Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี1

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-28 07:02:58

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี1
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมเคมี1,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี,ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

เคมี เล่ม 1 ภาคผนวก 237 แบบทดสอบแบบถกู หรือผดิ คำ�สงั่ ให้พิจารณาว่าข้อความตอ่ ไปนี้ถูกหรือผดิ แลว้ ใส่เครอื่ งหมาย หรือ หน้า ขอ้ ความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบน้ีสามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเน้ือหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเนื้อทำ�ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบด้วยสว่ นทเี่ ปน็ คำ�สัง่ และข้อความ 2 ชดุ ท่ใี หจ้ บั คู่กนั โดยข้อความชุดที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ท่ี 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกวา่ ในชุดที่ 1 ดังตวั อยา่ ง แบบทดสอบแบบจับคู่ คำ�ส่งั ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ถาม ชุดค�ำ ถาม ชดุ ค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 1 238 แบบทดสอบรูปแบบนี้สร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีที่นักเรียน จบั คู่ผดิ ไปแล้วจะทำ�ให้มกี ารจับคผู่ ดิ ในคอู่ ืน่ ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทวั่ ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแต่ละแบบเปน็ ดงั น้ี 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ ค�ำ หรือตอบอย่างสน้ั ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สง่ิ ทก่ี �ำ หนดค�ำ ตอบใหม้ ีความถูกต้องและเหมาะสม แบบทดสอบรปู แบบนส้ี ร้างได้งา่ ย มีโอกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ ิจฉยั คำ�ตอบท่นี กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถกู ตอ้ งหรอื ยอมรับได้หลายค�ำ ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธิบาย เปน็ แบบทดสอบท่ตี ้องการใหน้ ักเรียนสร้างคำ�ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ ค�ำ ถามท่ีสอดคล้องกนั โดยคำ�ถามเปน็ คำ�ถามแบบปลายเปิด แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 ภาคผนวก 239 แบบประเมินทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ท้ังวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เปน็ อย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทส่ี �ำ คญั ทใ่ี ช้ในการจดั การเรียนรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครอ่ื งมือทใี่ ช้ประเมนิ ดังตวั อยา่ ง ตัวอยา่ งแบบส�ำ รวจรายการทกั ษะปฏบิ ัติการทดลอง ผลการส�ำ รวจ รายการท่ีต้องส�ำ รวจ มี ไมม่ ี (ระบจุ �ำ นวนคร้ัง) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขัน้ ตอน การสังเกตการทดลอง การบันทกึ ผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เลม่ 1 240 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทักษะปฏบิ ัติ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เครือ่ งมอื ในการทดลอง เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไม่เหมาะสมกบั งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ตอ้ งตามหลักการ ต้อง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ หลักการปฏิบัติ คล่องแคลว่ การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ กำ�หนด แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ท่ี แ ล ะ ข้ั น ต อ น ที่ กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรบั ปรงุ แกไ้ ขบ้าง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แก้ไขเป็นระยะ ขั้นตอนที่กำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แกไ้ ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 ภาคผนวก 241 ตวั อยา่ งแบบประเมินทกั ษะปฏิบัติการทดลองท่ีใช้เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทกั ษะทป่ี ระเมิน ผลการประเมิน ระดับ 2 ระดับ 3 ระดบั 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ขัน้ ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกตอ่ การใช้งาน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถว้ นสมบูรณ์ ตวั อยา่ งแนวทางการให้คะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ไ ม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไม่ส่อื ความหมาย สื่อความหมาย แบบประเมินคุณลกั ษณะดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยทั่วไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทีป่ รากฏใหเ้ ห็นในลกั ษณะของคำ�พดู การแสดงความคดิ เหน็ การปฏิบัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ชี้ ทสี่ ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สงิ่ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครื่องมือที่ใชป้ ระเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดังตวั อย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 1 242 ตวั อย่างแบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ คำ�ชี้แจง จงทำ�เครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจำ�แนก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดงั น้ี มาก หมายถึง นกั เรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่าน้ันอยา่ งสมำ่�เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นกั เรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหล่านน้ั เปน็ ครั้งคราว น้อย หมายถึง นกั เรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่าน้นั น้อยครง้ั ไม่มีการแสดงออก หมายถึง นกั เรียนไมแ่ สดงออกในพฤติกรรมเหลา่ น้ันเลย ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ กี าร ด้านความอยากร้อู ยากเหน็ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม เม่ือเกิดความสงสัยใน เร่ืองราววิทยาศาสตร์ 2. นักเรยี นชอบไปงานนิทรรศการ วิทยาศาสตร์ 3. นกั เรยี นน�ำ การทดลองทีส่ นใจไป ทดลองตอ่ ทีบ่ า้ น ด้านความซื่อสัตย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามท่ี ทดลองได้จรงิ 2. เมอื่ ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพ่อื สง่ ครู 3. เมอื่ ครูมอบหมายให้ท�ำ ช้ินงาน ออกแบบสงิ่ ประดษิ ฐ์ นกั เรียนจะ ประดษิ ฐ์ตามแบบทีป่ รากฏอยใู่ น หนงั สือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 ภาคผนวก 243 ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไม่มกี าร ดา้ นความใจกวา้ ง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรุปของสมาชกิ ส่วนใหญ่ 2. ถา้ เพอ่ื นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลท่ีดีกว่า นักเรียนพร้อมที่ จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พ่ื อ น ไ ป ปรบั ปรุงงานของตน 3. เม่ืองานท่ีนักเรียนต้ังใจและทุ่มเททำ� ถูกตำ�หนิหรือโต้แย้ง นักเรียนจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ดา้ นความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสรจ็ สิ้นการทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซ้ำ� ๆ ก่อนท่ีจะ สรุปผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อุปกรณก์ ่อนทำ�การทดลอง ด้านความมงุ่ มนั่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอ่ื ผล การทดลองทไ่ี ดข้ ดั จากทเ่ี คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองที่นักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นกั เรยี นกเ็ ปลย่ี นไปศึกษาชดุ การ ทดลองทีใ่ ชเ้ วลานอ้ ยกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 1 244 ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ ีการ เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ วทิ ยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วันอยูเ่ สมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ที่ เกย่ี วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ การประเมนิ การนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังราย ละเอยี ดต่อไปนี้ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทตี่ อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลกั ทสี่ �ำ คญั ๆ เชน่ การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนอ้ื หา ความรแู้ ละการประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการ เขียนโดยใช้เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินความถกู ต้องของเน้อื หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ เน้ือหาไมถ่ ูกต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ตอ้ งปรบั ปรงุ เนื้อหาถกู ตอ้ งแตใ่ ห้สาระสำ�คัญนอ้ ยมาก และไม่ระบุแหลง่ ทมี่ าของความรู้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คญั แตย่ งั ไมค่ รบถว้ น มกี ารระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ พอใช้ เนอ้ื หาถูกตอ้ ง มสี าระส�ำ คัญครบถว้ น และระบุแหล่งที่มาของความรูช้ ดั เจน ดี ดมี าก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 ภาคผนวก 245 ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารประเมินสมรรถภาพดา้ นการเขยี น (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเชื่อมโยง ตอ้ งปรับปรุง เนื้อหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� ไมถ่ กู ต้อง ไม่อ้างอิงแหลง่ ทม่ี าของความรู้ ขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มี พอใช้ รายละเอยี ดไมเ่ พยี งพอ เน้ือหาบางตอนไม่สมั พนั ธ์กนั การเรียบเรยี บเนอ้ื หา ไม่ตอ่ เนือ่ ง ใช้ภาษาถกู ต้อง อ้างองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ดี ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความสำ�คัญและที่มา ดมี าก ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตัวอยา่ ง รปู ภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหล่งทมี่ าของความรู้ 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ตอ้ งการน�ำ ผลการประเมนิ ไปใช้ พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เกณฑ์ ยอ่ ย ๆ ในการประเมินเพื่อทำ�ให้รู้ทั้งจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยที่ควรแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน ในส่วนน้ัน ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบย่อย มตี วั อยา่ งดงั นี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 1 246 ตวั อย่างเกณฑก์ ารประเมนสมรรถภาพ (แบบแยกองค์ประกอบย่อย) รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดา้ นการวางแผน ตอ้ งปรบั ปรงุ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการ พอใช้ เรียนรู้ ดี ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นสำ�คัญของปัญหาเป็นบางส่วน ต้องปรับปรงุ ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน พอใช้ ดี ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนทชี่ ดั เจน ดมี าก และตรงตามจดุ ประสงคท์ ต่ี ้องการ ดา้ นการด�ำ เนนิ การ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คล่องแคลว่ ดำ�เนินการตามแผนที่วางไว้ ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบถูกต้องแต่ไม่ คล่องแคลว่ ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอ่ื ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเสร็จทันเวลา ผลงานทกุ ข้ันตอนเป็นไปตามจดุ ประสงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 ภาคผนวก 247 รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ด้านการอธิบาย ต้องปรบั ปรงุ อธิบายไมถ่ ูกตอ้ ง ขัดแยง้ กบั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ ดี อธิบายโดยอาศัยแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธิบายเป็นแบบ ดมี าก พรรณนาทัว่ ไปซึ่งไมค่ �ำ นึงถงึ การเช่อื มโยงกบั ปญั หาท�ำ ให้เขา้ ใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ จุดประสงค์ ใช้ภาษาไดถ้ ูกต้องเขา้ ใจง่าย สอ่ื ความหมายได้ชัดเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บรรณานุกรม เคมี เล่ม 1 248 บรรณานุกรม กรมโรงงานอตุ สาหกรรม. (2548). การจำ�แนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เปน็ ระบบ เดยี วกนั ทัว่ โลก (Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals - GHS) สบื ค้นเม่ือ 3 กมุ ภาพันธ์ 2560, จากhttp://www.si.mahidol.ac.th/ project/sicsm/news_files/15_1.pdf กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2557). หนังสือเรยี น รายวิชาเพ่ิมเตมิ เคมี เล่ม 4 (พิมพ์ครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2555). การวัดผลประเมินผลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คชัน่ . กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ เคมี เลม่ 1 (พิมพค์ ร้งั ที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559). คู่มือครู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ เคมี เลม่ 1 (พิมพค์ รัง้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. กระทรวงศกึ ษาธิการ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). คมู่ ือวัดผลและประเมนิ ผลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศรีเมอื งการพิมพ์. กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2546). การจดั สาระการเรยี นรกู้ ลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน. กรงุ เทพฯ: สสวท. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สือเรยี นรู้ เพิม่ เติมเพ่ือเสริมศักยภาพวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 เคมี เล่ม 1. กรงุ เทพฯ: พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควิชาเคม.ี (2558). คูม่ ือความปลอดภัย ฉบบั ปรับปรงุ ครั้งที่ 6. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพนั ธ์ 2560, จาก http://www.chemistry.sc.chula. ac.th/safety/safetymanual.pdf ฐานความรูเ้ รอ่ื งความปลอดภยั ดา้ นสารเคม.ี (2546). เหยื่อลกู โป่งบึม้ ปี 2550. สบื ค้นเม่ือ 31 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=2&ID=53 มหาวิทยาลยั มหิดล สถาบนั นวตั กรรมการเรียนร้.ู (2555). มลพิษจากโลหะหนกั . สบื คน้ เม่ือ 31 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology สถาบันเทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ. (2555). ปริมาณรบั รงั สี แคน่ ้ีแค่ไหน. สืบคน้ เมอ่ื 10 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.tint.or.th/nkc/nkc55/content55/nstkc55-086.html สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 1 บรรณานุกรม 249 สมาคมสง่ เสริมความปลอดภยั และอนามัยในการทำ�งาน (ประเทศไทย). (2560). อนั ตรายจาก ตะก่วั : สารพิษมรณะ. สืบค้นเมอ่ื 31 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.shawpat.or.th/ index.php American Chemical Society. (2016). Guidelines for Chemical Laboratory Safety in Secondary Schools. Retrieved October 7, 2016, from https://www.acs.org/ content/dam/acsorg/about/governance/committees/chemicalsafety/publications/ acs-secondary-safety-guidelines.pdf?logActivity=true Aylward, G.H. & Findlay, T.J.V. (2002). SI Chemical Data (5th ed). Queensland : John Wiley & Sons Australia Ltd. Baird, C. & Gloffke, W. (2003). Chemistry in your life. New York: W.H. Freeman & Company. Brown, T. L., et al. (2012). Chemistry: the central science (12th ed). Illinois: Prince-Hall Inc. Bureau International des Poids et Mesures. (2006). The International System of Units (SI). Retrieved December 21, 2016, from http://www.bipm.org/utils/common/pdf/ si_brochure_8_en.pdf Burdge, J. & Overby, J., (2017). Chemistry Atom First (4th ed). New York: McGraw-Hill. Chang, R. (2010). Chemistry (10th ed). New York: McGraw-Hill. David, R. L. (2004). CRC Handbook of Chemistry and Physics (85th ed). Florida: CRC Press Inc. Dorin, H., et al. (1992). Chemistry the study of matter (4th ed). New Jersey: Prentice Hall, Inc. Earl, B. & Wilford. L. D. R. (2013). GCSE Chemistry. (2nd ed) Dubai: Hodder Education. Harwood, R. & Lodge, I. (2011). Cambridge IGCSE Chemistry Workbook. (3rd ed). Cambridge: Cambridge University Press. Harris, D.C. & Lucy, C.A. (2016). Quantitative Chemical Analysis (9th ed). New York: W.H. Freeman & Company. Herr, N. & Cunningham, J. (1999). Hand-on Chemistry Activities with Real-life Application. New Jersey: Prentice Hall, Inc. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บรรณานกุ รม เคมี เลม่ 1 250 International Atomic Energy Agency. (2017). New Symbol Launched to Warn Public About Radiation Dangers. Retrieved July 10, 2017, from https://www.iaea.org/ newscenter/news/new-symbol-launched-warn-public-about-radiation-dangers-0. Kessel, H. V., et al. (2003). Nelson Chemistry 12. Ontario: Nelson. Lawrie R., & Roger, N. (2014). Chemistry Coursebook (2nd ed). Cambridge: Cambridge University Press. Silberberg, M. S. (2009) Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change (5th ed). New York: McGraw-Hill. Skoog, D.A., et al. (2004). Fundamentals of Analytical Chemistry (8th ed). California: Thomson-Brooks/Cole. Neuss, G. (2007). Chemistry Course Companion. Oxford: Bell and Bain. Talbot, C., Harwood, R., & Coates, C. (2010). Chemistry for the IB Diploma. London: Hodder Education. Toon, T. Y., et al. (2013). Chemistry Matters GCE ‘O’ Level (2nd ed). Singapore: Marshall Cavendish Education. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 1 คณะกรรมการจัดทำ�คมู่ อื ครู 251 คณะกรรมการจดั ทำ�ค่มู อื ครู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ เคมี เลม่ 1 ตามผลการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 คณะท่ปี รกึ ษา ผ้อู �ำ นวยการ 1. ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. รศ.ดร.สญั ญา มิตรเอม รองผอู้ ำ�นวยการ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ดร.วนิดา ธนประโยชนศ์ ักดิ์ ผ้ชู ่วยผอู้ �ำ นวยการ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผูจ้ ัดทำ�ค่มู ือครู รายวชิ าเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร์ เคมี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ 1 1. ศ.ดร.มงคล สุขวฒั นาสินทิ ธ์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 2. ผศ.ดร.จนิ ดา แต้มบรรจง ผชู้ �ำ นาญ 3. นายณรงค์ศลิ ป์ ธูปพนม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. นางสาวศศนิ ี องั กานนท์ ผเู้ ชีย่ วชาญพิเศษอาวโุ ส 5. นางสทุ ธาทิพย์ หวังอำ�นวยพร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นางสาวศริ ิรตั น์ พรกิ สี ผชู้ �ำ นาญ 7. ดร.สนธิ พลชยั ยา สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. นายชาญณรงค์ พลู เพ่ิม ผูช้ �ำ นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 9. นางสาวณัฏฐกิ า งามกจิ ภญิ โญ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ช�ำ นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ช�ำ นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย นักวชิ าการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะกรรมการจัดท�ำ คู่มอื ครู เคมี เลม่ 1 252 คณะผู้ร่วมพจิ ารณาคู่มอื ครู รายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1 (ฉบับร่าง) 1. ศ.ดร.มงคล สขุ วัฒนาสินทิ ธิ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2. ผศ.ดร.พรอ้ มพงศ์ เพยี รพนิ จิ ธรรม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 3. ผศ. สนั ติ ศรปี ระเสรฐิ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 4. ดร. กุลธดิ า นุกลู ธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตก�ำ แพงแสน 5. นายปยิ ะพงษ์ กลางจอหอ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรงุ เทพมหานคร 6. นางสาวอญั ชานา นม่ิ อนสุ สรณก์ ลุ โรงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร 7. นางสาวทองใบ สุขประเสริฐชยั โรงเรียนคณะราษฎรบ์ �ำ รุงปทุมธานี จ.ปทมุ ธานี 8. นางสาววนิดา อยูย่ นื โรงเรียนปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 9. นางสาวอาภาภรณ์ ปานมี โรงเรยี นนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ 10. นางสาววิจติ รา จิตสภุ า โรงเรียนอุตรดติ ถด์ รณุ ี จ.อตุ รดิตถ์ 12. นายรงุ่ ระวี ศริ บิ ุญนาม โรงเรยี นสารคามพทิ ยาคม จ.มหาสารคาม คณะบรรณาธิการ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 1. ศ.ดร.มงคล สขุ วฒั นาสนิ ทิ ธ์ิ 2. ผศ.ดร.เสาวรักษ์ เฟอ่ื งสวสั ด ์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 3. ผศ.ดร.พรอ้ มพงศ์ เพยี รพนิ จิ ธรรม จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 4. นายณรงค์ศลิ ป์ ธปู พนม ผ้เู ชย่ี วชาญพเิ ศษอาวุโส 5. นางสาวศศนิ ี อังกานนทิ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. นางสทุ ธาทพิ ย์ หวังอ�ำ นวยพร ผูช้ �ำ นาญ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ผู้ชำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบนั สง� เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ� ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook