ่มเติม ดังน้ี การตอบสนองของพชื สว่ นใหญเ่ กดิ จากการท�ำ งานของฮอรโ์ มนพชื เพยี งกลมุ่ ใดกลมุ่ หนง่ึ เทา่ นั้นหรือไม่ การตอบสนองของพชื สว่ นใหญเ่ กดิ จากการท�ำ งานรว่ มกนั ของฮอรโ์ มนพชื มากกวา่ 1 กลมุ่ เชน่ ออกซนิ และไซโทไคนนิ กระตนุ้ การเจรญิ ของผล นอกจากนอี้ อกซนิ ไซโทไคนนิ และ จบิ เบอเรลลิน ชะลอการเสื่อมตามอายขุ องใบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
242 บทที่ 12 | การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพชื ชีววิทยา เล่ม 3 นอกจากฮอร์โมนพืชทงั้ 5 กล่มุ แลว้ นกั เรียนคดิ ว่านักวิทยาศาสตร์ยังค้นพบฮอร์โมนพชื กลุ่มอ่ืน ๆ อีกหรอื ไม่ พบฮอร์โมนพืชกลุม่ อื่น ๆ เช่น บราสซิโนสเตอรอยด์ สตรโิ กแลกโทน หลังจากศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เพ่ือตอบคำ�ถามตรวจ สอบความเข้าใจในหนงั สือเรยี น โดยมีแนวค�ำ ตอบดังนี้ ตรวจสอบความเขา้ ใจ จงใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องชนิดของฮอร์โมนพืชที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของสารควบคุม การเจริญเตบิ โตท่มี กี ารใชใ้ นทางการเกษตร หน้าท่ีของสารควบคุม จบิ เบอ กรด การเจริญเติบโต ออกซิน ไซโทไคนนิ เอทิลีน 1. ชกั น�ำ ใหเ้ กดิ ยอด เรลลิน แอบไซซกิ ในการเพาะเล้ยี งเนอื้ เย่ือพชื 2. เรง่ การเกดิ รากในกง่ิ ตอน 3. ทำ�ให้ผลไม้สกุ เร็วข้นึ 4. ท�ำ ใหต้ น้ ไมเ้ ตย้ี แคระ (การยบั ยง้ั ) 5. ใชก้ ำ�จัดวัชพชื 6. กระตุ้นการไหลของน�้ำ ยางพารา 7. ยืดอายกุ ารปกั แจกนั ของ ไมต้ ดั ดอก เช่น กหุ ลาบ คาร์เนชนั (การยับย้งั ) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพืช 243 หนา้ ท่ีของสารควบคุม จบิ เบอ กรด การเจริญเตบิ โต ออกซนิ ไซโทไคนนิ เอทิลีน 8. กระต้นุ ให้ปากใบปิด เพอื่ ลดการ เรลลิน แอบไซซกิ คายน�้ำ เมือ่ พชื เรมิ่ ขาดแคลนนำ้� 9. กระตนุ้ การเจริญเติบโตของ เอ็มบรโิ อ 10. กระตุ้นการงอกของเมลด็ หมายเหตุ การยบั ยั้ง หมายถงึ ยบั ย้งั การท�ำ งานของฮอรโ์ มนพืชชนิดนัน้ ๆ จากความรเู้ กี่ยวกบั การน�ำ ฮอรโ์ มนพชื มาใช้ประโยชน์ ทีน่ ักเรียนไดเ้ รียนมาข้างตน้ แลว้ พบ ว่าในปัจจุบันมนุษย์สามารถสังเคราะห์สารเคมีที่มีสมบัติคล้ายฮอร์โมนพืชได้ด้วย ซ่ึงนักเรียนจะได้ ศึกษาจากการทำ�กจิ กรรม 12.1 กิจกรรม 12.1 การใชป้ ระโยชนจ์ ากสารสังเคราะหท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับการทำ�งานของฮอรโ์ มนพชื จดุ ประสงค์ สืบค้นข้อมูลและนำ�เสนอเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากสารสังเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการ ทำ�งานของฮอร์โมนพืชเพอ่ื ใช้ในการเกษตร แนวการจดั กิจกรรม ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ และสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั สารสงั เคราะหท์ ม่ี สี มบตั คิ ลา้ ยฮอรโ์ มนพชื ทมี่ ีการน�ำ มาใช้ในระยะต่าง ๆ ของพืช ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี ชอื่ ทางการค้า ช่อื กลมุ่ ฮอรโ์ มนพืชทีเ่ ก่ยี วข้อง วิธกี ารน�ำ ไปใช้ และระยะเวลาการเจริญเตบิ โตของพืชทีน่ ำ�ไปใช้ ผลของสารสังเคราะหท์ มี่ ีตอ่ พชื พร้อมทั้งนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบตา่ ง ๆ ทน่ี ่าสนใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
244 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพชื ชวี วิทยา เลม่ 3 ตัวอย่างแนวค�ำ ตอบ ช่ือทางการคา้ ช่ือกลมุ่ ฮอร์โมนพืช วิธีการนำ�ไปใช้ และระยะเวลา ผลของสารสงั เคราะห์ ที่มตี ่อพชื ที่เกย่ี วข้อง การเจรญิ เตบิ โตของพชื Ethephon เอทลิ ีน ใช้อัตรา 6 mL/นำ�้ 20 L ใชก้ ระตนุ้ การออกดอก พ่น 2 ครั้ง บรเิ วณยอดสบั ปะรด ของสบั ปะรด โดยพน่ ครั้งแรกเมื่อต้นสบั ปะรด มอี ายปุ ระมาณ 9-12 เดือน หรอื ตน้ สับปะรดมนี ้ำ�หนกั 2.5-3.0 kg และพน่ ครั้งที่ 2 หลังจากพ่นครั้ง แรก 4-7 วัน โดยพ่นในชว่ งเยน็ หรือค�ำ่ Paclobutrazol ยบั ยั้งจิบเบอเรลลิน ความเขม้ ข้น 200 ppm ฉดี พน่ ตน้ เตีย้ แคระ วนั เร่มิ ดาวเรืองพนั ธอ์ุ เมรกิ นั ออกดอกแรกเร็วท่ีสุด จำ�นวนดอกและเมล็ด มากทีส่ ุด จ�ำ นวนใบต่ำ� ที่สดุ เม่ือเทียบกบั ความเขม้ ขน้ 300 ppm เหมาะสำ�หรับทำ�เป็น ไม้กระถาง หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจากการสืบค้นข้อมูลในประเด็น ตา่ ง ๆ ข้างตน้ และสรปุ ผลการสบื ค้นขอ้ มูล ซงึ่ ควรได้ข้อสรุปวา่ มนษุ ยม์ กี ารใช้สารสังเคราะหท์ ่ี มีสมบัติคล้ายฮอร์โมนพืชและนำ�ความรู้มาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร โดยฮอร์โมนพืชมี ผลต่อการตอบสนองของพชื ในด้านตา่ ง ๆ แตกต่างกันไป ตามกลมุ่ ฮอรโ์ มนพืช ชนิด และระยะ เวลาการเจริญเตบิ โตของพืช เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม การเจริญเติบโตของพืชชนิดเดียวกันในแต่ละระยะต้องการสารสังเคราะห์ท่ีมีสมบัติคล้าย ฮอรโ์ มนพืชทแี่ ตกต่างกันอย่างไร ขน้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของพชื โดยทวั่ ไปชว่ งระยะการเจรญิ เตบิ โตเพอื่ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ราก พชื ตอ้ งการ สารสงั เคราะหท์ มี่ สี มบตั คิ ลา้ ยออกซนิ สว่ นชว่ งระยะการเจรญิ เตบิ โตเพอ่ื กระตนุ้ ใหพ้ ชื สรา้ ง กิ่ง ใบ พืชตอ้ งการสารสงั เคราะหท์ ม่ี ีสมบัตคิ ล้ายจบิ เบอเรลลิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพืช 245 แนวการวดั และประเมินผล ด้านความรู้ - กระบวนการตอบสนองของพืชต่อฮอร์โมนพืช บทบาทและหน้าทข่ี องออกซิน ไซโทไคนนิ จบิ เบอเรลลิน เอทิลนี และกรดแอบไซซิก และการน�ำ ไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จาก การสบื ค้นขอ้ มูล และการอภิปราย ดา้ นทกั ษะ - การลงความเห็นจากข้อมูล การจัดกระทำ�และส่ือความหมายข้อมูล จากการสืบค้นข้อมูล และการอภปิ ราย - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ความร่วมมอื การท�ำ งานเป็นทมี และภาวะผู้นำ� จากการสืบคน้ ข้อมลู และการนำ�เสนอ ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - การใชว้ จิ ารณญาณ ความซอื่ สตั ย์ การยอมรบั ความเหน็ ตา่ ง ความใจกวา้ ง ความมงุ่ มน่ั อดทน จากการสังเกตพฤตกิ รรม และการอภปิ รายรว่ มกัน 12.2 ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การงอกของเมลด็ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ทดลอง และอธบิ ายเกย่ี วกบั ปจั จยั ตา่ ง ๆ ทม่ี ผี ลตอ่ การงอกของเมลด็ สภาพพกั ตวั ของเมลด็ 2. อธบิ ายแนวทางในการท�ำ ลายสภาพพกั ตวั ของเมล็ด แนวการจัดการเรยี นรู้ ครทู บทวนความรูข้ องนกั เรียนเรื่องปจั จยั ภายนอกทมี่ ผี ลต่อการงอกของเมลด็ พชื ทีน่ กั เรยี นได้ เรยี นมาแลว้ และพบวา่ เมลด็ พชื สว่ นใหญท่ ม่ี สี ภาพเมลด็ สมบรู ณแ์ ละไดร้ บั ปจั จยั ภายนอก เชน่ น�้ำ หรอื ความช้ืน แก๊สออกซเิ จน อณุ หภมู ิ แสง แตเ่ มล็ดก็ยังไมส่ ามารถงอกได้ หรืออาจงอกไดช้ ้า เพราะเมล็ด พชื อย่ใู นสภาพพกั ตวั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
246 บทที่ 12 | การควบคุมการเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพืช ชวี วทิ ยา เลม่ 3 ครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 12.10 ในหนงั สอื เรยี น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดเ้ ขา้ ใจวา่ เมลด็ พชื บางชนดิ มสี ภาพพกั ตวั สน้ั มาก เมลด็ พชื บางชนดิ สามารถงอกไดข้ ณะทอ่ี ยใู่ นผล หรอื บางชนดิ ไมส่ ามารถงอกได้ หรอื งอกไดช้ ้า เพอื่ นำ�เข้าสกู่ ิจกรรม 12.2 การทำ�ลายสภาพพกั ตวั ของเมล็ดมะเขอื เทศ กจิ กรรม 12.2 การทำ�ลายสภาพพักตวั ของเมลด็ มะเขือเทศ จุดประสงค์ 1. อธิบายเก่ียวกบั ปัจจัยตา่ ง ๆ ทมี่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด และสภาพพกั ตวั ของเมลด็ 2. อธบิ ายแนวทางในการทำ�ลายสภาพพกั ตวั ของเมลด็ เวลาทีใ่ ช้ (โดยประมาณ) 1 ชั่วโมง วสั ดุและอุปกรณ์ ปรมิ าณต่อกลุ่ม รายการ 1 ผล 1 ม้วนต่อห้อง 1. ผลมะเขอื เทศสกุ 2. ทิชชู 2 จาน 3. จานเพาะเชอ้ื 1 อัน 4. กระชอน 1 อนั 5. ช้อน ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับครู 1. ควรเลือกผลมะเขือเทศท่แี กเ่ ตม็ ที่ และสุก จะทำ�ใหเ้ ห็นผลการทดลองชดั เจน 2. ครูควรมอบหมายให้นักเรียนทำ�กิจกรรมนี้นอกเวลา และนำ�ผลการทดลองมาเสนอ เพื่ออภปิ รายรว่ มกนั ในช่วั โมงเรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพืช 247 ตัวอยา่ งผลการทดลอง จำ�นวนเมลด็ ทง่ี อก ลักษณะของเมล็ดท่สี งั เกตได้ ลักษณะของเมล็ดทีบ่ ันทึกภาพได้ ทัง้ หมด (เมล็ด) ไม่ลา้ งเย่ือหมุ้ เมลด็ ลา้ งเยอื่ หุ้มเมลด็ ไมล่ ้างเยือ่ ห้มุ เมล็ด ล้างเยื่อหุม้ เมล็ด วนั ไม่ลา้ ง ล้าง เยื่อหมุ้ เยือ่ หุ้ม เมล็ด เมล็ด 10 0 - - 2 0 10 - ความยาวราก 3-6 mm มขี นราก แตย่ ังไม่ แทงยอดแรกเกดิ 3 0 18 - ความยาวราก 5-10 mm มขี นราก มี hypocotyl 14 เมล็ด ยังไมม่ ใี บเลีย้ ง 4 2 20 ความยาวราก ความยาวราก 3-5 mm 10-15 mm มีขนราก มี hypocotyl ครบ ทุกเมลด็ มีใบเลย้ี งโผลห่ ลดุ จากเมลด็ 3 ต้น 5 4 20 ความยาวราก ความยาวราก 5-10 mm 10-20 mm มขี นราก มใี บเลย้ี ง 15 ตน้ มี hypocotyl 2 ต้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
