Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา5

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา5

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-28 06:30:10

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา5

คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 5
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา5,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธแ์ุ ละการเจริญเติบโต 189 จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ปริมาณของไข่แดงมีส่วนเก่ียวข้องกับแบบแผนการเจริญเติบโตของสัตว์แต่ละชนิดหรือไม่ อยา่ งไร ปริมาณของไข่แดงเกี่ยวข้องกับแบบแผนการเจริญเติบโตของสัตว์แต่ละชนิด ในกบซ่ึงมี ไขแ่ ดงปานกลางและไขแ่ ดงอยสู่ ว่ นลา่ งของเซลล์ ในคลเี วจจะมกี ารแบง่ เซลลด์ า้ นบนเรว็ กวา่ และได้เซลล์ท่ีมีขนาดเล็กกว่าด้านล่าง ไก่มีไข่แดงมากจะมีการแบ่งเซลล์เฉพาะบริเวณที่จะ เจรญิ เปน็ เอม็ บรโิ อซงึ่ อยทู่ ผ่ี วิ ของไขแ่ ดง สว่ นมนษุ ยม์ ไี ขแ่ ดงนอ้ ยจะมกี ารแบง่ เซลลท์ กุ บรเิ วณ ใกล้เคียงกันและได้เซลล์ขนาดใกล้เคียงกัน เอ็มบริโอของมนุษย์ได้รับสารอาหารจากแม่ ซึง่ แตกต่างจากเอ็มบริโอกบและไกท่ ่ีไดร้ บั สารอาหารจากไขแ่ ดง เอ็มบริโอมนุษย์ได้รับสารอาหาร แก๊สออกซิเจน หรือขับถ่ายของเสียด้วยวิธีการที่ต่างจาก เอม็ บรโิ อไกอ่ ยา่ งไร เอม็ บรโิ อของมนษุ ยไ์ ด้รบั สารอาหารและแก๊สออกซเิ จน ก�ำ จัดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ และ ขับถ่ายของเสียพวกยูเรียผ่านทางรกและสายสะดือ ซึ่งแตกต่างจากไก่ โดยเอ็มบริโอของไก่ ไดร้ บั สารอาหารจากไขแ่ ดง ไดร้ ับแกส๊ ออกซิเจนและกำ�จัดแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ผ่านทาง เปลือกไข่ แอลแลนทอยส์ และคอเรียน ส่วนการขับถ่ายกรดยูริกจะเก็บสะสมไว้ใน แอลแลนทอยส์ ระบบหมุนเวียนเลือดของลูกไม่เชื่อมต่อกับระบบหมุนเวียนเลือดของแม่ การลำ�เลียงสาร ต่าง ๆ ระหวา่ งแม่และลกู เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร ลกู ในครรภไ์ ด้รับสารอาหารและก�ำ จดั ของเสยี โดยการแพร่เขา้ สูห่ ลอดเลอื ดบริเวณรก หญิงมคี รรภค์ นหน่งึ ที่มรี อบประจ�ำ เดอื นปกติแจ้งกบั แพทยว์ า่ วนั แรกของการมปี ระจำ�เดือน ครงั้ สดุ ทา้ ยผ่านมาแลว้ 50 วนั อยากทราบว่าลูกทอ่ี ยใู่ นครรภข์ องหญิงคนนีม้ อี ายปุ ระมาณ เท่าใด เอ็มบริโอท่ีอยู่ในครรภ์มีอายุประมาณ 36 วัน โดยคำ�นวณจากวันแรกของรอบประจำ�เดือน เป็นวันท่ีเร่ิมสร้างเซลล์ไข่และมีการตกไข่ในช่วงประมาณก่ึงกลางของรอบประจำ�เดือน คือ ประมาณวนั ท่ี 14 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

190 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธุ์และการเจรญิ เตบิ โต ชวี วิทยา เลม่ 5 ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการขาดสารอาหารท่ีจำ�เป็นต่อการเจริญเติบโตของลูก ในครรภแ์ ละการไดร้ บั ยา สารเคมี เชอ้ื โรค หรอื รงั สที อ่ี าจเปน็ อนั ตรายตอ่ ลกู ในครรภ์ จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ เชน่ หนว่ ยงานของกระทรวงสาธารณสขุ และรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ทารก โดย อาจใชค้ �ำ ถามดงั น้ี เพราะเหตใุ ดการขาดสารอาหารทจ่ี �ำ เปน็ หรอื การไดร้ บั สารทเ่ี ปน็ อนั ตรายในชว่ ง 3 เดอื นแรก ของการต้งั ครรภจ์ ึงสง่ ผลตอ่ การเจรญิ ของลูกในครรภอ์ ย่างมาก เพราะในชว่ ง 3 เดือนแรกของการตง้ั ครรภ์เปน็ ช่วงทม่ี ีการพฒั นาของอวัยวะตา่ ง ๆ ของ ลกู ในครรภ์ ความรูเ้ พิม่ เติมส�ำ หรบั ครู กรดโฟลิก (folic acid) หรือวิตามิน B9 มีความสำ�คัญช่วยลดความเสี่ยงภาวะพิการแต่กำ�เนิด ของทารกในครรภ์ โดยกรดโฟลิกช่วยป้องกันความผิดปกติในการปิดของนิวรัลทิวบ์ที่จะเจริญ เป็นไขสันหลัง สมอง และเส้นประสาทต่อไป การเจริญของนิวรัลทิวบ์เกิดขึ้นในช่วงสัปดาห์ที่ 3 – 4 ของการต้ังครรภ์ ดังนั้นผู้หญิงที่เตรียมตั้งครรภ์และช่วงแรกของการต้ังครรภ์ควร รับประทานกรดโฟลิกประมาณ 400 ไมโครกรัมต่อวัน การเสริมสร้างทำ�ได้โดยรับประทาน ผักใบเขียว ไข่ นม ถ่ัว หรือจากกรดโฟลิกในรูปแบบเม็ด ถ้าแม่ขาดกรดโฟลิกจะส่งผลต่อ การเจรญิ ของระบบประสาทของทารกในครรภ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธแุ์ ละการเจรญิ เตบิ โต 191 ครแู ละนกั เรยี นอภปิ รายเพอ่ื สรปุ วา่ การเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์ เชน่ กบ ไก่ และมนษุ ย์ จะเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการแบง่ เซลลข์ องไซโกต การเกดิ เอก็ โทเดริ ม์ เมโซเดริ ม์ และเอนโดเดริ ม์ และการสรา้ งอวยั วะ โดย มกี ารเพม่ิ จ�ำ นวน ขยายขนาดและการเปลย่ี นสภาพ ซง่ึ พฒั นาการของอวยั วะตา่ ง ๆ จะท�ำ ใหม้ กี ารเกดิ รปู รา่ งทแ่ี นน่ อนในสตั วแ์ ตล่ ะชนดิ จากนน้ั ถามค�ำ ถามน�ำ เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของสตั วห์ ลงั จากเกดิ เป็นตัวอ่อนว่าสัตว์มีการเจริญเติบโตตลอดอายุขัยหรือไม่ อย่างไร และจะวัดการเจริญเติบโตได้ อยา่ งไร ครตู ง้ั ค�ำ ถามใหน้ กั เรยี นอภปิ รายเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจเกย่ี วกบั การวดั ขนาดของสง่ิ มชี วี ติ ดงั น้ี มีวธิ ีใดบา้ งท่ีใชใ้ นการวัดการเตบิ โตของสตั ว์ แต่ละวธิ ีมคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ อย่างไร การชั่งน้ำ�หนัก เป็นวิธีท่ีสะดวกแต่นำ้�หนักที่เพิ่มขึ้นอาจไม่สัมพันธ์กับการเติบโตของ รา่ งกาย เนอ่ื งจากการเตบิ โตของสตั วบ์ างชนดิ อาจมนี �ำ้ หนกั เปลย่ี นแปลงไมม่ าก แตม่ กี าร เปลย่ี นแปลงรูปร่างหรอื เกดิ อวยั วะต่าง ๆ การวัดส่วนสูงหรือความยาวของลำ�ตัวเป็นวิธีที่สะดวกและการเพ่ิมความสูงแสดงถึงการ เตบิ โต แตม่ ขี อ้ เสยี คอื สตั วม์ คี วามสงู จ�ำ กดั ท�ำ ใหค้ วามสงู ไมเ่ พม่ิ ขน้ึ แตส่ ตั วย์ งั คงเตบิ โตอยู่ การวัดเส้นรอบวงของอวยั วะของร่างกาย เช่น วดั เส้นรอบวงของศีรษะ แขน ขา เปน็ ตน้ แต่เปน็ การวัดการเติบโตเฉพาะท่ี ไม่แสดงถึงการเตบิ โตของร่างกายโดยรวม สัตว์แตล่ ะชนดิ มีการเจริญเติบโตตลอดอายุขยั หรอื ไม่ ไม่ เพราะสตั ว์จะมีการเจรญิ เติบโตในช่วงอายุทีจ่ �ำ กดั อัตราการเตบิ โตของสัตว์แตล่ ะชนดิ เทา่ กนั ตลอดอายุขยั หรือไม่ ไมเ่ ทา่ กัน ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 21.3 เพอ่ื วเิ คราะหแ์ ละตคี วามหมายขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเตบิ โตของสตั ว์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

192 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธ์ุและการเจริญเติบโต ชวี วิทยา เล่ม 5 กจิ กรรม 21.3 อตั ราการเตบิ โตของสัตว์ จุดประสงค์ 1. อธิบายและวเิ คราะหข์ อ้ มลู แสดงอัตราการเตบิ โตของมนษุ ย์ 2. เปรียบเทยี บแบบแผนการเติบโตของสัตว์ เวลาทีใ่ ช้ (โดยประมาณ) 30 นาที แนวการจดั กิจกรรม ครูแนะนำ�ให้นักเรียนสร้างกราฟโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น Excel และอาจ แนะนำ�ให้หาค่าความชนั ของกราฟเพอ่ื หาอตั ราการเติบโตในแต่ละช่วงอายุ ความสูง (cm)ตวั อยา่ งผลการท�ำ กจิ กรรม กราฟแสดงอตั ราการเติบโตของมนษุ ย์ 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 5 10 15 20 อายุ (ป)ี เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม ชว่ งอายเุ ทา่ ไรท่ีกราฟมคี วามชันมาก อตั ราการเติบโตในชว่ งนีเ้ ป็นอย่างไร ช่วงอายตุ ้งั แตแ่ รกเกดิ จนอายปุ ระมาณ 5 ปี กราฟจะมีความชนั มาก เปน็ ช่วงทมี่ อี ัตราการ เตบิ โตสูง เมือ่ เปรียบเทียบกบั อายุช่วงอน่ื ในชว่ งอายุ 6-15 ปี กราฟจะมคี วามชันนอ้ ยลง อัตราการเติบโตจะคอ่ ย ๆ น้อยลง และในชว่ งอายุ 16-20 ปี กราฟจะมคี วามชันนอ้ ยทส่ี ุด มอี ตั ราการเติบโตนอ้ ยท่ีสุด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจรญิ เติบโต 193 เสน้ กราฟในระยะหลงั จากอายุ 20 ปี ไปแลว้ มแี นวโนม้ เปน็ อยา่ งไร และมนษุ ยย์ งั มกี ารเตบิ โต อยหู่ รอื ไม่ เสน้ กราฟจะค่อนขา้ งคงท่ี เนื่องจากความสงู จะคงท่หี รอื อาจเพิ่มข้ึนเลก็ น้อย และยงั มกี าร เตบิ โตอยูแ่ ตน่ อ้ ยมาก ยกตวั อย่างสตั ว์ที่มแี บบแผนการเตบิ โตทีค่ ลา้ ยกบั ข้อมูลทก่ี �ำ หนดให้ สัตว์เลยี้ งลกู ดว้ ยนำ�้ นมและสตั วป์ ีก จากกราฟ แบบแผนการเตบิ โตของแมลงทมี่ เี มทามอรโ์ ฟซสิ (กราฟ ก.) มคี วามแตกตา่ งจาก แบบแผนการเตบิ โตของหนู (กราฟ ข.) อยา่ งไร น�้ำ หนกั (g) นำ�้ หนัก (g) 10 300 ลอกคราบ 250 1 200 150 0.1 100 0.01 50 0 5 10 15 20 25 30 0 2 4 6 8 10 12 14 อายุ (วัน) อายุ (สปั ดาห์) ทม่ี า: ด ดั แปลงจาก 1. Grunert L. W., Clarke J.W., Ahuja C., Eswaran H., & Nijhout HF. (2015). A Quantitative Analysis of Growth and Size Regulation in Manduca sexta: The Physiological Basis of Variation in Size and Age at Metamorphosis. PLOS ONE, 10(5), e0127988. 2. ศนู ยส์ ตั วท์ ดลองแหง่ ชาติ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. (2562). สตั วท์ ดลอง. สบื คน้ เมอื่ 25 สงิ หาคม 2562, จาก https://nlac. mahidol.ac.th/acth/index.php/animals-bioproduct/animals แตกตา่ งกนั โดยแมลงทมี่ เี มทามอรโ์ ฟซสิ จะมกี ารลอกคราบเพอ่ื ขยายขนาด หลงั ลอกคราบ แมลงจะกินอาหารและเตบิ โต ในขณะที่ก่อนลอกคราบแมลงจะหยดุ กนิ อาหาร การเติบโต จึงหยุดชะงัก จึงมีแบบแผนการเติบโตลักษณะคล้ายข้ันบันได โดยมีอัตราการเติบโตสูงใน ทกุ ชว่ งหลงั การลอกคราบ และหลงั จากนน้ั จะมอี ตั ราการเตบิ โตคอ่ นขา้ งคงท่ี สว่ นแบบแผน การเติบโตของหนูจะมีอัตราการเติบโตสูงในช่วงแรกจากน้ันเม่ือมีอายุมากขึ้นจะมีการ เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนถงึ ระยะหนงึ่ แลว้ จะมอี ตั ราการเตบิ โตลดลง ท�ำ ใหก้ ราฟการเตบิ โต มีลกั ษณะเป็นเสน้ โคง้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

194 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธ์ุและการเจรญิ เติบโต ชวี วทิ ยา เลม่ 5 จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 21.22 และตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ในช่วงอายุ 12-18 ปี เนอื้ เยื่อทส่ี รา้ งเซลล์เม็ดเลอื ดขาวมีการเติบโตเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งไร มกี ารเติบโตลดลง อวยั วะสบื พันธุ์ของมนษุ ย์มีการเติบโตอยา่ งรวดเรว็ เมื่ออายปุ ระมาณเท่าใด และช่วงอายนุ ้ัน รา่ งกายมอี ตั ราการเพ่มิ ขนาดเป็นอยา่ งไร อายุประมาณ 12-20 ปี รา่ งกายมีอตั ราการเพม่ิ ขนาดมากขึ้น ระยะใดท่สี มองมอี ตั ราการเติบโตสงู สุด ต้ังแต่แรกเกิดจนอายุประมาณ 5 ปี ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื สรปุ เกย่ี วกบั แบบแผนการเตบิ โตของสตั ว์ ซง่ึ นกั เรยี นควร สรปุ ไดว้ า่ สตั วส์ ว่ นใหญเ่ มอ่ื มอี ายมุ ากขน้ึ จะมกี ารเตบิ โตมากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ จนถงึ ระยะหนง่ึ จะชะลอการเตบิ โต และจากการศกึ ษารปู 21.22 ขณะทร่ี า่ งกายมกี ารเตบิ โตมากในชว่ ง 12-15 ปี แตล่ ะอวยั วะมกี ารเตบิ โต เรว็ ชา้ แตกตา่ งไป โดยสมองมกี ารเตบิ โตมากในชว่ งแรกเกดิ ถงึ 5 ปี อวยั วะสบื พนั ธม์ุ กี ารเตบิ โตในชว่ ง 12 ปี เปน็ ตน้ ไป สว่ นเนอ้ื เยอ่ื ทส่ี รา้ งเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวมจี �ำ นวนลดลงตง้ั แตอ่ ายุ 12 ปี ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือสรุปเก่ียวกับความสำ�คัญของการสืบพันธ์ุและการ เจรญิ เตบิ โตวา่ เปน็ ลกั ษณะส�ำ คญั ของสง่ิ มชี วี ติ เพอ่ื ใหส้ ามารถด�ำ รงพนั ธไ์ุ วไ้ ด้ จากน้นั ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ยี วกับปัจจัยท่มี ีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์จาก วัยอ่อนจนเป็นตัวเต็มวัยและการอยู่รอดของสัตว์ แล้วอาจให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่าง พฤติกรรมการดูแลลูกวัยอ่อนของสัตว์ชนิดต่าง ๆ ท่ีนักเรียนสนใจเพ่ือเช่ือมโยงไปยังเร่ืองพฤติกรรม ของสตั ว์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธุแ์ ละการเจริญเตบิ โต 195 แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - การเจรญิ เตบิ โตระยะเอม็ บรโิ อและระยะหลงั เอม็ บรโิ อของกบ ไก่ และมนษุ ย์ จากการสบื คน้ ข้อมลู การอภิปราย การทำ�แบบฝึกหดั และการท�ำ แบบทดสอบ ดา้ นทกั ษะ - การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จากการสบื คน้ ขอ้ มลู และ การอภปิ ราย - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการสืบค้นข้อมูล ตอบคำ�ถาม และการ อภปิ ราย ด้านจิตวทิ ยาศาสตร/์ เจตคติ - การใชว้ จิ ารณญาณและความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐาน จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการอภปิ ราย รว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

