โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทท่ี 18 | ต�ำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ 87 ดวงอาทิตย์และคาบการโคจรท่ีแตกต่างกัน และในตอนท่ี 2 ก�ำหนดให้ดวงอาทิตย์และดาวศุกร์ ปรากฏบนระนาบศนู ยส์ ตู รฟา้ ทง้ั นก้ี ารโคจรของดาวเคราะหว์ งในทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ในธรรมชาติ เปน็ ดงั นี้ • ระนาบวงโคจรของดาวศกุ ร์และโลกท�ำมุมกนั เล็กนอ้ ย • วงโคจรของโลกและดาวศกุ รเ์ ปน็ วงรีที่มีความรีท่แี ตกตา่ งกัน • โลกและดาวศุกร์มคี วามเร็วในการเคลอ่ื นท่ีแตกต่างกนั ไปตามตำ� แหน่งในวงโคจร • แกนหมนุ ของโลกไมต่ ง้ั ฉากกบั ระนาบวงโคจร ทำ� ใหด้ วงอาทติ ยแ์ ละดาวศกุ รไ์ มป่ รากฏบนระนาบ ศูนยส์ ตู รฟา้ เสมอไป 7. ครใู หค้ วามรูเ้ กี่ยวกับการเรียกชอ่ื ดาวศุกรท์ แี่ ตกต่างกนั ตามชว่ งเวลา ดังน้ี ดาวศุกร์ท่ีปรากฏให้เห็นในช่วงเช้ามืดเหนือขอบฟ้าด้านตะวันออกจะมีชื่อเรียกเฉพาะว่า ดาวประกายพรึก ส่วนดาวศุกรท์ ีป่ รากฏให้เหน็ ในชว่ งหวั คำ่� เหนือขอบฟ้าด้านตะวนั ตกจะมีชอื่ เรียก เฉพาะวา่ ดาวประจ�ำเมือง 8. ครูตรวจสอบความเขา้ ใจนักเรียน โดยใช้ค�ำถามในหนงั สอื เรียนหน้า 61 • หากผู้สังเกตบนโลกมองเหน็ ดาวพุธในชว่ งเช้ามืด ในขณะนนั้ ดาวพธุ มีมุมหา่ งไปทางทิศใด แนวค�ำตอบ ดาวพุธมมี ุมหา่ งไปทางตะวันตก 9. ครใู ห้นกั เรียนพจิ ารณา แผนภาพแสดงมมุ ห่างของดาวเคราะห์วงในในช่วงปพี .ศ. 2562 - 2563 ใน หนงั สือเรยี นหนา้ 60 แลว้ อภิปรายร่วมกันโดยใชค้ ำ� ถามดงั นี้ • จากกราฟท่ีก�ำหนดให้ ดาวศุกร์มีค่ามุมห่างสูงสุดไปทางตะวันออกประมาณก่ีองศา และมี คา่ มมุ ห่างสงู สดุ ไปทางตะวันตกประมาณก่อี งศา แนวคำ� ตอบ ประมาณ 46 องศา ทั้งทางตะวันออกและทางตะวันตก • จากกราฟท่ีก�ำหนดให้ ดาวพุธมีค่ามุมห่างสูงสุดไปทางตะวันออกประมาณก่ีองศา และมี คา่ มมุ ห่างสูงสุดไปทางตะวนั ตกประมาณก่อี งศา แนวค�ำตอบ มีค่ามุมห่างสูงสุดไปทางตะวันออกประมาณ 26 องศา และมีค่ามุมห่างสูงสุดไป ทางตะวนั ตกประมาณ 28 องศา หมายเหตุ วงโคจรจรของดาวพธุ มคี วามรมี ากและมกี ารบิดไปเรือ่ ย ๆ ขณะโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ดงั รูป สง่ ผล ใหม้ ุมห่างสงู สุดไปทางตะวนั ออกและตะวนั ตกของดาวพุธมคี า่ ไมเ่ ท่ากนั ดาวพุธ ดาวพุธ ดาวพธุ ดาวพุธ ดาวพุธ ดาวพธุ โลก โลก โลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
88 บทท่ี 18 | ตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 • เพราะเหตใุ ดกราฟการเปลี่ยนมมุ ห่างของดาวพุธจงึ มกี ารเปลี่ยนแปลงครบ 1 รอบ เรว็ กว่าดาวศกุ ร์ แนวค�ำตอบ เพราะดาวพุธมีคาบการโคจรน้อยกว่าดาวศุกร์ท�ำให้มุมห่างของดาวพุธเกิด การเปล่ียนแปลงเร็วกว่าดาวศุกร์ • จากกราฟ ดาวพธุ และดาวศกุ ร์ ณ ต�ำแหนง่ ที่ 1 2 3 และ 4 มีค่ามุมหา่ งเปน็ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ตำ� แหนง่ ที่ 1 และตำ� แหนง่ ท่ี 3 เปน็ ตำ� แหนง่ ทด่ี าวศกุ รแ์ ละดาวพธุ มมี มุ หา่ งเปน็ 0 องศา ตำ� แหน่งท่ี 2 เป็นต�ำแหน่งท่ีดาวศกุ ร์และดาวพุธมมี ุมหา่ งไปทางตะวนั ตกมากทสี่ ดุ และต�ำแหนง่ ที่ 4 เปน็ ตำ� แหนง่ ที่ดาวศกุ ร์และดาวพธุ มมี ุมห่างไปทางตะวันออกมากที่สุด 10. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาและสงั เกตรปู ในหนงั สอื เรยี นหน้า 60 – 64 และอภิปรายโดยใช้คำ� ถามดงั น้ี • ต�ำแหน่งที่ดาวเคราะห์วงในมีค่ามุมห่าง 0 องศา มีได้ก่ีต�ำแหน่ง และแต่ละต�ำแหน่งแตกต่าง กนั อย่างไร แนวค�ำตอบ มไี ด้ 2 ต�ำแหน่ง โดยดาวเคราะหว์ งในอาจอยรู่ ะหวา่ งโลกและดวงอาทติ ย์ หรอื ดาวเคราะห์วงในอาจอยหู่ ลังดวงอาทิตย์ • ดาวเคราะห์วงในมตี ำ� แหนง่ หลักใดบ้าง แนวคำ� ตอบ มี 4 ตำ� แหน่ง ไดแ้ ก่ รว่ มทศิ แนววงใน หา่ งไปทางตะวนั ตกมากท่ีสดุ รว่ มทศิ แนว วงนอก ห่างไปทางตะวันออกมากทสี่ ดุ • ณ ต�ำแหน่งร่วมทิศแนววงในและร่วมทิศแนววงนอก ผู้สังเกตบนโลกสามารถสังเกตเห็น ดาวเคราะหไ์ ด้หรือไม่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เนื่องจากดาวเคราะห์มีต�ำแหนง่ ปรากฏใกลด้ วงอาทติ ย์ แต่หากดาวเคราะห์อยู่ในต�ำแหน่งร่วมทิศแนววงในและอยู่ในระนาบเดียวกับดวงอาทิตย์และ โลก จะสงั เกตเห็นดาวเคราะหเ์ ปน็ จดุ สีดำ� เคล่อื นผ่านหน้าดวงอาทิตย์ • ในวันที่ดาวเคราะห์วงในโคจรมาอยู่ในต�ำแหน่งร่วมทิศแนววงในและร่วมทิศแนววงนอก ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะหว์ งในและการข้นึ การตกของดาวเคราะห์วงในเป็นอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ดาวเคราะหว์ งในปรากฏอยใู่ กลด้ วงอาทติ ยม์ าก ทำ� ใหเ้ สมอื นวา่ ดาวเคราะหว์ งใน ข้นึ และตกพร้อมดวงอาทิตย์ • ณ ตำ� แหนง่ ใด คนบนโลกจะมองเหน็ ดาวเคราะหว์ งในอยสู่ งู จากขอบฟา้ ทางดา้ นตะวนั ออกมาก ท่สี ุด และเห็นในช่วงเวลาใด แนวคำ� ตอบ ตำ� แหนง่ หา่ งไปทางตะวนั ตกมากทสี่ ดุ โดยสงั เกตเหน็ ในชว่ งเชา้ มดื กอ่ นดวงอาทติ ยข์ น้ึ • ณ ตำ� แหนง่ ใด คนบนโลกจะมองเหน็ ดาวเคราะหว์ งในอยสู งู จากขอบฟา้ ทางดา้ นตะวนั ตกมาก ทีส่ ดุ และเหน็ ในชว่ งเวลาใด แนวคำ� ตอบ ตำ� แหนง่ หา่ งไปทางตะวนั ออกมากทสี่ ดุ โดยสงั เกตเหน็ ในชว่ งหวั คำ่� หลงั ดวงอาทติ ยต์ ก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทที่ 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 89 11. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบค�ำถามชวนคิด ในหนังสือเรียนหน้า 65 โดยมีแนวทาง การตอบคำ� ถามดังน้ี • ในช่วงท่ีดาวศุกร์มีมุมห่างมากที่สุดและดวงอาทิตย์อยู่ท่ีขอบฟ้า ดาวศุกร์จะมีมุมเงยเท่ากับ มมุ ห่างหรือไม่ ยกตวั อย่างและวาดรูปประกอบการอธบิ าย แนวค�ำตอบ ในช่วงที่ดาวศุกร์มีมุมห่างมากท่ีสุดและดวงอาทิตย์อยู่ท่ีขอบฟ้า ถ้าดวงอาทิตย์ และดาวศุกรม์ ีมมุ ทศิ เดียวกัน มมุ หา่ งของดาวศุกรจ์ ะมีค่าเทา่ กบั มุมเงย ดงั รูป ดาวศกุ ร ระยะหางเชิงมุมจากดาวศุกร ระยะหา งเชงิ มมุ จากดาวศกุ ร ไปยงั ดวงอาทติ ย (มุมหา ง) ไปยังจดุ ท่ีต้งั ฉากกับขอบฟา (มมุ เงย) (มุมหาง = มุมเงย) เสนขอบฟา ดวงอาทิตยอ ยทู ข่ี อบฟา ถ้าดวงอาทิตย์และดาวศุกร์มีมุมทิศต่างกัน มุมห่างและมุมเงยของดาวศุกร์จะมีค่าไม่เท่ากัน โดยดาวศุกร์อาจมมี ุมเงยน้อยกวา่ มมุ ห่าง ดังรูป ดาวศุกร ระยะหา งเชงิ มมุ จากดาวศกุ ร ระยะหา งเชงิ มมุ จากดาวศุกร ไปยงั ดวงอาทิตย (มุมหาง) ไปยังจุดที่ตง้ั ฉากกับขอบฟา (มมุ เงย) เสนขอบฟา ดวงอาทิตยอยทู ่ขี อบฟา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
90 บทท่ี 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 12. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั ดาวเคราะห์วงนอกโดยใช้คำ� ถามดงั น้ี • ดาวเคราะหว์ งนอกจะมกี ารเปลย่ี นแปลงมมุ หา่ งเหมอื นหรอื ตา่ งจากดาวเคราะหว์ งในหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ตอบตามความเข้าใจของนักเรยี น 13. ครใู หน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 18.2 ตำ� แหนง่ ของดาวองั คารในวงโคจรและการสงั เกตเหน็ ดาวองั คาร กิจกรรม 18.2 ต�ำแหน่งของดาวอังคารในวงโคจรและการสงั เกตเห็นดาวองั คาร จดุ ประสงค์กจิ กรรม 1. ระบตุ ำ� แหน่งในวงโคจรและมุมห่างของดาวอังคารโดยใช้แผนภาพทก่ี ำ� หนดให้ 2. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมุมห่างกับตำ� แหน่งปรากฏของดาวอังคาร เวลา 120 นาที วัสดุ-อุปกรณ์ ตอนท่ี 1 1. ตารางบนั ทึกข้อมูล 1 แผน่ 2. แผนภาพส�ำหรบั บันทึกต�ำแหน่งของโลก และดาวองั คารในวงโคจร 1 แผน่ 3. กราฟสำ� หรบั บนั ทกึ คา่ มมุ หา่ ง และจำ� นวนวนั ทดี่ าวองั คารโคจรรอบดวงอาทติ ย ์ 1 แผน่ 4. ไมโ้ ปรแทรกเตอร์ชนิดครึ่งวงกลม 1 อนั 5. ไม้บรรทดั ยาว 30 เซนติเมตร 1 อนั ตอนที่ 2 1. แผนภาพวงโคจรของดาวองั คาร 1 แผน่ 2. แผน่ ใส ขนาด A4 1 แผน่ 3. ไมโ้ ปรแทรกเตอรช์ นิดครึง่ วงกลม 1 อนั 4. ไมบ้ รรทดั ยาว 30 เซนตเิ มตร 1 อัน 5. ปากกาเคมสี ีด�ำ 1 ด้าม ขอ้ เสนอแนะสำ� หรับครู 1. ในกิจกรรมตอนท่ี 1 ครอู าจปฏิบัติและแนะนำ� นกั เรียน ดงั น้ี - ย้�ำกับนักเรียนวา่ วงโคจรของดาวอังคารคือวงโคจรท่ใี หญ่กวา่ วงโคจรของโลก - ทบทวนการลากเสน้ แนวโนม้ เนอื่ งจากมมุ หา่ งเปลยี่ นจากทศิ ตะวนั ตกไปเปน็ ทศิ ตะวนั ออก (ระหว่างวันที่ 750 – 800) ควรแนะน�ำให้นักเรียนลากเส้นแนวโน้มไปจนกระทั่งสุดที่ มุมห่าง 180 องศาไปทางตะวันตก จากนั้นจึงเริ่มต้นลากเส้นแนวโน้มอีกเส้นที่มีจุดเริ่ม จากมมุ ห่าง 180 องศาไปทางตะวนั ออก โดยไม่ต้องลากเส้นให้ตอ่ กนั สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 91 วธิ ที �ำกจิ กรรม ตอนท่ี 1 ตำ� แหน่งในวงโคจรและมมุ ห่างของดาวอังคาร 1. ค�ำนวณมุมท่ีโลกและดาวอังคารโคจรไปโดยใช้ตัวอย่างการค�ำนวณในตารางบันทึกข้อมูล ก�ำหนดให้โลกและดาวอังคารมีวงโคจรเป็นวงกลมในระนาบเดียวกัน และมีอัตราเร็ว ในการโคจรคงที่ มคี าบการโคจรประมาณ 365 วัน และ 687 วนั ตามล�ำดบั 2. ศึกษาวิธีการระบุต�ำแหน่งของโลกและดาวอังคาร เมื่อโลกและดาวอังคารโคจรมาอยู่ใน ต�ำแหน่งที่ 1 จากแผนภาพส�ำหรับบันทึกต�ำแหน่งของโลกและดาวอังคารในวงโคจร โดย ก�ำหนดให้โลกและดาวอังคารมตี �ำแหนง่ เร่มิ ต้นที่ 0 องศา 3. ระบตุ �ำแหน่งของโลกและดาวองั คารเมอื่ เวลาผา่ นไป 100 วนั ลงในแผนภาพสำ� หรบั บันทกึ ต�ำแหน่งของโลกและดาวอังคารในวงโคจร และใสเ่ ลข 2 ก�ำกับ เพอื่ ก�ำหนดให้เป็นตำ� แหน่ง ที่ 2 4. ลากเส้นตรงจากโลกไปยังดวงอาทิตย์ และลากเส้นตรงอีกเส้นจากโลกไปยังดาวอังคาร 5. วัดขนาดของมุมห่างดาวอังคารโดยใช้ไม้โปรแทรกเตอร์ดังรูป พร้อมระบุทิศของมุมห่าง บันทึกผลลงในตารางบันทกึ ข้อมูล ดวงอาทติ ย โลก ดาวอังคาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
92 บทที่ 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 6. ท�ำซ�้ำขอ้ 3–4 จนครบ 20 ต�ำแหนง่ บนั ทึกผล 7. นำ� ขอ้ มลู ท่ีได้จากตารางมาบันทึกตำ� แหน่งลงในแผ่นกราฟท่กี ำ� หนดให้ 8. ลากเสน้ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงมมุ หา่ งของดาวองั คารตามจำ� นวนวัน 9. สรุป และน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ตอนท่ี 2 ต�ำแหน่งปรากฏของดาวอังคารเมื่อผู้สังเกตท่ีเส้นศนู ยส์ ตู ร 1. สามารถใชแ้ บบจ�ำลองทอ้ งฟ้าจากกจิ กรรม 18.1 2. ระบุต�ำแหน่งของดาวอังคารลงบนแผนภาพวงโคจรของดาวอังคารท่ีก�ำหนด เมื่อมีมุมห่าง 90 องศา ไปทางตะวนั ตก พรอ้ มบนั ทกึ คา่ มุมหา่ งและทศิ ทางของมุมห่าง 3. น�ำแผ่นจ�ำลองท้องฟ้ามาวางซ้อนบนแผนภาพในข้อ 2 โดยให้ต�ำแหน่งผู้สังเกตอยู่ต�ำแหน่ง เดียวกับโลกบนแผนภาพวงโคจรของดาวองั คาร ดงั รูป จากนัน้ หมุนแผน่ จ�ำลองทอ้ งฟา้ โดย ใหต้ ำ� แหนง่ ของโลกเปน็ จดุ หมนุ พรอ้ มระบตุ ำ� แหนง่ ปรากฏของดาวองั คารในชว่ งเวลาเชา้ มดื เทีย่ งวัน หวั ค่�ำ และเที่ยงคืน บนั ทกึ ผล แผนภาพวงโคจรของดาวอังคาร ขอบฟา ดา นตะวันออก แผนใส ผสู ังเกตดวงอาทติ ย โลก ขอบฟา ดานตะวันตก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 บทท่ี 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 93 4. ทำ� ซ�้ำขอ้ 2 – 3 โดยกำ� หนดให้ดาวอังคารมมี มุ หา่ งตามล�ำดบั ดังน้ี - 0 องศา - 90 องศา ไปทางตะวันตก - 180 องศา 5. สรปุ และน�ำเสนอผลการท�ำกจิ กรรม ตัวอยา่ งผลการทำ� กจิ กรรม ตอนที่ 1 ตำ� แหน่งในวงโคจรและมมุ หา่ งของดาวองั คารz ต�ำแหน่ง จำ� นวนวัน มมุ ทดี่ าวเคราะห์โคจรซึง่ ไดจ้ ากการคำ� นวณ ผลที่ได้จาก ท่ีโลกโคจร (องศา) กิจกรรม ไปได้ (วัน) โลก ดาวศกุ ร์ มุมห่าง ไปทางทศิ (องศา) เรมิ่ ตน้ 0 0 0 180 ตะวนั ออก มมุ ทโี่ ลกโคจรไปได้ มมุ ทดี่ าวศกุ รโ์ คจรไปได้ ≈ 360 × จำ� นวนวนั ≈ 360 × จำ� นวนวัน คาบการโคจร คาบการโคจร 1 50 ≈ 360 × 50 ≈ 360 × 50 122 ตะวนั ออก 365 687 ≈ 49.3 องศา ≈ 26.2 องศา 2 100 98.6 52.4 93.5 ตะวนั ออก 3 150 147.9 78.6 72 ตะวนั ออก 4 200 197.3 104.8 55 ตะวนั ออก 5 250 246.6 131.0 39.5 ตะวนั ออก 6 300 295.9 157.2 25 ตะวนั ออก 7 350 345.2 183.4 10 ตะวนั ออก 8 400 394.5 209.6 3.5 ตะวันตก 9 450 443.8 235.8 12 ตะวันตก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
94 บทท่ี 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 จ�ำนวนวนั มมุ ที่ดาวเคราะห์โคจรซงึ่ ไดจ้ ากการ ผลที่ได้จากกจิ กรรม ตำ� แหนง่ ท่ีโลกโคจร คำ� นวณ (องศา) มมุ หา่ ง ไปทางทศิ ไปได้ (วนั ) โลก ดาวศุกร์ (องศา) 10 500 493.2 262.0 31 ตะวันตก 11 550 542.5 288.2 12 600 591.8 314.4 46 ตะวันตก 13 650 641.1 340.6 14 700 690.4 366.8 62 ตะวันตก 15 750 739.7 393.0 16 800 789.0 419.2 80 ตะวนั ตก 17 850 838.4 445.4 18 900 887.7 471.6 104 ตะวนั ตก 19 950 937.0 497.8 20 1000 986.3 524.0 145 ตะวนั ตก 151.5 ตะวนั ออก 109 ตะวันออก 83 ตะวันออก 65 ตะวันออก 48 ตะวนั ออก สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 95 แผนภาพส�ำหรับบนั ทกึ ต�ำแหนง่ ของโลกและดาวอังคารในวงโคจร 952260000 951159000 7 519480000 157830900 20 165028080 4 11 953702010 8 6 155018070 945080220 18 140500860 950590230 19 5 130490850 960600240 9 19 3 120 480 840 10 970610250 12 17 18110 470 830 980 620 260 5 4 20 10 100 460 820 630 270 ดวงอาทิตย 2 13 90 450 810 6 9 17 640 280 16 3 80 440 800 11 มไมุปหทาางงต1ะ2ว2ันอองอศกา 70 430 790 650 290 2 16 60420780 1 50410770 40400760 660 300 8 7 โลก 15 670310 12 14 70304013 ตำแหนงเริ่มตน 15 680320 14 33097050 330 731500 3706200ดาวอังคาร13707300 1 690 23078400 1 AU 1.52 AU สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
96 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 กราฟส�ำหรบั บันทกึ คา่ มมุ หา่ งและจ�ำนวนวนั ทดี่ าวองั คารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มุมหา งจากดวงอาทติ ยไ ปทางตะวันออก ดวงอาทติ ย มุมหา งจากดวงอาทิตยไปทางตะวันตก 180o 160o 140o 120o 100o 80o 60o 40o 20o 20o 40o 60o 80o 100o 120o 140o 160o 180o เริ่มตน 50 100 150 200 250 300 350 400 จำนวนวัน ันบจาก ุจดเริ่ม ตน 450 500 550 600 650 700 750 800 850 900 950 1000 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 บทท่ี 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 97 สรุปผลการทำ� กจิ กรรม มมุ ห่างของดาวอังคารทจ่ี ุดเรม่ิ ตน้ จะมีค่า 180 องศา และมมุ หา่ งมีคา่ ลดลงไปทางตะวนั ตก จนมีมุมห่าง 90 องศา และลดลงจนถึง 0 องศา จากนั้นมุมห่างมีค่าเพ่ิมข้ึนไปทางตะวันออก จนกระทัง่ มีมุมห่าง 90 องศา และเพ่ิมขน้ึ จนถึง 180 องศาอกี ครัง้ คำ� ถามทา้ ยกิจกรรม 1. จากกราฟ ดาวองั คารมคี ่ามุมหา่ งมากทีส่ ุดประมาณเทา่ ใด แนวคำ� ตอบ 180 องศา 2. จากกราฟ ดาวอังคารมกี ารเปลี่ยนแปลงขนาดและทิศทางของมุมห่างอย่างไร แนวค�ำตอบ มุมหา่ งของดาวองั คารที่จุดเรม่ิ ต้นจะมคี ่า 180 องศา และมุมหา่ งมคี า่ ลดลงไป ทางตะวันตกจนมีมุมห่าง 90 องศา และลดลงจนถงึ 0 องศา จากน้ันมมุ ห่างมีค่าเพ่มิ ขน้ึ ไป ทางตะวนั ออกจนกระทง่ั มมี ุมห่าง 90 องศา และเพ่มิ ขน้ึ จนถึง 180 องศาอกี คร้ัง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
98 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 ตอนที่ 2 ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวองั คารเมอื่ ผ้สู ังเกตทเ่ี ส้นศูนยส์ ตู ร แผนภาพวงโคจรของดาวองั คาร 0 องศา ดวงอาทิตย วงโคจรโลก 90 องศา โลก 90 องศา ไปทางตะวนั ออก ไปทางตะวันตก 180 องศา วงโคจรดาวองั คาร 1 AU 1.52 AU สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 บทที่ 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 99 ตารางบนั ทกึ ผล มุมห่างของ ตำ� แหน่งปรากฏของดาวอังคาร ดาวอังคาร 90 องศา เชา้ มดื เที่ยงวัน หัวค่�ำ เทย่ี งคืน ไปทางตะวนั ตก เหนือศรี ษะ ขอบฟา้ ด้าน 0 องศา ขอบฟา้ ด้าน ใต้ขอบฟ้า ตะวันออก ขอบฟา้ ดา้ น ตะวันตก ขอบฟ้าดา้ น ใตข้ อบฟ้า 90 องศา ตะวันออก เหนอื ศรี ษะ ตะวันตก ไปทางตะวันออก ใตข้ อบฟา้ ขอบฟ้าด้าน ขอบฟา้ ดา้ น เหนอื ศรี ษะ ตะวนั ตก ตะวนั ออก 180 องศา ขอบฟ้าด้าน ใตข้ อบฟา้ ขอบฟา้ ด้าน เหนอื ศีรษะ ตะวนั ตก ตะวันออก สรุปผลการท�ำกิจกรรม ช่วงเวลาท่ีสังเกตเห็นดาวอังคารจะเปลี่ยนแปลงไปตามต�ำแหน่งในวงโคจรซ่ึงสัมพันธ์กับ มุมห่างของดาวอังคาร ดงั นี้ เมื่อดาวอังคารท่ีมีมมุ ห่าง 90 องศา ไปทางตะวันออก ผู้สงั เกตบน โลกจะเหน็ ดาวองั คารในชว่ งเวลาประมาณหวั คำ่� ถงึ เทย่ี งคนื เมอ่ื มมี มุ หา่ ง 0 องศา จะไมส่ ามารถ สงั เกตเหน็ ดาวอังคารได้ เม่ือมีมุมหา่ ง 90 องศา ไปทางตะวนั ตก จะเห็นดาวองั คารในชว่ งเวลา ประมาณเทย่ี งคืนจนถงึ เชา้ มืด และเมือ่ มมี มุ หา่ ง 180 องศา จะเหน็ ดาวองั คารได้ตลอดท้งั คนื คำ� ถามทา้ ยกิจกรรม 1. เมื่อดาวองั คารมมี มุ ห่าง 90 องศา ไปทางตะวนั ตก ผู้สังเกตบนโลกจะมองเหน็ ดาวอังคารใน ช่วงเวลาใด แนวค�ำตอบ จะเห็นในช่วงเวลาประมาณเที่ยงคืนจนถึง 6 นาฬิกา (ท้ังนี้จะสังเกตเห็น ดาวอังคารข้ึนจากขอบฟ้าตะวันออกประมาณเที่ยงคืนจนถึงดวงอาทิตย์ขึ้นหรือประมาณ 6 นาฬิกา) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