248 บทที่ 12 | การควบคุมการเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพชื ชีววิทยา เล่ม 3 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง จากการน�ำ เสนอและอภปิ ราย นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ เมลด็ มะเขอื เทศทลี่ า้ งน�้ำ จะมรี ากงอก ออกมาก่อนเมล็ดมะเขือเทศที่ไม่ล้างนำ้� เน่ืองจากเมล็ดมะเขือเทศท่ีล้างนำ้�ได้ล้างเมือกออกไป จากเมลด็ เปน็ การท�ำ ลายสภาพพกั ตวั ของเมลด็ มะเขือเทศแล้ว เฉลยค�ำ ถามท้ายกิจกรรม การงอกของเมล็ดมะเขือเทศท้งั สองกลมุ่ แตกต่างกนั หรือไมอ่ ยา่ งไร แตกตา่ งกนั เมลด็ มะเขอื เทศทล่ี า้ งเยอื่ หมุ้ เมลด็ จะงอกรากออกมากอ่ นเมลด็ มะเขอื เทศทไ่ี ม่ ล้างเยือ่ หุม้ เมลด็ เพราะเหตใุ ดการลา้ งเมลด็ จงึ ท�ำ ใหก้ ารงอกของเมลด็ มะเขอื เทศทง้ั สองกลมุ่ แตกตา่ งกนั เนอื่ งจากเมอื กทเ่ี มลด็ มผี ลยบั ยงั้ การงอกของเมลด็ ท�ำ ใหเ้ มลด็ มะเขอื เทศอยใู่ นสภาพพกั ตวั การลา้ งเยอ่ื หมุ้ เมลด็ ท�ำ ใหเ้ มอื กของเมลด็ หลดุ ออกไป เมลด็ กลมุ่ ทล่ี า้ งเยอ่ื หมุ้ เมลด็ กอ่ นเพาะ จึงงอกไดก้ ่อน 12.2.1 สาเหตแุ ละวธิ ีการทำ�ลายสภาพพกั ตัวของเมล็ด หลังจากนักเรียนทำ�กิจกรรมการทำ�ลายสภาพพักตัวของเมล็ดมะเขือเทศเสร็จแล้ว ครูให้ นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายสาเหตแุ ละวธิ กี ารท�ำ ลายสภาพพกั ตวั ของเมลด็ โดยใชค้ �ำ ถามน�ำ ดงั นี้ นอกจาก สารเคมีบางชนิดท่ีมีผลยับยั้งการงอกของเมล็ดทำ�ให้เมล็ดอยู่ในสภาพพักตัวแล้ว ยังมีสาเหตุ อนื่ ๆ อีกหรือไม่ ท่ีทำ�ให้เมลด็ พกั ตวั และมีวิธีการท�ำ ลายสภาพพักตวั ของเมล็ดได้อยา่ งไร ซึ่งแนว คำ�ตอบของการอภิปรายอาจเป็นดงั นี้ สาเหตกุ ารพกั ตวั ของเมลด็ เช่น เปลอื กเมล็ดมคี วามหนาและแข็ง น�้ำ ไม่สามารถเขา้ สู่ภายใน เมล็ดได้ เปลือกเมล็ดมีสารเคลือบจำ�พวกไข คิวทิน ลิกนิน ซูเบอริน สะสมอยู่บนผนังเซลล์ของ เปลอื กเมลด็ ท�ำ ใหน้ �ำ้ ไมส่ ามารถซมึ ผา่ นเขา้ ไปในเมลด็ ได้ เปลอื กเมลด็ ไมย่ อมใหแ้ กส๊ ออกซเิ จนแพรผ่ า่ น เปลอื กเมล็ดมสี ารเคมีบางชนิดท่มี ผี ลยบั ยง้ั การงอกของเมลด็ เอ็มบริโอยงั เจรญิ ไม่เตม็ ท่ี วิธีการทำ�ลายสภาพพักตัวของเมล็ด เช่น การย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในดิน การเผา การ แช่เมลด็ ในนำ�้ ร้อนหรือสารละลายกรด การปาด การเฉือน การกระเทาะเปลอื ก การชะล้างสารเคลือบ ที่เปลอื กเมลด็ ออก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพชื 249 จากน้ันใหน้ กั เรียนตอบคำ�ถามในหนงั สอื เรยี น ซ่ึงมแี นวค�ำ ตอบ ดังนี้ ความรู้เก่ียวกับสาเหตุสภาพการพักตัวของเมล็ดสามารถนำ�ไปใช้ในการเพาะเมล็ดให้งอก เรว็ ขึ้นได้อยา่ งไร การเพาะเมล็ดให้งอกเร็วข้ึนต้องทำ�ลายสภาพพักตัวของเมล็ด อาจใช้วิธี การแช่นำ้� การแช่ใน สารละลายกรด การปาด การเฉอื น การกระเทาะเปลอื ก เมลด็ ทม่ี สี ภาพพกั ตวั นานกบั เมลด็ ทไ่ี มม่ สี ภาพพกั ตวั จะมขี อ้ ไดเ้ ปรยี บหรอื ขอ้ เสยี เปรยี บในการ ขยายพันธ์อุ ย่างไร เมล็ดที่มีสภาพพักตัวนาน เอ็มบริโอจะพัฒนาและเจริญเต็มท่ีเมื่องอกในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสม ตน้ พชื ทง่ี อกออกมาจงึ มโี อกาสอยรู่ อดสงู ในขณะทเ่ี มลด็ พชื ทไ่ี มม่ สี ภาพพกั ตวั จะงอก ตั้งแต่อยู่ในผล ซ่ึงสภาพแวดล้อมในการเจริญเติบโตอาจยังไม่เหมาะสม โอกาสในการอยู่รอด จงึ ต�ำ่ กวา่ เมลด็ พชื ทม่ี สี ภาพพกั ตวั นาน แตเ่ มลด็ พชื ทไ่ี มม่ สี ภาพพกั ตวั อาจไดเ้ ปรยี บโดยงอกเรว็ และเจริญเติบโตเร็วทำ�ให้แพร่พันธุ์ได้เร็ว ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม การมีเมล็ดจำ�นวนมาก จะช่วยเพ่ิมโอกาสในการอยู่รอดให้สูงขึ้น เน่ืองจากถ้าเมล็ดจำ�นวนมากงอกแล้วตายไปก็ยังมี เมล็ดเหลืออกี จ�ำ นวนหลายเมล็ดให้อย่รู อดได้ จากน้นั ครอู าจใชค้ ำ�ถามถามนักเรยี นเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี นอกจากเมือกท่เี มลด็ มผี ลยับย้ังการงอกของเมลด็ แลว้ ปจั จยั ภายนอกอ่ืน ๆ ทม่ี ีผลตอ่ การ งอกของเมล็ดมีอะไรบ้าง น�้ำ หรือความช้ืน แก๊สออกซิเจน อณุ หภูมิ และแสง ให้นักเรียนออกแบบการทดลองเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกอ่ืน ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด โดยเลอื กเพียง 1 ปจั จัย เชน่ ปัจจยั เร่อื งนำ้�หรอื ความชน้ื แบง่ เมลด็ พืชออกเป็น 2 กลมุ่ กลุ่มที่ 1 น�ำ เมลด็ พืชแช่น�ำ้ กอ่ นน�ำ ไปเพาะ และกลมุ่ ท่ี 2 น�ำ เมลด็ พชื ไปเพาะโดยไมแ่ ช่น�ำ้ จากน้ันให้นักเรียนศึกษารูป 12.11 การทดลองปัจจัยภายนอกท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ดพืช ชนดิ หนึ่ง และตาราง 12.1 ผลการทดลองปจั จัยภายนอกที่มผี ลตอ่ การงอกของเมล็ดพืชชนิดหนึ่ง ซง่ึ จากการทดลองสามารถสรุปได้วา่ นำ้� อณุ หภมู ิ และอากาศ มีผลตอ่ การงอกของเมล็ด ถ้าขาดปจั จยั ใด ปจั จยั หนงึ่ หรอื ไมเ่ หมาะสม เมลด็ กจ็ ะไมง่ อก จากนน้ั ครถู ามค�ำ ถามทม่ี ใี นหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบ ดังนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
250 บทที่ 12 | การควบคุมการเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพชื ชวี วทิ ยา เลม่ 3 หลอดทดลองใดเป็นชดุ ควบคุม หลอดทดลอง ก. ตวั แปรตน้ ของแตล่ ะการทดลองน้ีคืออะไร ตวั แปรตน้ ของหลอดทดลอง ข. คอื น�้ำ ตวั แปรตน้ ของหลอดทดลอง ค. คอื อณุ หภมู ิ ตัวแปรตน้ ของหลอดทดลอง ง. คือ อากาศ ปัจจัยที่มผี ลตอ่ การงอกของเมล็ดพชื ชนิดน้คี อื อะไร น�้ำ อณุ หภมู ทิ ่ีเหมาะสม และอากาศ สรุปผลการทดลองนีไ้ ดอ้ ย่างไร นำ้� อุณหภูมิ และอากาศ มีผลต่อการงอกของเมล็ด ถ้าขาดปัจจัยใดปัจจัยหน่ึงหรือไม่ เหมาะสม เมลด็ ก็จะไมง่ อก 12.2.2 การตรวจสอบคุณภาพของเมลด็ พนั ธุ์ ครอู าจใชค้ �ำ ถามเพอ่ื กระตนุ้ ความสนใจนกั เรยี นวา่ เมอ่ื เกษตรกรไปซอ้ื เมลด็ พนั ธเุ์ พอ่ื ปลกู จะมน่ั ใจไดอ้ ยา่ งไรวา่ เมลด็ พนั ธจ์ุ ะงอก และเพราะเหตใุ ดจงึ ตอ้ งตรวจสอบคณุ ภาพเมลด็ พนั ธกุ์ อ่ น การน�ำ ไปปลกู ซง่ึ แนวค�ำ ตอบอาจเปน็ วา่ เพอื่ ใหเ้ กษตรกรมนั่ ใจวา่ เมลด็ พนั ธทุ์ นี่ �ำ ไปปลกู สามารถงอก ได้ มีความแข็งแรง ทำ�ให้มีโอกาสประสบผลสำ�เร็จในการปลูกพืชชนิดนั้น ซึ่งการตรวจสอบคุณภาพ ของเมล็ดพนั ธ์ุ อาจใช้ดชั นีการงอกของเมล็ดพันธ์ุ การวัดดัชนีการงอกของเมลด็ พนั ธ์ุ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาการทดลองการงอกของเมลด็ พนั ธถุ์ ว่ั เหลอื งในตาราง 12.2 ผลการศกึ ษา การงอกของเมลด็ พนั ธถุ์ ่ัวเหลอื งท่ไี ด้จากแหลง่ ตา่ งกัน 3 แหล่ง ซึ่งสรุปว่าเมลด็ พนั ธถุ์ ว่ั เหลอื งที่มีดัชนี การงอกของเมล็ดพันธุ์มากไปน้อย คือ จากแหล่งท่ี 3 แหล่งที่ 2 และแหล่งท่ี 1 ตามลำ�ดับ แล้วตอบ ค�ำ ถามในหนังสอื เรียน ซ่งึ มแี นวค�ำ ตอบดังนี้ เมอื่ เพาะเมลด็ พันธ์ุครบ 7 วนั เมล็ดพนั ธ์ุแตล่ ะแหล่งมีคา่ ดชั นกี ารงอกเป็นเทา่ ใด แหล่งท่ี 1 = 14.42 แหล่งท่ี 2 = 24.33 แหล่งที่ 3 = 29.43 จากการคำ�นวณโดยใชส้ ูตรดชั นกี ารงอกของเมล็ดพนั ธุ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 3 บทที่ 12 | การควบคมุ การเจริญเติบโตและการตอบสนองของพชื 251 สตู ร ดชั นกี ารงอกของเมล็ดพนั ธ์ุ = ผลบวกของ จำ�นวนต้นกลา้ ท่งี อกในแต่ละวนั จ�ำ นวนวันหลังจากเพาะเมล็ด ดชั นกี ารงอกของเมลด็ พนั ธ์แุ หลง่ ที่ 1 = 25/4 + 20/5 + 25/6 = 14.42 ดัชนีการงอกของเมล็ดพนั ธ์แุ หล่งท่ี 2 = 40/3 + 20/4 + 30/5 = 24.33 ดัชนกี ารงอกของเมล็ดพนั ธุ์แหลง่ ท่ี 3 = 15/2 + 30/3 + 40/4 + 8/5 + 2/6 = 29.43 เกษตรกรไม่ควรเลอื กเมลด็ พนั ธ์จุ ากแหลง่ ใดมาเพาะปลกู เพราะเหตใุ ด แหล่งท่ี 1 เพราะมีค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ต่ำ�ท่ีสุด แสดงว่าเมล็ดพันธุ์มีความแข็งแรง ต�ำ่ กวา่ แหล่งอนื่ ๆ จงึ งอกได้นอ้ ยและช้าท่ีสุด การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ เป็นการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์วิธีหนึ่งที่ช่วยให้ ทราบวา่ เมล็ดพันธุ์ท่ีต้องการนำ�ไปปลูกมีความแขง็ แรงหรอื ไม่ แนวการวดั และประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ - เร่ืองจากปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และแนวทางใน การแก้สภาพพักตัวของเมลด็ จากการสบื คน้ ข้อมลู การอภิปราย และการทำ�กจิ กรรม ดา้ นทกั ษะ - การสังเกต การลงความเหน็ จากขอ้ มูล การจดั กระท�ำ และสื่อความหมายข้อมลู การทดลอง การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุปจากการสืบค้นข้อมูล การอภิปรายและการทำ� กจิ กรรม - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการสบื คน้ ขอ้ มลู การน�ำ เสนอ และการ ท�ำ กิจกรรม ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - การใช้วิจารณญาณ ความรอบคอบ ความเช่ือม่ันต่อหลักฐานเชิงประจักษ์ ความซื่อสัตย์ วัตถุวิสัย การยอมรับความเห็นต่าง ความใจกว้าง ความมุ่งม่ันอดทน จากการสังเกต พฤติกรรมในการท�ำ กิจกรรมและการอภิปรายร่วมกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
252 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพืช ชีววทิ ยา เล่ม 3 12.3 การตอบสนองของพืชในลกั ษณะการเคล่ือนไหว จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล ทดลองและอธิบาย เกี่ยวกับส่ิงเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโต และ การตอบสนองของพชื แนวการจดั การเรียนรู้ ครอู าจใชร้ ปู 12.12 ตน้ คุณนายต่นื สายเจริญเขา้ หาแสง และรูป 12.14 การบานและการหบุ ของดอกบวั สายสีขาว แล้วให้นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ดังน้ี ปัจจัยที่ทำ�ให้ต้นคุณนายตื่นสายเจริญเข้าหาแสง และการบานและการหุบของดอกบัว สายสีขาวดงั รปู คืออะไร การตอบสนองของตน้ คุณนายตืน่ สายมีทศิ ทางสัมพนั ธ์กับทศิ ทางของสง่ิ เรา้ ทม่ี ากระตุน้ อยา่ งไร การตอบสนองของดอกบวั สายสขี าวตอ่ สง่ิ เรา้ ทม่ี ากระตนุ้ แตกตา่ งจากการตอบสนองของ ต้นคุณนายต่ืนสายอยา่ งไร หลงั จากนกั เรยี นอภปิ รายแลว้ ควรไดข้ อ้ สรปุ วา่ แสงเปน็ ปจั จยั ทที่ �ำ ใหต้ น้ คณุ นายตน่ื สายตอบ สนองที่มีทิศทางสัมพันธ์กับแสง ทำ�ให้ต้นคุณนายต่ืนสายจะเบนเข้าหาแสง สำ�หรับการบานและ การหบุ ของดอกบวั สายสขี าวเปน็ การตอบสนองตอ่ แสงมที ศิ ทางทไ่ี มส่ มั พนั ธก์ บั สง่ิ เรา้ ทมี่ ากระตนุ้ คอื ไมเ่ บนเข้าหาหรือออกจากแสง 12.3.1 ทรอพซิ มึ หลังจากนักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับฮอร์โมนพืชและการงอกของเมล็ดและการเจริญเป็น ตน้ กลา้ แลว้ ครอู าจถามนกั เรยี นวา่ ตน้ กลา้ ทง่ี อกออกมาจากเมลด็ แลว้ จะตอบสนองตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ภายนอกอยา่ งไรบา้ ง ซง่ึ ควรมแี นวค�ำ ตอบวา่ มกี ารตอบสนองตอ่ แสง แรงโนม้ ถว่ งของโลก จากนนั้ ให้ นกั เรียนทำ�กจิ กรรมเสนอแนะ การเบนเนื่องจากแสง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 3 บทที่ 12 | การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพืช 253 กจิ กรรมเสนอแนะ : การเบนเนอ่ื งจากแสง จดุ ประสงค์ 1. ทดลอง และเปรียบเทยี บการตอบสนองตอ่ แสงของปลายโคลอี อพไทลข์ องพชื 2. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรปุ การเบนเข้าหาแสงของโคลอี อพไทล์ของพืช เวลาท่ใี ช้ (โดยประมาณ) 1 ชว่ั โมง วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ ปรมิ าณตอ่ กลุ่ม รายการ 4 ต้น 4 กระถาง 1. ขา้ วโพดที่ปลูกในทมี่ ืด อายปุ ระมาณ 3-4 วนั 1 กล่อง 2. กระถาง 1 ขวดต่อหอ้ ง 3. กลอ่ งกระดาษทึบ ที่เปิดให้แสงเขา้ ดา้ นเดียว 1 ขวดตอ่ หอ้ ง 4. วาสลีนหรือลาโนลนิ 5. วาสลนี หรอื ลาโนลนิ ผสมสารสงั เคราะหท์ ม่ี สี ว่ นผสม 10 mL 1 ถุงต่อหอ้ ง ของออกซิน เช่น IAA หรอื NAA 1 กลอ่ งต่อห้อง 6. เอทลิ แอลกอฮอล์ 95% 7. วัสดุปลูก เชน่ ทราย ดนิ 1 ใบ 8. อะลมู ิเนียมฟอยล์ 9. ใบมีดโกน การเตรียมล่วงหนา้ 1. ครูวางแผนให้นักเรียนเตรียมเพาะเมล็ดข้าวโพดในท่ีมืด ประมาณ 3-4 วัน และเลือกต้น ขา้ วโพดทมี่ โี คลอี อพไทลส์ งู ประมาณ 3 cm และมลี กั ษณะตงั้ ตรง มาใชส้ �ำ หรบั ท�ำ การทดลอง 2. การเตรียมวาสลนี หรอื ลาโนลนิ ผสมสารสงั เคราะหท์ ่ีมีสว่ นผสมของออกซนิ เช่น IAA หรือ NAA สามารถเตรียมได้โดยชั่งสารสังเคราะห์ท่ีมีส่วนผสมของออกซิน 0.1 g และค่อย ๆ หยดเอทลิ แอลกอฮอล์ 95% เพอ่ื ละลายสารสังเคราะห์ทม่ี ีส่วนผสมของออกซินจนละลาย หมด จากนน้ั นำ�ไปผสมกบั วาสลนี หรือลาโนลินปริมาณ 100 g สำ�หรับใชท้ �ำ การทดลองทัง้ ห้อง ในกรณที ่ใี ช้ไม่หมดสามารถเกบ็ รกั ษาไวใ้ นตู้เยน็ ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
254 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพชื ชีววทิ ยา เล่ม 3 3. ครคู วรใหน้ กั เรยี นท�ำ การทดลองมาลว่ งหนา้ และน�ำ ผลการทดลองมาอภปิ รายรว่ มกนั ในชน้ั เรียน หรืออาจนำ�ต้นข้าวโพดที่เตรยี มไว้มาทดลองกอ่ นการเรยี นประมาณ 1-2 ชัว่ โมง เพอ่ื ใหน้ ักเรียนสังเกตผลการทดลองรว่ มกันในห้องเรยี น ต้นท่ี การทดลอง ลักษณะโคลอี อพไทลข์ องต้นขา้ วโพด 1 ตน้ ขา้ วโพดปกติ เบนเขา้ หาแสง ไม่เบนเขา้ หาแสง 2 ตัดปลายโคลอี อพไทล์ ออกประมาณ เบนเขา้ หาแสง 3 mm ทาวาลนิี หรือลาโนลินทรี่ อยตัด ไมเ่ บนเข้าหาแสง 3 ตดั ปลายโคลอี อพไทล์ ออกประมาณ 3 mm ทาวาสลีนหรือลาโนลนิ ผสม สารสังเคราะหท์ ีม่ ีสว่ นผสมของออกซิน ความเขม้ ข้น 0.1% 4 ใชอ้ ะลูมเิ นียมฟอยล์ห้มุ ส่วนปลาย โคลีออพไทล์ สรุปและอภปิ รายผลการทดลอง ตน้ กลา้ ขา้ วโพดทมี่ สี ว่ นปลายโคลอี อพไทลแ์ ละไดร้ บั แสง สามารถโคง้ เขา้ หาแสงได้ เนอ่ื งจาก บริเวณส่วนปลายโคลีออพไทลจ์ ะสร้างออกซนิ และถกู ลำ�เลียงไปยังด้านที่ได้รับแสงนอ้ ย ท�ำ ให้ เซลล์บริเวณนั้นมีปริมาณออกซินมากซ่ึงจะไปกระตุ้นให้เซลล์ขยายตัวตามยาวมากกว่าด้านท่ี ได้รับแสง ส่วนต้นกล้าท่ีไม่มีส่วนปลายโคลีออพไทล์และได้รับแสง แต่ได้รับสารสังเคราะห์ที่มี สมบัติของออกซินก็มีการตอบสนองต่อแสงเช่นเดียวกัน สำ�หรับต้นกล้าท่ีมีปลายโคลีออพไทล์ แต่ไม่ได้รับแสง การกระจายของออกซินจะสมำ่�เสมอทุกด้าน ทำ�ให้เซลล์ขยายตัวตามยาวเท่า กนั ทกุ ดา้ น ปลายโคลอี อพไทลจ์ งึ ตงั้ ตรงแสดงวา่ ออกซนิ ตอบสนองตอ่ แสงและท�ำ ใหเ้ กดิ การเบน เข้าหาแสงของโคลีออพไทล์ เฉลยค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม เพราะเหตุใดจงึ ต้องเพาะเมล็ดขา้ วโพดในที่มืด เนื่องจากแสงมผี ลต่อการตอบสนองของโคลอี อพไทล์ ทำ�ใหผ้ ลการทดลองคลาดเคล่ือนได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพชื 255 ลกั ษณะของโคลอี อพไทล์ของตน้ ขา้ วโพดทง้ั 4 ต้น มกี ารตอบสนองต่อแสงเหมือนกัน หรอื ต่างกันอยา่ งไร แตกตา่ งกนั คอื ตน้ ขา้ วโพดปกติ และตน้ ขา้ วโพดทต่ี ดั ปลายโคลอี อพไทลอ์ อกและทาวาสลนี หรือลาโนลินผสมสารสังเคราะห์ท่ีมีส่วนผสมของออกซินพบว่า โคลีออพไทล์สามารถเบน เขา้ หาแสงได้ สว่ นตน้ ขา้ วโพดทตี่ ดั ปลายโคลอี อพไทลแ์ ละทาวาสลนี หรอื ลาโนลนิ ทรี่ อยตดั และตน้ ขา้ วโพดทใ่ี ชอ้ ะลมู เิ นยี มฟอยลห์ มุ้ สว่ นปลายโคลอี อพไทลพ์ บวา่ โคลอี อพไทลไ์ มเ่ บน เข้าหาแสง ในกรณที น่ี กั เรยี นไดท้ �ำ กจิ กรรมเสนอแนะการเบนเนอ่ื งจากแสงเสรจ็ แลว้ ครคู วรใหน้ กั เรยี นท�ำ กิจกรรม 12.3 การเบนเนื่องจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก เพ่ือใหน้ กั เรยี นได้เขา้ ใจวา่ พืชก็มีการตอบสนอง ต่อแรงโน้มถ่วงของโลกดว้ ย กิจกรรม 12.3 การเบนเนื่องจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก จุดประสงค์ ทดลอง และอธิบายการตอบสนองต่อแรงโนม้ ถว่ งของโลกของปลายรากพชื เวลาท่ใี ช้ (โดยประมาณ) 1 ชว่ั โมง วสั ดุและอปุ กรณ์ ปรมิ าณต่อกลมุ่ รายการ 20 เมลด็ 1. เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดถ่ัวดำ� เมล็ดข้าวโพด อย่างใด 1 กล่อง อย่างหนึง่ 2 จาน 1 ใบ 2. กล่องพลาสติกพรอ้ มฝาปิดกลอ่ ง 1 มว้ นต่อหอ้ ง 3. จานเพาะเช้ือ 1 ม้วนต่อห้อง 4. ใบมีดโกน 5. ทชิ ชู 6. เทปใส สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
256 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพืช ชวี วทิ ยา เล่ม 3 การเตรยี มล่วงหนา้ ครวู างแผนใหน้ กั เรียนเตรยี มเพาะเมลด็ ถว่ั เขียวหรอื เมลด็ ถวั่ ด�ำ หรอื เมล็ดขา้ วโพด ในทม่ี ดื จำ�นวน 20 เมล็ด ประมาณ 2-3 วนั จนมีสว่ นท่โี ผล่ออกมาจากเปลือกเมลด็ ยาวประมาณ 2 cm เพื่อนำ�มาใช้ในการทดลอง ตัวอยา่ งผลการทดลองของเมลด็ ถว่ั เขียว กลมุ่ ท่ี การทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลง รากโคง้ เขา้ หาแรงโน้มถ่วงของโลก 1 เมลด็ พชื ท่ไี ม่ตัดปลายรากออก รากไมโ่ ค้งเข้าหาแรงโน้มถว่ งของโลก 2 เมลด็ พืชทีต่ ัดปลายรากออก ตัวอยา่ งผลการทดลอง ไมต่ ดั ปลายราก ตัดปลายราก ไมต่ ัดปลายราก ตดั ปลายราก ปลายรากถว่ั เขยี วเมื่อเริ่มการทดลอง ปลายรากถวั่ เขยี วหลงั การทดลอง 3 วัน สรุปและอภิปรายผลการทดลอง เมลด็ พชื ทยี่ งั มปี ลายรากอยจู่ ะเจรญิ โคง้ ตามทศิ ทางแรงโนม้ ถว่ งของโลก เนอ่ื งจากเมอ่ื ราก อยใู่ นแนวนอน ปลายรากดา้ นบนและดา้ นลา่ งมกี ารกระจายของปรมิ าณออกซนิ ไมเ่ ทา่ กนั โดย ออกซินจะลำ�เลียงไปสู่ปลายรากด้านล่างมากกว่าด้านบน ออกซินที่มีความเข้มข้นสูงจะยับยั้ง การขยายตัวตามยาวของเซลล์ราก ทำ�ให้ปลายรากด้านล่างขยายตัวน้อยกว่าด้านบนรากจึง โค้งลง ส่วนเมล็ดพืชที่ตัดปลายรากจะไม่โค้งเนื่องจากไม่มีออกซินซ่ึงตอบสนองต่อตัวรับ แรงโนม้ ถ่วงของโลก ซึง่ เปน็ การตอบสนองทีส่ ัมพนั ธก์ ับทิศทางของสิ่งเร้าภายนอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 3 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช 257 เฉลยค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม การโคง้ ของรากเกดิ จากสาเหตใุ ด เมอ่ื รากอยใู่ นแนวนอนปรมิ าณออกซนิ ของปลายรากดา้ นบนและดา้ นลา่ งมปี รมิ าณไมเ่ ทา่ กนั ซ่ึงออกซินจะลำ�เลียงไปสู่ปลายรากด้านล่างมากกว่าด้านบน จึงส่งผลยับย้ังการขยายตัว ตามยาวของเซลล์ทางด้านล่าง เซลลท์ างดา้ นบนของรากจึงขยายตัวมากกว่า ปลายรากจงึ โค้งเขา้ หาแรงโนม้ ถว่ งของโลก เมล็ดพืชท้ังสองกลุ่มมีการตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลกเหมือนกันหรือแตกต่างกัน อยา่ งไร แตกต่างกันคือ เมล็ดพืชท่ีไม่ได้ตัดปลายรากออก รากจะโค้งเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก ส่วนเมล็ดพืชทตี่ ัดปลายรากออก รากไมโ่ คง้ เขา้ หาแรงโน้มถ่วงของโลก หลงั จากทน่ี กั เรยี นท�ำ กจิ กรรมเสนอแนะ การเบนเนอ่ื งจากแสง และกจิ กรรมการเบนเนอ่ื งจาก แรงโนม้ ถว่ งของโลกแลว้ นกั เรยี นควรอธบิ ายไดว้ า่ กจิ กรรมทงั้ สองนเี้ ปน็ การศกึ ษาการตอบสนองของ พชื โดยทศิ ทางการตอบสนองสมั พนั ธก์ บั ทศิ ทางของสงิ่ เรา้ ซงึ่ สง่ิ เรา้ ในทนี่ คี้ อื แสง และแรงโนม้ ถว่ งของ โลก ครูอาจถามนักเรียนต่อไปว่าพืชยังมีการตอบสนองที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของส่ิงเร้า อย่างอ่ืนอกี หรือไม่ ซึ่งค�ำ ตอบของนกั เรียนอาจตอบว่าสิ่งเรา้ ท่มี ากระตนุ้ เชน่ สารเคมี นำ้� 12.3.2 แนสติกมฟู เมนต์ ครูอาจใช้รูป 12.14 และ 12.15 ในหนังสือเรียน แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การตอบสนองของพชื โดยการบานและการหบุ ของดอกบวั สายสขี าว และการกางใบและการหบุ ของใบไมยราบ เปน็ การตอบสนองของพชื ทม่ี ที ศิ ทางสมั พนั ธก์ บั สง่ิ เรา้ ภายนอกทม่ี ากระตนุ้ หรอื ไม่ ซึ่งคำ�ตอบของนักเรียนควรตอบได้ว่า การตอบสนองพืชในรูปเป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมที่มี ทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้าภายนอก และครูอธิบายเพ่ิมเติมว่าการตอบสนองแบบน้ี เกิดจากการเปล่ียนแปลงแรงดันเต่งของเซลล์ ทำ�ให้เซลล์ขยายขนาดต่างกัน จากนั้นให้นักเรียน ตอบค�ำ ถามในหนงั สือเรยี น ยกตัวอย่างการเคลื่อนไหวของพืชท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงแรงดันเต่ง นอกเหนือจากการ บานและการหุบของดอกบัวสายสีขาว การเปิดปิดรูปากใบของเซลล์คมุ การปริของผลไมบ้ างชนดิ เมอื่ แกเ่ ตม็ ที่ เชน่ ขนนุ ทุเรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