196 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธุ์และการเจริญเติบโต ชีววิทยา เลม่ 5 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 21 1. จงใส่เครื่องหมายถูก (√) หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เคร่ืองหมายผิด (×) หน้าข้อความท่ี ไมถ่ กู ตอ้ ง และขดี เสน้ ใตเ้ ฉพาะค�ำ หรอื สว่ นของขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง และแกไ้ ขโดยตดั ออก หรือเติมค�ำ หรอื ข้อความทถ่ี ูกต้องลงในชอ่ งว่าง การสืบพนั ธุ์ของสตั ว์ ��������� 1.1 สัตว์ตัวใหม่ท่ีเกิดจากการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศมีลักษณะรูปร่างและข้อมูล ทางพันธุกรรมเหมือนกบั สตั ว์ตัวเดมิ ทุกประการ ��������� 1.2 การแตกหนอ่ และการงอกใหมเ่ ปน็ การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศ โดยสตั วม์ กี าร แบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ เพ่อื สร้างเซลล์สืบพันธุ์ แกไ้ ขโดย ตัดขอ้ ความ เพอ่ื สร้างเซลลส์ บื พนั ธุ์ ��������� 1.3 การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศเกดิ จากการปฏสิ นธริ ะหวา่ งเซลลส์ บื พนั ธเ์ุ พศผแู้ ละเซลล์ สบื พนั ธเ์ุ พศเมยี โดยสามารถเกดิ ไดท้ ง้ั ภายนอกและภายในรา่ งกายของสตั วเ์ พศเมยี ��������� 1.4 ไสเ้ ดอื นดนิ เปน็ กะเทย เซลลไ์ ขแ่ ละสเปริ ม์ ของไสเ้ ดอื นดนิ ทส่ี รา้ งจากตวั เดยี วกนั สามารถปฏสิ นธกิ นั เองได้ แก้ไขเป็น ไมส่ ามารถปฏิสนธกิ ันเองได้ ��������� 1.5 ในกระบวนการสร้างสเปิร์ม สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกจะมีโครโมโซมเป็น แฮพลอยด์ กรณีที่ 1 ในกระบวนการสร้างสเปิร์ม สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกจะมีโครโมโซมเป็น แฮพลอยด์ แกไ้ ขเปน็ ดพิ ลอยด์ กรณที ่ี 2 ในกระบวนการสร้างสเปิร์ม สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกจะมีโครโมโซมเป็น แฮพลอยด์ แก้ไขเปน็ สเปอร์มาโทไซตร์ ะยะทส่ี อง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโต 197 ��������� 1.6 การเจาะของสเปริ ม์ ทผี่ วิ เซลลโ์ อโอไซตร์ ะยะทสี่ องภายในทอ่ น�ำ ไขก่ ระตนุ้ ท�ำ ให้ เกิดการแบ่งเซลล์ต่อไดเ้ ป็นเซลลไ์ ข่ ������� 1.7 ในเพศหญงิ มกี ารสรา้ งโอโอโกเนยี มจ�ำ นวนมากตง้ั แตเ่ กดิ และไมม่ กี ารสรา้ งเพม่ิ เตมิ อกี ������� 1.8 คอรป์ สั ลเู ทยี มในรงั ไขข่ องเพศหญงิ เปน็ เนอ้ื เยอ่ื ทเ่ี ปลย่ี นแปลงมาจากฟอลลเิ คลิ ที่เจริญเติบโตเตม็ ท่ีหลงั โอโอไซต์ระยะทสี่ องหลุดออกไปแล้ว ������� 1.9 ในเพศหญงิ ถา้ เซลลไ์ ขไ่ มไ่ ดร้ บั การปฏสิ นธจิ ะมปี ระจ�ำ เดอื นซง่ึ เกดิ จากการสลาย ของเย่อื บุของทอ่ น�ำ ไข่ แกไ้ ขเป็น มดลกู (เอนโดมีเทรียม) ������� 1.10 การท่ีสเปิร์มเจาะเข้าไปในโอโอไซต์ระยะท่ีสองจะทำ�ให้เย่ือหุ้มเซลล์มีการ เปลยี่ นแปลงเพื่อป้องกันการเจาะเขา้ ไปของสเปิรม์ อืน่ 2. จงน�ำ ตวั อกั ษรจากรปู ระบบสบื พนั ธขุ์ องเพศชายและเพศหญงิ เตมิ ลงในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความ ท่ีมีความสัมพันธ์กัน พร้อมระบุช่ือโครงสร้าง (ภาษาอังกฤษ) ลงในช่องว่างหน้าข้อความ (สามารถตอบซ�ำ้ ได)้ 2.1 เพศชาย ญ ซฌ ฉ ช ค ก ข จ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

198 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธแุ์ ละการเจรญิ เตบิ โต ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ���������������ง�.��T���e��s��t�i�s���������������� 1. ทำ�หน้าทส่ี ร้างสเปิร์มและฮอรโ์ มนเพศชาย �����ฌ����.��S��e��m���i��n��a��l��v��e��s��i�c��l�e������� 2. ท�ำ หนา้ ทหี่ ลง่ั ของเหลว เมอื ก และสารอาหารทเ่ี ปน็ แหลง่ พลังงานใหก้ ับสเปิร์ม �������ซ��.��P���r�o��s��t�a��t��e���g��l�a��n���d�������� 3. หล่ังของเหลวซึ่งมีสมบัติเป็นเบสเพ่ือปรับสภาพภายใน ท่อปสั สาวะให้เปน็ กลาง ��������ฉ���.��V��a��s���d��e��f��e��r�e��n��s���������� 4. บริเวณทีส่ ามารถผกู ตัด หรือจ้ีด้วยไฟฟ้าเพื่อท�ำ หมัน ����������ค��.��E��p���i�d��i�d��y���m���i�s����������� 5. บริเวณทีส่ เปิรม์ พฒั นาต่อจนเจริญเต็มที่ 2.2 เพศหญงิ ข ก ค ช ง จฉ ��������������ก��.��O���v��a��r�y����������������� 1. ท�ำ หนา้ ทผี่ ลิตเซลลไ์ ขแ่ ละอีสโทรเจน ������������ข��.��O���v��i�d���u��c��t�������������� 2. บริเวณในระบบสบื พันธ์ุเพศหญงิ ท่ีสามารถผกู ตดั หรอื จ้ีดว้ ยไฟฟา้ เพือ่ ทำ�หมัน �������ค���.��E��n���d��o��m���e��t��r�i��u��m���������� 3. สว่ นท่เี ยือ่ บผุ ิวสลายกลายเปน็ ประจำ�เดือน �������ค��.��E��n���d��o��m����e��t�r��i�u��m����������� 4. บรเิ วณที่เอม็ บรโิ อฝังตัว �������������ข��.��O���v��i�d��u���c��t������������� 5. บริเวณทเี่ กดิ การปฏสิ นธิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธ์แุ ละการเจรญิ เตบิ โต 199 3. จากรูปถ่ายและรูปวาดเน้ือเยื่อหลอดสร้างอสุจิของหนูขาวที่นำ�มาตัดตามขวางและศึกษา ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จงเติมชื่อเซลล์ (ภาษาอังกฤษ) ในกระบวนการสร้างสเปิร์มลงใน ชอ่ งว่าง พรอ้ มระบุว่าเซลลเ์ ป็นดพิ ลอยด์ (2n) หรอื แฮพลอยด์ (n) ..........S.p..e..r.m....(.n..)............. .........S.p..e..r.m...a..t.i.d...(.n..)........ Se.c..o..n..d..a.r..y..s..p.e..r.m...a..t.o..c.y..t.e...(.n) P.r.i.m...a.r..y..s..p..e.r..m...a.t.o..c..y.t..e..(.2..n. ) ...S.p..e..r.m...a..t.o..g.o..n..i.u..m....(.2..n.)... รปู ถ่าย รูปวาด 4. จากรูปถ่ายเนื้อเย่ือรังไข่ของหนูขาวท่ีนำ�มาตัดตามขวางและศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และรูปเรียงตามระยะการเจริญ จงเติมช่ือเซลล์ (ภาษาอังกฤษ) ในกระบวนการสร้าง เซลล์ไขล่ งในชอ่ งว่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

200 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธุแ์ ละการเจรญิ เติบโต ชีววทิ ยา เลม่ 5 4. จากรูปถ่ายเน้ือเย่ือรังไข่ของหนูขาวที่นำ�มาตัดตามขวางและศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และรูปเรียงตามระยะการเจริญ จงเติมชื่อเซลล์ (ภาษาอังกฤษ) ในกระบวนการสร้าง เซลล์ไข่ลงในช่องว่าง .........F...o...l..l..i..c..l..e........... P...r..i..m.....a...r..y.....o...o...c...y...t..e Se..c...o...n...d...a...r..y.....o...o...c..y...t. e C...o...r...p...u...s....l..u...t...e..u....m... รูปเรยี งตามระยะการเจริญ รูปถ่ายภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจรญิ เตบิ โต 201 5. จากรปู แสดงการเปลย่ี นแปลงของเอนโดมเี ทรยี มในชว่ งตา่ ง ๆ ของรอบประจ�ำ เดอื น ถา้ ผหู้ ญงิ คนหนึ่งมีประจำ�เดือนวันแรกในวันท่ี 19 สิงหาคม และมีรอบประจำ�เดือนเป็นปกติทุก ๆ 28 วัน จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้ 14 ก.ย. 15 ก.ย. 19 ส.ค. 20 ส.ค. 13 ก.ย. 21 ส.ค. 12 ก.ย. ประจำเดอื น 22 ส.ค. 11 ก.ย. 23 ส.ค. 10 ก.ย. 24 ส.ค. 9 ก.ย. 25 ส.ค. 8 ก.ย. 26 ส.ค. 7 ก.ย. 27 ส.ค. 6 ก.ย. 28 ส.ค. 5 ก.ย. 29 ส.ค. 4 ก.ย. 2 ก.ย. 30 ส.ค. 3 ก.ย. 31 ส.ค. 1 ก.ย. 5.1 การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของอีสโทรเจนในเลือดในสัปดาห์สุดท้ายของเดือน สิงหาคมเป็นอย่างไร และส่งผลอยา่ งไร ความเขม้ ขน้ ของอสี โทรเจนในเลอื ดคอ่ ย ๆ เพมิ่ สงู ขนึ้ ซงึ่ กระตนุ้ ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ใหห้ ล่ัง LH สง่ ผลให้เกิดการตกไข่ 5.2 ผหู้ ญงิ คนนจ้ี ะมกี ารตกไขป่ ระมาณวนั ทเี่ ทา่ ใด และคาดวา่ จะมปี ระจ�ำ เดอื นรอบถดั ไป ในช่วงวันทเี่ ทา่ ใด ผู้หญิงคนน้จี ะมกี ารตกไขป่ ระมาณวันที่ 1 กันยายน นน่ั คือ หลงั จากวนั แรกของการมี ประจ�ำ เดอื นประมาณ 2 สปั ดาห์ และคาดคะเนวา่ ประจ�ำ เดอื นรอบถดั ไปจะเกดิ ในชว่ ง วนั ท่ี 16 -20 กนั ยายน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

202 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจรญิ เติบโต ชีววทิ ยา เลม่ 5 5.3 ในช่วงวันท่ีเท่าใดท่ีผู้หญิงคนน้ีมีโอกาสท่ีจะต้ังครรภ์หากมีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการ คุมกำ�เนดิ เพราะเหตใุ ด ช่วงประมาณวันท่ี 28 สิงหาคม ถึง 3 กันยายน จะมีโอกาสท่ีจะมีการต้ังครรภ์หากมี เพศสัมพันธ์ เนื่องจากเปน็ ช่วงทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งการตกไข่ อสี โทรเจนจะมรี ะดับลดลงและ โพรเจสเทอโรนมีระดับเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้เอนโดมีเทรียมหนาข้ึนเพื่อเตรียมรับการ ฝังตัวของเอ็มบริโอ หากมีการปฏิสนธิในช่วงน้ีอาจมีโอกาสตั้งครรภ์ได้ โดยหลังการ ตกไข่ โอโอไซต์ระยะทส่ี องจะอยไู่ ด้ประมาณ 24-48 ช่ัวโมง แล้วจะฝอ่ ไป ส่วนสเปิรม์ สามารถอย่ใู นระบบสบื พนั ธขุ์ องเพศหญิงได้นานประมาณ 3-5 วัน 5.4 หากมีการปฏิสนธิระดับความเข้มข้นของโพรเจสเทอโรนจะมีการเปล่ียนแปลงไป อย่างไร ความเข้มข้นของโพรเจสเทอโรนจะมีค่าสูง ซ่ึงยับยั้งการเจริญของเซลล์ไข่ชุดถัดไป และทำ�ให้ผนังมดลูกยงั คงหนาอยเู่ พือ่ รับการฝังตัวของเอ็มบรโิ อ 5.5 ถ้าในเวลาต่อมา ผู้หญิงคนน้ีมีรอบประจำ�เดือนทุก ๆ 22 วัน และมีเพศสัมพันธ์โดย ไมม่ กี ารคมุ ก�ำ เนดิ ในวนั ท่ี 12 ของรอบประจ�ำ เดอื น มโี อกาสทจี่ ะเกดิ การปฏสิ นธหิ รอื ไม่ มีโอกาสเกิดการปฏิสนธิ เน่ืองจากน่าจะมีการตกไข่ประมาณกลางรอบประจำ�เดือน นนั่ คอื ประมาณวนั ท่ี 11 ของรอบประจ�ำ เดอื น สเปริ ม์ จงึ มโี อกาสปฏสิ นธกิ บั เซลลไ์ ขไ่ ด้ 6. ภาวะการตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy) เป็นภาวะท่ีเอ็มบริโอไม่ได้ไปฝังตัวที่ เอนโดมีเทรียมตามปกติ แต่ไปฝังตัวที่บริเวณอื่นแทน ภาวะการตั้งครรภ์นอกมดลูกที่ พบบ่อยคือเอ็มบริโอไปฝังตัวท่ีบริเวณท่อนำ�ไข่ ซึ่งผู้หญิงที่มีการตั้งครรภ์แบบน้ีมักจะมี จำ�นวนของซเิ ลียในท่อนำ�ไข่ต�ำ่ กวา่ ปกติ จากขอ้ มลู ทีก่ �ำ หนดให้ จงตอบคำ�ถามต่อไปน้ี 6.1 ถา้ การตงั้ ครรภแ์ บบทเ่ี อม็ บรโิ อไปฝงั ตวั ทที่ อ่ น�ำ ไขย่ งั คงด�ำ เนนิ ตอ่ ไป จะเกดิ เหตกุ ารณ์ ใดข้นึ เพราะเหตุใด ทอ่ น�ำ ไขม่ สี ภาพไมเ่ หมาะสมในการฝงั ตวั ของเอม็ บรโิ อ ผนงั ในบรเิ วณนไี้ มม่ หี ลอดเลอื ด มาเลี้ยงมากพอ นอกจากนีท้ อ่ น�ำ ไข่ยงั มีขนาดเล็กไมส่ ามารถขยายใหญ่ข้ึนได้ ถ้าการ ต้ังครรภ์แบบท่ีเอ็มบริโอไปฝังตัวที่ท่อนำ�ไข่ยังคงดำ�เนินต่อไป เม่ือเอ็มบริโอมีขนาด ใหญม่ ากขนึ้ จะท�ำ ใหท้ อ่ น�ำ ไขแ่ ตกได้ เสย่ี งตอ่ การตกเลอื ดภายใน ดงั นนั้ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ ง นำ�เอ็มบรโิ อออกเพอ่ื รักษาชีวติ ของมารดาและตอ้ งไดร้ บั การรักษาโดยสูตนิ ารีแพทย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธ์ุและการเจรญิ เตบิ โต 203 6.2 เพราะเหตใุ ดจ�ำ นวนซเิ ลยี ในบรเิ วณทอ่ น�ำ ไขจ่ งึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั การตง้ั ครรภแ์ บบท่ี เอ็มบริโอไปฝังตัวทีท่ อ่ น�ำ ไข่ เพราะซเิ ลียทำ�หน้าทพี่ ดั โบกให้เอ็มบรโิ อเคล่อื นทไ่ี ปยงั โพรงมดลกู ดังนน้ั จ�ำ นวนของ ซเิ ลยี ในทอ่ น�ำ ไขท่ ม่ี นี อ้ ยจะท�ำ ใหเ้ อม็ บรโิ อทพ่ี รอ้ มจะฝงั ตวั เคลอื่ นทช่ี า้ จงึ อาจฝงั ตวั ท่ี ทอ่ น�ำ ไข่กอ่ นท่ีจะเดนิ ทางถึงโพรงมดลกู 7. จงน�ำ ตวั อกั ษรหนา้ ค�ำ ที่กำ�หนดให้เติมลงหนา้ ข้อความท่ีมีความสมั พนั ธก์ ัน ก. โอโอไซต์ระยะแรก ข. โอโอไซตร์ ะยะทีส่ อง ค. แกสทรลู า ฉ. รก ง. ท่อน�ำ ไข ่ จ. แอลแลนทอยส์ ฌ. คอรป์ สั ลูเทยี ม ฏ. เซลลไ์ ข่ ช. การแบง่ เซลล์ ซ. คลเี วจ ญ. บลาสทลู า ฎ. ออรแ์ กโนเจเนซิส ��ข����� 7.1 เซลล์ทห่ี ลุดออกจากฟอลลเิ คิลเข้าสทู่ ่อน�ำ ไขใ่ นกระบวนการตกไข่ ��ฉ����� 7.2 โครงสรา้ งทลี่ �ำ เลยี งสารอาหารและแลกเปลยี่ นแกส๊ ออกซเิ จนระหวา่ งแมก่ บั ลกู ��ซ����� 7.3 การที่ไซโกตมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสอย่างรวดเร็วในกระบวนการเจริญ เตบิ โตของกบ ��ค����� 7.4 เอ็มบริโอในระยะท่ีมีการจัดเรียงตัวของกลุ่มเซลล์เป็น 3 ชั้น คือ เอ็กโทเดิร์ม เมโซเดริ ์ม และเอนโดเดิร์ม ��จ����� 7.5 โครงสรา้ งของเอม็ บรโิ อไกท่ ใี่ ชแ้ ลกเปลย่ี นแกส๊ และเกบ็ ของเสยี ประเภทกรดยรู กิ ��ฌ����� 7.6 โครงสร้างทเ่ี ปลย่ี นแปลงมาจากฟอลลเิ คิล ทำ�หน้าทสี่ รา้ งโพรเจสเทอโรน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