100 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 2. เมอ่ื ดาวอังคารมมี ุมห่าง 90 องศา ไปทางตะวันออก ผสู้ ังเกตบนโลกจะมองเหน็ ดาวองั คาร ในชว่ งเวลาใด แนวคำ� ตอบ จะสงั เกตเหน็ ตงั้ แตช่ ว่ งเวลาประมาณ 18 นาฬกิ า จนถงึ ประมาณเทย่ี งคนื (ทง้ั น้ี ผู้สงั เกตจะเห็นดาวอังคารอยูบ่ นเมริเดียนผู้สงั เกตเวลาประมาณ 18 นาฬิกา จนกระทง่ั ก่อน ดาวอังคารลบั ขอบฟา้ ตะวันตกเวลาประมาณเทีย่ งคืน) 3. เมื่อดาวองั คารมมี ุมห่าง 180 องศา ผสู้ ังเกตบนโลกจะมองเหน็ ดาวอังคารในชว่ งเวลาใด แนวค�ำตอบ จะสังเกตเหน็ ได้ตลอดทั้งคืน 4. เมอื่ ดาวองั คารมมี มุ หา่ ง 0 องศา ผสู้ งั เกตบนโลกจะมองเหน็ ดาวองั คารไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด แนวคำ� ตอบ ไม่สามารถสงั เกตเห็นได้ เนื่องจากดาวองั คารข้ึนและตกพร้อมดวงอาทิตย์ 14. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอ และร่วมกันอภิปรายผลการท�ำกิจกรรมพร้อมตอบค�ำถามท้าย กิจกรรม โดยมแี นวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบค�ำถามดังแสดงขา้ งตน้ 15. ครูอธิบายนักเรียนเพ่ิมเติมว่าการโคจรของดาวอังคารที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ เป็นลักษณะ เดยี วกนั กบั ดาวศุกร์ 16. ครตู รวจสอบความเข้าใจนักเรียน โดยใช้ค�ำถามในหนังสือเรยี นหน้า 70 • ดาวเคราะห์วงนอกดวงอื่น ๆ จะมีช่วงการเปล่ียนแปลงของขนาดและทิศทางมุมห่างเหมือน ดาวองั คารหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ดาวเคราะหว์ งนอกดวงอนื่ ๆ มกี ารเปลย่ี นแปลงมมุ หา่ งเหมอื นกบั ดาวองั คาร โดย มุมห่างมีค่าเปล่ียนแปลงไดจ้ าก 0 ถึง 180 องศา ท้ังทางตะวันออกและทางตะวนั ตก 17. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาและสงั เกตรปู ในหนงั สอื เรียนหนา้ 71 – 75 และอภิปรายโดยใช้คำ� ถามดังน้ี • ดาวเคราะหว์ งนอกมีต�ำแหน่งหลกั ใดบ้าง แนวคำ� ตอบ มี 4 ต�ำแหนง่ ไดแ้ กต่ รงข้าม ตั้งฉากทางตะวันตก ร่วมทิศ ตั้งฉากทางตะวันออก • ณ ตำ� แหนง่ ตง้ั ฉากทางตะวนั ตกและตง้ั ฉากทางตะวนั ออก การขนึ้ การตกของดาวเคราะหว์ งนอก เหมอื นหรือต่างกันอย่างไร แนวค�ำตอบ ต�ำแหน่งตั้งฉากทางตะวันตก ดาวเคราะห์วงนอกจะข้ึนจากขอบฟ้าในช่วงเวลา ประมาณเท่ียงคืนและตกลับขอบฟ้าในช่วงเวลาประมาณเที่ยงวัน แต่ที่ต�ำแหน่งต้ังฉากทาง ตะวันออก ดาวเคราะห์วงนอกจะขึ้นจากขอบฟ้าในช่วงเวลาประมาณเท่ียงวันและตกลับ ขอบฟ้าในชว่ งเวลาประมาณเที่ยงคนื • ตำ� แหนง่ ที่เหมาะสมทส่ี ดุ ในการศกึ ษาดาวเคราะห์วงนอกอยูท่ ต่ี ำ� แหนง่ ใด เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ตำ� แหนง่ ตรงขา้ ม เนอื่ งจากสามารถสงั เกตเหน็ ดาวเคราะหว์ งนอกไดต้ ลอดทง้ั คนื และมีขนาดปรากฏใหญแ่ ละสว่างมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 บทท่ี 18 | ตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ 101 18. จากกิจกรรมเปน็ การกำ� หนดให้ผูส้ ังเกตอยู่ทีศ่ นู ย์สูตร ถ้าผูส้ งั เกตอยทู่ ีล่ ะตจิ ดู อนื่ เส้นทางการขนึ้ การตกของดาวเคราะห์จะเปลี่ยนไปหรือไม่ อย่างไร ให้ศึกษาจากกิจกรรมลองท�ำดู เส้นทาง การขน้ึ การตกของดวงอาทิตยแ์ ละดาวเคราะห์ ในหนงั สอื เรียนหนา้ 64 19. ครตู รวจสอบความเข้าใจนกั เรยี น โดยใช้คำ� ถามในหนงั สอื เรียนหน้า 76 • ดาวองั คารจะปรากฏอยบู่ ริเวณใดบนทอ้ งฟา้ เมื่อก�ำหนดต�ำแหนง่ ของดวงอาทติ ยแ์ ละมุมหา่ ง ของดาวองั คาร ดงั ตาราง มุมหา่ ง ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวอังคาร ของดาวอังคาร ดวงอาทิตยอ์ ยขู่ อบฟ้า ดวงอาทติ ยอ์ ยขู่ อบฟา้ 0 องศา ด้านตะวนั ออก ด้านตะวันตก 90 องศา ไปทางตะวนั ออก ขอบฟา้ ทศิ ตะวันออก ขอบฟ้าทศิ ตะวนั ตก ใต้ขอบฟ้า สูงจากขอบฟ้ามากที่สุดเมอื่ เทยี บ กับดาวองั คารทมี่ ีมมุ หา่ ง อนื่ ๆ หรอื บนเมรเิ ดียนผสู้ ังเกต 180 องศา ขอบฟ้าทศิ ตะวนั ตก ขอบฟา้ ทศิ ตะวันออก 90 องศา สงู จากขอบฟา้ มากทสี่ ุดเม่อื ใต้ขอบฟา้ ไปทางตะวนั ตก เทยี บกับดาวองั คารท่ีมมี มุ หา่ ง อ่นื ๆ หรอื บนเมริเดียนผู้ สังเกต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
102 บทที่ 18 | ต�ำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 แนวทางการวดั และประเมินผล KPA แนวทางการวดั และประเมินผล K: มมุ หา่ งของดาวเคราะหท์ สี่ มั พนั ธ์ 1. ผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม 18.1 และ 18.2 รวมทั้งการตอบค�ำถาม กบั ชว่ งเวลาและตำ� แหนง่ ปรากฏ ทา้ ยกจิ กรรม 2. การอภปิ รายและสรปุ ผลกิจกรรม 3. แบบฝกึ หดั ท้ายบท และแบบทดสอบ P: 1. การวดั จากปฏิบัติกจิ กรรม 18.1 และ 18.2 1. การวดั 2. การลงความเหน็ จากขอ้ มลู 2. การลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 18.1 และ 18.2 3. การหาความสัมพนั ธข์ องสเป 3. การหาความสมั พนั ธข์ องสเปซกบั เวลาจากปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 18.1 ซกับเวลา และ 18.2 4. การใชจ้ ำ� นวน 4. การใช้จำ� นวนจากปฏิบัตกิ จิ กรรม 18.1 และ 18.2 5. การจัดกระท�ำและสื่อความ 5. การจัดกระท�ำและสื่อความหมายข้อมูลจากปฏิบัติกิจกรรม หมายขอ้ มูล 18.1 และ 18.2 6. การตีความหมายข้อมูลและ 6. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จากปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 18.1 ลงข้อสรปุ และ 18.2 7. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 7. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติ 8. ความรว่ มมอื การทำ� งานเปน็ กิจกรรม 18.1 และ 18.2 ทมี และภาวะผ้นู ำ� 8. ความร่วมมือ การท�ำงานเป็นทีมและภาวะผู้น�ำจากการปฏิบัติ กจิ กรรม 18.1 และ 18.2 A: 1. ความอยากรู้อยากเห็นจากการวิเคราะห์และแก้ปัญหาใน 1. ความอยากร้อู ยากเหน็ สถานการณ์ทีก่ ำ� หนดให้ 2. การยอมรบั ความเหน็ ต่าง 3. ความซอื่ สัตย์ 2. ยอมรับความเห็นหรอื แนวคดิ ทม่ี ปี ระจักษพ์ ยานและเหตุผลท่ี 4. ความมุ่งมน่ั อดทน แตกตา่ งแตกจากตนเอง 3. เก็บรวบรวมและรายงานข้อมูล แมว้ า่ บางขอ้ มูล จะขัดแยง้ กับ สมมตฐิ านหรอื สิง่ ทพี่ ยากรณ์ไว้ 4. ไม่ย่อท้อในการรวบรวมข้อมูล เพ่ือน�ำไปสู่การอธิบาย ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 บทที่ 18 | ตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ 103 18.2 ปรากฏการณท์ างดาราศาสตร์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดาวเคราะห์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธบิ ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตรท์ ่เี กีย่ วขอ้ งกบั ดาวเคราะห์โดยใชม้ ุมหา่ ง สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 2. สืบค้นขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ได้จาก สสวท. learning space http://www.scimath.org แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครูน�ำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนสังเกตรูป 18.18 ในหนังสือเรียนหน้า 78 จากนั้นอภิปราย รว่ มกนั โดยอาจใช้ตัวอยา่ งค�ำถามดงั นี้ • จากรปู เป็นปรากฏการณ์ใด มีวตั ถทุ ้องฟ้าใดบ้าง แนวค�ำตอบ ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน มีดาวพฤหสั บดี ดาวศุกร์ และดวงจันทร์ • นอกจากวัตถุท้องฟ้าดังกล่าวแล้ว มีโอกาสท่ีดาวเคราะห์ดวงอ่ืนจะปรากฏในลักษณะดังกล่าว หรอื ไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ ตอบตามความเขา้ ใจของนักเรยี น 2. ครูให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 18.3 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ทีเ่ กย่ี วกับดาวเคราะห์ กิจกรรม 18.3 ปรากฏการณท์ างดาราศาสตร์ทเ่ี ก่ยี วกับดาวเคราะห์ จุดประสงค์กิจกรรม ระบุต�ำแหน่งโดยประมาณของดาวเคราะห์ในวงโคจรในขณะที่เกิดปรากฏการณ์ทาง ดาราศาสตรท์ ีเ่ ก่ียวกบั ดาวเคราะห์ เวลา 60 นาที วัสดุ-อปุ กรณ์ ตอนที่ 1 1. รูปปรากฏการณด์ าวเคราะหช์ มุ นมุ 1 ภาพ 2. แผนภาพส�ำหรับระบตุ ำ� แหน่งดาวเคราะหใ์ นวงโคจร ขณะเกิดปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชมุ นมุ 1 ภาพ 3. รูปปรากฏการณด์ าวเคียงเดอื น 1 ภาพ 4. แผนภาพสำ� หรับระบุต�ำแหนง่ ดาวเคราะหใ์ นวงโคจร ขณะเกดิ ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดอื น 1 ภาพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