258 บทที่ 12 | การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช ชีววิทยา เลม่ 3 ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ในธรรมชาตพิ บวา่ พชื ยงั มกี ารตอบสนองตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของโครงสรา้ ง ทไี่ มเ่ ทา่ กนั สองดา้ น ท�ำ ใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นไหวแบบสา่ ยหรอื นเู ทชนั เชน่ การหมนุ แกวง่ ของยอดพชื ขณะ ทมี่ ีการเจริญเติบโตท่ปี ลายยอดพืช จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าการตอบสนองของพืชในรูปแบบของการเคล่ือนไหวต่อ สงิ่ แวดลอ้ มภายนอก เชน่ ทรอพซิ มึ เปน็ การตอบสนองทที่ ศิ ทางสมั พนั ธก์ บั ทศิ ทางของสง่ิ เรา้ ภายนอก แนสติกมูฟเมนต์ เป็นการตอบสนองท่ีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของส่ิงเร้าภายนอก ส่วนนูเทชัน เปน็ การตอบสนองทไี่ มไ่ ดม้ าจากสงิ่ เรา้ ภายนอก แตเ่ กดิ จากการเจรญิ เตบิ โตของโครงสรา้ งทไี่ มเ่ ทา่ กนั สองดา้ น หลังจากที่ศึกษาเรื่องการตอบสนองของพืชแล้ว ครูอาจใช้คำ�ถามเพื่อนำ�เข้าสู่หัวข้อการ ตอบสนองต่อภาวะเครียดว่า กรณีท่ีพืชได้รับส่ิงเร้าภายนอกมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จนส่งผล ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ของพชื พืชจะมกี ารตอบสนองอยา่ งไร ตรวจสอบความเขา้ ใจ เพราะเหตใุ ดพืชต้องมีการตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ เช่น แสง แรงโน้มถว่ งของโลก เนอ่ื งจากพชื ตอ้ งการแสงซง่ึ เปน็ ปจั จยั ส�ำ คญั ตอ่ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ดงั นน้ั โคลอี อพไทล์ จึงโค้งเข้าหาแสง นอกจากนี้พืชยังต้องการน้ำ�และธาตุอาหารท่ีจำ�เป็นต่อการเจริญเติบโต ดงั นน้ั ปลายรากพชื จงึ เบนเขา้ หาแรงโนม้ ถว่ งของโลก ท�ำ ใหไ้ ดร้ บั น�ำ้ และธาตอุ าหารทอ่ี ยใู่ น ดินได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพืช 259 12.4 การตอบสนองต่อภาวะเครยี ด จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธิบายการตอบสนองของพืชในภาวะเครียดท่ีเกิดจากส่ิงเร้าทางกายภาพ และส่ิงเร้าทาง ชวี ภาพ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูอาจใช้คำ�ถามกระตุน้ ความสนใจของนกั เรียนวา่ นกั เรยี นเคยปลูกพชื แล้วลมื รดน้ำ�หรอื ไม่ และต้นพืชน้ันมีลักษณะแตกต่างจากต้นพืชที่รดน้ำ�อย่างไร นอกจากน้ีครูอาจใช้รูป 12.17 การมว้ นของใบขา้ วทต่ี อบสนองตอ่ การขาดน�้ำ โดยใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และรว่ มกนั อภปิ ราย โดยมี แนวคำ�ถามดงั น้ี ใบข้าวอยใู่ นภาวะสมดุลโดยมีการเจริญเตบิ โตและการด�ำ รงชีวิตเปน็ ปกตหิ รอื ไม่ ใบข้าวมกี ารตอบสนองต่อปจั จยั ภายนอกอย่างไร จากการสืบคน้ ข้อมลู และอภปิ รายร่วมกัน นกั เรยี นควรสรปุ ได้ว่า ใบข้าวไม่อยใู่ นภาวะสมดุล เน่ืองจากมีการเจริญเติบโตผิดปกติ ใบข้าวเหี่ยว ส่งผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิต แสดงว่าอยู่ในภาวะ เครียดเพราะได้รับน�้ำ น้อยเกนิ ไป 12.4.1 ภาวะเครยี ดจากส่ิงเร้าทางกายภาพ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเครียดจากส่ิงเร้าทางกายภาพอ่ืน ๆ นอกเหนือจาก น้ำ� และถามนักเรียนต่อไปอีกว่า นอกจากนำ้�แล้ว นักเรียนคิดว่ามีสิ่งเร้าทางกายภาพใดอีกบ้าง ทสี่ ง่ ผลใหพ้ ชื ตอบสนองตอ่ ภาวะเครยี ด ซงึ่ แนวค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจตอบวา่ มสี ง่ิ เรา้ ทางกายภาพ อน่ื อกี เชน่ อณุ หภูมิ ซงึ่ ในกรณที ่พี ชื ไดร้ บั อณุ หภมู ิสูงพชื สามารถตอบสนองโดยการคายน้ำ� เพื่อรกั ษา อณุ หภูมิของใบไม่ให้สูงมากขนึ้ และยังช่วยรกั ษาสภาพการทำ�งานของเซลลใ์ หเ้ ป็นปกติ กรณีท่ีพืชได้ รับอุณหภมู ิสงู มากเกินไป พชื อาจปดิ ปากใบเพือ่ ลดการคายน้�ำ กรณที ี่พชื ได้รบั อุณหภมู ติ ่ำ�มากเกนิ ไป พชื จะสรา้ งโครงสรา้ งของเยอื่ หมุ้ เซลลใ์ หม้ สี ดั สว่ นของกรดไขมนั ไมอ่ ม่ิ ตวั มากขน้ึ เพอื่ ท�ำ ใหเ้ ยอื่ หมุ้ เซลล์ ยังคงมีสมบตั ิในการเปน็ ของไหล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
260 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพืช ชวี วทิ ยา เล่ม 3 12.4.2 ภาวะเครยี ดจากสิ่งเรา้ ทางชีวภาพ ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เรอ่ื งภาวะเครยี ดจากสง่ิ เรา้ ทางชวี ภาพ และรว่ มกนั อภปิ รายปจั จยั ทางชวี ภาพทที่ �ำ ใหพ้ ชื อยใู่ นภาวะเครยี ด ซง่ึ แนวค�ำ ตอบอาจเปน็ ดงั นี้ ภาวะเครยี ดจากสงิ่ เรา้ ทางชวี ภาพ เชน่ การเขา้ ท�ำ ลายจากสตั วก์ นิ พชื จลุ นิ ทรยี ์ จากนน้ั ครถู ามนกั เรยี นตอ่ ไปวา่ พชื มวี ธิ กี ารปอ้ งกนั ภาวะ เครียดจากส่ิงเร้าทางชีวภาพได้อย่างไร แนวคำ�ตอบของนักเรียนอาจเป็นดังนี้ คือ มีวิธีการป้องกัน ทางโครงสร้าง เช่น การมีขนบนใบและลำ�ต้น การมีหนาม และการสร้างสารเคมีธรรมชาติ เช่น สารกลุ่มฟีนอล หรือการมนี ้�ำ ยาง เม่ือพืชอยู่ในภาวะเครียดจะส่งผลให้พืชตอบสนองทางด้านโครงสร้างและด้านสรีรวิทยา อาจแตกต่างกันไปตามชนิดพืช และสิ่งเร้าที่พืชได้รับ เพื่อให้พืชสามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้ แต่ถ้าพืชไม่ สามารถปรบั ตัวไดห้ รอื อยู่ในภาวะเครยี ดเปน็ เวลานานอาจทำ�ใหพ้ ืชตายได้ แนวการวัดและประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ - ปจั จยั ภายนอกทม่ี ผี ลตอ่ การตอบสนองของพชื การตอบสนองของพชื ในภาวะเครยี ดทเี่ กดิ จากส่ิงเร้าทางกายภาพ และสง่ิ เร้าทางชวี ภาพ จากการสบื ค้นข้อมลู การอภิปราย ด้านทกั ษะ - การสังเกต การลงความเหน็ จากข้อมูล การจดั กระท�ำ และส่ือความหมายขอ้ มลู การทดลอง การตีความหมายข้อมลู และการลงข้อสรุป จากการสบื ค้นข้อมูล และการอภปิ ราย - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ ความรว่ มมอื การทำ�งานเป็นทมี และภาวะผ้นู �ำ จากการสืบคน้ ข้อมลู การน�ำ เสนอ ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ - การใช้วิจารณญาณ ความรอบคอบ ความเชื่อม่ันต่อหลักฐานเชิงประจักษ์ ความซ่ือสัตย์ วัตถุวิสัย การยอมรับความเห็นต่าง ความใจกว้าง ความมุ่งมั่นอดทน จากการสังเกต พฤตกิ รรมในการอภปิ รายร่วมกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 3 บทที่ 12 | การควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพชื 261 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 12 1. ในการศึกษาการงอกของมันฝร่ัง พบว่าเม่ือสภาวะแวดล้อมเหมาะสมจะงอกต้นเล็ก ๆ จากหัวดังรูป 1 และถ้าตัดยอดต้นมันฝรั่งท่ีงอกออกมาพบว่าจะเกิดต้นเล็ก ๆ จากตาที่อยู่ ถดั ไปดงั รปู 2 ถา้ ตดั หวั มนั ฝรงั่ ออกเปน็ สว่ น ๆ ตามขวาง แตล่ ะสว่ นมตี าตดิ อยู่ ผลการทดลอง จะเป็นอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด 12 ผลการทดลองพบว่า ช้นิ สว่ นท่ตี ัดออก ตาทีต่ ิดอยูจ่ ะงอกเปน็ ต้นเล็ก ๆ เพราะไมม่ อี อกซิน ยับยั้งการเจรญิ ของตา 2. จงศกึ ษาการทดลองนแ้ี ลว้ ตอบคำ�ถาม จากการทดลองเพาะตน้ กล้าของถั่วพันธุ์เตีย้ กบั ถ่วั พันธุ์สูง เมื่อตัดยอดออกแล้วนำ�แผ่นวุ้น ไปวางดงั การทดลองในรปู แผ่นว้นุ + จบิ เบอเรลลนิ แผน่ วนุ้ แผน่ วนุ้ การทดลองที่ 1 การทดลองท่ี 2 การทดลองท่ี 3 เมลด็ ถั่วพันธเุ์ ตีย้ เมล็ดถั่วพันธเุ์ ตย้ี เมล็ดถว่ั พนั ธุ์สงู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
262 บทที่ 12 | การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพชื ชีววทิ ยา เล่ม 3 เมื่อทดลองไป 2 สัปดาห์ พบว่าการทดลองท่ี 1 และ 3 ต้นถ่ัวมีความสูงข้ึนใกล้เคียงกัน แตก่ ารทดลองท่ี 2 มีความสงู เพยี งเล็กน้อยเทา่ นั้น นักเรยี นจะสรุปผลการทดลองน้ีอย่างไร การทดลองนส้ี รปุ วา่ จบิ เบอเรลลินทำ�ใหต้ น้ กล้าของถว่ั พนั ธุ์เตย้ี เจรญิ เตบิ โต มลี �ำ ตน้ สงู ขนึ้ ใกลเ้ คียงกบั ถวั่ พันธสุ์ ูง 3. ถา้ ตดั ปลายโคลอี อพไทลข์ องขา้ วโพดไปวางบนแผน่ วนุ้ น�ำ วนุ้ มาแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น ท�ำ การ ทดลองกบั ตน้ กล้าข้าวโพด 2 ต้น ที่ตดั ปลายโคลีออพไทล์ออก ดงั รูป ช้นิ x ชิ้น y ชน้ิ x ชิ้น y แสง 3.1 ผลการทดลองจะเปน็ อย่างไร เพราะเหตใุ ด โคลอี อพไทล์จะโคง้ เขา้ หาแสงทงั้ 2 ตน้ เพราะปลายโคลอี อพไทลท์ ่มี ชี ิ้นวนุ้ x ออกซิน จะลำ�เลียงลงมาด้านล่างซ่ึงอยู่ตรงข้ามกับแสง เซลล์ของโคลีออพไทล์เมื่อได้รับ ออกซินจะขยายตัวตามยาวมากกว่าด้านที่ไม่มีออกซินหรือได้รับออกซินน้อย ทำ�ให้ โคลีออพไทลโ์ คง้ เข้าหาแสง สว่ นปลายโคลีออพไทลท์ มี่ ชี น้ิ วนุ้ y ออกซนิ จะล�ำ เลยี งมา สดู่ า้ นล่างในดา้ นทีม่ ีชน้ิ วุน้ y คือ ดา้ นทมี่ แี สง เม่ือออกซนิ ลำ�เลยี งมาสู่ด้านล่างแลว้ จะ เคลอื่ นทไ่ี ปอยดู่ า้ นตรงขา้ มกบั แสง เซลลข์ องโคลอี อพไทลด์ า้ นทอี่ ยตู่ รงขา้ มกบั แสงจะ ขยายตัวตามยาวมากกวา่ อกี ด้านท�ำ ใหโ้ คลีออพไทล์โคง้ เข้าหาแสงเช่นกัน 3.2 ถ้านำ�การทดลองไปไวใ้ นท่ีมดื ผลการทดลองจะเป็นอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด ออกซนิ จะถกู ล�ำ เลยี งมาดา้ นลา่ ง ท�ำ ใหย้ อดพชื ดา้ นทม่ี แี ทง่ วนุ้ อยมู่ ปี รมิ าณออกซนิ มาก เซลลจ์ ะขยายตวั ตามยาวท�ำ ใหโ้ คลอี อพไทลข์ องพชื ท้ัง 2 ต้นโคง้ เข้าหากนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 3 บทท่ี 12 | การควบคุมการเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพืช 263 4. ในการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื พชื นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดก้ ลา่ วถงึ สดั สว่ นของออกซนิ และไซโทไคนนิ ตอ่ การเพาะเลี้ยงเนือ้ เยอื่ ของยาสูบไว้ ดงั น้ี ถา้ สัดส่วนของออกซินตอ่ ไซโทไคนิน สูงจะชกั นำ�ให้เกิดราก ต�่ำ จะชักนำ�ใหเ้ กดิ ยอด ปานกลางจะชกั นำ�ใหเ้ กิดแคลลสั ท้ังนี้ขึ้นกับชนิดของพืชและปริมาณฮอร์โมนพืชที่มีอยู่ภายในเนื้อเยื่อพืช เม่ือนำ�ชิ้นส่วน ของพืชชนิดหน่ึงมาเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งท่ีเติมออกซินและไซโทไคนินความเข้มข้นต่าง ๆ กัน ผลที่ได้เป็นไปตามการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ โดยสัดส่วนของออกซินต่อไซโทไคนินของ เนอ้ื เยอ่ื พชื ทส่ี ามารถชกั น�ำ ใหเ้ กดิ แคลลสั ได้ คอื ออกซนิ 1.00 mg/mL ไซโทไคนนิ 1.00 mg/mL จงพจิ ารณาลกั ษณะของชนิ้ สว่ นพชื ทคี่ าดวา่ จะไดห้ ลงั จากเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอื่ พชื ชนดิ นเ้ี ปน็ เวลา 3 เดือน โดยนำ�ตัวอักษรหน้าข้อความแสดงลักษณะของชิ้นส่วนพืชเติมลงในตารางให้ สัมพันธ์กับความเขม้ ขน้ ของออกซินและไซไทไคนนิ ลักษณะของชนิ้ สว่ นพชื ที่คาดวา่ จะได้ ก. ช้ินส่วนพชื มีรากเกดิ ขนึ้ ข. ชิ้นสว่ นพืชมีแคลลสั เกิดขน้ึ ค. ช้ินส่วนพืชมียอดเกดิ ข้นึ ง. ชิน้ ส่วนพืชไมม่ ีการพฒั นา ตารางแสดงความเขม้ ข้นของออกซนิ และไซโทไคนินทใ่ี ช้ในอาหารกึ่งแข็ง สารสังเคราะหท์ ีม่ ีสมบัติ ความเข้มข้นของออกซนิ (mg/mL) คลา้ ยฮอร์โมนพืช 0.00 1.00 ความเข้มข้นของ 0.00 ง ก ไซโทไคนนิ (mg/mL) 1.00 ค ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
264 บทที่ 12 | การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพชื ชวี วทิ ยา เล่ม 3 5. จงใส่เคร่ืองหมายถูก (√) หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เครื่องหมายผิด (×) หน้าข้อความที่ ไมถ่ กู ตอ้ ง และขีดเส้นใต้เฉพาะคำ�หรอื สว่ นของขอ้ ความท่ไี ม่ถูกตอ้ ง และแก้ไขโดยตัดออก หรอื เติมคำ�หรือขอ้ ความทีถ่ ูกต้องลงในชอ่ งวา่ ง �������5.1 ออกซินมีประโยชน์ต่อการขยายพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศของพืชโดยจะกระตุ้น การสรา้ งรากพิเศษในก่งิ ตอน �������5.2 เกษตรกรใช้จิบเบอเรลลินช่วยให้ก้านของผลองุ่นยืดยาวและทำ�ให้ผลองุ่น มขี นาดใหญข่ นึ้ �������5.3 เอทิฟอนเป็นสารสังเคราะห์ที่มีสมบัติเหมือนกรดแอบไซซิก นำ�มาใช้เพ่ือเพิ่ม ผลผลติ นำ�้ ยางพารา แก้ไขเปน็ เอทลิ นี �������5.4 พชื ตอบสนองต่อการขาดนำ�้ ในดินโดยการสรา้ งเอทลิ ีน ทำ�ใหป้ ากใบปดิ แกไ้ ขเปน็ กรดแอบไซซกิ �������5.5 ออกซินและไซโทไคนินชักนำ�การเปล่ียนแปลงของเน้ือเยื่อเป็นยอด ลำ�ต้น และรากในการเพาะเล้ยี งเนือ้ เยอ่ื พืช �������5.6 เอทลิ นี เปน็ ฮอรโ์ มนพชื ทมี่ สี ถานะแกส๊ ชว่ ยเรง่ การสกุ ของผลไมโ้ ดยท�ำ ใหผ้ ลไม้ มีอัตราการหายใจเพิม่ ขึ้น �������5.7 การโค้งเข้าหาแสงของโคลีออพไทล์เกิดขึ้นเน่ืองจากแสงกระตุ้นให้ปลายด้าน โคลอี อพไทลท์ ไี่ ดร้ บั แสงมากล�ำ เลยี งออกซนิ ไปดา้ นทไ่ี ดร้ บั แสงนอ้ ยแลว้ กระตนุ้ ให้เซลลย์ ดื ตวั ยาวมากกว่าด้านท่ีได้รบั แสงมาก โคลีออพไทลจ์ ึงโค้งเข้าหาแสง �������5.8 การกางแผ่นใบออกรับแสงในเวลากลางวันและการหุบใบในเวลากลางคืนและ การบานของดอกไม้บางชนิดในเวลากลางวันและหุบในเวลากลางคืนเป็นการ ตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา้ ของพชื อยา่ งมที ศิ ทางสมั พนั ธก์ บั ทศิ ทางของสงิ่ เรา้ ภายนอก แก้ไขเป็น ไม่สมั พนั ธ์ �������5.9 รากพืชเจริญเติบโตเข้าสู่บริเวณท่ีมีนำ้�มาก ซ่ึงอาจไม่เป็นทิศทางเดียวกับ แรงโน้มถ่วงของโลกจัดเปน็ การตอบสนองของพืชแบบทรอพิซมึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 3 บทท่ี 12 | การควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพืช 265 �������5.10 เมือ่ เพาะเมล็ดขา้ วโพดในทมี่ ดื พบวา่ รากขา้ วโพดเจริญเติบโตลงสู่ด้านล่างจดั เป็นการเบนหนีแรงโน้มถ่วงของโลกและปลายยอดข้าวโพดเจริญเติบโตข้ึนสู่ ดา้ นบนจดั เป็นการเบนเขา้ หาแรงโน้มถ่วงของโลก แกไ้ ขเปน็ การเบนเขา้ หาแรงโนม้ ถว่ งของโลก และการเบนหนแี รงโนม้ ถว่ งของ โลก 6. ในการทดลองให้สารทีม่ สี มบัตยิ บั ยงั้ การสรา้ งเอทิลีนกับผลมะเขือเทศ 2 กลุ่ม ดังนี้ กลมุ่ ที่ 1 ใหส้ ารชนดิ น้ี 10 ppm กลุ่มท่ี 2 ไม่ให้สาร ผลการทดลองมะเขือเทศทั้งสองกลมุ่ จะมีความแตกตา่ งกันอย่างไร เพราะเหตุใด แตกต่างกัน โดยผลมะเขือเทศกลุ่มท่ี 2 สุกเร็วกว่าผลมะเขือเทศกลุ่มท่ี 1 เนอ่ื งจากผลมะเขอื เทศ กลมุ่ ท่ี 2 ไมไ่ ด้รับสารยับย้งั การสร้างเอทิลีน จงึ สามารถสร้าง และปล่อยแก๊สเอทิลีนท่ีเร่งการสกุ ของผลตามปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก
ชีววทิ ยา เลม่ 3 ภาคผนวก 267 คำ�แนะนำ�การใชส้ วนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืชอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารฯี (โครงการ อพ.สธ.) เป็นแหล่งเรยี นร้บู ูรณาการ ในการจดั กิจกรรมวิชาชวี วิทยา สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คอื ทุกสง่ิ ทกุ อย่างทีม่ อี ย่ใู นโรงเรยี น ท่ีใช้เพ่อื การเรียนรูโ้ ดยมพี ืช เปน็ ปจั จยั หลกั ชวี ภาพอน่ื เปน็ ปจั จยั รอง กายภาพเปน็ ปจั จยั เสรมิ และวสั ดอุ ปุ กรณเ์ ปน็ ปจั จยั ประกอบ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น คอื งานสรา้ งจติ ส�ำ นกึ ในการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื ทรพั ยากร ชวี ภาพ และกายภาพ โดยมกี ารสมั ผสั การเรยี นรู้ การสรา้ งและปลกู ฝงั คณุ ธรรม การเสรมิ สรา้ งปญั ญา และภูมิปญั ญา วตั ถปุ ระสงคข์ องการด�ำ เนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เพอื่ สรา้ งจติ ส�ำ นกึ ในการอนรุ กั ษ์ พนั ธกุ รรมพืชและทรัพยากร สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจึงเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าในการเรียนวิชาชีววิทยา เม่ือครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม นักเรียนจะได้รับทั้งความรู้ ทักษะปฏิบัติ ทักษะกระบวนการทาง วิทยศาสตร์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านจิตวิทยาศาสตร์ และคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจน หวงแหนพรรณไมแ้ ละทรพั ยากรธรรมชาตนิ �ำ ไปสจู่ ติ ส�ำ นกึ ในการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากร โรงเรียนต่าง ๆ สามารถสมัครเป็นสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดย โรงเรียนจะไดร้ ับทราบแนวทางในการดำ�เนินงานและการใชพ้ รรณไมใ้ นโรงเรียนเป็นสอ่ื การเรียนรู้ สามารถดรู ายละเอียดไดท้ ่ี www.rspg.or.th และสามารถดาวนโ์ หลดเอกสารได้จาก www.ipst.me/7620. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
268 ภาคผนวก ชีววิทยา เลม่ 3 องคป์ ระกอบ หลกั การ และสาระการเรยี นรขู้ องงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน องคป์ ระกอบที/่ สาระ หลกั การ สาระการเรียนรู้ 1. ก ารจดั ท�ำ ป้ายช่ือ รู้ช่ือ รลู้ ักษณ์ รจู้ กั กำ�หนดขอบเขตพื้นทีศ่ ึกษา สำ�รวจ พรรณไม้ พรรณไม้ ทำ�และติดป้ายรหัสประจำ� ต้น บันทกึ ภาพพรรณไมห้ รอื วาดภาพ 2. ก ารรวบรวมพรรณ คลกุ คลี เหน็ คณุ สนุ ทรยี ์ ทางพฤกษศาสตร์ ตงั้ ช่อื หรอื สอบถาม ไม้เขา้ ปลูกใน ข้อมูลพรรณไม้ ท�ำ ป้ายชื่อพรรณไม้ โรงเรยี น ชวั่ คราว ท�ำ ผงั แสดงต�ำ แหนง่ พรรณ ไม้ ศกึ ษาลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 3. การศึกษาขอ้ มูลด้าน รูก้ ารวเิ คราะห์ (ก.7-003) ทำ�ตวั อยา่ งพรรณไม้ เปรยี บเทียบขอ้ มูลกบั เอกสาร เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ เหน็ ความต่าง ชอ่ื ทเ่ี ปน็ สากล ท�ำ ทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005) ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง รูค้ วามหลายหลาก ของทะเบียนพรรณไม้ และจัดทำ�ปา้ ย ช่อื พรรณไมส้ มบรู ณ์ เพอ่ื ให้รูจ้ ัก ร้ปู ระโยชน์ของพรรณไม้ เรียนรู้พชื พรรณ และสภาพพื้นที่ วเิ คราะหพ์ ้นื ที่ พิจารณาคณุ และ สนุ ทรียภาพพรรณไม้ ท�ำ ผงั ภมู ทิ ศั น์ จัดหาพรรณไม้ ปลกู ดแู ลรกั ษา และ ออกแบบบนั ทึกการเปลี่ยนแปลง เพอื่ ให้เห็นคณุ และรคู้ า่ ของพชื พรรณ การนำ�ทรัพยากรธรรมชาตมิ าเป็น ปัจจยั ในการเรียนรู้ โดยการใช้ปัจจยั หลายปจั จัยในชนิดเดยี วกันหรือตา่ ง ชนดิ กัน เพื่อใหเ้ ห็นความต่าง เมื่อเห็น ความต่าง ก็จะเกิดจินตนาการอันจะ น�ำ ไปสกู่ ารใช้ประโยชนใ์ นงานแตล่ ะ ดา้ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 3 ภาคผนวก 269 องคป์ ระกอบที่/สาระ หลักการ สาระการเรยี นรู้ 4. ก ารรายงานผลการ รสู้ าระ รู้สรุป รสู้ ื่อ รวบรวมผลการเรียนรู้ วิเคราะห์ เรยี บเรียงสาระ จัดระเบียบขอ้ มูล เรยี นรู้ สาระแตล่ ะดา้ น จดั ลำ�ดับสาระหรอื กลุม่ สาระ เรียนรรู้ ปู แบบการเขยี น 5. ก ารนำ�ไปใช้ น�ำ องคค์ วามรู้ ทเี่ ปน็ วทิ ยาการ รายงาน วิธกี ารรายงานผลในรูปแบบ ประโยชน์ทางการ เผยแพร่เพอื่ ใหเ้ กดิ องค์ความรู้ ตา่ ง ๆ เพอ่ื สือ่ ผลการเรียนร้อู ยา่ งเป็น ศกึ ษา ใหม่ ระบบ 6. ธรรมชาติแหง่ ชีวิต รกู้ ารเปลยี่ นแปลง รู้ความแตก การบูรณาการส่กู ารเรียนการสอนใน ตา่ ง รู้ชวี ิต กลุม่ สาระ และสาขาวชิ าต่าง ๆ การ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ การสรา้ ง การใช้ 7. ส รรพสง่ิ ลว้ นพัน รู้สัมพันธ์ รูผ้ กู พัน ร้ดู ลุ ยภาพ การดูแลรักษา และพฒั นาแหลง่ เรยี น เกย่ี ว รู้ เพอ่ื การใช้ประโยชนอ์ งคค์ วามรูใ้ น วงกวา้ ง การเรยี นร้วู งจรชีวติ ของชวี ภาพนน้ั ๆ ไดข้ ้อมูลการเปล่ยี นแปลงและความ แตกตา่ งด้านรูปลกั ษณ์ คณุ สมบัติ และพฤตกิ รรม แลว้ นำ�มา เปรยี บเทยี บตนเองกับชีวภาพ รอบกายเพ่ือประยกุ ต์ใชใ้ นการดำ�เนนิ ชีวติ การวิเคราะห์องค์ความรู้ธรรมชาติ ของปจั จัยหลัก การเรยี นรู้ธรรมชาติ ของปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวขอ้ ง การเรียน รธู้ รรมชาตขิ องความพันเก่ยี วระหว่าง ปจั จัย การวเิ คราะหส์ มั พันธภาพ ระหวา่ งปจั จัย เพือ่ เขา้ ใจดลุ ยภาพ และความพันเกยี่ วของสรรพสิง่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