204 บทท่ี 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจรญิ เตบิ โต ชวี วทิ ยา เล่ม 5 8. จงใส่เคร่ืองหมายถูก (√) หน้าข้อความท่ีถูกต้อง ใส่เครื่องหมายผิด (×) หน้าข้อความท่ี ไมถ่ กู ตอ้ ง และขดี เสน้ ใตเ้ ฉพาะค�ำ หรอื สว่ นของขอ้ ความทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง และแกไ้ ขโดยตดั ออก หรอื เตมิ ค�ำ หรอื ข้อความทีถ่ กู ต้องลงในชอ่ งวา่ ง การเจริญเติบโตของสตั ว์ ��������� 8.1 การท่ีมีปริมาณและการกระจายของไข่แดงในเซลล์ไข่ไม่เท่ากันทำ�ให้สัตว์ มลี กั ษณะการแบง่ เซลลใ์ นคลีเวจของเอม็ บรโิ อต่างกัน ��������� 8.2 ในคลเี วจพบว่าเอ็มบรโิ อมกี ารเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็ว แกไ้ ขเป็น จ�ำ นวนเซลล์ ��������� 8.3 การแบ่งเซลล์ในคลเี วจอตั ราสว่ นพ้ืนท่ผี วิ ของเซลลต์ อ่ ปริมาตรจะลดลง แกไ้ ขเปน็ เพมิ่ ขน้ึ ��������� 8.4 ถุงนำ้�ครำ่�ของไก่เป็นถุงบรรจุของเหลวทำ�หน้าที่ป้องกันการกระทบกระเทือน และไม่ให้เอ็มบริโอแหง้ คอเรียนของไกเ่ ป็นถงุ ทำ�หน้าทส่ี ะสมอาหาร กรณีที่ 1 ถุงน้ำ�คร่ำ�ของไก่เป็นถุงบรรจุของเหลวทำ�หน้าท่ีป้องกันการกระทบ กระเทอื นและไม่ใหเ้ อม็ บรโิ อแห้ง คอเรียนของไก่เปน็ ถุงท�ำ หนา้ ทสี่ ะสมอาหาร แก้ไขเป็น แลกเปล่ียนแก๊ส กรณีที่ 2 ถุงนำ้�คร่ำ�ของไก่เป็นถุงบรรจุของเหลวทำ�หน้าท่ีป้องกันการกระทบ กระเทอื นและไมใ่ ห้เอม็ บริโอแหง้ คอเรยี นของไกเ่ ป็นถงุ ทำ�หน้าที่สะสมอาหาร แกไ้ ขเป็น ถุงไขแ่ ดง ��������� 8.5 เยอื่ หมุ้ ไข่ขาวของไขไ่ กท่ �ำ หนา้ ที่ปอ้ งกันอนั ตรายและการสญู เสยี นำ�้ ของเซลล์ ��������� 8.6 สมอง ไขสันหลัง เล็บ เลนส์ตา และโนโทคอร์ด เป็นอวัยวะท่ีเจริญมาจาก เอ็กโทเดริ ์มของเอม็ บริโอ แก้ไขโดย ตัด และโนโทคอร์ด ออก ��������� 8.7 ถุงนำ้�ครำ่�พบได้ทั้งในสัตว์สะเทินนำ้�สะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เล้ยี งลกู ด้วยน�ำ้ นม แก้ไขโดย ตัด สัตวส์ ะเทินนำ�้ สะเทนิ บก ออก ��������� 8.8 ฟตี ัสได้รบั สารอาหารและแกส๊ ออกซเิ จนจากรกผา่ นทางสายสะดอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุแ์ ละการเจริญเติบโต 205 9. จากรูปการเจริญเติบโตของกบ จงเติมหมายเลขลงในตารางให้สัมพันธ์กับลำ�ดับของ กระบวนการทีเ่ กดิ ขึ้น สามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 หมายเลข 123 45 67 8 เอนโดเดริ ม์ กระบวนการ เมโซเดิรม์ เอก็ โทเดริ ์ม 9.1 ปฏสิ นธิ 9.2 คลีเวจ 9 10 9.3 แกสทรเู ลชนั 9.4 ออรแ์ กโนเจเนซิส หมายเลข 9.5 เมทามอร์โฟซิส 3 6, 5, 2 และ 4 10 8 และ 7 1 และ 9 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

206 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ชีววิทยา เล่ม 5 10. จากรปู การเจรญิ เติบโตของเอม็ บริโอของไกแ่ ละเอ็มบรโิ อของมนุษย์ จงเติมหมายเลขและ ช่อื โครงสรา้ งของเอม็ บรโิ อ (ภาษาองั กฤษ) ทีส่ ัมพันธ์กับหน้าทีล่ งในตาราง 12 8 9 3 10 6 7 11 5 4 เอม็ บรโิ อของไก่ 12 13 เอม็ บรโิ อของมนุษย์ หนา้ ท่ี หมายเลขและช่อื โครงสรา้ ง หมายเลขและชอ่ื โครงสรา้ ง เอม็ บริโอของไก่ เอ็มบริโอของมนุษย์ 10.1 แลกเปล่ยี นแก๊ส 2 chorion 13 placenta 10.2 เก็บของเสียทีม่ ีไนโตรเจนเปน็ 3 allantois 13 placenta องคป์ ระกอบ 10.3 เก็บหรอื ล�ำ เลยี งสารอาหาร 5 yolk sac 13 placenta ส�ำ หรับเอ็มบรโิ อ 10.4 ป้องกนั เอม็ บรโิ อไมใ่ ห้ได้รับ 1 amnion 10 amnion การกระทบกระเทือน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจรญิ เติบโต 207 11. เอ็มบริโอของมนุษย์มีการเจริญเติบโตในแกสทรูลา โดยมีการจัดเรียงตัวของกลุ่มเซลล์ 3 ช้ัน ซึ่งจะพัฒนาไปเป็นอวัยวะที่ทำ�หน้าท่ีเฉพาะ จงระบุว่าอวัยวะในรูปมีการพัฒนา มาจากกล่มุ เซลลช์ นั้ ใด ..เ.อ..น...โ..ด...เ.ด...ริ ..์ม... ..เ.อ..ก็...โ..ท...เ.ด..ิร...์ม... ...เ.ม...โ..ซ..เ..ด..ริ..ม์..... เยอ่ื บทุ างเดนิ หายใจ ...เ.ม...โ..ซ..เ..ด..ิร..์ม..... ..เ.อ..น...โ..ด...เ.ด...ริ ..์ม... ...เ.ม...โ..ซ..เ..ด..ริ..์ม..... เยอ่ื บทุ างเดนิ อาหารและตับ ...เ.ม...โ..ซ..เ..ด..ริ..ม์..... ...เ.ม...โ..ซ..เ..ด..ริ..ม์..... สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

208 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธุแ์ ละการเจริญเตบิ โต ชวี วิทยา เลม่ 5 12. กลุ่มอาการผิดปกติของทารกในครรภ์จากการด่ืมแอลกอฮอล์ของมารดา (fetal alcohol spectrum disorder; FASD) ท�ำ ใหก้ ารเจรญิ ของเอม็ บรโิ อผดิ ปกติ เมอื่ คลอดออกมาทารก จะมีกะโหลกศีรษะเล็ก ร่างกายเล็ก และปัญญาอ่อน นอกจากนี้ยังเพิ่มความเส่ียงต่อการ เสียชีวิตของทารก ท้ังนี้อันตรายและความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณแอลกอฮอล์ท่ีด่ืมและ อายุครรภ์ โดยเฉพาะในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ แพทย์จึงแนะนำ�ให้หญิงที่ ต้ังครรภ์งดดื่มแอลกอฮอล์ตลอดการตั้งครรภ์ แอลกอฮอล์สามารถเข้าสู่เอ็มบริโอในครรภ์ ได้อย่างไร เพราะเหตุใดการดื่มแอลกอฮอล์ในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์จึงส่งผล รุนแรงกวา่ ในชว่ งหลงั จาก 3 เดือนแรกของการตง้ั ครรภ์ เอม็ บรโิ อไดร้ บั แอลกอฮอลผ์ า่ นทางรกและสายสะดอื สาเหตทุ ค่ี วรงดดมื่ แอลกอฮอลใ์ นชว่ ง 3 เดือนแรกของการต้ังครรภ์นั้น เพราะช่วงเวลาดังกล่าวเซลล์จะมีการเพ่ิมจำ�นวนและ มีการเปลี่ยนสภาพไปทำ�หน้าที่เฉพาะ เช่น สร้างเซลล์ประสาท รวมถึงสร้างอวัยวะต่าง ๆ เช่น สมอง หวั ใจ ตา แขน ขา อวัยวะเพศ นอกจากนีเ้ อม็ บรโิ อยงั มีเซลล์จ�ำ นวนน้อย ดังนนั้ เซลล์ของเอ็มบริโอในระยะน้ีจึงได้รับผลกระทบรุนแรงจากแอลกอฮอล์หรือสารเคมีอ่ืนๆ ท่มี ารดาไดร้ ับ ซงึ่ อาจท�ำ ให้พกิ ารได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 209 22บทที่ | พฤติกรรมของสตั ว์ ipst.me/10787 ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมลู อธิบาย เปรยี บเทยี บและยกตัวอย่างพฤติกรรมท่เี ป็นมาแต่กำ�เนดิ และพฤตกิ รรมท่เี กิดจาก การเรยี นร้ขู องสตั ว์ 2. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และยกตัวอยา่ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมกับววิ ฒั นาการของระบบประสาท 3. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และยกตัวอย่างการส่อื สารระหว่างสตั วท์ ีท่ ำ�ใหส้ ัตวแ์ สดงพฤติกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

210 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 การวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบและยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำ�เนิดและ พฤตกิ รรมทเี่ กิดจากการเรยี นร้ขู องสัตว์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการศึกษาพฤตกิ รรมของสตั ว์ 2. อธิบายกลไกการเกดิ พฤตกิ รรมของสตั ว์ 3. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบและยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำ�เนิดและ พฤตกิ รรมทีเ่ กิดจากการเรียนรู้ของสตั ว์ ทกั ษะกระบวนการ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การใชว้ ิจารณญาณ 1. การสงั เกต 1. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรู้ 2. ความรอบคอบ 3. ความเช่อื มั่นตอ่ หลกั ฐาน 2. การลงความเห็นจากขอ้ มลู เทา่ ทันส่ือ 4. ความอยากรูอ้ ยากเห็น 3. การจำ�แนกประเภท 2. การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและ 4. การทดลอง การแกป้ ัญหา 5. การจดั กระท�ำ และส่อื ความ 3. ความรว่ มมือ การท�ำ งานเปน็ ทมี หมายขอ้ มูล และภาวะผนู้ ำ� 6. การตคี วามหมายขอ้ มูลและ การลงข้อสรุป ผลการเรยี นรู้ 2. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของ ระบบประสาท จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของ ระบบประสาท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 211 ทักษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การส่อื สารสารสนเทศและการรู้ 1. ความอยากร้อู ยากเห็น 1. การสังเกต เท่าทนั สอ่ื 2. การใชว้ จิ ารณญาณ 2. การลงความเห็นจากข้อมูล ผลการเรยี นรู้ 3. สบื ค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอยา่ งการสื่อสารระหว่างสตั วท์ ท่ี �ำ ใหส้ ตั ว์แสดงพฤตกิ รรม จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายและยกตัวอย่างการสอื่ สารระหว่างสตั ว์ที่ทำ�ใหส้ ัตวแ์ สดงพฤตกิ รรม ทักษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. การส่อื สารสารสนเทศและการรู้ 1. ความอยากรู้อยากเหน็ 1. การสงั เกต เทา่ ทันส่ือ 2. การใช้วิจารณญาณ 2. การลงความเห็นจากขอ้ มูล 3. การจ�ำ แนกประเภท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

212 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชีววิทยา เล่ม 5 ผงั มโนทศั น์ บทท่ี 22 การศกึ ษาพฤตกิ รรมของสัตว์ พฤตกิ รรมของสัตว์ แบ่งเป็น ศกึ ษาเกย่ี วกบั แนวพรอกซิเมตคอส แนวอัลทเิ มตคอส กลไกการเกดิ พฤตกิ รรม พฤตกิ รรมที่เปน็ มาแตก่ �ำ เนิด แบง่ เปน็ ฟิกซแ์ อกชนั แพทเทริ ์น โอเรียนเทชนั รเี ฟลก็ ซ์และ รเี ฟล็กซ์ต่อเน่ือง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 213 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรม การสอ่ื สารระหว่างสัตว์ แบง่ เปน็ และววิ ฒั นาการของระบบประสาท แบง่ เป็น การสื่อสารดว้ ยเสียง พฤตกิ รรมทเี่ กิดจากการเรยี นรู้ แบ่งเป็น การส่ือสาร แฮบชิ ูเอชนั ดว้ ยท่าทาง การฝังใจ การสื่อสาร ดว้ ยการสัมผัส การเช่อื มโยง ได้แก่ การส่อื สาร ดว้ ยสารเคมี การมเี ง่อื นไข การลองผดิ ถูก การใชเ้ หตผุ ล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

214 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชีววทิ ยา เลม่ 5 สาระส�ำ คัญ พฤตกิ รรม คอื ปฏกิ ริ ยิ าทส่ี งิ่ มชี วี ติ แสดงเพอ่ื ตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทมี่ ากระตนุ้ ท�ำ ใหส้ ามารถด�ำ รง ชวี ติ อยรู่ อดไดโ้ ดยพนั ธกุ รรมและสง่ิ แวดลอ้ มมผี ลตอ่ การแสดงพฤตกิ รรม การศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั ว์ อาจศึกษาได้ 2 แนวทาง คือ แนวพรอกซิเมตคอส ซึ่งศึกษาในแง่กลไกการแสดงออกของพฤติกรรม และสิ่งเร้าท่ีทำ�ให้เกิดพฤติกรรม รวมถึงพัฒนาการของพฤติกรรมที่เกิดข้ึน และการศึกษาพฤติกรรม ในแนวอัลทิเมตคอส เป็นการศึกษาผลของพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกต่อการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่างกัน ตลอดจนวิวัฒนาการของพฤติกรรมน้ัน ๆ เมื่อเทียบกับสัตว์กลุ่มท่ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กนั พฤตกิ รรมทเี่ ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ เปน็ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกมาโดยไมต่ อ้ งไดร้ บั การฝกึ ฝน สามารถ ถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม เช่น ฟิกซ์แอกชันแพทเทิร์น โอเรียนเทชัน รีเฟล็กซ์และรีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรเู้ ปน็ พฤตกิ รรมทอี่ าศยั ประสบการณจ์ งึ จะแสดงพฤตกิ รรมไดอ้ ยา่ งเหมาะ สม แบ่งไดเ้ ปน็ แฮบชิ เู อชนั การฝงั ใจ การเชื่อมโยง (การมเี งอ่ื นไขและการลองผดิ ลองถกู ) และการใช้ เหตุผล ระดับการแสดงพฤติกรรมท่ีสัตว์แต่ละชนิดแสดงออกจะแตกต่างกันซ่ึงมีความสัมพันธ์กับ ววิ ฒั นาการของระบบประสาททแี่ ตกตา่ งกนั และมนษุ ยส์ ามารถแสดงพฤตกิ รรมการใชเ้ หตผุ ลไดด้ ที สี่ ดุ การสื่อสารในสัตว์เป็นพฤติกรรมเพ่ือส่ือความหมายให้เข้าใจตรงกัน ซ่ึงมีหลายวิธี เช่น การส่ือสารด้วยเสียง การสื่อสารด้วยท่าทาง การส่ือสารด้วยการสัมผัส และการส่ือสารด้วยสารเคมี (ฟโี รโมน) เวลาทใี่ ช้ 0.5 ช่วั โมง บทนี้ควรใช้เวลาสอนประมาณ 6 ช่วั โมง 0.5 ชัว่ โมง 22.1 การศึกษาพฤตกิ รรมของสัตว ์ 3.5 ชัว่ โมง 22.2 กลไกการเกดิ พฤติกรรม 0.5 ชั่วโมง 22.3 ประเภทพฤติกรรมของสัตว ์ 22.4 ความสมั พนั ธ์ระหว่างพฤตกิ รรมและวิวฒั นาการของระบบประสาท 1 ชว่ั โมง 22.5 การส่อื สารระหวา่ งสัตว์ 6 ชวั่ โมง รวม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 215 ตรวจสอบความร้กู อ่ นเรียน ให้นักเรยี นใส่เครอื่ งหมายถูก (√) หรอื ผิด (×) หน้าขอ้ ความตามความเข้าใจของนักเรยี น 1. มนุษย์และสตั ว์มีการตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ภายนอกและสิ่งเรา้ ภายใน 2. การแสดงพฤติกรรมของสตั วถ์ กู ควบคมุ โดยระบบประสาท 3. ฮอร์โมนมผี ลตอ่ การแสดงพฤตกิ รรมของสัตว์ 4. สัตวท์ กุ สปีชสี ์แสดงพฤติกรรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรูไ้ ด้ 5. การร้องขออาหารของลูกนกแรกเกิดสามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่จำ�เป็นต้องเรียนรู้จาก ประสบการณ์ 6. การได้รับสารเสพตดิ ทำ�ใหพ้ ฤตกิ รรมของมนษุ ยแ์ ละสัตวเ์ ปล่ยี นแปลงไป 7. การแสดงพฤติกรรมบางอยา่ งของสตั วต์ ้องอาศยั ประสบการณ์ 8. ปฏกิ ริ ยิ ารเี ฟลก็ ซเ์ ปน็ พฤตกิ รรมทมี่ กี ารตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทนั ทโี ดยการสงั่ งานของสมอง 9. พัฒนาการทางร่างกายของสัตว์ไม่มผี ลตอ่ การแสดงพฤติกรรมของสัตว์ 10. พฤติกรรมของสตั ว์ทกุ ชนดิ จะคงอยู่ถาวร ไม่ลดระดับการตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ทกุ ชนดิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

216 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 22.1 การศกึ ษาพฤติกรรมของสัตว์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั ว์ แนวการจัดการเรียนรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยอาจใชร้ ปู น�ำ บทในหนงั สอื เรยี นหรอื รปู อน่ื หรอื วดี ทิ ศั นแ์ สดงพฤตกิ รรม ของสตั วส์ น้ั  ๆ แลว้ ถามนกั เรยี นโดยใชค้ �ำ ถามในหนงั สอื เรยี นดงั น้ี พฤตกิ รรมทส่ี ตั วแ์ สดงมปี ระโยชนต์ อ่ สตั วอ์ ยา่ งไร สง่ิ เรา้ ทก่ี ระตนุ้ ใหส้ ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมคอื อะไร มกี ลไกการเกดิ พฤตกิ รรมอยา่ งไร และ มนษุ ยจ์ ะไดป้ ระโยชนอ์ ะไรจากการศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั ว์ ค�ำ ตอบของนกั เรียนมไี ดห้ ลากหลาย ครยู ังไม่ตอ้ งเฉลยวา่ คำ�ตอบขอบนักเรยี นถูกตอ้ งหรอื ไม่ ส�ำ หรบั ครคู วรเขา้ ใจในเบอ้ื งตน้ วา่ สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ประโยชนใ์ นการด�ำ รงชวี ติ เชน่ การหาอาหาร การหลบหลกี ศตั รู การสบื พนั ธ์ุซง่ึ สง่ิ เรา้ ทท่ี �ำ ใหส้ ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมมหี ลากหลาย และมนษุ ยศ์ กึ ษาพฤตกิ รรม ของสตั ว์ เพอ่ื อธบิ ายและท�ำ ความเขา้ ใจพฤตกิ รรมของสตั ว์ ซง่ึ สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชนไ์ ดต้ อ่ ไป ครอู าจยกตวั อยา่ งนกกระจด๊ิ และหนแู พรรใี นหนงั สอื เรยี นเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารศกึ ษาพฤตกิ รรมของ สัตว์ในแนวพรอกซิเมตคอส ซ่งึ ศึกษาในแง่กลไกการแสดงออกของพฤติกรรม และส่งิ เร้าท่ที ำ�ให้เกิด พฤตกิ รรม รวมถงึ พฒั นาการของพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจวา่ สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งไร และการศกึ ษาพฤตกิ รรมในแนวอลั ทเิ มตคอส ซง่ึ ศกึ ษาผลของพฤตกิ รรมทส่ี ตั วแ์ สดงออกตอ่ การปรบั ตวั ในส่งิ แวดล้อมท่แี ตกต่างกัน ตลอดจนวิวัฒนาการของพฤติกรรมน้นั  ๆ เม่อื เทียบกับสัตว์กล่มุ ท่มี ีความ สมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กนั เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจวา่ สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ ด การศกึ ษาพฤตกิ รรม ของสัตว์ท้ังในแนวพรอกซิเมตคอสและอัลทิเมตคอสน้ัน จะช่วยในการอธิบายและทำ�ความเข้าใจ พฤตกิ รรมของสตั วไ์ ดส้ มบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ ตรวจสอบความเขา้ ใจ การศึกษาว่ายีนใดส่งผลต่อรูปแบบการชักใยของแมงมุมสายพันธ์ุหนึ่ง เป็นการศึกษา พฤตกิ รรมในแนวพรอกซเิ มตคอสหรือแนวอัลทิเมตคอส เพราะเหตุใด เปน็ การศกึ ษาพฤตกิ รรมในแนวพรอกซเิ มตคอส เพราะศกึ ษาปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กลไกการ เกดิ พฤตกิ รรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 217 ครอู าจใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมของสตั วท์ น่ี กั เรยี นพบในชวี ติ ประจ�ำ วนั และอภปิ ราย ร่วมกันว่าส่งิ เร้าอะไรเป็นตัวกระตุ้นให้สัตว์แสดงพฤติกรรมเหล่าน้นั และสัตว์รู้ได้อย่างไรว่าจะแสดง พฤตกิ รรมอยา่ งไร รวมทง้ั จะไดป้ ระโยชนอ์ ะไรเมอ่ื สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมเพอ่ื น�ำ เขา้ สเู่ รอ่ื งกลไก การเกดิ พฤตกิ รรม ความรู้เพม่ิ เติมส�ำ หรับครู ในการศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั วใ์ นแนวทางอลั ทเิ มตคอส ท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจไดว้ า่ สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรม เหล่านั้นเพื่อวัตถุประสงค์ใด พฤติกรรมท่ีสัตว์แสดงออกมาเป็นผลมาจากการคัดเลือกโดย ธรรมชาติ ซึ่งการแสดงพฤติกรรมเหล่านี้เป็นผลมาจากการแสดงออกของยีนที่เหมาะสมท่ี ถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรมมาจากบรรพบรุ ษุ ท�ำ ใหส้ ตั วท์ ม่ี ยี นี ทคี่ วบคมุ การแสดงของของพฤตกิ รรม ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มสามารถเพม่ิ โอกาสในการอยรู่ อด สบื พนั ธ์ุ เพมิ่ จ�ำ นวนและขยาย ขนาดประชากรได้ ดงั ตัวอยา่ งพฤติกรรมตอ่ ไปนี้ การปกป้องอาณาเขต (territoriality) สตั วแ์ ตล่ ะสปีชีสม์ ีขนาดอาณาเขตที่ใช้ในการหากนิ อยู่ อาศัย ผสมพันธุ์และทำ�รังแตกต่างกันซ่ึงโดยทั่วไปในธรรมชาติอาณาเขตดังกล่าวมีพ้ืนที่จำ�กัด ดังน้ันสัตว์บางสปีชีส์จึงมีพฤติกรรมการปกป้องอาณาเขต เพ่ือเป็นหลักประกันว่าจะยังคงมี ทรัพยากรอาหารและท่ีอยู่อาศัยท่ีเพียงพอในการอยู่รอดและสืบพันธ์ุต่อไปได้ พฤติกรรมน้ีจะ แสดงออกชดั เจนในชว่ งฤดผู สมพนั ธข์ุ องสตั วบ์ างสปชี สี ์ เชน่ นกทะเลบางสปชี สี ใ์ นชว่ งนอกฤดู ผสมพนั ธจุ์ ะมอี าณาเขตการหากนิ ทก่ี วา้ ง และไมค่ อ่ ยแสดงพฤตกิ รรมการปกปอ้ งอาณาเขต เมอื่ เขา้ สฤู่ ดผู สมพนั ธจ์ุ ะสรา้ งรงั และจบั คผู่ สมพนั ธเ์ุ พอ่ื วางไข่ นกจะมพี ฤตกิ รรมลดขนาดอาณาเขต หากินลง และมีการแสดงพฤติกรรมปกป้องอาณาเขตหากนิ รอบ ๆ รัง แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ตอ่ ผ้บู ุกรุกท่เี ขา้ มาในอาณาเขตของรงั กลยทุ ธ์ในการสบื พนั ธ์ุ (reproductive strategies) สตั วบ์ างสปชี สี ์มลี กั ษณะภายนอกของเพศ ผแู้ ละเพศเมยี ตา่ งกันชัดเจน เช่น ในนกปกั ษาสวรรคเ์ พศผจู้ ะมสี ีสันสวยงาม มขี นหางยาวเพ่อื ใชใ้ นการเต้นระบำ�เกี้ยวพาราสีเพศเมยี เมื่อถึงฤดผู สมพนั ธ์นุ กเพศเมยี จะเลอื กคู่ผสมพนั ธ์ุโดย การคดั เลอื กทางเพศ (sexual selection) ซง่ึ ดจู ากสสี นั ของขนและทา่ ทางการเตน้ ของเพศผตู้ วั ทเี่ ดน่ ทสี่ ดุ เพราะเปน็ เพศผทู้ แี่ ขง็ แรงทส่ี ดุ และหาอาหารเกง่ ทสี่ ดุ สขี นทส่ี วยงามสะทอ้ นถงึ ความ สามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหารท่ีอุดมสมบูรณ์ เป็นหลักประกันว่าลูกท่ีเกิดมาจะได้ลักษณะ ทด่ี ีเหลา่ นม้ี าจากพอ่ เช่นกัน และเพิ่มอัตราการอยู่รอดของลกู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

218 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชีววิทยา เล่ม 5 พฤติกรรมทางสังคม (social behavior) สัตว์บางสปีชีส์มีการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มและมี ปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกภายในกลุ่มเพ่ือประโยชน์หลายอย่าง เช่น ลดความเส่ียงในการถูกล่า สามารถหาอาหารไดด้ ีขึ้นและมากข้นึ ช่วยกนั ปกป้องท่ีอยูอ่ าศยั หรอื แหล่งอาหาร ช่วยกนั ดแู ล สมาชิกในกลุ่มท่ีเป็นวัยอ่อนหรือลูกอ่อน อย่างไรก็ตามการรวมกลุ่มกันมีข้อเสียต่อสัตว์สปีชีส์ น้ัน เชน่ เพิม่ อตั ราการแข่งขันในการหาอาหาร ทีอ่ ยอู่ าศัย หรือจบั คู่ผสมพนั ธุ์ การแพรก่ ระจาย โรคระบาดเกดิ งา่ ยขนึ้ การรวมกลมุ่ กนั ตอ้ งไดร้ บั ประโยชนใ์ นภาพรวมมากกวา่ ขอ้ เสยี เชน่ ปลา ซารด์ นี จะอยรู่ วมกนั เปน็ ฝงู ใหญใ่ นมหาสมทุ ร ท�ำ ใหส้ ตั วผ์ ลู้ า่ ในมหาสมทุ รลา่ ปลาซารด์ นี ไดย้ าก ขน้ึ เนอื่ งจากผลู้ า่ เกดิ ความสบั สน และไมส่ ามารถพงุ่ เปา้ ในการลา่ เหยอ่ื ตวั ใดตวั หนง่ึ โดยตรงได้ การเสยี สละ (altruism) สัตว์บางสปชี ีส์มีพฤติกรรมในการลดบทบาทในการที่จะสืบพันธ์ุ เพอื่ ไปท�ำ หนา้ ทอ่ี น่ื ในสงั คม ซง่ึ ชว่ ยเพม่ิ โอกาสในการสบื พนั ธข์ุ องสมาชกิ ในกลมุ่ เชน่ มด ปลวก และผง้ึ ซง่ึ มเี พยี งนางพญาทท่ี �ำ หนา้ ทส่ี บื พนั ธ์ุ ในขณะท่ี มดงาน ปลวกงาน หรอื ผง้ึ งาน ท�ำ หนา้ ทใ่ี นการหา อาหาร ดแู ลตวั ออ่ น ดแู ลนางพญา หรอื ปกปอ้ งรงั พฤตกิ รรมการเสยี สละในสตั วจ์ ะสง่ ผลดแี กส่ งั คม ของสตั ว์ ตวั อยา่ งอน่ื เชน่ ในนกฟลอรดิ าสครบั เจย์ ลกู นกทเ่ี กดิ ในครอกกอ่ นเมอ่ื โตขน้ึ จะชว่ ยพอ่ และ แมข่ องมนั เองเลย้ี งลกู นกซง่ึ เกดิ ขน้ึ มาในครอกหลงั ซง่ึ เสยี โอกาสทจ่ี ะไดส้ บื พนั ธเ์ุ รว็ แตท่ �ำ ใหล้ กู นก ครอกหลงั มโี อกาสรอดชวี ติ สงู ขน้ึ และเปน็ การเรยี นรทู้ กั ษะในการเลย้ี งลกู ออ่ นจากพอ่ แม่ สง่ ผลให้ เม่อื นกเหล่าน้หี มดหน้าท่ใี นการเล้ยี งลูกนกครอกหลัง แล้วออกไปจับค่สู ืบพันธ์แุ ละสร้างรังเอง สามารถเลย้ี งลกู ใหอ้ ยรู่ อดไดม้ ากขน้ึ ชา้ งแอฟรกิ นั เพศเมยี ทอ่ี าวโุ ส แขง็ แรง และมปี ระสบการณม์ าก ทส่ี ดุ มกั ท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผนู้ �ำ ในการดแู ลกลมุ่ ลกู ชา้ งในโขลงโดยลดบทบาทการสบื พนั ธ์ุ ท�ำ ใหอ้ ตั ราการ รอดชวี ติ ของลกู ชา้ งในโขลงเพม่ิ ขน้ึ สมาชกิ ตวั อน่ื ในโขลงทเ่ี ปน็ เพศเมยี วยั ออ่ นกวา่ รวมถงึ ลกู ชา้ งจะ ไดเ้ รยี นรกู้ ารอยเู่ ปน็ สงั คมและวธิ กี ารเอาตวั รอดอยา่ งเหมาะสมในธรรมชาตจิ ากผนู้ �ำ อย่างไรก็ดีเหตุผลท่ีมนุษย์ใช้อธิบายพฤติกรรมของสัตว์เหล่าน้ีล้วนมาจากการสังเกตและต้ัง สมมติฐานท่ีเป็นไปได้และมีเหตุผลมากท่ีสุดในการอธิบายในช่วงเวลาปัจจุบัน และในหลาย ค�ำ ตอบของค�ำ ถาม “สตั วท์ �ำ พฤตกิ รรมเหลา่ นเ้ี พอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ ด” ยงั มขี อ้ โตแ้ ยง้ และมสี มมตฐิ าน ใหม ่ ๆ เกดิ ขน้ึ มามากขน้ึ ตามกาลเวลาและความกา้ วหนา้ ของการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ ครูสามารถใช้ตัวอย่างเหล่านี้หรือวีดิทัศน์เพื่ออธิบายการศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ใน แนวอัลทิเมตคอสได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 219 22.2 กลไกการเกดิ พฤติกรรม จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธบิ ายกลไกการเกดิ พฤตกิ รรมของสตั ว์ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนการตอบสนองต่อส่ิงเร้าของสัตว์จากการเรียนเร่ืองระบบ ประสาทและอวยั วะรบั ความรสู้ กึ แลว้ ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งการตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ของสตั วแ์ ละระบชุ นดิ ของสง่ิ เรา้ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ วรวมทง้ั ประโยชนท์ ส่ี ตั วไ์ ดร้ บั จากการแสดงพฤตกิ รรม เพอ่ื ใหส้ รปุ ความหมายของพฤตกิ รรมและปจั จยั ทท่ี �ำ ใหส้ ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรม ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 22.1 โดยครคู วรอธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจวา่ การทส่ี ตั วจ์ ะแสดงพฤตกิ รรมออก มานน้ั ตอ้ งมเี หตจุ งู ใจ ไดร้ บั ตวั กระตนุ้ ทเ่ี หมาะสม ไดแ้ ก่ สง่ิ เรา้ ภายนอก และมคี วามพรอ้ มของรา่ งกาย ไดแ้ ก่ สง่ิ เรา้ ภายในซง่ึ เปน็ การท�ำ งานของระบบตา่ ง ๆ ของรา่ งกายทเ่ี กย่ี วขอ้ งและควบคมุ ดว้ ยพนั ธกุ รรม จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั วา่ การทส่ี ตั วจ์ ะรบั รสู้ ง่ิ เรา้ ภายนอกและสง่ิ เรา้ ภายในไดต้ อ้ งกระตนุ้ หนว่ ยรบั ความ รสู้ กึ เกดิ เปน็ กระแสประสาทเขา้ สรู่ ะบบประสาทสว่ นกลางเพอ่ื ประมวลขอ้ มลู และสง่ั การใหห้ นว่ ยปฏบิ ตั ิ งานแสดงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม การทำ�งานของระบบประสาทร่วมกับระบบต่อมไร้ท่อในการ ควบคุมการแสดงพฤติกรรม เช่น ฮอร์โมนเพศกระตุ้นการทำ�งานของระบบสืบพันธ์ุทำ�ให้สัตว์แสดง พฤตกิ รรมจบั คผู่ สมพนั ธ์ุ หรอื ฮอรโ์ มนทเ่ี กย่ี วกบั การเลย้ี งดลู กู ออ่ นกระตนุ้ ใหส้ ตั วเ์ พศเมยี ฟกั ไข่ ดแู ลและ หาอาหารใหล้ กู เปน็ ตน้ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 22.2 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจวา่ พฤตกิ รรมเปน็ ผลทเ่ี กดิ จากพนั ธกุ รรม และสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ แมงมมุ ตา่ งสปชี สี เ์ ลอื กชกั ใยบนตน้ ไมท้ ม่ี คี วามสงู จากพน้ื ดนิ แตกตา่ งกนั และมรี ปู แบบทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั ตาราง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