104 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 5. ไม้โปรแทรกเตอร์ชนิดครึ่งวงกลม 1 อนั 6. ไม้บรรทดั ยาว 30 เซนตเิ มตร 1 อนั วิธที ำ� กิจกรรม 1. ปรากฏการณด์ าวเคราะห์ชุมนมุ 1.1 หาค่ามุมห่างของดาวเคราะห์จากภาพปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม โดยมีขั้นตอน ดังนี้ - วัดระยะทางจากดาวเคราะห์ไปยงั ดวงอาทิตย์ - น�ำระยะทางทไี่ ด้ไปเทยี บเป็นมุมห่างตามสเกลท่กี ำ� หนดให้ใต้ภาพ - ระบุทิศของมุมห่างของดาวเคราะห์แต่ละดวง โดยอ้างอิงจากต�ำแหน่งของ ดวงอาทิตย์ และขอบฟ้า 1.2 นำ� คา่ มมุ หา่ งและทศิ ของมมุ หา่ งทไ่ี ดจ้ ากขอ้ 1.1 มาระบตุ ำ� แหนง่ ดาวเคราะหแ์ ตล่ ะดวง ในแผนภาพวงโคจร ส�ำหรับดาวพุธและดาวศุกร์ให้ระบุต�ำแหน่งท่ีเป็นไปได้ทั้งสอง ต�ำแหน่ง 2. ปรากฏการณ์ดาวเคยี งเดอื น 2.1 หาค่ามมุ หา่ งของดาวเคราะห์และดวงจันทรจ์ ากภาพปรากฏการณด์ าวเคียงเดอื น โดย มีข้ันตอนเชน่ เดียวกบั ข้อ 1 2.2 นำ� คา่ มมุ หา่ งและทศิ ของมมุ หา่ งทไี่ ดจ้ ากขอ้ 2.1 มาระบตุ ำ� แหนง่ ดาวเคราะหแ์ ตล่ ะดวง ในแผนภาพวงโคจร ส�ำหรับดาวศุกรใ์ ห้ระบตุ ำ� แหน่งท่เี ป็นไปได้ทง้ั สองตำ� แหน่ง 3. น�ำเสนอ และอภปิ รายผลการท�ำกิจกรรม ตวั อยา่ งผลการท�ำกจิ กรรม มุมหา่ งจากการตรวจวัดบนแผนภาพปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ วตั ถุทอ้ งฟ้า มุมหา่ ง ทิศของมมุ ห่าง ดาวเคราะห์ชมุ นุม 1. ดาวพุธ 1. 14.1 1. ตะวันตก ดาวเคียงเดือน 2. ดาวศุกร์ 2. 4.8 2. ตะวันตก 3. ดาวองั คาร 3. 6.1 3. ตะวันออก 1. ดาวองั คาร 1. 39.4 1. ตะวันตก 2. ดาวศุกร์ 2. 37.2 2. ตะวันตก 3. ดวงจันทร์ 3. 36.3 3. ตะวันตก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทที่ 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 105 การระบตุ ำ� แหน่งดาวเคราะหใ์ นวงโคจรขณะเกดิ ปรากฏการณ์ดาวเคราะหช์ ุมนุม ดาวอังคาร วงโคจรดาวองั คาร วงโคจรโลก วงโคจรดาวศกุ ร ดาวศกุ ร (ตำแหนง 2) วงโคจรดาวพุธ ดาวพุธ ดวงอาทติ ย (ตำแหนง 2) ดาวพธุ (ตำแหนง 1) ดาวศุกร (ตำแหนง 1) โลก ไมเ ปน ไปตามสัดสว นจริง การระบตุ �ำแหนง่ ดาวเคราะหใ์ นวงโคจรขณะเกดิ ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดอื น วงโคจรดาวอังคาร วงโคจรโลก ดาวอังคาร วงโคจรดาวศกุ ร ดวงอาทติ ย ดาวศุกร (ตำแหนง 2) ดาวศุกร (ตำแหนง 1) ดวงจนั ทร โลก วงโคจรดวงจันทร ไมเ ปนไปตามสดั สวนจริง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
106 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 สรปุ ผลการทำ� กิจกรรม ในขณะเกดิ ปรากฏการณท์ างดาราศาสตรท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ดาวเคราะห์ มมุ หา่ งของดาวเคราะห์ และ/หรือดวงจนั ทร์ จะมีคา่ ใกลเ้ คยี งกนั คำ� ถามทา้ ยกิจกรรม 1. จากแผนภาพปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุมและดาวเคียงเดือน ดาวเคราะห์และ/หรือ ดวงจนั ทร์ มลี ักษณะการเรยี งตัวเปน็ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ เรียงตวั อย่ใู นแนวท่ใี กลเ้ คียงกัน 2. จากขอ้ 1 มมุ หา่ งของดาวเคราะห์และ/หรอื ดวงจันทร์ในแต่ละปรากฏการณเ์ ป็นอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ มุมหา่ งมคี ่าใกลเ้ คยี งกัน 3. ลักษณะการเรียงตัวดังแผนภาพปรากฏการณ์ในข้อ 1 และแผนภาพวงโคจรของแต่ละ ปรากฏการณ์ มคี วามสัมพนั ธก์ ันอย่างไร แนวค�ำตอบ เมื่อตำ� แหน่งของดาวเคราะห์และ/หรือดวงจันทร์ในวงโคจรเรียงตัวอยู่ในแนว ทีใ่ กลเ้ คยี งกนั มมุ หา่ งจะมีคา่ ใกล้เคยี งกัน 4. ปรากฏการณด์ าวเคยี งเดอื นมคี วามเหมอื นและแตกตา่ งจากดาวเคราะหช์ มุ นมุ หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ ทั้งสองปรากฏการณ์เหมือนกันที่ดาวเคราะห์และ/หรือดวงจันทร์มีมุมห่าง ใกลเ้ คยี งกนั จงึ ปรากฏใกลก้ นั บนทอ้ งฟา้ แตต่ า่ งกนั ทปี่ รากฏการณด์ าวเคยี งเดอื นเกดิ ขนึ้ เมอ่ื ดาวเคราะห์ปรากฏใกลก้ บั ดวงจนั ทร์ 3. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอ และรว่ มกนั อภปิ รายผลการทำ� กจิ กรรม พรอ้ มตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม โดยมีแนวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบคำ� ถามดงั แสดงข้างตน้ 4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ปรากฏการณด์ าวเคยี งเดอื นและปรากฏการณด์ าวเคราะห์ ชุมนมุ เพ่ือใหไ้ ดแ้ นวทางการสรุปตามหนงั สอื เรียนหน้า 80 - 81 5. จากกิจกรรม 18.1 พบวา่ ดาวเคราะหว์ งในมีมุมหา่ งเท่ากัน แต่มตี �ำแหน่งในวงโคจรสองตำ� แหน่งคือ ตำ� แหนง่ ทใี่ กลโ้ ลกและตำ� แหนง่ ทไ่ี กลโลก จะทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่ ดาวเคราะหว์ งในนน้ั อยทู่ ต่ี ำ� แหนง่ ใด ครอู าจให้นักเรยี นทำ� กิจกรรมลองท�ำดูเร่อื ง เฟสของดาวเคราะห์วงใน ในหนงั สือเรยี นหน้า 82 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทท่ี 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 107 ตวั อย่างผลการทำ� กจิ กรรม สว่ นสวา่ ง ต�ำแหนง่ ของ ส่วนสว่าง ดาวเคราะห์ ตำ� แหน่งของดาวเคราะห์ 1 5 26 37 4 ไม่สามารถสังเกตเหน็ 8 สงั เกตเห็นดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์วงในได้ วงในมืดทั้งดวง สรปุ ผลการท�ำกิจกรรม ดาวเคราะหว์ งในจะมกี ารเปลย่ี นแปลงสว่ นสวา่ งหรอื เฟสคลา้ ยกบั ลกู ปงิ ปองเชน่ กนั และดาวเคราะห์ วงในที่โคจรไปอยู่ในยังต�ำแหน่งที่แตกต่างกันสองต�ำแหน่งซึ่งมีมุมห่างเท่ากันจะมีส่วนสว่างหรือเฟสท่ี ตา่ งกนั โดยดาวเคราะหว์ งในทีอ่ ย่ใู กลโ้ ลกจะมีส่วนสวา่ งนอ้ ยกวา่ ดาวเคราะหท์ ี่อยูไ่ กลโลก 6. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เก่ียวกับปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ในหนังสือเรียน หนา้ 83 และร่วมกันอภปิ รายโดยใชค้ �ำถามดงั นี้ • ปรากฏการณ์ดาวเคราะหผ์ า่ นหนา้ ดวงอาทติ ยจ์ ะเกดิ กบั ดาวเคราะหด์ วงใดบ้าง แนวค�ำตอบ ดาวพุธ และดาวศุกร์ • ขณะเกดิ ปรากฏการณด์ ังกล่าว มุมหา่ งของดาวเคราะหม์ คี า่ ประมาณเท่าใด แนวคำ� ตอบ ดาวเคราะหม์ มี มุ หา่ งประมาณ 0 องศา หรอื ไมเ่ กนิ 0.25 องศา ซง่ึ เปน็ ครง่ึ หนงึ่ ของ ขนาดปรากฏของดวงอาทิตย์ • เมื่อดาวเคราะห์มีมุมห่าง 0 องศาจะเกิดปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ทุกคร้ัง หรือไม่ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ ไม่ทุกคร้งั เนอ่ื งจากระนาบการโคจรของดาวเคราะหเ์ อียงท�ำมมุ กับระนาบสรุ ยิ วถิ ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
108 บทที่ 18 | ต�ำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 7. ครูอาจให้นักเรียนท�ำกิจกรรมลองท�ำดูเรื่อง การเคล่ือนที่ถอยหลังของดาวอังคาร ในหนังสือเรียน หน้า 84 ตวั อย่างผลการทำ� กจิ กรรม 9 8 5 6 7 ดา นตะวนั ออก 43 2 ดา 1นตะวันตก สรปุ ผลการท�ำกิจกรรม ในชว่ งแรกดาวองั คารจะเคลอ่ื นทจ่ี ากตำ� แหนง่ 1-4 จากตะวนั ตกไปทางตะวนั ออก จากนน้ั ดาวองั คาร จะเคลอ่ื นทยี่ อ้ นกลบั มาทางตะวนั ตกจากตำ� แหนง่ ท่ี 4-6 และเคลอ่ื นทไ่ี ปทางดา้ นตะวนั ออกอกี ครงั้ จาก ตำ� แหนง่ ที่ 6-9 8. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายตามความคดิ ของตนเองวา่ “หากนกั เรยี นตอ้ งการสงั เกตปรากฏการณ์ ดาวเคราะห์ชุมนุม นักเรียนจะต้องวางแผนอย่างไรบ้าง” โดยให้ปฏิบัติกิจกรรม 18.4 ตามหา ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชมุ นุม กจิ กรรม 18.4 ตามหาปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม จุดประสงคก์ จิ กรรม วางแผนการสงั เกตปรากฏการณ์ดาวเคราะหช์ มุ นมุ ตามสถานการณท์ ่ีกำ� หนด เวลา 40 นาที วสั ดุ-อุปกรณ์ - สถานการณ์ จากแผนภาพแสดงมุมหา่ งของดาวเคราะห์ในช่วงปี พ.ศ. 2564-2565 ในหนงั สือเรยี นหนา้ 86 ปรากฏการณ์ดาวเคราะหช์ ุมนุมท่มี ีดาวเคราะห์ 3 ดวง อยหู่ า่ งกนั ไม่เกนิ 10 องศา จะเกิด ปรากฏการณน์ ้ไี ด้กีค่ ร้ัง เดอื นใด ชว่ งเวลาใด และแต่ละคร้งั มดี าวดวงใดบา้ ง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทท่ี 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 109 วธิ ีท�ำกิจกรรม 1. นักเรยี นร่วมกนั วิเคราะหส์ ถานการณ์ทกี่ �ำหนด และอภปิ รายเกย่ี วกบั องค์ความรทู้ ี่เกย่ี วข้อง เช่น - การระบตุ ำ� แหน่งดาวเคราะห์ดว้ ยมมุ หา่ ง - ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมุมห่างของดาวเคราะห์และตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ - การอา่ นแผนภาพแสดงมุมหา่ งของดาวเคราะห์ 2. สืบคน้ ขอ้ มูลตามประเด็นทกี่ �ำหนดจากข้อ 1 3. น�ำเสนอแผนการแกป้ ัญหา ตามสถานการณท์ กี่ �ำหนด สรปุ ผลการท�ำกจิ กรรม การวางแผนสังเกตปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม โดยใช้แผนภาพแสดงมุมห่างของ ดาวเคราะห์เพ่ือระบเุ ดือน ชว่ งเวลา และดาวเคราะห์ ทำ� ได้โดยพจิ ารณาจากขนาดของมุมหา่ ง ทีไ่ มเ่ กิน 10 องศา คำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. เกดิ ปรากฏการณด์ าวเคราะหช์ มุ นุมทีม่ ดี าวเคราะห์ 3 ดวง ห่างกันไมเ่ กดิ 10 องศา กค่ี ร้งั เดอื นใด ช่วงเวลาใด และแต่ละครงั้ มีดาวเคราะห์ดวงใดบา้ ง แนวคำ� ตอบ เกิดปรากฏการณด์ าวเคราะห์ชมุ นมุ 7 ครงั้ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ ครั้งที่ เดือน ชว่ งเวลา ดาวเคราะห์ 1 มกราคม 2564 หวั ค่ำ� ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ 2 ปลายเดือนกุมภาพันธ์ถงึ ตน้ เชา้ มืด ดาวพธุ ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ เดือนมีนาคม 2564 3 เมษายน 2564 หวั ค�่ำ ดาวพุธ ดาวศกุ ร์ ดาวยูเรนสั 4 มนี าคม 2565 เช้ามดื ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวเนปจนู 5 มีนาคม 2565 เชา้ มืด ดาวศกุ ร์ ดาวองั คาร ดาวเสาร์ 6 เมษายน 2565 เชา้ มืด ดาวศุกร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวเนปจูน 7 พฤษภาคม 2565 เชา้ มืด ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเนปจนู 2. จากสถานการณ์ ชว่ งเดอื นใดจะเกดิ ดาวเคราะหช์ ุมนุมมากที่สุด แนวคำ� ตอบ ชว่ งเดอื นมีนาคมถึงเดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2565 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