270 ภาคผนวก ชีววิทยา เลม่ 3 องคป์ ระกอบท่ี/สาระ หลกั การ สาระการเรยี นรู้ 8. ป ระโยชนแ์ ทแ้ ก่ รูศ้ กั ยภาพ รู้จินตนาการ เรียนรู้ การวิเคราะหศ์ ักยภาพของ ปัจจยั ศกึ ษา จินตนาการเหน็ คุณ มหาชน รูป้ ระโยชน์ สรรค์สรา้ งวธิ กี าร เพอื่ ประโยชนแ์ ท้ แกม่ หาชน 9. การเรียนรผู้ ันสู่วถิ ี รฐู้ านไทย รู้พัฒนา บนฐานงาน ใหม่ในฐานไทย บน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น เรยี นรคู้ วามเปน็ ไทย วถิ ีไทย ฐานงานสวน ภมู ปิ ัญญาไทย ความเปน็ ชุมชน วถิ ี พฤกษศาสตร์ ชมุ ชน ภมู ปิ ัญญาชมุ ชนความเป็น โรงเรยี น โรงเรียน วถิ โี รงเรยี น ภูมปิ ญั ญาของ โรงเรยี น วิเคราะห์ศกั ยภาพบนฐาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น จินตนาการจากศักยภาพท่ีเลอื ก สรรคส์ ร้างส่ิงใหม่ วถิ ีใหม่ โดยใช้ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งก�ำ กบั การดำ�เนินงานกิจกรรมตามแนวทางสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียนจะช่วยส่งเสริมกิจกรรมที่ กำ�หนดไว้ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา เล่ม 3 โดยมีจุดประสงค์การเรียนรู้ ดงั นี้ บทที่ 8 การสบื พนั ธ์ุของพชื ดอก 1. ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (รูปลักษณ์) ของดอก ผล ของพรรณไม้ในท้องถิ่น ตามลกั วชิ าการ โดยใชส้ มดุ บนั ทกึ พรรณไม้ ก.7-003 (กจิ กรรม 8.1 โครงสรา้ งของดอกและชนดิ ของผล) 2. จำ�แนกประเภทของดอกและผล โดยใช้สมดุ บันทกึ พรรณไม้ ก.7-003 (กิจกรรม 8.1 โครงสร้าง ของดอกและชนิดของผล) 3. ศึกษารูปลักษณ์ของเรณูและการงอกเรณูของพรรณไม้ในท้องถิ่นในหัวข้อธรรมชาติแห่งชีวิต (กิจกรรม 8.2 รปู รา่ งลกั ษณะของเรณูและการงอกของหลอดเรณู) 4. วเิ คราะห์ศกั ยภาพด้านรูปลกั ษณ์ และคณุ สมบัติ ของดอก ผล และเมล็ด เพือ่ นำ�ไปสู่การสรา้ ง ผลิตภณั ฑ์ในหัวข้อประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน (กจิ กรรม 8.3 ผลิตภัณฑ์จากดอก ผลและเมล็ด) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 3 ภาคผนวก 271 บทท่ี 9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก 1. ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (รูปลักษณ์) ของราก การเปล่ียนแปลงและความ แตกตา่ งดา้ นรปู ลกั ษณ์ คณุ สมบตั ิ และพฤตกิ รรม แลว้ น�ำ มาเปรยี บเทยี บกบั ตนเองเพอื่ ประยกุ ต์ ใช้ในการด�ำ เนินชวี ติ (กิจกรรม 9.1 โครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโตของราก) 2. ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (รูปลักษณ์) ของลำ�ต้นและใบของพรรณไม้ใน ทอ้ งถน่ิ ตามหลกั วชิ าการ โดยใชส้ มดุ บนั ทกึ พรรณไม้ ก.7-003 และการศกึ ษาในหวั ขอ้ ธรรมชาติ แห่งชีวิต (กิจกรรม 9.2 โครงสร้างภายนอกและภายในของล�ำ ตน้ และกจิ กรรม 9.3 โครงสรา้ ง ภายนอกและภายในของใบ) บทที่ 10 การล�ำ เลียงของพืช 1. ศึกษาและบันทึกลักษณะของเซลล์คุมและกระบวนการคายนำ้� รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการ คายนำ้� ในหัวข้อธรรมชาติแห่งชีวิตและสรรพส่ิงล้วนพันเก่ียว (กิจกรรม 10.1 ปากใบของพืช กับการคายน�ำ้ ) 2. ศกึ ษาปจั จยั กายภาพทมี่ ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ในหวั ขอ้ สรรพสงิ่ ลว้ นพนั เกย่ี ว (กจิ กรรม 10.2 ธาตอุ าหารทจ่ี ำ�เปน็ ตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื ) บทท่ี 11 การสังเคราะห์ด้วยแสง 1. ศึกษาชนิดของสารสีที่มีในใบพืชและความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสี ในหัวข้อ ธรรมชาติแหง่ ชวี ิต (กจิ กรรมเสนอแนะ สารสีและการดูดกลนื แสงของสารส)ี 2. ศึกษาปัจจัยกายภาพท่ีมีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในหัวข้อสรรพสิ่งล้วนพันเก่ียว (กิจกรรม 11.1 ปจั จัยที่มผี ลต่อการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช) บทที่ 12 การควบคมุ การเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช 1. ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพพักตัวของเมล็ด ในหัวข้อธรรมชาติแห่งชีวิตและสรรพสิ่งล้วน พนั เกี่ยว (กจิ กรรม 12.2 การท�ำ ลายสภาพพกั ตัวของเมลด็ มะเขอื เทศ) 2. ศึกษาปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการเคล่ือนไหวของปลายยอดและปลายรากในหัวข้อธรรมชาติ แหง่ ชวี ติ และสรรพสงิ่ ลว้ นพนั เกยี่ ว (กจิ กรรมเสนอแนะ การเบนเนอ่ื งจากแสงและกจิ กรรม 12.3 การเบนเน่ืองจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก) จะเห็นได้ว่ากิจกรรมและจุดประสงค์ของกิจกรรมมีความสอดคล้องกันทั้งในหนังสือเรียนและ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เมื่อนักเรียนทำ�กิจกรรมตามหนังสือเรียนแล้วสามารถเก็บข้อมูลตาม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
272 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 3 รูปแบบของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนได้อีกด้วย นอกจากน้ีแนวทางการเรียนรู้ของงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนยังเน้นเร่ืองคุณธรรมและจริยธรรมเพ่ือนำ�ไปใช้ในการดำ�รงชีวิตเม่ือนักเรียนได้ ใกล้ชดิ พรรณไม้ ศกึ ษาโดยละเอยี ด จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของพืชท่เี ปน็ ไปตามธรรมชาตแิ ห่งชีวิต และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกายภาพ ปัจจัยชีวภาพท่ีมีผลต่อการดำ�รงชีวิตของพืช รวมทั้ง สามารถบรู ณาการความรูแ้ ละวธิ กี ารเรียนรูก้ ับกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น ๆ ไดอ้ กี ด้วย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 3 ภาคผนวก 273 ตัวอยา่ งเครือ่ งมือวัดและประเมินผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะของ แบบทดสอบ รวมท้งั ข้อดีและข้อจำ�กดั ของแบบทดสอบรปู แบบต่าง ๆ เพือ่ ประโยชน์ในการสรา้ งหรอื เลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับส่ิงที่ต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและ ขอ้ จำ�กดั ของแบบทดสอบรูปแบบตา่ ง ๆ เป็นดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบท่มี ตี วั เลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอยี ดของแบบทดสอบแต่ละแบบเปน็ ดังนี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เป็นแบบทดสอบที่มีการกำ�หนดตัวเลือกให้หลายตัวเลือก โดยมีตัวเลือกที่ถูกเพียงหนึ่ง ตัวเลอื ก องคป์ ระกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลอื กตอบมี 2 สว่ น คือ ค�ำ ถามและตวั เลือก แต่บางกรณีอาจมีส่วนของสถานการณ์เพิ่มข้ึนมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลาย รปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดยี่ ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบคำ�ถาม 2 ชัน้ โครงสรา้ งดังตวั อย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทไี่ ม่มีสถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
274 ภาคผนวก ชีววิทยา เลม่ 3 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถามเด่ียวทีม่ ีสถานการณ์ สถานการณ์…………………………………………………………….. ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเป็นชุด สถานการณ์…………………………………………………………….. คำ�ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามที่ 2 …………………………………………………………….. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 3 ภาคผนวก 275 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ชน้ั สถานการณ์…………………………………………………………….. ค�ำ ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 …(ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามท่ี 1)…… …………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………...... แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุมเนื้อหา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ได้ นอกจากนน้ี กั เรยี นทไ่ี ม่มีความรู้สามารถเดาคำ�ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถูกหรอื ผดิ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ กั เรียนพิจารณาวา่ ถูกหรือผิด ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบถกู หรือผิด ค�ำ สัง่ ให้พจิ ารณาว่าขอ้ ความตอ่ ไปนถ้ี ูกหรือผดิ แล้วใสเ่ คร่ืองหมาย √ หรือ × หนา้ ข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 2. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 3. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 4. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 5. ข้อความ……………………………………………..…………………….. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
276 ภาคผนวก ชีววิทยา เลม่ 3 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี ามารถสรา้ งไดง้ า่ ย รวดเรว็ และครอบคลมุ เนอื้ หา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณใ์ นบางเนือ้ หาท�ำ ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจบั คู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทเ่ี ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชดุ ทใี่ หจ้ บั คกู่ นั โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และข้อความชดุ ที่ 2 อาจเป็นคำ�ตอบหรอื ตัวเลือก โดยจ�ำ นวนข้อความในชุดที่ 2 อาจมีมากกวา่ ในชดุ ที่ 1 ดงั ตวั อย่าง แบบทดสอบแบบจบั คู่ ค�ำ ส่ัง ใหน้ �ำ ตัวอักษรหนา้ ข้อความในชุดคำ�ตอบมาเติมในชอ่ งวา่ งหน้าขอ้ ความในชดุ คำ�ถาม ชดุ ค�ำ ถาม ชุดคำ�ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนสี้ รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะส�ำ หรบั วัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียนจับคู่ผิด ไปแลว้ จะทำ�ใหม้ ีการจับคผู่ ิดในค่อู ่นื ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบที่มี การตอบแต่ละแบบเปน็ ดังน้ี 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ คำ�หรือตอบอยา่ งสั้น ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความที่ไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนที่เว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สงิ่ ท่ีก�ำ หนดคำ�ตอบใหม้ คี วามถกู ตอ้ งและเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 3 ภาคผนวก 277 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทน่ี กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเนื่องจากบางครั้งมี คำ�ตอบถูกตอ้ งหรือยอมรบั ได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทต่ี อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกัน โดยค�ำ ถามเปน็ คำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรูปแบบนี้ให้อิสระแก่นักเรียนในการตอบจึงสามารถใช้วัดความคิดระดับสูงได้ แต่เน่ืองจากนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดและเขียนคำ�ตอบมาก ทำ�ให้ถามได้น้อยข้อ จึงอาจทำ�ให้ วัดได้ไมค่ รอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทั้งตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจให้คะแนนอาจไมต่ รงกนั แบบประเมนิ ทักษะ เม่ือนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นน้ั สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทักษะปฏบิ ัตไิ ด้เป็นอยา่ งดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมนิ ทักษะการปฏบิ ตั กิ ารทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครือ่ ง มือท่ใี ชป้ ระเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อย่างแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั ิการทดลอง รายการทีต่ อ้ งส�ำ รวจ ผลการส�ำ รวจ การวางแผนการทดลอง มี ไม่มี การทดลองตามข้นั ตอน (ระบจุ �ำ นวนครัง้ ) การสังเกตการทดลอง การบนั ทึกผล การอภปิ รายผลการทดลอง ก่อนลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