220 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ ชวี วิทยา เล่ม 5 สปชี สี ข์ องแมงมมุ ชื่อเฉพาะของใยแมงมุม แมงมุมสปชี ีส์ A two-dimensional orb webs แมงมุมสปีชสี ์ B derived orb webs แมงมุมสปีชสี ์ C three-dimensional sheet webs แมงมุมสปีชีส์ D ladder webs แมงมุมสปชี สี ์ E cobwebs with gumfooted threads แมงมมุ สปีชีส์ F three-dimensional orb webs ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี แมงมุมสปีชสี ์ E มกี ารชักใยและมีชนดิ เหยื่อต่างจากแมงมุมสปชี ีส์ A อย่างไร แมงมุมสปีชีส์ E ชักใยตามแนวพ้ืนล่าง จะชักใยท่ีมีประสิทธิภาพในการดักเหย่ือที่อาศัยอยู่ ตามพื้นดิน เช่น แมลงท่ีมักเคลื่อนที่ด้วยการเดินหรือกระโดด ใยท่ีสร้างจึงมีลักษณะแผ่ กระจายไปตามพืน้ และมีจุดยดึ เกาะกับวสั ดุรอบ ๆ มาก ซึง่ แตกต่างจากแมงมมุ สปชี สี ์ A รปู แบบของการชกั ใย บริเวณทชี่ กั ใย และชนิดของเหยื่อ ครอู าจเพม่ิ เตมิ วา่ แมงมมุ สปชี สี ์ A มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว์ า่ Nephila clavipes แมงมมุ สปชี สี ์ E มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว์ า่ Latrodectus hasseltii ซง่ึ สามารถสบื คน้ รปู หรอื วดี ทิ ศั นข์ องแมงมมุ เพอ่ื ประกอบ การสอนได้ แมงมมุ สปชี สี ์ B ชกั ใยในรปู แบบคลา้ ยกบั แมงมมุ สปชี สี ์ A แตม่ กี ารลดขนาดและรปู รา่ งของใย จนมลี กั ษณะคลา้ ยรปู สามเหลย่ี ม ชกั ใยสงู จากพน้ื ดนิ และดกั จบั เหยอ่ื ซง่ึ มกั เปน็ แมลงขนาดเลก็ ทบ่ี นิ ได้ เปน็ อาหาร แมงมมุ สปชี สี ์ B คอื Hyptiotes paradoxus แมงมมุ สปชี สี ์ C มกั ชกั ใยบรเิ วณไมพ้ มุ่ ชน้ั ลา่ งหรอื พน้ื ดนิ เหยอ่ื ทม่ี าตดิ ใยรปู แบบนค้ี อ่ นขา้ ง หลากหลาย เชน่ แมลงทบ่ี นิ ได้ แมลงทเ่ี คลอ่ื นทด่ี ว้ ยการเดนิ หรอื กระโดด แมงมมุ สปชี สี ์ C คอื Linyphia triangularis สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 221 แมงมมุ สปชี สี ์ D ชกั ใยในรปู แบบพเิ ศษทเ่ี พอ่ื จบั แมลงกลมุ่ ผเี สอ้ื กลางคนื เมอ่ื ผเี สอ้ื กลางคนื ชน ใยแตล่ ะครง้ั สามารถสลดั ผวิ สว่ นนอกทง้ิ ไดแ้ ละหลดุ จากใย ผเี สอ้ื กลางคนื บนิ ชนใยไปมาหลายครง้ั จนใน ทส่ี ดุ จะตดิ กบั สว่ นเหนยี วของใยบรเิ วณดา้ นลา่ งของใย แมงมมุ สปชี สี ์ D คอื แมงมมุ จนี สั Scoloderus แมงมมุ สปชี สี ์ F ชกั ใยในรปู แบบพเิ ศษทม่ี ขี นาดใหญแ่ ละยดึ เกาะกบั วสั ดหุ ลายจดุ ใยรปู แบบน้ี สามารถดกั จบั เหยอ่ื ทเ่ี ปน็ แมลงขนาดใหญไ่ ดด้ ี แมงมมุ สปชี สี ์ F คอื แมงมมุ จนี สั Cyrtophora ครคู วรสรปุ วา่ แมงมมุ แตล่ ะสปชี สี ช์ กั ใยในรปู แบบตา่ งกนั เปน็ ผลมาจากพนั ธกุ รรม ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั กลไกทก่ี �ำ หนดการแสดงพฤตกิ รรมของสตั ว์ โดยใหต้ รวจสอบความ เขา้ ใจของนกั เรยี นจากเรอ่ื งการศกึ ษาของยนี FosB และถามค�ำ ถามทา้ ยกรณศี กึ ษา กรณศี ึกษา การทดลองนม้ี ีสมมติฐานวา่ อย่างไร ยนี FosB มีผลต่อพฤตกิ รรมเล้ยี งลูกในหนเู มาส์ พฤติกรรมเลยี้ งลูกในหนเู มาสเ์ กย่ี วข้องกับพนั ธกุ รรมอยา่ งไร หนูเมาส์ที่ยีน FosB แสดงออกปกติจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างโปรตีนท่ีส่งผลให้แสดง พฤติกรรมเลี้ยงลูก ในขณะท่ีหนูเมาส์ที่ยีน FosB ไม่แสดงออกจะไม่แสดงพฤติกรรมเลี้ยง ลกู ครคู วรอธบิ ายเสรมิ วา่ โดยทว่ั ไปพฤตกิ รรมจะก�ำ หนดโดยพนั ธกุ รรมเปน็ พน้ื ฐาน แตพ่ ฤตกิ รรม อาจปรบั ปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลงใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ โดยอาศยั การเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ แตป่ จั จยั ใดจะมบี ทบาทมากหรอื นอ้ ยยอ่ มขน้ึ กบั ชนดิ ของสตั วแ์ ละรปู แบบของพฤตกิ รรม ครอู าจใหน้ กั เรยี นยก ตวั อยา่ งพฤตกิ รรมของสตั วท์ อ่ี าศยั การเรยี นรโู้ ดยประสบการณท์ พ่ี บไดใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ซง่ึ ค�ำ ตอบมไี ด้ หลากหลาย เชน่ การฝกึ สตั วใ์ หท้ �ำ ตามค�ำ สง่ั การมารอขออาหารของสตั ว์ หรอื กรณอี น่ื  ๆ ครูนำ�เข้าสู่หัวข้อประเภทพฤติกรรมของสัตว์ โดยอาจให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า พฤตกิ รรมของสตั วแ์ บง่ ไดก้ ป่ี ระเภท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

222 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 22.3 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบและยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำ�เนิดและ พฤตกิ รรมที่เกิดจากการเรียนรูข้ องสัตว์ แนวการจดั การเรียนรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู หรอื วดี ทิ ศั นแ์ สดงพฤตกิ รรมของลกู เตา่ ทะเลหลงั ฟักออกจากไข่ท่ีเคล่ือนท่ีจากหาดทรายลงทะเล โดยครูสามารถสืบค้นรูปหรือวีดิทัศน์โดยใช้คำ�ว่า “Baby turtles run towards ocean” แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั อาจใชแ้ นวค�ำ ถามดงั น้ี ลกู เตา่ รไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ตอ้ งแหวกทรายขนึ้ สดู่ า้ นบน และเคลอื่ นทล่ี งทะเลทนั ทหี ลงั ฟกั ออก จากไข่ เมอ่ื นกั เรยี นอภปิ รายแลว้ ครสู ามารถอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ เมอ่ื ลกู เตา่ ฟกั ออกจากไขแ่ ละแหวกขน้ึ มาสผู่ วิ ทรายแลว้ ลกู เตา่ จะเคลอ่ื นทไ่ี ปยงั ทศิ ทางทม่ี แี สงจา้ ทนั ที ซง่ึ มกั เปน็ บรเิ วณกลางทะเล และเมอ่ื ลง ทะเลแลว้ ลกู เตา่ สามารถวา่ ยน�ำ้ ไดท้ นั ที ครอู าจถามนกั เรยี นเพม่ิ วา่ ท�ำ ไมลกู เตา่ สามารถวา่ ยน�ำ้ ไดท้ นั ที ซง่ึ ครเู พม่ิ เตมิ วา่ พฤตกิ รรมของลกู เตา่ นเ้ี ปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ ซง่ึ นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นตอ่ ไป 22.3.1 พฤติกรรมทเ่ี ปน็ มาแต่กำ�เนดิ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 22.3 และรว่ มกนั อภปิ รายวา่ ถา้ ลกู นกนางนวลไมจ่ กิ จดุ สแี ดงทจ่ี ะงอย ปากดา้ นลา่ งของแมน่ ก จะเกดิ ผลดหี รอื ผลเสยี ตอ่ ลกู นกอยา่ งไร หรอื ถา้ แมห่ า่ นไมใ่ ชป้ ากกลง้ิ ไขท่ อ่ี ยนู่ อก รงั กลบั เขา้ ไปในรงั จะเกดิ ผลอยา่ งไร ซง่ึ นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ ลกู นกนางนวลตวั นน้ั อาจไดร้ บั อาหารจาก แมน่ อ้ ยกวา่ ตวั อน่ื และไขห่ า่ นทก่ี ลง้ิ ออกจากรงั จะไมส่ ามารถฟกั เปน็ ตวั เพราะแมห่ า่ นไมไ่ ดก้ กไข่ ซง่ึ ลกู นกนางนวลและแมห่ า่ นสามารถแสดงพฤตกิ รรมนไ้ี ดถ้ กู ตอ้ งโดยไมต่ อ้ งเรยี นรู้ จงึ เปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มา แตก่ �ำ เนดิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 223 ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี จากตวั อยา่ งลกู นกนางนวลและแมห่ า่ น สง่ิ เรา้ ทเ่ี ปน็ เครอ่ื งหมายทกี่ ระตนุ้ ใหแ้ สดงพฤตกิ รรม คืออะไร ลูกนกนางนวลได้รับส่ิงเร้าที่เป็นเคร่ืองหมาย คือจุดสีแดงที่จะงอยปากด้านล่างของแม่นก ส่วนแมห่ า่ นได้รบั สิ่งเรา้ ที่เปน็ เคร่อื งหมาย คือไขท่ อ่ี ยู่นอกรงั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ สง่ิ เรา้ ทก่ี ระตนุ้ ใหส้ ตั วต์ อบสนองไดน้ น้ั คอื สง่ิ เรา้ ทเ่ี ปน็ เครอ่ื งหมาย ซง่ึ สตั ว์ จะตอบสนองไดใ้ นครง้ั แรกโดยไมต่ อ้ งมปี ระสบการณม์ ากอ่ น จดั เปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ โดย รปู แบบของพฤตกิ รรมจะเหมอื นกนั ในสตั วส์ ปชี สี เ์ ดยี วกนั ไมเ่ ปลย่ี นแปลงไปตามเวลาและสถานทเ่ี พราะ พฤตกิ รรมนจ้ี ะถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรมจากพอ่ แมซ่ ง่ึ ตอ้ งแสดงถกู ตอ้ งในครง้ั แรกแมไ้ มม่ ปี ระสบการณม์ า กอ่ น เมอ่ื สตั วเ์ รม่ิ แสดงพฤตกิ รรมแลว้ ตอ้ งแสดงจนจบรปู แบบ เรยี กพฤตกิ รรมนว้ี า่ ฟกิ ซแ์ อกชนั แพทเทริ น์ ซง่ึ เปน็ พน้ื ฐานของพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ ความรเู้ พ่มิ เตมิ สำ�หรับครู กรณสี ง่ิ เรา้ ท่ีเป็นเครอื่ งหมายมีขนาดใหญ่หรอื มคี วามเข้มสงู กว่าระดบั ปกติ สามารถกระตนุ้ ให้ สตั ว์ตอบสนองต่อสิง่ เรา้ ทีเ่ ปน็ เครื่องหมายรุนแรงขึน้ เชน่ ลกู นกที่ร้องเสียงดังข้ึน อ้าปากกวา้ ง ขนึ้ จะกระตุ้นให้แมน่ กน�ำ อาหารมาป้อนลูกนกบอ่ ยขึ้น ในธรรมชาติมีสัตว์บางสปีชีส์ใช้ประโยชน์จากพฤติกรรมแบบฟิกซ์แอกชันแพทเทิร์นของสัตว์ สปชี สี อ์ น่ื โดยใชส้ ง่ิ เรา้ ทเี่ ปน็ เครอื่ งหมายชนดิ เดยี วกนั ทม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ เพอ่ื เพม่ิ โอกาสในการ อยรู่ อดและขยายขนาดประชากร เชน่ นกคคั คู (cuckoo) มีพฤติกรรมวางไข่ที่เป็นกาฝากในรงั ของแมน่ กสปชี สี อ์ นื่ เพอื่ ใหช้ ว่ ยเลยี้ งลกู ของมนั โดยทวั่ ไปลกู นกคคั คทู อี่ ยใู่ นรงั ของนกสปชี สี อ์ น่ื จะมีขนาดตัวท่ีใหญ่ อ้าปากได้กว้าง ร้องขออาหารได้บ่อยและเสียงดังกว่าลูกนกท่ีเป็นลูกจริง ของนกสปชี สี น์ นั้ และจะกระตนุ้ ใหแ้ มน่ กสปชี สี อ์ น่ื ทเ่ี ลย้ี งลกู นกคคั คนู �ำ อาหารมาปอ้ นบอ่ ยกวา่ ปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