110 บทที่ 18 | ต�ำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 3. จากขอ้ 1 ถา้ สังเกตปรากฏการณด์ าวเคราะห์ชุมนุมดว้ ยตาเปล่า จะเหน็ ดาวเคราะหค์ รบท้งั 3 ดวง ทุกครง้ั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ไม่สามารถสงั เกตเห็นดาวเคราะห์ครบทง้ั 3 ดวง ทุกคร้งั โดยในครง้ั ท่ี 3 4 6 และ 7 สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์ได้ 2 ดวง เน่ืองจากดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนไม่ สามารถสังเกตเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปล่า 9. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอ และรว่ มกนั อภปิ รายผลการทำ� กจิ กรรมพรอ้ มตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม โดยมแี นวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบคำ� ถามดงั แสดงขา้ งตน้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผล แนวทางการวัดการประเมินผล KPA การวดั และประเมนิ ผล K : ก า ร เ กิ ด ป ร า ก ฏ ก า ร ณ ์ ท า ง 1. ผลการปฏิบัติกจิ กรรม 18.3 และ 18.4 รวมทั้งการตอบ ดาราศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับดาว ค�ำถามทา้ ยกิจกรรม เคราะห์ 2. การอภปิ รายและสรุปผลกจิ กรรม 3. แบบฝึกหัดทา้ ยบท และแบบทดสอบ P: 1. การวดั 1. การวัดจากการปฏิบตั ิกิจกรรม 18.3 และ 18.4 2. การพยากรณ์ 2. การพยากรณ์จากการปฏบิ ัติกจิ กรรม 18.4 3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อ 3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปจากการปฏิบัติ สรุป กจิ กรรม 18.3 และ 18.4 4. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 4. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาจากการ 5. ความร่วมมือ การท�ำงานเป็นทีม ปฏิบัติกจิ กรรม 18.3 และ 18.4 และภาวะผนู้ �ำ 5. ความร่วมมือ การท�ำงานเป็นทีมและภาวะผู้น�ำจากการ ปฏบิ ัติกิจกรรม 18.3 และ 18.4 A: 1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ จากการวเิ คราะหแ์ ละแกป้ ญั หาใน 1. ความอยากรู้อยากเห็น สถานการณ์ทก่ี ำ� หนดให้ 2. การยอมรบั ความเหน็ ตา่ ง 3. ความซื่อสตั ย์ 2. ยอมรับความเห็นหรือ แนวคิดท่ีมีประจักษ์พยานและ เหตผุ ลทแ่ี ตกต่างแตกจากตนเอง 3. เก็บรวบรวมและรายงานข้อมูล แม้ว่าบางข้อมูล จะขดั แย้งกับสมมติฐานหรือส่งิ ที่พยากรณ์ไว้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทที่ 18 | ตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ 111 ความรเู้ พิม่ เตมิ ส�ำหรบั ครู ปรากฏการณ์แสงโลก ปรากฏการณ์แสงโลก (earth shine) คือปรากฏการณ์ที่ด้านมืดของดวงจันทร์ปรากฏให้เห็น เป็นแสงจาง ๆ ดงั รูป ปรากฏการณด์ ังกล่าวเกดิ จากแสงของดวงอาทติ ยถ์ กู โลกสะท้อนไปยังดวง จันทร์ และดวงจันทร์สะท้อนแสงน้ันกลับมายังโลกอีกครั้ง ท�ำให้ส่วนมืดของดวงจันทร์ปรากฏ สวา่ งขน้ึ และมองเหน็ เปน็ แสงจาง ๆ ท่ีมา : สถาบันวจิ ัยดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
112 บทที่ 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 1. ใชต้ ำ� แหน่งดาวเคราะหใ์ นวงโคจรตามแผนภาพทก่ี ำ� หนดให้ ตอบค�ำถามขอ้ 1.1-1.5 ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคาร ดวงอาทิตย ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวเสาร ไมเ ปนไปตามสดั สวนจรงิ 1.1 มมุ ห่างดาวเคราะหแ์ ละทิศทางของมุมห่างดาวเคราะห์แตล่ ะดวงเปน็ อย่างไร แนวค�ำตอบ ดาวพธุ 19 องศาไปทางตะวันออก, ดาวศุกร์ 41 องศาไปทางตะวันตก, ดาวอังคาร 50 องศาไปทางตะวนั ออก, ดาวพฤหัสบดี 0o และดาวเสาร์ 180o 1.2 ในช่วงเชา้ มืดผู้สังเกตบนโลกจะมองเห็นดาวเคราะห์ดวงใดบนทอ้ งฟ้าได้บ้าง แนวคำ� ตอบ ดาวศกุ รแ์ ละดาวเสาร์ โดยสงั เกตเหน็ ดาวศกุ รเ์ หนอื ขอบฟา้ ดา้ นตะวนั ออก และสงั เกตเหน็ ดาวเสารเ์ หนือขอบฟ้าด้านตะวันตก 1.3 ในชว่ งหัวค�ำ่ ผ้สู งั เกตบนโลกจะมองเหน็ ดาวเคราะห์ดวงใดบนทอ้ งฟา้ ได้บ้าง แนวคำ� ตอบ ดาวพธุ ดาวอังคาร ดาวเสาร์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทที่ 18 | ตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ 113 1.4 ดาวเคราะหด์ วงใดทผ่ี ้สู ังเกตบนโลกไมส่ ามารถสงั เกตเห็นไดเ้ ลย แนวค�ำตอบ ดาวพฤหัสบดี 1.5 ดาวเคราะห์ดวงใดที่ผสู้ งั เกตบนโลกสามารถสังเกตเห็นได้ตลอดทง้ั คนื แนวค�ำตอบ ดาวเสาร์ 2. ใชข้ อ้ มลู มุมหา่ งและทศิ ทางมมุ หา่ งของดาวพุธทกี่ ำ� หนดให้ ตอบคำ� ถามขอ้ 2.1 – 2.4 ตำ� แหนง่ วนั ที่ มมุ หา่ ง ทิศของมุมหา่ ง ต�ำแหนง่ วันท่ี มมุ หา่ ง ทศิ ของมมุ ห่าง 1 เรม่ิ ต้น 2.9 ตะวนั ตก 7 60 19.2 ตะวนั ตก 2 10 5.6 ตะวนั ออก 8 70 26.3 ตะวันตก 3 20 12.0 ตะวนั ออก 9 80 27.3 ตะวันตก 4 30 17.6 ตะวนั ออก 10 90 24.0 ตะวันตก 5 40 15.9 ตะวนั ออก 11 100 18.1 ตะวนั ตก 6 50 3.9 ตะวนั ตก 12 110 9.6 ตะวันตก หมายเหตุ อา้ งองิ ขอ้ มลู จากโปรแกรมท้องฟ้าจ�ำลองระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2570 2.1 ระบุต�ำแหน่งของดาวพุธในวงโคจร เมื่อก�ำหนดต�ำแหน่งของโลกในวงโคจร ต�ำแหน่ง ของดวงอาทิตย์ และตำ� แหน่งที่ 1 ของดาวพธุ ในวงโคจร ดังรูป 2 1 12 11 3 ดวงอาทติ ย วงโคจรดาวพุธ 4 10 5 9 8 67 ไมเ ปน ไปตามสดั สว นจริง โลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
114 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 2.2 จากขอ้ 2.1 ผสู้ ังเกตบนโลกจะมองเหน็ ดาวพธุ ในช่วงเชา้ มืดเมอ่ื ดาวพธุ อยทู่ ต่ี �ำแหนง่ ใด บ้างในวงโคจร และผู้สังเกตบนโลกจะมองเห็นดาวพุธในช่วงหัวค�่ำเมื่อดาวพุธอยู่ที่ ต�ำแหนง่ ใดบา้ งในวงโคจร แนวคำ� ตอบ ผ้สู ังเกตจะมองเห็นดาวพธุ ในช่วงเชา้ มดื เม่อื ดาวพุธอยใู่ นต�ำแหนง่ ท่ี 7 ถึง 12 และผูส้ ังเกตจะมองเหน็ ดาวพธุ ในช่วงหวั ค่�ำเมือ่ ดาวพุธอย่ใู นตำ� แหน่งที่ 3 ถึง 5 หมายเหตุ ครอู าจอภิปรายเพม่ิ เตมิ วา่ ในตำ� แหน่งที่ 1, 2 และ 6 ดาวพุธจะมีตำ� แหน่งปรากฏอยู่ใกล้ ดวงอาทติ ยม์ าก ทำ� ให้ถกู แสงดวงอาทิตยก์ ลบจึงไมส่ ามารถสังเกตเหน็ ได้ 2.3 วาดกราฟแสดงการเปล่ียนแปลงมุมห่างของดาวพุธพร้อมลากเส้นแนวโน้ม การเปล่ยี นแปลงมุมห่างของดาวพธุ ลงในกระดาษกราฟทกี่ �ำหนดให้ มมุ หา งจากดวงอาทติ ยไปทางตะวันออก ดวงอาทติ ย มุมหางจากดวงอาทติ ยไปทางตะวนั ตก 180o 160o 140o 120o 100o 80o 60o 40o 20o 20o 40o 60o 80o 100o 120o 140o 160o 180o จำนวนวัน ันบจาก ุจดเริ่ม ตน 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 บทที่ 18 | ต�ำแหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ 115 2.4 จากกราฟในข้อ 2.3 ดาวพุธมีค่ามุมห่างไปทางตะวันออกและทางตะวันตกมากที่สุด ประมาณเทา่ ใด แนวค�ำตอบ มุมหา่ งไปทางตะวันออกมากทส่ี ุดประมาณ 18 องศา และมุมหา่ งไปทาง ตะวันตกมากทส่ี ุดประมาณ 28 องศา 3. น�ำตัวอักษรหน้าข้อความไปเติมลงในช่องว่างตามต�ำแหน่งของดาวเคราะห์ในวงโคจรใน แผนภาพท่ีกำ� หนดให้ (บางตวั เลือกสามารถใชไ้ ด้มากกว่า 1 ครง้ั ) ก. ผสู้ งั เกตบนโลกมองเหน็ ดาวเคราะหก์ ำ� ลงั ขนึ้ จากขอบฟา้ ในขณะดวงอาทติ ยก์ ำ� ลงั ลบั ขอบฟา้ ข. ดาวเคราะหว์ งในมมี มุ ห่างไปทางตะวันออกมากทีส่ ุด ค. ดาวเคราะหว์ งนอกอยสู่ ูงจากขอบฟ้ามากท่สี ุด ในขณะทีด่ วงอาทติ ยก์ ำ� ลังขึน้ จากขอบฟา้ ง. ดาวเคราะหม์ ีโอกาสเคล่อื นท่ีผ่านหน้าดวงอาทติ ย์ จ. ดาวเคราะหว์ งในมมี ุมหา่ งไปทางตะวนั ตกมากทีส่ ุด ฉ. ดาวเคราะห์วงนอกอย่สู งู จากขอบฟา้ มากทส่ี ดุ ในขณะทด่ี วงอาทิตยก์ �ำลังลับขอบฟ้า ช. ผสู้ ังเกตบนโลกไม่สามารถสังเกตเหน็ ดาวเคราะห์ เนอ่ื งจากดาวเคราะห์ขนึ้ และตกพร้อม ดวงอาทิตยแ์ ละดาวเคราะหอ์ ยู่ดา้ นหลังดวงอาทิตย์ ช ช ข ดวงอาทิตย ค ฉ จ ง ดาวเคราะหวงใน โลก ก ดาวเคราะหวงนอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