278 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เลม่ 3 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองท่ใี ช้การใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารทดลอง คะแนน 321 การเลอื กใช้อุปกรณ/์ เลอื กใช้อปุ กรณ์/ เลือกใช้อุปกรณ์/ เลอื กใช้อุปกรณ์/ เครื่องมือในการทดลอง เครอ่ื งมอื ในการทดลองได้ เครอ่ื งมือในการทดลองได้ เครื่องมือในการทดลอง ถกู ต้องเหมาะสมกับงาน ถูกตอ้ งแต่ไมเ่ หมาะสมกบั ไมถ่ กู ต้อง งาน การใช้อุปกรณ/์ ใช้อุปกรณ/์ เครื่องมือใน ใช้อุปกรณ์/เครือ่ งมือใน ใช้อุปกรณ/์ เคร่ืองมือใน เครื่องมอื ในการทดลอง การทดลองได้อย่าง การทดลองไดถ้ กู ต้องตาม การทดลองไมถ่ กู ต้อง คล่องแคล่ว และถูกตอ้ ง หลักการปฏิบัติ แตไ่ ม่ การทดลองตามแผนที่ ตามหลกั การปฏบิ ัติ คล่องแคลว่ กำ�หนด ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ขั้นตอนทกี่ �ำ หนดไวอ้ ย่าง ข้ันตอนท่ีก�ำ หนดไว้ มีการ ข้ันตอนทีก่ �ำ หนดไวห้ รือ ถกู ตอ้ ง มกี ารปรับปรุง ปรับปรุงแกไ้ ขบ้าง ดำ�เนินการขา้ มข้นั ตอนท่ี แกไ้ ขเป็นระยะ กำ�หนดไว้ ไมม่ ีการ ปรับปรงุ แก้ไข ตัวอยา่ งแบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการทดลองทีใ่ ช้เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทปี่ ระเมนิ ผลการประเมนิ 1. วางแผนการทดลองอยา่ งเปน็ ข้นั ตอน 321 2. ปฏบิ ตั กิ ารทดลองไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว สามารถเลือกใช้ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 อปุ กรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจัดวางอุปกรณ์เป็น หมายถงึ หมายถึง หมายถึง ระเบียบ สะดวกตอ่ การใช้งาน ปฏิบัติได้ ปฏบิ ัตไิ ด้ ปฏิบัติได้ 3. บนั ทกึ ผลการทดลองได้ถกู ตอ้ งและครบถ้วนสมบูรณ์ 3 ขอ้ 2 ขอ้ 1 ขอ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 3 ภาคผนวก 279 ตัวอย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขยี นรายงานการทดลอง คะแนน 32 1 เขียนรายงานตามลำ�ดับขัน้ ตอน เขียนรายงานการทดลอง เขียนรายงานโดยลำ�ดบั ขั้นตอน ผลการทดลองตรงตามสภาพจรงิ ตามลำ�ดบั แต่ไม่ส่อื ความหมาย ไม่สอดคล้องกนั และส่อื ความหมาย และไม่สอื่ ความหมาย แบบประเมินคณุ ลักษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทป่ี รากฏให้เหน็ ในลกั ษณะของคำ�พูด การแสดงความคดิ เห็น การปฏิบัตหิ รอื พฤตกิ รรมบ่งชี้ ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ ง่ึ เปน็ สง่ิ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ประเมนิ คณุ ลกั ษณะดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ ดังตัวอยา่ ง ตวั อย่างแบบประเมินคณุ ลกั ษณะด้านจติ วิทยาศาสตร์ ค�ำ ชี้แจง จงท�ำ เครื่องหมาย √ ลงในช่องว่างท่ตี รงกับคณุ ลกั ษณะทน่ี ักเรียนแสดงออก โดยจ�ำ แนกระดบั พฤติกรรม การแสดงออกเป็น 4 ระดบั ดังนี้ มาก หมายถึง นกั เรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั อยา่ งสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถึง นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหล่านัน้ เปน็ ครั้งคราว น้อย หมายถึง นกั เรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นน้ั นอ้ ยครั้ง ไม่มีการแสดงออก หมายถึง นกั เรยี นไม่แสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เลย รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ด้านความอยากร้อู ยากเหน็ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไมม่ ีการ 1. นกั เรียนสอบถามจากผรู้ ู้หรือไปศกึ ษาค้นควา้ เพิม่ เติม แสดงออก เมอื่ เกิดความสงสยั ในเร่อื งราววทิ ยาศาสตร์ 2. น ักเรียนชอบไปงานนิทรรศการวทิ ยาศาสตร์ 3. น กั เรียนนำ�การทดลองที่สนใจไปทดลองต่อทบ่ี ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
280 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 3 รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก ดา้ นความซื่อสตั ย์ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไมม่ ีการ 1. นกั เรยี นรายงานผลการทดลองตามทีท่ ดลองได้จรงิ แสดงออก 2. เม่ือทำ�การทดลองผิดพลาด นักเรยี นจะลอก ผลการทดลองของเพ่อื นส่งครู 3. เมื่อครมู อบหมายให้ทำ�ช้ินงานออกแบบส่งิ ประดิษฐ์ นกั เรียนจะประดิษฐ์ตามแบบที่ปรากฏอยใู่ นหนงั สอื ด้านความใจกว้าง 1. แ ม้วา่ นกั เรียนจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกับการสรปุ ผลการทดลอง ในกลมุ่ แตก่ ็ยอมรบั ผลสรุปของสมาชกิ สว่ นใหญ่ 2. ถ ้าเพ่ือนแยง้ วธิ กี ารทดลองของนักเรียนและมีเหตุผลที่ ดกี วา่ นกั เรยี นพรอ้ มทจ่ี ะน�ำ ขอ้ เสนอแนะของเพ่อื นไป ปรบั ปรุงงานของตน 3. เมื่องานทน่ี ักเรียนตัง้ ใจและทุ่มเททำ�ถูกตำ�หนิหรอื โต้แย้ง นกั เรยี นจะหมดกำ�ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1. น กั เรียนสรุปผลการทดลองทันทีเมอ่ื เสร็จสิน้ การทดลอง 2. น กั เรยี นทำ�การทดลองซ�ำ้ ๆ ก่อนที่จะสรปุ ผล การทดลอง 3. นักเรยี นตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณก์ ่อนท�ำ การทดลอง ดา้ นความม่งุ มนั่ อดทน 1. ถ ึงแมว้ ่างานคน้ คว้าทท่ี ำ�อยู่มีโอกาสส�ำ เร็จได้ยาก นกั เรยี นจะยงั คน้ คว้าตอ่ ไป 2. น ักเรียนลม้ เลกิ การทดลองทันที เม่ือผลการทดลอง ที่ไดข้ ดั จากท่ีเคยไดเ้ รยี นมา 3. เมอ่ื ทราบว่าชุดการทดลองที่นักเรียนสนใจต้องใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นกั เรียนก็เปลี่ยนไป ศกึ ษาชดุ การทดลองที่ใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 3 ภาคผนวก 281 รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก เจตคติท่ดี ตี ่อวิทยาศาสตร์ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่มกี าร 1. น ักเรียนน�ำ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์มาใชแ้ กป้ ัญหาใน แสดงออก ชีวติ ประจ�ำ วันอยู่เสมอ 2. นักเรียนชอบทำ�กจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกับวิทยาศาตร์ 3. น ักเรียนสนใจติดตามขา่ วสารท่เี ก่ียวขอ้ งกับ วทิ ยาศาสตร์ วิธีการตรวจให้คะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตวั เลอื กในชอ่ งตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความที่มีความหมายเปน็ ทางบวก ก�ำ หนดให้คะแนนแตล่ ะข้อความดงั น้ี ระดับพฤติกรรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 สว่ นของขอ้ ความทม่ี คี วามหมายเปน็ ทางลบการก�ำ หนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะขอ้ ความจะ มลี กั ษณะเปน็ ตรงกันขา้ ม การประเมินการนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทตี่ อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ดา้ นการเขียนโดยใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดังตวั อย่างต่อไปน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
282 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 3 ตวั อย่างเกณฑ์การประเมินความถูกต้องของเนอื้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ เนอ้ื หาไม่ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ตอ้ งปรบั ปรงุ เน้ือหาถูกต้องแต่ให้สาระสำ�คัญน้อยมาก และ พอใช้ ไม่ระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เน้ือหาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คัญ แตย่ ังไม่ครบถว้ น มี ดี การระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุ ดมี าก แหล่งทมี่ าของความรู้ชดั เจน ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพด้านการเขยี น (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุด ประสงค์ ขาดการเชื่อมโยงเน้ือหาบางส่วน พอใช้ ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสม และสะกดคำ�ไม่ถูกต้อง ไม่อ้างอิงแหล่งที่มาของ ดี ความรู้ เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ ไม่ชัดเจน เน้ือหาถูกต้องแต่มีรายละเอียด ไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียบเนื้อหาไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษา ถกู ต้อง อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของ เรื่อง บอกความสำ�คัญและที่มาของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็น สำ�คัญท้ังหมด เนื้อหาบางตอนเรียบเรียงไม่ ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รปู ภาพ แผนภาพประกอบ อ้างอิงแหลง่ ที่มาของ ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 3 ภาคผนวก 283 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเรื่อง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของปญั หา จดุ ประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญทั้งหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหลง่ ทีม่ าของความรู้ 2) การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เป็นการประเมินเพื่อต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใช้พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพื่อทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยที่ควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในสว่ นนน้ั ๆ เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย มีตัวอยา่ งดังน้ี ตวั อย่างเกณฑก์ ารประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดา้ นการวางแผน ต้องปรับปรงุ พอใช้ ไม่สามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ต่ไม่ ดี ตรงกับประเด็นปัญหาที่ตอ้ งการเรยี นรู้ ดีมาก ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำ คญั ของปัญหา เปน็ บางส่วน ออกแบบครอบคลุมประเดน็ สำ�คญั ของปญั หา เปน็ ส่วนใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ัดเจน ออกแบบได้ครอบคลุมทุกประเด็นส�ำ คัญของ ปญั หาอยา่ งเป็นขัน้ ตอนที่ชัดเจนและตรงตาม จุดประสงคท์ ่ตี ้องการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
284 ภาคผนวก ชีววิทยา เลม่ 3 รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ด้านการด�ำ เนินการ ตอ้ งปรับปรงุ ดำ�เนนิ การไม่เป็นไปตามแผน ใชอ้ ปุ กรณ์และสือ่ ประกอบถูกต้องแต่ไมค่ ลอ่ งแคล่ว พอใช้ ดำ�เนินการตามแผนที่วางไว้ ใชอ้ ปุ กรณ์และส่ือ ดี ประกอบถูกตอ้ งแตไ่ มค่ ล่องแคล่ว ด�ำ เนินการตามแผนที่วางไว้ ใช้อปุ กรณแ์ ละสือ่ ดมี าก ประกอบการสาธิตไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วและเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ต้องปรับปรุง ประสงค์ พอใช้ ดำ�เนนิ การตามแผนที่วางไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสื่อ ดี ประกอบได้ถกู ตอ้ ง คล่องแคลว่ และเสรจ็ ทัน ดีมาก เวลา ผลงานทกุ ขน้ั ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ ด้านการอธบิ าย อธิบายไม่ถกู ตอ้ ง ขดั แยง้ กับแนวคดิ หลักทาง วทิ ยาศาสตร์ อธิบายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธบิ ายเปน็ แบบพรรณนาทว่ั ไปซง่ึ ไม่ ค�ำ นงึ ถึงการเชอื่ มโยงกบั ปญั หาทำ�ใหเ้ ขา้ ใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคิดหลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแตข่ า้ มไปในบางขัน้ ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ ูกตอ้ ง อธิบายตามแนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ ตรง ตามประเดน็ ของปญั หาและจดุ ประสงค์ ใช้ ภาษาได้ถูกต้องเข้าใจงา่ ย สื่อความหมายได้ ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 3 บรรณานกุ รม 285 บรรณานกุ รม กองปฐพีวิทยา กรมวชิ าการเกษตร. (2543). ลักษณะอาการขาดธาตอุ าหารของพืช (พิมพ์ครงั้ ท่ี 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. ชุมพล คุณวาสี. (2551). สัณฐานวิทยาเบ้ืองต้นในการระบุชื่อวงศ์พืชดอกสามัญ. กรุงเทพฯ : ส�ำ นักพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . เทียมใจ คมกฤส. (2546). กายวิภาคของพฤกษ์ (พมิ พ์คร้ังท่ี 5). กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ชวี วทิ ยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รง้ั ที่ 9). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโลย.ี (2561). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว. สำ�นักงานราชบัณฑิตยสภา. (2560). พจนานุกรมศัพท์พฤกษศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (พมิ พค์ รั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ : ส�ำ นักพิมพค์ ณะรฐั มนตรีและราชกิจจานุเบกษา. Belmonte, M. F., Kirkbride, R. C., Stone, S. L., Pelletier, J. M., Bui, A. Q., Yeung, E. C., ... & Le, B. H. (2013). Comprehensive developmental profiles of gene activity in regions and subregions of the Arabidopsis seed. Proceedings of the National Academy of Sciences, 110(5), 435-444. Calvin, M. (1964). The path of carbon in photosynthesis. Nobel Lectures chemistry 1942-1962, Amsterdan: Elsevier Publishing Compay. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
286 บรรณานุกรม ชีววทิ ยา เล่ม 3 Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Reece, J. B. (2018). Biology: A Global Approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Davies, P. J. (2010). Plant Hormones Biosynthesis, Signal Transduction, Action (3rd ed). New York: Springer Science+Business Media B.V. Evert, R. F. (2006). Esau’s Plant anatomy: meristems, cells, and tissues of the plant body: their structure, function, and development (3rd ed). New Jersey: John Wiley & Sons, Inc. Evert, R. F. & Eichhorn, S. E. (2013). Raven Biology of Plants (8th ed). New York: W. H. Freeman and Company Publishers. Macmillan learning. (2018). Double fertilization. Retrieved April 1, 2018, from http:// www.macmillanhighered.com/BrainHoney/Resource/6716/digital_first_content/ trunk/test/hillis2e/asset/img_ch27/c27_fig04.html Pfennig, N. (1987). van Niel Remembered. ASM News, 53, 75-77. Stanier, R. Y., Doudoroff, M., Kunisawa, R., & Contopoulou, R. (1959). The role of organic substrates in bacterial photosynthesis. Proceedings of the National Academy of Sciences, 45(8), 1246-1260. Taiz, L., Zeiger E., Moller, I. M., Murphy, A. (2015). Plant Physiology and Development (6th ed). Massachusetts: Sinauer Associates Inc.e Trebst, A. V., Tsujimoto, H. Y., Arnon, D. I. (1958). Separation of light and dark phases in the photosynthesis of isolated chloroplasts. Nature, 182(4632), 351-355. Whatley, F. R., Allen, M. B., Trebst, A. V., & Arnon, D. I. (1960). Photosynthesis by isolated chloroplasts IX. Photosynthetic phosphorylation and CO2 assimilation in different species. Plant physiology, 35(2), 188. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 3 คณะกรรมการจดั ท�ำ หนังสือเรียน 287 คณะกรรมการจัดทำ�คู่มอื ครูรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา เลม่ 3 ตามผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 คณะท่ปี รกึ ษา ผอู้ ำ�นวยการ 1. ศ.ดร.ชูกจิ ลิมปจิ ำ�นงค ์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ช่วยผูอ้ �ำ นวยการ 2. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศักด์ ิ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผูจ้ ดั ท�ำ ค่มู ือครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 3 1. รศ.ดร.ธรี พงษ์ บวั บชู า จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2. ศ.ดร.ไพศาล สิทธิกรกลุ ผู้เชย่ี วชาญพเิ ศษ 3. นายธรี พฒั น์ เวชชประสิทธ์ ิ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. รศ.ดร.วีระวรรณ สทิ ธกิ รกุล ผู้อ�ำ นวยการสาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 5. นางเพ็ชรรัตน์ ศรีวิลยั สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. ผศ.ดร.พัชนี สงิ ห์อาษา ผู้เชย่ี วชาญ 7. นายณรงค์ พ่วงศร ี สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. ดร.อรสา ชูสกุล ผเู้ ชย่ี วชาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผ้ชู �ำ นาญ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ ำ�นาญ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ ำ�นาญสาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
288 คณะกรรมการจัดท�ำ หนังสือเรยี น ชีววิทยา เล่ม 3 9. ดร.สุนดั ดา โยมญาต ิ ผูช้ �ำ นาญสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 10. ดร.ขวัญชนก ศรทั ธาสุข นักวชิ าการสาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11. ดร.ภณั ฑิลา อดุ ร นกั วิชาการสาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 12. นางสาวปณุ ยาพร บริเวธานันท์ นกั วชิ าการสาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้ร่วมพจิ ารณาค่มู ือครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 3 1. รศ.ดร.มานติ คดิ อยู่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2. รศ.ดร.ศภุ จิตรา ชัชวาลย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 3. ผศ.เรณู ถาวโรฤทธิ์ นักวชิ าการอสิ ระ 4. นายเจษฎา นาจนั ทอง โรงเรียนทา่ คนั โทวทิ ยาคม จ.กาฬสนิ ธ์ุ 5. นายชัยยศ นมุ่ กลิน่ โรงเรยี นศรีบุณยานนท์ จ.นนทบุรี 6. นางสาวณัฎยา สรุ ยิ นต ์ โรงเรียนสามคั ควี ทิ ยาคม จ.เชียงราย 7. นายณัฐพงศ์ มนต์อ่อน โรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห์ สิงหเสนี) กรงุ เทพมหานคร 8. นางสาวธนพร สนิ ธมุ งคลชัย โรงเรยี นโยธนิ บูรณะ กรงุ เทพมหานคร 9. นางสาวนายิกา สนั ทารุนยั โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวดั จนั ทบรุ ี จ.จันทบรุ ี 10. นายพริ ุณ ไพสนทิ โรงเรียนสุรวทิ ยาคาร จ.สุรินทร์ 11. นางวรรณวิภา เบญจเลิศยานนท ์ โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระศรีนครนิ ทร์ ภูเกต็ จ.ภูเกต็ 12. นางสาววนั วสิ า เห็นประจักษ์ โรงเรยี นอา่ งศิลาพิทยาคม จ.ชลบรุ ี 13. นายวีระเดช คำ�ถาวร โรงเรียนหอวัง กรุงเทพมหานคร 14. นายศิวเชษฐ ชยั โรจน์ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองจอก กรงุ เทพมหานคร 15. นายสรุ เดช เอ่งฉ้วน โรงเรียนอ่าวลึกประชาสรรค์ จ.กระบ่ี 16. นายสรุ เดช ศรที า โรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพมหานคร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302