224 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 ครตู รวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นจากเรอ่ื งการศกึ ษาพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของปลาหลงั หนาม เพศผู้ และถามค�ำ ถามทา้ ยการตรวจสอบความเขา้ ใจ ตรวจสอบความเข้าใจ จากการทดลองส่ิงเร้าที่เป็นเครื่องหมายซ่ึงกระตุ้นให้ปลาหลังหนามเพศผู้แสดงพฤติกรรม กา้ วรา้ วคืออะไร สแี ดงทางด้านลา่ งของหุ่นจ�ำ ลอง พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของปลาหลงั หนามเพศผเู้ ปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ หรอื พฤตกิ รรม ท่ีเกดิ จากการเรยี นรู้ และสตั ว์ท่ีแสดงพฤตกิ รรมนจี้ ะได้รับประโยชนอ์ ย่างไร เป็นพฤติกรรมท่ีเป็นมาแต่กำ�เนิดซึ่งเป็นประโยชน์โดยสามารถไล่ปลาหลังหนามเพศผู้ตัว อ่นื ท่ีอาจจะเขา้ มาผสมพันธก์ุ ับเพศเมยี ได้ โอเรียนเทชนั ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ และยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมของสตั วท์ ต่ี อบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทเ่ี ปน็ ปจั จยั ทาง กายภาพ หรือใช้รปู 22.4 ก-ง เพอ่ื ใหเ้ หน็ ว่าสตั วจ์ ะจัดวางตัวอยใู่ นตำ�แหนง่ ทส่ี อดคล้องกบั ปัจจยั ทาง กายภาพซง่ึ จะชว่ ยใหส้ ามารถด�ำ รงชวี ติ ในสง่ิ แวดลอ้ มไดด้ ี เรยี กพฤตกิ รรมนว้ี า่ โอเรยี นเทชนั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ในอดตี พฤตกิ รรมแบบโอเรยี นเทชนั อาจแบง่ เปน็ แทกซสิ หรอื ไคเนซสิ ขน้ึ กบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศิ ทางการเคลอ่ื นทก่ี บั สง่ิ เรา้ ซง่ึ ในปจั จบุ นั ไมน่ ยิ มแยกประเภทเปน็ แทกซสิ และ ไคเนซสิ แลว้ ตามกลอ่ งความรเู้ พม่ิ เตมิ ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ยกตัวอยา่ งพฤติกรรมแบบโอเรียนเทชันในสิง่ มชี วี ติ ชนดิ อนื่ มาอยา่ งนอ้ ย 2 ชนดิ ตวั อย่างค�ำ ตอบ 1. แมลงเม่าบนิ เข้าหาดวงไฟ 2. การเคล่ือนที่ของพารามีเซียมออกจากสารละลายโซเดียมคลอไรด์ซึ่งเป็นอันตรายต่อ เซลล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 225 3 การเคล่ือนท่ีของพารามีเซียมเข้าหาสารละลายที่เป็นกรดอ่อนๆซึ่งในธรรมชาติจะมี แบคทีเรียท่เี ป็นอาหาร 4. การเคลอื่ นทขี่ องพารามเี ซยี มทถ่ี อยหา่ งจากบรเิ วณทมี่ ฟี องแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดโ์ ดย เบ่ียงส่วนท้ายของเซลล์ไปจากเดิมเล็กน้อยแล้วเคล่ือนที่ไปข้างหน้าในทิศทางที่เปล่ียน ไป ทำ�เช่นนีซ้ ้ำ�จนกวา่ จะไม่พบฟองแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ 5. การเคลือ่ นท่ขี องแมลงสาบเข้าหาทมี่ ดื และแคบ 6. พลานาเรียเคล่อื นทีอ่ อกจากบรเิ วณท่มี แี สงจ้า พฤติกรรมแบบโอเรยี นเทชนั มีประโยชนต์ อ่ สิง่ มชี ีวติ อย่างไร มปี ระโยชนค์ อื ท�ำ ใหอ้ ยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมแกก่ ารด�ำ รงชวี ติ ได้ เชน่ เคลอ่ื นทเี่ ขา้ หา แหล่งท่มี ีอาหาร จบั คผู่ สมพนั ธ์ุ หรอื เคล่อื นท่อี อกจากสง่ิ ทเ่ี ปน็ อนั ตราย จากน้ันครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับการอพยพว่าเป็นรูปแบบหน่ึงของพฤติกรรมแบบ โอเรียนเทชัน โดยใช้รูปหรือวีดิทัศน์แสดงการบินของนกเป็นรูปอักษร V สืบค้นโดยใช้คำ�สำ�คัญ “vee formation” หรอื “V formation” จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 22.1 การศกึ ษาพฤตกิ รรมของจง้ิ หรดี เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจพฤตกิ รรม ทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ แบบโอเรยี นเทชนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

226 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชีววทิ ยา เล่ม 5 กิจกรรม 22.1 การศกึ ษาพฤติกรรมของจิง้ หรดี จดุ ประสงค์ 1 ชว่ั โมง อธิบายพฤตกิ รรมโอเรยี นเทชนั ของสตั ว์ เวลาท่ใี ช้ (โดยประมาณ) วสั ดุและอุปกรณ์ ปริมาณตอ่ กลมุ่ รายการ 30 ตวั แต่ใชห้ มนุ เวียนกันได้ทุกกลุ่ม 1 กล่อง จิ้งหรดี 30 ตวั 1 อนั กล่องพลาสติกหรอื กระดาษแขง็ 1 อัน นาฬิกาจับเวลา 1 อนั มดี ตัดกระดาษ 1 แผน่ เทปกาว 1 แผน่ กระดาษทึบแสง แผน่ พลาสตกิ ใส การเตรียมลว่ งหน้า ในการทำ�กจิ กรรมนีใ้ ชจ้ ง้ิ หรีดในการทำ�การทดลอง 30 ตวั และทดลองซ้ำ� 3 ครง้ั แตล่ ะครั้ง ใชจ้ ิ้งหรีด 10 ตัว ครูอาจหาจิง้ หรีดไดจ้ ากสวน หรือซือ้ จากผูเ้ พาะเลี้ยงจิง้ หรีด เมือ่ ได้จง้ิ หรีดมา แลว้ ใหน้ �ำ มาขงั ไว้ 3-5 วนั ในพน้ื ทปี่ ดิ ขนาดเหมาะสมทมี่ ขี อบสงู ปอ้ งกนั จง้ิ หรดี กระโดดหนี เชน่ ตูป้ ลาขนาดเลก็ กลอ่ งท่ีทำ�จากกระดาษหรือพลาสตกิ โดยใหแ้ สงผา่ นได้น้อย เพอ่ื ให้จิ้งหรดี คุน้ เคยกับสภาพที่อยู่อาศัยใหม่ก่อน ให้เศษผัก เช่น แตงกวา ผักบุ้ง หรือข้าวโพดดิบ เป็นอาหาร ของจ้ิงหรีด และมีถาดใส่นำ้�ขนาดเล็ก ควรเปลี่ยนนำ้�และอาหารวันละ 1 คร้ัง และทำ�ความ สะอาดพน้ื ที่ปดิ ที่เล้ยี งโดยใชท้ ชิ ชหู รือผ้าชบุ นำ�้ หมาด ๆ เชด็ ท�ำ ความสะอาด หลังการทดลอง แนวการจัดกิจกรรม ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ แล้วทำ�กล่องสำ�หรบั การทดลอง จากนน้ั ทดลองตามวิธกี ารทดลอง บันทึกผลการทดลอง น�ำ เสนอผลการทดลอง อภิปรายและสรปุ ผลร่วมกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ 227 ข้อเสนอแนะส�ำ หรับครู 1. ในกรณที มี่ จี ำ�นวนจงิ้ หรดี ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาไม่เพยี งพอ ครสู ามารถปรบั ลดจ�ำ นวนจงิ้ หรดี ได้ ตามความเหมาะสม โดยแต่ละกลุ่มใช้จ้ิงหรีดชุดเดิมตลอดการทำ�กิจกรรมได้โดยไม่ต้อง เคลื่อนยา้ ยจ้ิงหรีดสลบั วางในกล่องดา้ นฝาโปร่งใสและดา้ นฝาทึบแสงดว้ ยมอื แตใ่ ช้วธิ ีการ เคล่ือนย้ายฝาทึบแสงไปปิดฝาด้านโปร่งใสในขณะท่ีจ้ิงหรีดยังอยู่ในกล่องแทน และย้าย จิง้ หรีดทงั้ หมดไปรวมไวด้ า้ นทมี่ ีแสง แลว้ สงั เกตการเคล่ือนทขี่ องจง้ิ หรีด 2. ในกรณีที่ครูไม่สามารถใช้จ้ิงหรีดในการทำ�กิจกรรมได้ ครูสามารถใช้แมลงชนิดอ่ืนท่ีมัก เคลอื่ นท่ีหนจี ากแสงได้ เชน่ จ้งิ โกร่ง แมลงแกลบ แมลงสาบ แมลงสามง่าม 3. ถา้ จง้ิ หรดี ทใ่ี ชใ้ นการทดลองถกู จบั มาจากแหลง่ ธรรมชาตคิ วรปลอ่ ยจงิ้ หรดี คนื สแู่ หลง่ ทเ่ี ดมิ ท่จี บั มา ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม จากการทำ�กิจกรรม ไดผ้ ลการทำ�กิจกรรมดังตาราง เริม่ ปล่อยในท่ีสวา่ ง เรม่ิ ปลอ่ ยในท่มี ืด คร้งั ที่ ไปที่มดื ไปท่ีสวา่ ง ไปที่มดื ไปที่สว่าง 1 73 91 2 82 82 3 82 10 0 ค่าเฉลย่ี 7.7 2.3 91 (ตวั ) เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม ทศิ ทางการเคล่อื นท่ีของจิง้ หรดี เปน็ อย่างไร จง้ิ หรีดส่วนใหญจ่ ะเคล่ือนท่ไี ปยงั ดา้ นปิดทบึ ท่ีไม่มีแสง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

228 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 การเคลื่อนที่เพอ่ื ตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ของจง้ิ หรดี นา่ จะมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ทำ�ให้จิ้งหรีดเคล่ือนที่ไปยังแหล่งท่ีเหมาะสมกว่าในการดำ�รงชีวิต โดยทั่วไปในธรรมชาติ จง้ิ หรดี ชอบอาศยั อยใู่ นทม่ี ดื หรอื ตามเหลย่ี มมมุ ของวสั ดตุ า่ ง ๆ ทแี่ สงสอ่ งถงึ ไดน้ อ้ ย มกั ออก หากินในเวลากลางคืน ในช่วงกลางวันมักหลบซ่อนตัวในหลุมหรือซอกหลืบบริเวณพื้นดิน เพ่ือหลบหลกี ผ้ลู ่า สงิ่ มีชีวติ ชนดิ ใดบา้ งทม่ี ีการแสดงพฤตกิ รรมในรูปแบบคล้ายกับจ้ิงหรดี แมลงสาบและแมลงแกลบ แมลงทั้งสองชนิดน้ีอาศัยอยู่ในบริเวณท่ีมืดและอับ ในกรณีท่ี นกั เรยี นตอบเปน็ สงิ่ มชี วี ติ อน่ื  ๆ ครคู วรสบื คน้ เพมิ่ เตมิ วา่ สงิ่ มชี วี ติ ชนดิ นน้ั ในธรรมชาตชิ อบ อาศยั อย่ใู นที่มดื ด้วยหรือไม่ ถา้ เปลีย่ นส่งิ เรา้ เปน็ ชนดิ อน่ื เช่น อุณหภูมิ หรือความชน้ื นักเรยี นจะออกแบบการทดลอง อย่างไร นกั เรยี นสามารถใชร้ ปู แบบการทดลองเดมิ ตามหนงั สอื เรยี นแตเ่ ปลย่ี นสง่ิ เรา้ ถา้ เปน็ อณุ หภมู ิ สามารถนำ�ฝาปิดด้านทึบแสงออก และอาจใช้เคร่ืองเป่าลมร้อนเป่าด้านล่างของพื้นกล่อง ขา้ งหนง่ึ เพอื่ ใหด้ า้ นนน้ั มอี ณุ หภมู สิ งู กวา่ อกี ดา้ น แลว้ ปลอ่ ยจง้ิ หรดี ตามวธิ กี ารเดมิ ในหนงั สอื เรียน ถ้าเปลี่ยนส่ิงเร้าเป็นความชื้น สามารถนำ�ฝาปิดด้านทึบแสงออก แล้วนำ�ผ้าหรือ กระดาษชุบน้ำ�หมาด ๆ วางไว้ในมุมกลอ่ ง แล้วปล่อยจ้ิงหรีดตามวธิ ีการเดิมในหนงั สอื เรยี น จากกิจกรรมนักเรียนควรสรุปได้ว่าพฤติกรรมการเคล่ือนท่ีเข้าหาท่ีมืดของจิ้งหรีดเป็น พฤตกิ รรมแบบโอเรียนเทชนั โดยมีแสงเป็นสงิ่ เร้า ครูอาจแนะนำ�ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมการตอบสนองของพารามีเซียมต่อสารละลาย โซเดยี มคลอไรดแ์ ละกรดออ่ น การเตรยี มล่วงหน้า ในการทำ�การทดลองน้ีควรเตรียมพารามีเซียมไว้ล่วงหน้า โดยต้มฟางข้าวแล้วตั้งทิ้งไว้ให้ เย็นจากน้ันนำ�นำ้�จากแหล่งน้ำ�ธรรมชาติ เช่น นำ้�ในสระ หนอง หรือบึงมาใส่ในน้ำ�ต้มฟางข้าว ตั้งท้ิงไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ จะมีพารามีเซียมมากพอท่ีจะนำ�มาศึกษาได้ สามารถเตรียมวัสดุ อุปกรณเ์ พ่อื ใช้ในการทดลองได้ดังนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 229 วสั ดุและอุปกรณ์ ปรมิ าณตอ่ กลมุ่ รายการ 1 บีกเกอร์ 1 ตัว พารามีเซียม กล้องจลุ ทรรศน์ 1 บกี เกอร์ สารละลายโซเดียมคลอไรด์ ความเขม้ ขน้ 0.5% 1 บกี เกอร์ สารละลายกรดแอซติ ิก 0.01% หลอดหยด 4 อัน นำ�้ กล่นั 1 บีกเกอร์ สไลด์ ตามจำ�นวนนักเรยี น เขม็ เขี่ย ตามจ�ำ นวนนักเรียน วธิ ีการทดลอง 1. หยดนำ้�ที่มีพารามีเซียมลงบนสไลด์ 1 หยด นำ�ไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ แล้วสังเกต พฤติกรรมของพารามเี ซียม 2. หยดสารละลายหยดสารละลายกรดแอซติ กิ 0.01% หรอื โซเดยี มคลอไรดค์ วามเขม้ ขน้ 0.5% หรอื หยดน้�ำ กลั่นลงบนบรเิ วณใกลห้ ยดน้ำ�ท่มี ีพารามีเซยี มบนสไลดใ์ นขอ้ 1 3. ใช้เข็มเข่ียลากเส้นให้หยดของสารละลายกรดแอซิติกหรือสารละลายโซเดียมคลอไรด์หรือ น้ำ�กลั่น ไปแตะหยดนำ้�ที่มีพารามีเซียมดังรูป แล้วนำ�ไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกต พฤติกรรมของพารามเี ซียม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

230 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 หยดนำ�้ ทมี่ พี ารามีเซยี ม หยดสารละลายกรดแอซตี ิก 0.01% หยดนำ้�ที่มพี ารามเี ซียม หยดสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ 0.5% หยดน้�ำ ที่มพี ารามีเซยี ม หยดนำ้�กล่ัน ข้อเสนอแนะสำ�หรับครู ควรใช้หลอดหยดดูดพารามีเซียมจากน้ำ�บริเวณท่ีมีฝ้าขาว ๆ จับอยู่ ซ่ึงจะเป็นบริเวณท่ีมี พารามีเซียมอยู่อย่างหนาแน่น การทดลองนี้ต้องใช้พารามีเซียมจำ�นวนมากพอสมควรจึงจะ สังเกตผลได้ชัดเจน ในการสังเกตผลการทดลองควรดูลักษณะโดยรวมว่า พารามีเซียมอยู่หนา แน่นท่ีบริเวณใด ใกล้หรือไกลสารเคมี เช่น ถ้าพารามีเซียมไปอยู่รวมกันหนาแน่นในด้านตรง ข้ามกับหยดสารเคมี แสดงว่าพารามีเซียมหนีจากสารเคมีนั้น แต่ถ้ามาอยู่รวมกันใกล้หยดสาร เคมี แสดงวา่ พารามเี ซียมเข้าหาสารเคมนี ้นั การสงั เกตผลควรดจู ากบรเิ วณเสน้ ดา้ ยทชี่ บุ ดว้ ยสารเคมี ถา้ ปรากฏวา่ มพี ารามเี ซยี มมาอยู่ รอบ ๆ เส้นด้ายอย่างหนาแน่นกว่าบริเวณอื่น แสดงว่าพารามีเซียมเคล่ือนที่เข้าหาสารเคมีน้ัน แตถ่ า้ รอบ ๆ เสน้ ดา้ ยมพี ารามเี ซียมนอ้ ยมากหรือไมม่ ี แสดงวา่ พารามีเซยี มหนีจากสารเคมนี ้ัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 231 จากกิจกรรมสรุปได้ว่าการเคล่ือนท่ีของพารามีเซียมเป็นพฤติกรรมแบบโอเรียนเทชัน โดยพารามเี ซยี มเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หาสารละลายกรดแอซติ กิ แตเ่ คลอ่ื นทห่ี นจี ากสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ พฤติกรรมดังกล่าวน่าจะมีผลต่อการอย่รู อดของพารามีเซียม เพราะในธรรมชาติบริเวณท่มี ีแบคทีเรีย ซง่ึ เปน็ อาหารของพารามเี ซยี มจะมฤี ทธเ์ิ ปน็ กรดออ่ น ๆ การเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หาบรเิ วณทเ่ี ปน็ กรดออ่ น ๆ จงึ มี โอกาสท�ำ ใหพ้ ารามเี ซยี มไดร้ บั อาหาร สว่ นการมพี ฤตกิ รรมหนจี ากสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ อาจท�ำ ให้ รอดพน้ จากอนั ตรายทไ่ี ดร้ บั จากสารเคมนี น้ั  ๆ รเี ฟลก็ ซ์และรเี ฟลก็ ซต์ อ่ เนือ่ ง ครทู บทวนปฏกิ ริ ยิ ารเี ฟลก็ ซท์ น่ี กั เรยี นเคยเรยี นในเรอ่ื งระบบประสาทวา่ เปน็ การตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทม่ี ากระตนุ้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยไมต่ อ้ งผา่ นกระบวนการคดิ และการสง่ั งานจากสมอง แลว้ ใหน้ กั เรยี น ยกตวั อยา่ งปฏกิ ริ ยิ ารเี ฟลก็ ซใ์ นมนษุ ย์ และครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ในสตั วม์ ปี ฏกิ ริ ยิ ารเี ฟลก็ ซเ์ ชน่ เดยี วกนั เชน่ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื ของขากบเมอ่ื มขี องแหลมมาจม้ิ และถา้ สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมรเี ฟลก็ ซห์ ลาย พฤตกิ รรมตอ่ เนอ่ื งกนั ไปเปน็ โซข่ องการตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ดงั รปู 22.5 เรยี กพฤตกิ รรมนว้ี า่ รเี ฟลก็ ซต์ อ่ เนอ่ื ง เชน่ การชกั ใยของแมงมมุ การฟกั ไขข่ องแมไ่ ก่ การสรา้ งรงั ของนก การดดู นมของทารก การเลย้ี ง ลูกของสัตว์เล้ียงลูกด้วยนำ้�นม เป็นต้น ครูอาจให้นักเรียนสืบค้นเพ่ิมเติมหรือแสดงวีดิทัศน์ตัวอย่าง พฤตกิ รรมรเี ฟลก็ ซแ์ ละรเี ฟลก็ ซต์ อ่ เนอ่ื งเพอ่ื เสรมิ ความเขา้ ใจของนกั เรยี น ครอู าจยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ เชน่ การผสมพนั ธข์ุ องปลา หลงั หนาม ซง่ึ เปน็ พฤตกิ รรมแบบรเี ฟลก็ ซต์ อ่ เนอ่ื ง และอาจน�ำ ไปเปรยี บเทยี บกบั พฤตกิ รรมการผสมพนั ธ์ุ ของสตั วช์ นดิ อน่ื ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

232 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชวี วิทยา เล่ม 5 1 (1) เมอ่ื ปลาหลงั หนามเพศผทู้ ม่ี สี แี ดงใตท้ อ้ งพบ ปลาหลังหนามเพศเมียท่มี ีท้องป่องซ่งึ เต็มไปด้วยไข่และ 2 พรอ้ มทจ่ี ะผสมพนั ธ์ุ (2) จะวา่ ยเขา้ ไปใกลป้ ลาเพศเมยี โดย ว่ายนำ�้ ในทิศทางซิกแซก เพ่อื ดึงดูดความสนใจจากปลา เพศเมยี (3) และวา่ ยน�ำ้ น�ำ ปลาเพศเมยี ไปยงั รงั ทป่ี ลาเพศผู้ สร้างข้นึ ท่พี ้นื ท้องนำ�้ (4) เม่อื ถึงปากทางเข้ารังและปลา 3 เพศเมยี เขา้ ไปในรงั แลว้ ปลาเพศผจู้ ะกระตนุ้ ใหป้ ลาเพศเมยี วางไข่ โดยใชส้ ว่ นหวั ไปสมั ผสั ย�ำ้  ๆ ทส่ี ว่ นทา้ ยจนถงึ โคนหาง 4 ของปลาเพศเมยี (5) จากนน้ั ปลาเพศเมยี จะวางไขใ่ นรงั และ ออกจากรงั ไป ปลาเพศผจู้ ะเขา้ ไปในรงั แลว้ ปลอ่ ยสเปริ ม์ 5 เพอ่ื ผสมกบั ไข่ และจะท�ำ หนา้ ทด่ี แู ลไขต่ อ่ ไปดงั รปู ครูสามารถสืบค้นรูปหรือวีดิทัศน์ของปลาหลังหนามเพ่ือประกอบการสอนโดยใช้คำ�สำ�คัญ “Three-spined stickleback” หรอื “Gasterosteus aculeatus” ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมรีเฟล็กซต์ ่อเนื่องท่ีพบในสตั ว์ชนดิ อืน่ มา 2 ตัวอยา่ ง ตัวอย่างคำ�ตอบ 1. การผสมพนั ธขุ์ องปลากดั ปลากดั ทจ่ี บั คกู่ นั จะวา่ ยน�ำ้ มาอยใู่ ตห้ วอดโบกพดั หางไปมาและ เมื่อได้จังหวะ เพศผู้และเพศเมียจะหันหัวและหางสลับทิศทางกัน จากนั้นเพศผู้ค่อย ๆ งอตัวเข้าโอบรดั เพศเมยี และโอบรัดแน่นขึน้ เรื่อย ๆ เปน็ การกระต้นุ ให้เพศเมียรวู้ า่ เพศผู้ พรอ้ มทจี่ ะปลอ่ ยสเปริ ม์ เมอ่ื เพศผคู้ ลายการโอบรดั เพศเมยี จะตะแคงตวั ลอยสผู่ วิ น�้ำ ท�ำ ให้ ไขท่ ตี่ ดิ อยตู่ ามทอ้ ง ครบี อกและครบี ทอ้ งหลดุ รว่ งลงสกู่ น้ บอ่ ปลากดั เพศผจู้ ะปลอ่ ยสเปริ ม์ ผสมกับไข่ แล้วใช้ปากอมไข่ที่ผสมแล้วขึ้นไปไว้บนหวอดที่ตัวผู้สร้างไว้ท่ีผิวนำ้� และดูแล ไขต่ ่อจนฟกั เป็นตัว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 233 2. การรำ�แพนหางของนกยูง เมื่อนกยูงเพศเมียเข้ามาในอาณาเขตของเพศผู้ในช่วง ฤดูผสมพันธ์ุ นกยูงเพศผู้จะเข้าหานกยูงเพศเมีย และแสดงการรำ�แพน กางปีก และเดนิ ไปรอบ ๆ เพศเมยี ซงึ่ การร�ำ แพนจะใชเ้ วลาประมาณ 5-10 นาที ถา้ เพศเมยี พรอ้ ม ผสมพันธ์แุ ละสนใจเพศผูต้ วั นี้จะย่อตัวลงกับพนื้ ให้เพศผูต้ ัวนีผ้ สมพนั ธไ์ุ ด้ ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ มพี ฤตกิ รรมของสตั วจ์ �ำ นวนมากทส่ี ตั วเ์ รยี นรจู้ ากประสบการณแ์ ละแสดง พฤตกิ รรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมดงั กลา่ วตามความเขา้ ใจ ของนกั เรยี นเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารศกึ ษาในหวั ขอ้ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรโู้ ดยครยู งั ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งเฉลยวา่ ถกู หรอื ผดิ 22.3.2 พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเร่ือง พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้โดยอาจให้นักเรียนศึกษารูปหรือ วดี ทิ ศั น์สน้ั  ๆ เก่ยี วกบั การฝกึ สตั วใ์ ห้ทำ�ตามท่ตี อ้ งการ และถามวา่ สตั ว์เรียนรทู้ จ่ี ะตอบสนองโดยแสดง พฤตกิ รรมทผ่ี ฝู้ กึ ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งไร และสตั วท์ กุ ตวั จะตอบสนองเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร หรอื อาจ ใชร้ ปู 22.6 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ เหตใุ ดคางคกจงึ ไมก่ นิ ทง้ั ผง้ึ และแมลงวนั หวั บบุ ทง้ั  ๆ ทเ่ี คย กนิ แมลงวนั หวั บบุ มากอ่ นหนา้ น้ี และรวู้ า่ สามารถกนิ แมลงปอไดแ้ ตก่ นิ ผง้ึ ไมไ่ ด้ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสรปุ ความ หมายของพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรวู้ า่ สามารถปรบั ไปตามประสบการณไ์ ด้ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นชว่ ย กนั ยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมทพ่ี บเหน็ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเ่ี ปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้ แฮบชิ ูเอชนั ครูอาจยกตัวอย่างพฤติกรรมแบบแฮบิชูเอชันในหนังสือเรียน หรือใช้รูป 22.7 ปลาพลวง หรอื ตวั อยา่ งอน่ื  ๆ ทท่ี �ำ ใหน้ กั เรยี นสรปุ ไดว้ า่ สตั วอ์ าจลดการตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทเ่ี ผชญิ อยู่ เพราะเหน็ วา่ สง่ิ เรา้ นน้ั ไมเ่ กดิ ประโยชนห์ รอื โทษกบั การด�ำ รงชวี ติ ของตน อยา่ งไรกต็ ามแมพ้ ฤตกิ รรมนจ้ี ะมปี ระโยชนโ์ ดยชว่ ยลดการตอบสนองลงเรอ่ื ย ๆ และอาจหยดุ ตอบโตเ้ พอ่ื ลดการใชพ้ ลงั งาน แตส่ ง่ิ เรา้ นน้ั ยงั คงมอี ยแู่ ละอาจท�ำ ใหเ้ กดิ อนั ตรายขน้ึ ไดใ้ นครง้ั ตอ่  ๆ ไป เชน่ เมอ่ื สญั ญาณเตอื นไฟไหมเ้ กดิ การขดั ขอ้ งและดงั ขน้ึ เองบอ่ ย โดยไมไ่ ดม้ เี หตไุ ฟไหมจ้ รงิ คนทอ่ี าศยั อยใู่ น บริเวณน้นั เม่อื เร่มิ แรกจะตอบสนองต่อสัญญาณเตือนน้นั แต่เม่อื ไม่มีเหตุไฟไหม้จริง คนท่อี าศัยอย่ใู น บรเิ วณนน้ั จะลดการตอบสนองตอ่ สญั ญาณเตอื นนน้ั แตเ่ มอ่ื เกดิ เหตไุ ฟไหมจ้ รงิ และสญั ญาณเตอื นดงั ขน้ึ คนทอ่ี าศยั อยใู่ นบรเิ วณนน้ั อาจไมต่ อบสนองตอ่ สญั ญาณเตอื นเชน่ เดมิ และท�ำ ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