116 บทท่ี 18 | ตำ� แหนง่ ปรากฏของดาวเคราะห์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 4. พิจารณาภาพปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือนในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2562 จากน้ันระบุ ต�ำแหน่งของดวงจันทร์ ดาวพฤหัสบดี และดาวศุกร์ ลงในแผนภาพวงโคจรท่ีก�ำหนดให้ (ส�ำหรบั ดาวศุกรใ์ หร้ ะบตุ �ำแหน่งทเ่ี ปน็ ไปได้ทง้ั 2 ต�ำแหน่ง) ดวงจนั ทร ดาวพฤหสั บดี ดาวศุกร ขอบฟาดานตะวนั ออก ดวงอาทิตย สเกลสำหรับเปรียบเทยี บมุมหา ง 0o 5o 10o 15o 20o 25o 30o 35o 40o 45o 50o 55o สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 6 บทที่ 18 | ตำ� แหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ 117 วงโคจรดาวพฤหัสบดี วงโคจรโลก วงโคจรดาวศกุ ร ดวงอาทติ ย ดาวพฤหัสบดี ดาวศกุ ร ดาวศกุ ร ดวงจันทร โลก วงโคจรดวงจันทร ไมเปนไปตามสดั สวนจรงิ 5. ปรากฏการณด์ าวเคราะหช์ มุ นมุ ทม่ี ดี าวเคราะหป์ รากฏใกลก้ นั 5 ดวง มโี อกาสเกดิ ไดม้ ากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ ปรากฏการณด์ าวเคราะหช์ มุ นมุ ทมี่ ดี าวเคราะหป์ รากฏใกลก้ นั 3 ดวง เพราะเหตุ ใดจงึ เป็นเช่นน้นั แนวคำ� ตอบ มโี อกาสเกดิ ขน้ึ นอ้ ยกวา่ เนอื่ งจากดาวเคราะหแ์ ตล่ ะดวงมคี าบการโคจรแตกตา่ ง กนั ดังนนั้ โอกาสทดี่ าวเคราะห์ท้งั 5 ดวง จะโคจรมาในต�ำแหนง่ ทม่ี มี ุมหา่ งใกลเ้ คียงกนั จึงมี โอกาสน้อยกว่าการปรากฏของดาวเคราะห์ 3 ดวง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก
119 ตัวอย่างเคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที น่ี ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมท้ังข้อดีและข้อจ�ำกัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบใหเ้ หมาะสมกบั สงิ่ ทตี่ อ้ งการวดั โดยลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทงั้ ขอ้ ดแี ละขอ้ จำ� กดั ของแบบ ทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เป็นดังน้ี 1. แบบทดสอบแบบท่มี ีตวั เลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเป็นดังนี้ 1.1 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ เปน็ แบบทดสอบทม่ี กี ารกำ� หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถ่ี กู เพยี งหนง่ึ ตวั เลอื ก องค์ประกอบหลกั ของแบบทดสอบแบบเลอื กตอบมี 2 สว่ น คือ ค�ำถามและตวั เลอื ก แตบ่ าง กรณอี าจมสี ว่ นของสถานการณเ์ พมิ่ ขนึ้ มาดว้ ย แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมหี ลายรปู แบบ เชน่ แบบทดสอบ แบบเลือกตอบคำ� ถามเด่ยี ว แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำถามชุด แบบทดสอบ แบบเลือกตอบค�ำถาม 2 ช้ัน โครงสรา้ งดงั ตัวอย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำถามเดยี่ วท่ไี มม่ ีสถานการณ์ คำ� ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
120 แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำถามเดยี่ วทมี่ ีสถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... คำ� ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำถามเป็นชุด สถานการณ์……………………………………………………………...................... คำ� ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำถามที่ 2 …………………………………………………………….................. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
121 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ� ถาม 2 ชั้น สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำถามที่ 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบคำ� ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธข์ิ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอื้ หาตาม จุดประสงค์ สามารถตรวจให้คะแนนและแปลผลคะแนนได้ตรงกัน แต่มีข้อจ�ำกัดคือ ไม่เปิดโอกาสให้ นกั เรยี นไดแ้ สดงออกอยา่ งอสิ ระจงึ ไมส่ ามารถวดั ความคดิ ระดบั สงู เชน่ ความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ด้ นอกจาก นนี้ ักเรียนที่ไมม่ คี วามรสู้ ามารถเดาคำ� ตอบได้ 1.2 แบบทดสอบแบบถูกหรอื ผิด เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นน้ั มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื คำ� สง่ั และขอ้ ความ ใหน้ ักเรียนพิจารณาว่าถูกหรือผดิ ดังตวั อยา่ ง แบบทดสอบแบบถูกหรือผิด ค�ำสั่ง ใหพ้ ิจารณาวา่ ขอ้ ความตอ่ ไปน้ีถูกหรือผิด แล้วใส่เครือ่ งหมาย หรอื หน้า ขอ้ ความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
122 แบบทดสอบรปู แบบนี้สามารถสรา้ งได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเนื้อหา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนได้ตรงกนั แต่นักเรียนมีโอกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ป็นจริงหรอื เปน็ เท็จ โดยสมบูรณใ์ นบางเนอื้ ท�ำไดย้ าก 1.3 แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบด้วยส่วนทีเ่ ปน็ ค�ำสั่ง และขอ้ ความ 2 ชดุ ท่ีใหจ้ บั คู่กัน โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำถาม และขอ้ ความชดุ ท่ี 2 อาจเปน็ คำ� ตอบหรอื ตวั เลือก โดยจำ� นวนขอ้ ความในชุดที่ 2 อาจ มีมากกวา่ ในชุดที่ 1 ดงั ตวั อยา่ ง แบบทดสอบแบบจับคู่ คำ� สงั่ ใหน้ ำ� ตัวอักษรหน้าข้อความในชดุ ค�ำตอบมาเตมิ ในช่องวา่ งหนา้ ข้อความในชดุ คำ� ถาม ชุดคำ� ถาม ชุดคำ� ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาคำ� ตอบไดย้ ากเหมาะสำ� หรบั วดั ความสามารถในการหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคำ� หรอื ขอ้ ความ 2 ชดุ แตใ่ นกรณที นี่ กั เรยี นจบั คผู่ ดิ ไปแลว้ จะทำ� ใหม้ กี ารจบั คู่ผิดในคอู่ ่ืน ๆ ดว้ ย 2 แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดค�ำตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อนความ คดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบเตมิ คำ� หรอื การเขยี นตอบอยา่ งสนั้ และการเขยี นตอบแบบอธบิ าย รายละเอยี ดของแบบทดสอบทม่ี กี าร ตอบแตล่ ะแบบเป็นดงั น้ี 2.1 แบบทดสอบเขียนตอบแบบเตมิ คำ� หรอื ตอบอย่างสนั้ ประกอบดว้ ยคำ� สง่ั และขอ้ ความทไ่ี มส่ มบรู ณซ์ งึ่ จะมสี ว่ นทเ่ี วน้ ไวเ้ พอื่ ใหเ้ ตมิ คำ� ตอบหรอื ขอ้ ความ สนั้ ๆ ทท่ี ำ� ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และค�ำถามท่ใี ห้นกั เรียนตอบโดยการเขยี นอย่างอิสระ แตส่ ถานการณแ์ ละคำ� ถาม จะเปน็ ส่งิ ทกี่ ำ� หนดค�ำตอบใหม้ คี วามถกู ต้องและเหมาะสม สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
123 แบบทดสอบรูปแบบน้ีสร้างได้ง่าย มีโอกาสเดาได้ยาก และสามารถวินิจฉัยค�ำตอบท่ีนักเรียน ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อนได้ แต่การ จำ� กดั คำ� ตอบใหน้ กั เรยี นตอบเปน็ คำ� วลี หรอื ประโยคไดย้ าก ตรวจใหค้ ะแนนไดย้ ากเนอ่ื งจาก บางครงั้ มีคำ� ตอบถูกตอ้ งหรอื ยอมรับไดห้ ลายค�ำตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธิบาย เป็นแบบทดสอบท่ีต้องการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณ์และ ค�ำถามที่สอดคลอ้ งกัน โดยคำ� ถามเปน็ คำ� ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอื่ งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นคำ� ตอบมาก ทำ� ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจทำ� ให้ วดั ได้ไม่ครอบคลุมเนือ้ หาทั้งหมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไม่ ตรงกนั แบบประเมินทกั ษะ เมอ่ื นักเรียนไดล้ งมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรมจรงิ จะมหี ลักฐานร่องรอยที่แสดงไว้ท้ังวธิ ีการปฏิบตั แิ ละผลการ ปฏบิ ัติ ซ่งึ หลักฐานร่องรอยเหล่านั้นสามารถใช้ในการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคิด และทกั ษะ ปฏบิ ตั ิได้เป็นอย่างดี การปฏิบัติการทดลองเป็นกิจกรรมที่ส�ำคัญท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยทั่วไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลองโดย เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ประเมินดังตวั อย่าง ตวั อยา่ งแบบสำ� รวจรายการทักษะปฏบิ ัตกิ ารทดลอง ˇ ผลการสำ� รวจ รายการทีต่ ้องสำ� รวจ มี ไม่มี (ระบุจ�ำนวนครง้ั ) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขน้ั ตอน การสังเกตการทดลอง การบันทึกผล การอภิปรายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
124 ตวั อย่างแบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบัติการทดลองที่ใชเ้ กณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง 3 คะแนน 1 2 การเลอื กใชอ้ ปุ กรณ/์ เลือกใช้อุปกรณ์/ เลือกใช้อุปกรณ์/ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เครื่องมือในการทดลอง เครือ่ งมือในการ เครื่องมือในการ เครอ่ื งมือในการ ทดลองไดถ้ กู ตอ้ ง ทดลองได้ถูกต้องแต่ ทดลองไม่ถูกต้อง เหมาะสมกบั งาน ไมเ่ หมาะสมกบั งาน การใช้อปุ กรณ์/เครอ่ื งมอื ช้อปุ กรณ์/เครอ่ื งมือ ใช้อปุ กรณ์/เครื่องมือ ใช้อุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ในการทดลองได้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อย่างคลอ่ งแคล่ว ต้องตามหลักการ ตอ้ ง และถูกตอ้ งตาม ปฏิบตั แิ ตไ่ ม่ หลกั การปฏบิ ัติ คลอ่ งแคล่ว การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธกี าร ทดลองตามวิธีการ ท ด ล อ ง ต า ม วิ ธี ก า ร กำ� หนด และข้ันตอนที่ และขั้นตอนท่ี และขั้นตอนที่ก�ำหนด กำ� หนดไวอ้ ย่างถกู กำ� หนดไว้ มกี าร ไ ว ้ ห รื อ ด� ำ เ นิ น ก า ร ตอ้ ง มีการปรับปรุง ปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ข้ามข้ันตอนที่ก�ำหนด แก้ไขเป็นระยะ ไว้ไม่มีการปรับปรุง แกไ้ ข สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
125 ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏิบัติการทดลองทีใ่ ชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทกั ษะปฏิบตั กิ ารประเมนิ ผลการประเมิน ระดับ 3 ระดบั 2 ระดบั 1 ระดับ 2 หมายถงึ เลอื กใช้อปุ กรณ/์ 1. วางแผนการทดลองอย่าง ระดบั 3 หมายถงึ เครื่องมอื ในการ เป็นข้ันตอน ปฏิบตั ิไดท้ ้งั 3 ขอ้ ทดลองไม่ถกู ตอ้ ง 2. ปฏบิ ตั กิ ารทดลองไดอ้ ยา่ ง คลอ่ งแคลว่ สามารถเลอื กใช้ อปุ กรณไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม แ ล ะ จั ด ว า ง อุ ป ก ร ณ ์ เ ป ็ น ระเบยี บ สะดวกต่อการใชง้ าน 3. บันทึกผลการทดลองได้ ถกู ตอ้ งและครบถว้ นสมบรู ณ์ ตวั อย่างแบบประเมินทักษะปฏิบัตกิ ารทดลองทีใ่ ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ คะแนน 3 21 เขยี นรายงานตาม เขียนรายงานการทดลองตาม เขียนรายงานโดยล�ำดบั ขั้น ลำ� ดับขนั้ ตอนผลการทดลองตรง ลำ� ดับแตไ่ ม่ส่ือความหมาย ตอนไม่สอดคลอ้ งกัน และ ตามสภาพจริงและสอื่ ความหมาย ไม่ส่อื ความหมาย แบบประเมนิ คุณลักษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถท�ำได้โดยตรง โดยทั่วไปท�ำโดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกท่ปี รากฏใหเ้ หน็ ในลกั ษณะของคำ� พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รือพฤตกิ รรมบง่ ชที้ ี่ สามารถสังเกตหรือวัดได้ และแปลผลไปถึงจิตวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นส่ิงท่ีส่งผลให้เกิดพฤติกรรมดังกล่าว เครอื่ งมือทใ่ี ชป้ ระเมินคุณลกั ษณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ดงั ตัวอยา่ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
126 ตัวอยา่ งแบบประเมินคณุ ลกั ษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ คำ� ชแ้ี จง จงทำ� เครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ งวา่ งทตี่ รงกบั คณุ ลกั ษณะทนี่ กั เรยี นแสดงออก โดยจำ� แนกระดบั พฤติกรรมการแสดงออกเปน็ 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นนั้ อยา่ งสม่ำ� เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นกั เรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหล่านน้ั เป็นครง้ั คราว นอ้ ย หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหล่านน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นกั เรยี นไม่แสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านัน้ เลย รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ปานกลาง นอ้ ย ไม่มกี ารแสดงออก ด้านความอยากรอู้ ยากเห็น 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไป ศึกษา คน้ ควา้ เพมิ่ เตมิ เมอ่ื เกดิ ความสงสยั ในเรอ่ื ง ราววทิ ยาศาสตร์ 2. นักเรียนชอบไปงานนทิ รรศการ วทิ ยาศาสตร์ 3. นกั เรียนน�ำการทดลองที่สนใจไป ทดลองต่อที่บ้าน ด้านความซ่ือสตั ย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามที่ ทดลองไดจ้ ริง 2. เมอื่ ทำ� การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะลอก ผลการทดลองของเพอื่ สง่ ครู 3. เม่ือครมู อบหมายให้ทำ� ชน้ิ งานออกแบบส่ิง ประดิษฐ์ นักเรียนจะประดิษฐ์ตามแบบท่ี ปรากฏอยใู่ นหนังสอื สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
127 รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดับพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี ารแสดงออก ด้านความใจกว้าง 1. แม้ว่านักเรียนจะไม่เห็นด้วยกับการสรุปผลการ ทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผลสรุปของสมาชิก สว่ นใหญ่ 2. ถ้าเพ่ือนแย้งวิธีการทดลองของนักเรียนและมี เหตุผลท่ีดีกว่า นักเรียนพร้อมที่จะน�ำข้อเสนอ แนะของเพือ่ นไปปรับปรุงงานของตน 3. เมื่องานท่ีนักเรียนตั้งใจและทุ่มเทท�ำถูกต�ำหนิ หรือโตแ้ ยง้ นกั เรียนจะหมดกำ� ลงั ใจ ดา้ นความรอบคอบ 1. นักเรียนสรปุ ผลการทดลองทันทีเมอื่ เสร็จสน้ิ การทดลอง 2. นกั เรยี นทำ� การทดลองซำ้� ๆ กอ่ นทจี่ ะสรปุ ผลการ ทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ก่อน ทำ� การทดลอง ด้านความมุง่ มัน่ อดทน 1. ถงึ แมว้ า่ งานคน้ ควา้ ทท่ี ำ� อยมู่ โี อกาส สำ� เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ต่อไป 2. นักเรียนล้มเลิกการทดลองทันที เม่ือผลการ ทดลองท่ไี ด้ขดั จากท่เี คยไดเ้ รียนมา 3. เมอ่ื ทราบวา่ ชดุ การทดลองทน่ี กั เรยี นสนใจตอ้ งใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นักเรียนก็เปล่ียน ไปศึกษาชุดการทดลองท่ใี ช้เวลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
128 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปานกลาง นอ้ ย ไมม่ กี ารแสดงออก เจตคติท่ีดีต่อวทิ ยาศาสตร์ 1. นักเรยี นนำ� ความรู้ทางวิทยาศาสตรม์ า ใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ติ ประจำ� วันอยู่เสมอ 2. นักเรียนชอบท�ำกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ 3. นกั เรยี นสนใจติดตามข่าวสารท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ การประเมนิ การน�ำเสนอผลงาน การประเมินผลและให้คะแนนการน�ำเสนอผลงานใช้แนวทางการประเมินเช่นเดียวกับการประเมิน ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังราย ละเอียดตอ่ ไปน้ี 1 การใหค้ ะแนนในภาพรวม เป็นการให้คะแนนที่ต้องการสรปุ ภาพรวมจึงประเมินเฉพาะประเดน็ หลักท่ีสำ� คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ดา้ นการเขียนโดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปนี้ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ เน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรุง เนื้อหาถูกตอ้ งแต่ให้สาระส�ำคญั น้อยมาก และไมร่ ะบแุ หล่งท่มี าของความรู้ เนื้อหาถกู ตอ้ ง มีสาระสำ� คญั แต่ยงั ไมค่ รบถ้วน มกี ารระบแุ หลง่ ทีม่ าของความรู้ พอใช้ ดี เนื้อหาถูกต้อง มสี าระสำ� คัญครบถว้ น และระบุแหลง่ ทมี่ าของความรชู้ ัดเจน ดมี าก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
129 ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพด้านการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ เขยี นสบั สน ไมเ่ ปน็ ระบบ ไมบ่ อกปญั หาและจดุ ประสงค์ ขาดการเชอ่ื มโยงเนอื้ หา ตอ้ งปรับปรุง บางสว่ นไมถ่ กู ตอ้ งหรอื ไมส่ มบรู ณ์ ใชภ้ าษาไมเ่ หมาะสมและสะกดคำ� ไมถ่ กู ตอ้ ง ไม่ พอใช้ อ้างองิ แหล่งท่มี าของความรู้ ดี เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มีราย ละเอยี ดไมเ่ พยี งพอ เนอ้ื หาบางตอนไมส่ มั พนั ธก์ นั การเรยี บเรยี บเนอ้ื หาไมต่ อ่ เนอื่ ง ดมี าก ใช้ภาษาถกู ต้อง อ้างองิ แหลง่ ทีม่ าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความส�ำคัญและที่มาของ ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นทั้งหมด เนื้อหาบางตอน เรยี บเรยี งไมต่ อ่ เนอ่ื ง ใชภ้ าษาถกู ตอ้ ง มกี ารยกตวั อยา่ ง รปู ภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหลง่ ท่มี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความส�ำคัญและท่ีมาของ ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นส�ำคัญท้ังหมดเรียบเรียง เน้ือหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งท่มี าของความรู้ 2 การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบย่อย เปน็ การประเมนิ เพ่อื ตอ้ งการนำ� ผลการประเมินไปใช้ พฒั นางานใหม้ คี ณุ ภาพผา่ นเกณฑ์ และพฒั นาคณุ ภาพใหส้ งู ขน้ึ กวา่ เดมิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยใชเ้ กณฑ์ ย่อย ๆ ในการประเมินเพ่ือท�ำให้รู้ทั้งจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุงการ ท�ำงานในส่วนนั้น ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มีตวั อยา่ งดงั นี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
130 ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพ (แบบแยกองค์ประกอบย่อย) รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ด้านการวางแผน ไม่สามารถออกแบบได้ หรือออกแบบได้แต่ไม่ตรงกับประเด็นปัญหาท่ีต้องการ ต้องปรบั ปรุง เรยี นรู้ ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำคัญของปญั หาเปน็ บางสว่ น พอใช้ ออกแบบครอบคลุมประเด็นสำ� คัญของปัญหาเป็นส่วนใหญ่ แต่ยังไมช่ ดั เจน ดี ดมี าก ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ สำ� คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนทชี่ ดั เจนและ ตรงตามจุดประสงค์ที่ต้องการ ต้องปรับปรงุ ดา้ นการด�ำเนนิ การ พอใช้ ดำ� เนนิ การไมเ่ ปน็ ไปตามแผน ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอ่ื ประกอบถกู ตอ้ งแตไ่ มค่ ลอ่ งแคลว่ ดี รายการประเมิน ดีมาก ดำ� เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ุปกรณ์และสือ่ ประกอบถูกตอ้ งแต่ไมค่ ล่องแคลว่ ต้องปรับปรุง ด�ำเนินการตามแผนที่วางไว้ ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบการสาธิตได้อย่าง พอใช้ คล่องแคล่วและเสร็จทันเวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ดี ดำ� เนนิ การตามแผนทวี่ างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอื่ ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และ เสร็จทันเวลา ผลงานทกุ ข้นั ตอนเป็นไปตามจดุ ประสงค์ ดมี าก ด้านการอธบิ าย อธิบายไม่ถกู ต้อง ขัดแยง้ กบั แนวคดิ หลักทางวทิ ยาศาสตร์ อธบิ ายโดยอาศัยแนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แตก่ ารอธิบายเป็นแบบ พรรณนาท่ัวไปซึ่งไมค่ ำ� นึงถงึ การเชอื่ มโยงกับปญั หาท�ำให้เข้าใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแตข่ า้ ม ไปในบางขน้ั ตอน ใช้ภาษาได้ถูกตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและจุด ประสงค์ ใช้ภาษาได้ถกู ตอ้ งเขา้ ใจง่าย สือ่ ความหมายได้ชัดเจน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
131 บรรณานกุ รม นิพนธ์ ทรายเพชร. (2543). ดาวเคราะหช์ มุ นมุ . กรงุ เทพฯ: นานมบี ุ๊คส์. สมาคมดาราศาสตรไ์ ทย. (2548). พจนานุกรมศพั ท์ดาราศาสตร์ องั กฤษ-ไทย เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เน่ืองในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. กรงุ เทพฯ: สมาคมดาราศาสตรไ์ ทย. Arias, E.F. Combrinck, L. Gabor, P. Hohenkerk, C. Seidelmann, P.K. (2017) The Science of Time 2016: Time in Astronomy & Society, Past, Present and Future. Springer. Bratia, B.A. (2001). Textbook of Astronomy and Astrophysics with Elements of Cosmology. Delhi. Alpha Science International ltd. Kay, L., Palen, S., Smith, B., Blumenthal, G.(2013) , 21st Century Astronomy: Stars and Galaxies (4th ed.), New York, W. W. Norton & Company. Kay, L., Palen, S., Smith, B., Blumenthal, G.(2013) , 21st Century Astronomy: The solar system (4th ed.), New York, W. W. Norton & Company. McCarthy, D.D. Seidelmann, P.K. (2018). TIME From Earth Rotation to Atomic Physics. Cambridge University Press. Micheal A. Seeds and Dana E. Backman. (2010). Foundation of Astronomy. 12th ed. Canada: Brook/Cole, Cengage Learning. สำ� นกั งานราชบณั ฑติ ยสภา. โมง-ทมุ่ -ตี. สบื ค้นเมือ่ 10 พฤษภาคม 2562 จาก http://www.royin.go.th/?knowledges=โมง-ทุม่ -ตี-๑-ตุลาคม-๒๕๕๑. National Aeronautics and Space Administration. TIME ZONES AND UNIVERSAL TIME. สบื ค้นเมอ่ื 7 พฤษภาคม 2562 จาก https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEhelp/TimeZone. html. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
132 คณะกรรมการจดั ทำ� คูม่ อื ครรู ายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 6 ตามผลการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 คณะทป่ี รึกษา ผอู้ ำ� นวยการ 1. ศ.ดร. ชูกิจ ลิมปจิ ำ� นงค ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการ 2. ดร.วนดิ า ธนประโยชนศ์ ักดิ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผจู้ ดั ทำ� ค่มู อื ครูรายวิชาเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เลม่ 6 1. นายสุพจน์ วฒุ โิ สภณ ผู้เชี่ยวชาญ สาขาฟสิ ิกส์และวิทยาศาสตรโ์ ลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. นางฤทัย เพลงวัฒนา รกั ษาการผู้อำ� นวยการสาขาฟิสกิ สแ์ ละวทิ ยาศาสตร์โลก สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ผศ.ดร.อลศิ รา ชชู าต ิ ผ้ชู ำ� นาญ สาขาฟสิ กิ สแ์ ละวทิ ยาศาสตรโ์ ลก สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. นางพรรณทิพา ธนากรโยธนิ ผชู้ �ำนาญ สาขาฟิสกิ ส์และวิทยาศาสตรโ์ ลก สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. นางดารกิ า วีรวนิ นั ทนกุล ผชู้ �ำนาญ สาขาฟสิ กิ ส์และวิทยาศาสตรโ์ ลก สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. นายมนตรี ประเสรฐิ ฤทธ์ิ ผู้ช�ำนาญ สาขาฟิสกิ ส์และวทิ ยาศาสตร์โลก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. นางสาวโศภติ า อไุ พพานิช นกั วชิ าการ สาขาฟสิ ิกส์และวิทยาศาสตรโ์ ลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. นายนิทศั น์ ล้มิ ผ่องใส นกั วิชาการอาวุโส สาขาฟิสกิ ส์และวทิ ยาศาสตร์โลก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9. ว่าท่ี ร.ต.ภรู วิ จั น์ จิราตันตพิ ฒั น์ นักวิชาการ สาขาฟสิ กิ ส์และวทิ ยาศาสตรโ์ ลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
133 คณะผู้ร่วมพจิ ารณาคูม่ ือครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เลม่ 6 (ฉบับรา่ ง) 1. ผศ.ดร. จตรุ งค์ สคุ นธชาต ิ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 2. นายนิพนธ์ ทรายเพชร ผเู้ ชีย่ วชาญพเิ ศษ สาขาฟิสกิ สแ์ ละวิทยาศาสตร์โลก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. นางสาวประพรี ์ วิราพร ขา้ ราชการบ�ำนาญ 4. ผศ. มาลี สทุ ธิโอภาส มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 5. นายณัฐพล หนูจีนจิตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี 6. นางจรัสศรี ไชยกลุ โรงเรียนพิมานพทิ ยาสรรค์ จ.สตูล 7. นางพรทพิ ย์ ฐีตะธรรมานนท์ โรงเรียนเสาไห้ \"วิมลวทิ ยานุกลู \" 8. นางกุลนาถ โชตสิ ุดเสนห่ ์ โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ สตรีวทิ ยา ๒ กรุงเทพมหานคร 9. นายจกั รกฤษณ์ วงษ์วทิ ยานนั ท ์ โรงเรยี นหนองบัวแดงวิทยา จ.ชัยภมู ิ 10. นายคมสนั ต์ ธุร ี สถาบนั วิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 11. นายเจษฎา กีรตภิ ารตั น ์ สถาบันวจิ ัยดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน) 12. นางสาวรัมภา ศรบี างพล ี นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาฟสิ กิ ส์และวทิ ยาศาสตรโ์ ลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 13. นางสาวกัญญจติ จนั เสนา นักวชิ าการ สาขาฟิสกิ สแ์ ละวิทยาศาสตร์โลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 14. นางสาววิชุราตรี กลบั แสง นักวิชาการ สาขาฟิสกิ ส์และวทิ ยาศาสตร์โลก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 15. นางสาวมนญั ญา ลกิ มลสวสั ด ิ์ นกั วชิ าการ สาขาฟิสิกส์และวทิ ยาศาสตรโ์ ลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะบรรณาธกิ าร 1. ผศ.ดร.จตรุ งค์ สคุ นธชาติ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 2. ดร.สธน วิจารณ์วรรณลักษณ ์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 3. ผศ.อำ� นาจ สาธานนท์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 4. นายนพิ นธ์ ทรายเพชร ผู้เช่ยี วชาญพิเศษ สาขาฟิสกิ ส์และวทิ ยาศาสตร์โลก 5. ผศ.ดร. อลิศรา ชูชาติ ผู้ชำ� นาญ สาขาฟิสิกสแ์ ละวิทยาศาสตรโ์ ลก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นางพรรทิพา ธนากรโยธิน ผูช้ �ำนาญ สาขาฟิสกิ สแ์ ละวทิ ยาศาสตรโ์ ลก สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
134 7. นายสพุ จน์ วุฒิโสภณ ผ้เู ชย่ี วชาญ สาขาฟสิ ิกส์และวิทยาศาสตร์โลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. นางฤทยั เพลงวฒั นา รักษาการผู้อ�ำนวยการสาขาฟิสิกส์และวทิ ยาศาสตรโ์ ลก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149