234 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ยกตัวอย่างพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้แบบแฮบชิ ูเอชนั ของสัตว์ชนิดอืน่ มา 2 ตัวอย่าง ตัวอย่างคำ�ตอบ 1. เม่ือมีคนแปลกหน้ามาท่ีบ้านคร้ังแรก สุนัขจะเห่า แต่เม่ือมาหลายคร้ังและเจ้าของบ้าน ตอ้ นรบั เมื่อคนเดมิ มาทบ่ี ้านอกี ในครง้ั ตอ่  ๆ ไป สุนัขจะเห่าน้อยลงจนอาจหยดุ เหา่ ได้ 2. นกท่ีทำ�รังบนต้นไม้ใกล้ถนน เมื่อมีรถยนต์แล่นผ่านเกิดเสียงดัง ตอนแรกนกจะตกใจบิน หนีไป ต่อมาเมื่อรถยนตแ์ ลน่ ผา่ นมาแต่ไมท่ ำ�อันตรายกบั นก นกจะบนิ หนีน้อยลงจนอาจ ไม่บินหนีเลย เพราะเรยี นร้วู า่ รถทว่ี งิ่ ผา่ นไมม่ ีอันตรายต่อตน พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรแู้ บบแฮบชิ เู อชนั มผี ลตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ของสตั วห์ รอื ไม่ อยา่ งไร แฮบิชูเอชนั มผี ลดีโดยสัตวไ์ มจ่ ำ�เปน็ ต้องตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ที่มากระตุ้นตลอดเวลา รา่ งกาย และระบบประสาทไมต่ ้องสง่ั การในสถานการณ์ท่ไี มจ่ ำ�เปน็ จงึ ลดการใช้พลังงาน แต่การลด การตอบสนองอาจเปน็ ผลเสยี ไดถ้ า้ ในบางครง้ั สง่ิ เรา้ นนั้ อาจเปน็ อนั ตราย เชน่ แมวทเ่ี คยเลยี้ ง รว่ มกับสนุ ัขมาจนคนุ้ เคยกันแลว้ เมื่อแมวพบกบั สนุ ัขตวั อื่นอาจเกิดอนั ตรายได้ การฝงั ใจ ครใู หน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมการฝงั ใจตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น โดยครไู มจ่ �ำ เปน็ ตอ้ ง เฉลยว่าถูกหรือผิด จากน้นั ครูให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเองว่าถูกต้องหรือไม่โดยสืบค้น ขอ้ มลู พฤตกิ รรมการฝงั ใจของลกู หา่ นจากการทดลองของลอเรนซ์ ดงั รปู 22.8 แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื สรปุ ความหมายของการฝงั ใจวา่ เปน็ พฤตกิ รรมทม่ี กั เกดิ ในชว่ งตน้ ของชวี ติ เกดิ ในชว่ งเวลาจ�ำ กดั ชว่ งหนง่ึ ทเ่ี รยี กวา่ ระยะวกิ ฤติ โดยสตั วแ์ รกเกดิ หรอื สตั วท์ ม่ี อี ายนุ อ้ ยเรยี นรทู้ จ่ี ะสรา้ งความผกู พนั กบั แมห่ รอื สตั วท์ ่ี มอี ายมุ ากกวา่ พฤตกิ รรมแบบนจ้ี ะชว่ ยใหล้ กู ไดร้ บั ประโยชนใ์ นเรอ่ื งความคมุ้ ครองจากอนั ตราย ไดร้ บั อาหารและเรยี นรลู้ กั ษณะของสตั วท์ จ่ี ะเปน็ คผู่ สมพนั ธใ์ุ นอนาคตจากการอยเู่ ปน็ ฝงู นอกจากนก้ี ารฝงั ใจ อาจพบไดใ้ นสตั วต์ วั เตม็ วยั เชน่ กนั ดงั กรณขี องนกเพนกวนิ จกั รพรรดิ รปู 22.9 ซง่ึ ระยะวกิ ฤตเิ กย่ี วขอ้ ง กบั การเปลย่ี นแปลงของฮอรโ์ มนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การสบื พนั ธข์ุ องนกเพนกวนิ จกั รพรรดิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 235 ครอู าจใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ การฝงั ใจอาจแบง่ ไดด้ งั น้ี 1. parental imprinting เกดิ ขน้ึ ในระยะแรกเกดิ ของสตั ว์ มกั เปน็ พฤตกิ รรมทม่ี กี ารตดิ ตามพอ่ แม่ ทำ�ให้เกิดความผูกพันระหว่างลูกกับพ่อแม่ พ่อแม่ช่วยปกป้องลูก ลูกได้เรียนร้กู ารอย่รู ่วมกันของ สง่ิ มชี วี ติ สปชี สี เ์ ดยี วกนั สง่ ผลใหม้ พี ฤตกิ รรมทางสงั คมทถ่ี กู ตอ้ งเมอ่ื เตบิ โตขน้ึ 2. sexual imprinting เกดิ ขน้ึ ภายหลงั เมอ่ื สตั วเ์ จรญิ เตบิ โตขน้ึ เปน็ พฤตกิ รรมทต่ี อ่ เนอ่ื งมาจาก parental imprinting ทท่ี �ำ ใหส้ ตั วแ์ ตล่ ะสปชี สี จ์ �ำ กนั ไดเ้ มอ่ื ถงึ ระยะสบื พนั ธ์ุ สามารถจบั คกู่ บั เพศตรงขา้ ม ในสปชี สี เ์ ดยี วกนั ไดถ้ กู ตอ้ ง สตั วจ์ งึ ผสมขา้ มสปชี สี ไ์ ดน้ อ้ ยมาก แมว้ า่ สตั วเ์ หลา่ นน้ั จะมรี ปู รา่ งลกั ษณะตลอด จนโครงสรา้ งคลา้ ยกนั เชน่ หนคู อตตอน (Peromyscus gossypinus) ซง่ึ อาศยั อยใู่ นบรเิ วณเดยี วกบั หนู ตนี ขาว (Peromyscus leucopus) ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยหนทู ง้ั 2 สปชี สี น์ ม้ี ลี กั ษณะภายนอก คลา้ ยกนั มาก ลกู หนคู อตตอนทถ่ี กู เลย้ี งโดยแม่ อาจจะจดจ�ำ ลกั ษณะหลายประการจากแม่ เชน่ กลน่ิ เสยี ง ร้อง หรือพฤติกรรมอ่ืน ๆ ท่ีเป็นลักษณะเฉพาะของสปีชีส์ เม่ือเติบโตข้ึนและเข้าสู่วัยเจริญพันธ์ุ หนคู อตตอนจะเลอื กผสมพนั ธก์ุ บั หนคู อตตอนเพศตรงขา้ ม โดยไมผ่ สมพนั ธก์ุ บั หนตู นี ขาวทอ่ี าศยั อยใู่ น บรเิ วณเดยี วกนั การผสมขา้ มสปชี สี จ์ งึ มโี อกาสเกดิ ไดย้ าก พฤตกิ รรมการฝงั ใจบางพฤตกิ รรมอาจเกดิ ขน้ึ ภายหลงั แมจ้ ะเรยี นรใู้ นระยะแรกเกดิ กต็ าม เชน่ การรอ้ งเพลงของนก ลกู นกเรยี นรเู้ สยี งรอ้ งเพลงของนกสปชี สี เ์ ดยี วกนั ในชว่ งเวลาทจ่ี ะเกดิ การเรยี นรไู้ ด้ แตจ่ ะสามารถรอ้ งเพลงไดเ้ มอ่ื ถงึ ระยะสบื พนั ธ์ุ จากการศกึ ษานกกระจอกสปชี สี ห์ นง่ึ พบวา่ จะมกี ารเรยี น รเู้ สยี งรอ้ งเพลงของนกสปชี สี เ์ ดยี วกนั ในระยะ 10-15 วนั หลงั จากฟกั ออกจากไข่ และเรม่ิ รอ้ งเพลงไดใ้ น ชว่ งประมาณ 150 วนั และรอ้ งไดด้ เี มอ่ื อายุ 200 วนั เมอ่ื ทดลองน�ำ ลกู นกทฟ่ี กั ออกจากไขม่ าใหไ้ ดย้ นิ เสยี งรอ้ งเพลงในชว่ งเวลาทก่ี �ำ หนดนกจะสามารถรอ้ งเพลงได้ แตล่ กู นกทไ่ี มไ่ ดย้ นิ เสยี งรอ้ งเพลงมากอ่ น จะไมส่ ามารถรอ้ งเพลงได้ ดงั นน้ั การพจิ ารณาวา่ พฤตกิ รรมใดเปน็ การฝงั ใจหรอื ไม่ ตอ้ งอาศยั การทดลอง เพราะพฤตกิ รรมแบบนอ้ี าจจะแสดงออกในเวลาตอ่ มาภายหลงั จากการเรยี นรผู้ า่ นไปแลว้ เปน็ เวลานาน ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ยกตวั อย่างพฤตกิ รรมการฝังใจที่พบในสัตว์ชนดิ อืน่ มา 2 ตวั อยา่ ง ตัวอย่างคำ�ตอบ 1. ลูกปลาแซลมอนเมือ่ ฟกั ออกจากไข่ จะจำ�กลิน่ ของนำ้�และสภาพแวดลอ้ มบริเวณนั้น เมอ่ื ถึงฤดูผสมพันธุ์จะกลับมาวางไข่ในบริเวณเดิมที่เป็นแหล่งกำ�เนิด การกลับไปวางไข่ใน แหล่งนำ�้ เดมิ ของปลาแซลมอนท่ีชว่ ยให้ลูกปลามีอาหารอดุ มสมบูรณ์เมื่อฟักออกจากไข่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

236 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 2. ลูกนกนางนวลบางชนิดเม่ือเติบโตข้ึนจะเลือกผสมพันธ์ุกับนกท่ีมีสีรอบดวงตาแบบเดียว กับทเี่ หน็ จากพ่อแมเ่ มอ่ื แรกเกิด พฤตกิ รรมการฝงั ใจมีประโยชนต์ ่อสตั ว์อยา่ งไร มปี ระโยชนใ์ นเรอ่ื งการด�ำ รงพนั ธเุ์ พราะสตั วจ์ ะมโี อกาสอยรู่ อดมากขนึ้ เนอ่ื งจากไดร้ บั การดแู ล จากพ่อแม่ รวมทงั้ ผสมพันธใ์ุ นสปีชีสเ์ ดียวกันได้ถกู ต้อง ไมผ่ สมพันธุข์ า้ มสปชี ีส์ ท�ำ ใหส้ ปีชีส์ นั้นดำ�รงพันธอ์ุ ยไู่ ด้ การเชื่อมโยง ipst.me/10801 ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาการทดลองของพฟั ลอฟดงั รปู 22.10 เพอ่ื ใหเ้ หน็ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง สง่ิ เรา้ 2 สง่ิ คอื สง่ิ เรา้ ทไ่ี มเ่ ปน็ เงอ่ื นไขซง่ึ เปน็ สง่ิ เรา้ แทจ้ รงิ ทส่ี ตั วต์ อบสนอง และสง่ิ เรา้ ทเ่ี ปน็ เงอ่ื นไขซง่ึ เป็นส่งิ เร้าท่โี ดยปกติสัตว์จะไม่ตอบสนอง โดยได้นำ�ส่งิ เร้าท้งั 2 แบบมาเช่อื มโยงกัน จนภายหลังสัตว์ สามารถตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทเ่ี ปน็ เงอ่ื นไขแบบเดยี วกบั ทต่ี อบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทไ่ี มเ่ ปน็ เงอ่ื นไขได้ เรยี กการ เชอ่ื มโยงแบบนว้ี า่ การมเี งอ่ื นไข จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาการทดลองของสกนิ เนอรด์ งั รปู 22.12 เพอ่ื ใหเ้ หน็ ipst.me/10802 ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งการเหยยี บแปน้ กดกบั การตกลงมาของอาหารซง่ึ ในครง้ั แรกเกดิ จากความบงั เอญิ และตอ่ มาหนเู รยี นรทู้ จ่ี ะเหยยี บแปน้ กดอกี เมอ่ื ตอ้ งการใหอ้ าหารตกลง มา เรยี กการเชอ่ื มโยงนว้ี า่ การลองผดิ ลองถกู ครูให้นักเรียนศึกษาและอภิปรายร่วมกันเก่ยี วกับพฤติกรรมการเช่อื มโยงท้งั สองแบบจากรูป 22.11 และ 22.13 นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ พฤตกิ รรมการเชอ่ื มโยงแบบการมเี งอ่ื นไข เรม่ิ ตน้ เมอ่ื สตั วเ์ หน็ อาหารซง่ึ เปน็ สง่ิ เรา้ ทไ่ี มเ่ ปน็ เงอ่ื นไข สง่ ผลใหส้ ตั วห์ ลง่ั น�ำ้ ลาย จากนน้ั เมอ่ื ใหเ้ สยี งกระดง่ิ ซง่ึ เปน็ สง่ิ เรา้ ทเ่ี ปน็ เงอ่ื นไข พรอ้ มกบั อาหาร พบวา่ สตั วห์ ลง่ั น�ำ้ ลายทต่ี อบสนองตอ่ อาหาร และสดุ ทา้ ยเมอ่ื ใหเ้ ฉพาะเสยี งกระดง่ิ เพยี ง อยา่ งเดยี ว สตั วย์ งั คงตอบสนองดว้ ยการหลง่ั น�ำ้ ลายเชน่ เดมิ ซง่ึ สตั วเ์ รยี นรทู้ จ่ี ะเชอ่ื มโยงเสยี งกระดง่ิ และ อาหารเขา้ ดว้ ยกนั สว่ นพฤตกิ รรมการเชอ่ื มโยงแบบการลองผดิ ลองถกู เมอ่ื เรม่ิ ตน้ สตั วอ์ าจแสดงทง้ั 3 พฤตกิ รรม แตเ่ มอ่ื แสดงพฤตกิ รรมท่ี 2 โดยบงั เอญิ สตั วจ์ ะไดร้ บั อาหาร ตอ่ มาสตั วอ์ าจแสดงพฤตกิ รรมอกี หลายครง้ั แตท่ กุ ครง้ั ทแ่ี สดงพฤตกิ รรมท่ี 2 จะไดอ้ าหาร จงึ เกดิ การเรยี นรทู้ จ่ี ะเชอ่ื มโยงการแสดงออก พฤตกิ รรมท่ี 2 กบั อาหาร เมอ่ื เวลาผา่ นไปสตั วจ์ ะลดหรอื ไมแ่ สดงพฤตกิ รรมท่ี 1 และ 3 แตจ่ ะเลอื กแสดง พฤตกิ รรมท่ี 2 เทา่ นน้ั เพราะไดร้ บั อาหาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 237 จะเหน็ ไดว้ า่ สตั วม์ กี ารลองผดิ ลองถกู ในตอนแรกและจะแสดงพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมไดใ้ นทส่ี ดุ รวมทง้ั ลดการแสดงพฤตกิ รรมทไ่ี มเ่ หมาะสมได้ การท�ำ ความเขา้ ใจพฤตกิ รรมการเชอ่ื มโยงแบบการลอง ผดิ ลองถกู มปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ยใ์ นการฝกึ สตั วเ์ พอ่ื น�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ ในชว่ งเรม่ิ ตน้ ของการฝกึ ผฝู้ กึ จะ พบวา่ สตั วท์ ก่ี �ำ ลงั ฝกึ แสดงหลายพฤตกิ รรม และยงั ท�ำ ตามค�ำ สง่ั ไมไ่ ด้ เมอ่ื ฝกึ สตั วต์ อ่ ไปเรอ่ื ย ๆ และผฝู้ กึ เลอื กใหอ้ าหารเฉพาะเวลาทส่ี ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมทผ่ี ฝู้ กึ ตอ้ งการ หรอื ลงโทษเมอ่ื สตั วแ์ สดงพฤตกิ รรมทไ่ี ม่ เหมาะสม สตั วจ์ ะเรม่ิ เชอ่ื มโยงพฤตกิ รรมทแ่ี สดงกบั อาหารทไ่ี ดห้ รอื การถกู ลงโทษ และเลอื กแสดงเฉพาะ พฤตกิ รรมทไ่ี ดร้ บั อาหารเปน็ การตอบแทนหรอื ลดการแสดงพฤตกิ รรมทท่ี �ำ ใหถ้ กู ลงโทษ ความรู้เพิม่ เติมส�ำ หรับครู พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้แบบการเชื่อมโยงมีรูปแบบอื่นอีก เช่น สัตว์สามารถจับคู่ชนิด อาหารทก่ี นิ กับการเจบ็ ปว่ ยหรือได้รบั โทษ สตั ว์สามารถเรียนรู้ไดท้ ันทีจากผลของการเชอ่ื มโยง เพยี งครงั้ เดยี วหรอื นอ้ ยครงั้ และมกั ตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา้ หลงั การเชอ่ื มโยงอยา่ งรนุ แรง ท�ำ ใหส้ ตั ว์ สามารถหลีกหนีจากสิง่ เร้าท่ีเปน็ ภยั ในธรรมชาตซิ งึ่ อาจทำ�ใหถ้ งึ ตายได้ทันที เช่น อาหารทเี่ ปน็ พษิ การเชอื่ มโยงรปู แบบนแ้ี ตกตา่ งจากการมเี งอ่ื นไขและการลองผดิ ลองถกู ในบางกรณซี งึ่ โดย ทั่วไปสัตว์ต้องเรียนรู้จากการท�ำ ซ�ำ้ หลาย ๆ คร้งั จงึ สามารถตอบสนองไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ยกตวั อย่างพฤตกิ รรมการเชื่อมโยงท่พี บในสตั วช์ นดิ อืน่ มา 2 ตวั อย่าง ตัวอย่างคำ�ตอบ 1. เมื่อให้อาหารปลาบริเวณข้างตู้ ปลาจะว่ายเข้ามากินอาหารท่ีบริเวณข้างตู้เป็นปกติ จากนั้นให้อาหารบริเวณข้างตู้เหมือนเดิมและเคาะตู้ปลาบริเวณนั้นไปพร้อมกัน ปลายังคงว่ายเข้ามากินอาหาร ต่อมาเคาะท่ีตู้ปลาอย่างเดียวโดยไม่ให้อาหาร ปลายังคง มารวมกันบริเวณทีเ่ คาะได้ 2. เม่ือนกจิกแผ่นป้ายสัญลักษณ์ท่ีถูกต้อง นกจะได้รับอาหารเป็นรางวัล แต่ถ้าจิกแผ่นป้าย สัญลักษณ์ที่ผิดนกจะไม่ได้รับอาหาร ต่อมานกจะเลือกจิกเฉพาะแผ่นป้ายที่มีสัญลักษณ์ ถกู ตอ้ ง 3. เมื่อสุนัขเห็นสัญญาณมือให้น่ังลงพร้อมกับได้รับขนมเป็นรางวัลทุกคร้ังเมื่อสุนัขนั่งลง ตอ่ มาเมือ่ สุนัขเหน็ สญั ญาณมือเพยี งอยา่ งเดยี วสนุ ขั กจ็ ะนั่งลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

238 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชีววทิ ยา เลม่ 5 พฤติกรรมการลองผดิ ลองถูกมปี ระโยชนต์ อ่ สตั ว์อยา่ งไร มีประโยชนค์ ือท�ำ ให้สัตวเ์ ลอื กแสดงพฤตกิ รรมทีเ่ ป็นประโยชน์ในเวลาท่เี รว็ ขึน้ ลดการแสดง พฤติกรรมท่ีไม่ไดร้ บั ประโยชนห์ รือเป็นโทษ ตรวจสอบความเขา้ ใจ การเลอื กกนิ อาหารของเตา่ ตนี แดงเปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรแู้ บบใด เพราะเหตใุ ด เป็นพฤติกรรมการเชื่อมโยง เพราะเต่าตีนแดงสามารถเช่ือมโยงคุณภาพและปริมาณสาร อาหารกบั สขี องแผน่ พลาสตกิ ท�ำ ใหห้ ลงั การฝกึ สามารถเลอื กสขี องแผน่ พลาสตกิ ไดถ้ กู ตอ้ ง เป็นส่วนใหญ่ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 22.2 เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจพฤตกิ รรมแบบลองผดิ ลองถกู มากขน้ึ กจิ กรรม 22.2 การลองผดิ ลองถกู จุดประสงค์ อธบิ ายพฤติกรรมการเชื่อมโยงแบบการลองผิดลองถกู เวลาที่ใช้ (โดยประมาณ) 30 นาที วัสดแุ ละอุปกรณ์ ปริมาณต่อกลมุ่ รายการ ตามจ�ำ นวนนกั เรียน ตามจำ�นวนนักเรยี น รูปแสดงทางวกวน ตามจำ�นวนนักเรยี น ดนิ สอเขยี นแผ่นใสหรอื ปากกา กระดาษไขหรอื แผน่ พลาสติกใส สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี