ชีววิทยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ 239 แนวการจัดกิจกรรม จดุ เริม่ ต้น ให้นักเรียนจับคู่กันทำ�กิจกรรม โดยให้ นักเรียนสลับหน้าที่กันบันทึกเวลาท่ีใช้ในการ ลากเส้นแตล่ ะคร้งั จนครบ 5 ครง้ั สำ�หรับแนว การลากเส้นเดินในทางวกวนมีดงั น้ี ปลายทาง เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม วธิ กี ารหรือเวลาท่ีใช้ในการท�ำ กจิ กรรมน้ใี นครงั้ แรกและคร้งั ต่อ ๆ มาแตกตา่ งกันอย่างไร เวลาทใ่ี ชใ้ นการท�ำ กจิ กรรมครงั้ หลงั ๆ จะลดลง เพราะผทู้ ดลองสามารถจ�ำ เสน้ ทางทถ่ี กู และ เส้นทางทผ่ี ิดได้และมวี ิธีการทจ่ี ะหลกี เล่ยี งเส้นทางทีผ่ ดิ และไปเส้นทางทถ่ี ูกตอ้ งไดเ้ ร็วข้นึ กจิ กรรมนไ้ี ด้ขอ้ สรุปอยา่ งไร ในการลองผิดลองถกู ผ้ทู ำ�กิจกรรมจะพบเส้นทางท่ถี กู ตอ้ งโดยบงั เอิญในคร้ังแรก แต่เรียน รทู้ จ่ี ะลดการเลอื กเสน้ ทางทผ่ี ดิ และเลอื กเสน้ ทางทถี่ กู ไดม้ ากขนึ้ ท�ำ ใหใ้ ชเ้ วลานอ้ ยลงในการ เลือกเสน้ ทางเพ่อื ไปสู่จดุ หมาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
240 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 เมอ่ื นกั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 22.2 จะสรปุ ไดว้ า่ การเชอ่ื มโยงในครง้ั แรกเปน็ เรอ่ื งบงั เอญิ แตเ่ มอ่ื ท�ำ ซ�ำ้ จะสามารถจดจ�ำ ไดแ้ ละใชเ้ วลานอ้ ยลงในการเรยี นรทู้ จ่ี ะท�ำ กจิ กรรมนน้ั การใชเ้ หตุผล ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยรปู หรอื วดี ทิ ศั นก์ ารแกป้ ญั หาของสตั ว์ เชน่ ลงิ แสมทใ่ี ชห้ นิ ทบุ เปลอื ก หอยใหแ้ ตกเพอ่ื กนิ เนอ้ื หอยเปน็ อาหาร ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 22.14 เพอ่ื อภปิ รายรว่ มกนั และสรปุ ไดว้ า่ สตั วส์ ามารถแกป้ ญั หาไดโ้ ดย การใชเ้ หตผุ ลไมใ่ ชก่ ารลองผดิ ลองถกู โดยสตั วน์ �ำ ประสบการณท์ ม่ี อี ยมู่ าปรบั ใหส้ อดคลอ้ งในการแกป้ ญั หา ใหมไ่ ดอ้ ยา่ งทนั ที ซง่ึ สตั วท์ จ่ี ะแสดงพฤตกิ รรมแบบนไ้ี ดด้ ตี อ้ งมรี ะบบประสาทเจรญิ ดโี ดยเฉพาะสมองสว่ น หนา้ ครคู วรอธบิ ายเพม่ิ ดว้ ยวา่ พฤตกิ รรมการใชเ้ หตผุ ลทส่ี ามารถอธบิ ายไดอ้ ยา่ งชดั เจน บอ่ ยครง้ั มา จากการทดลองโดยการน�ำ สตั วม์ าจดั การทดลองใหเ้ จอกบั อปุ สรรคหรอื สถานการณใ์ หมท่ ไ่ี มเ่ คยถกู ฝกึ มา ก่อน และลองให้สัตว์แก้ปัญหาด้วยการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุดการทดลองน้ัน และสัตว์ไม่แสดง พฤตกิ รรมลองผดิ ลองถกู ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ยกตวั อยา่ งพฤติกรรมการใชเ้ หตผุ ลทีพ่ บในสตั ว์ชนดิ อื่นมา 2 ตัวอย่าง ตัวอยา่ งคำ�ตอบ 1. อีกาในห้องปฏิบัติการที่ไม่เคยได้รับการฝึกมาก่อน สามารถนำ�เน้ือท่ีผูกเชือกซึ่งห้อยตำ่� ลงจากก่ิงไม้ข้นึ มากนิ ได้โดยใชจ้ ะงอยปากดงึ เชอื ก 2. เสือชีตาห์เรียนรู้การล่าจากการสังเกตและเรียนรู้วิธีการล่าเหย่ือจากแม่ และนำ�มาปรับ วธิ กี ารล่าเหยอ่ื ของตวั เองให้มปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ พฤติกรรมการใช้เหตผุ ลมีประโยชนต์ ่อสัตวอ์ ย่างไร สัตว์จะแสดงพฤติกรรมท่ีประเมินได้ว่าจะได้รับส่ิงที่ต้องการ เช่น อาหาร ได้อย่างเหมาะสม โดยไมต่ อ้ งลองผดิ ลองถูก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ 241 ระบบประสาทเกี่ยวข้องกับการแสดงพฤติกรรมการใช้เหตุผลอยา่ งไร สัตว์ท่ีมีสมองส่วนหน้าเจริญดีโดยเฉพาะส่วนเซรีบรัมจะแสดงพฤติกรรมการใช้เหตุผลได้ดี เชน่ สตั ว์เล้ยี งลูกด้วยน้�ำ นม ตรวจสอบความเขา้ ใจ พฤติกรรมต่อไปนี้จัดเป็นพฤติกรรมทีเ่ กิดจากการเรยี นรูแ้ บบใด เพราะเหตใุ ด สตั วเ์ ล้ียงแสดงพฤติกรรมทเ่ี จ้าของฝกึ เพอ่ื ขออาหารจากเจ้าของ พฤติกรรมการเชือ่ มโยงแบบการลองผิดลองถูก เพราะสนุ ัขไดร้ บั การฝึกใหข้ ออาหาร จากเจา้ ของ โดยสนุ ขั ถกู ฝกึ ใหเ้ ชอื่ มพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกกบั อาหารทไ่ี ดร้ บั เปน็ รางวลั สุนัขจะเห่าทุกครั้งที่มีคนแปลกหน้าเข้ามาในบริเวณบ้าน แต่เมื่อคนนั้นเข้าบ้านมา บ่อย ๆ สนุ ัขจะเห่าน้อยลง แฮบชิ เู อชนั เพราะสนุ ขั ลดการตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา้ ทไี่ มเ่ กดิ ประโยชนแ์ ละโทษตอ่ ตนเอง คือคนแปลกหน้า เม่ือคนแปลกหน้าเข้ามาในบ้านบ่อยขึ้น และไม่ได้คุกคามต่อสุนัข สุนขั จึงเรม่ิ เคยชินและเห่านอ้ ยลง หนใู ชเ้ วลาน้อยลงในการเดินไปกินอาหารทีว่ างอยู่ไกลออกไปในเส้นทางวกวน พฤติกรรมการเช่ือมโยงแบบลองผิดลองถูก เร่ิมแรกเม่ือปล่อยหนูให้เดินในเส้นทาง วกวน หนูจะลองผิดลองถูกและใช้เวลามากในการเดินไปหาอาหาร เมื่อหนูมี ประสบการณ์มากขึ้น หนูจึงเรียนรู้และจดจำ�เส้นทางในการเดินไปหาอาหารได้ และใชเ้ วลานอ้ ยลง นกคตู้ อเมรกิ นั เพศเมยี ตวั เตม็ วยั สามารถแยกแยะลกู นกตวั แรกทฟี่ กั ไขอ่ อกมาไดท้ นั ที จากลูกนกทีเ่ ปน็ กาฝากได้ การฝังใจ เพราะแม่นกสามารถจดจำ�กล่ินของลูกนกท่ีฟักออกจากไข่ได้ทันที ข้อมูล กล่นิ ของลูกทฟ่ี ักออกมาจากไข่ ท�ำ ให้สามารถแยกแยะลูกของตนได้ถูกต้อง นกต๊ิดสีนำ้�เงินที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ลดพฤติกรรมการระวังภัยลงเม่ือพบมนุษย์ และเรยี นรู้ทจี่ ะเขา้ มากินอาหารบนมอื ของมนษุ ย์ได้ แฮบชิ เู อชนั เพราะนกลดพฤตกิ รรมการตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทไี่ มเ่ กดิ โทษหรอื ประโยชน์ และรวู้ ่ามนุษย์ไม่ท�ำ อนั ตราย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
242 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชีววิทยา เล่ม 5 อุรังอตุ ัง ชมิ แปนซี และกอริลลา สามารถแกป้ ัญหาไดเ้ มือ่ น�ำ ถ่วั ใส่ในกระบอกทรงสูง ทย่ี ดึ ตดิ กบั พน้ื สตั วไ์ มส่ ามารถใชน้ ว้ิ หรอื มอื หยบิ ได้ จงึ อมน�้ำ มาพน่ ลงในกระบอกเพอ่ื ใหถ้ ่ัวลอยขนึ้ มา สตั วจ์ ึงสามารถหยิบถว่ั ได้ การใชเ้ หตุผล เพราะสตั ว์รู้วา่ กระบอกมขี นาดเล็กและลึก ไมส่ ามารถใช้มอื หยิบถ่วั ได้ และการใส่น้ำ�ลงไปจะทำ�ให้ถ่ัวลอยขึ้นมาที่ปากกระบอกและสามารถทำ�ให้สามารถ หยบิ ถัว่ มากนิ ได้ แนวการวดั และประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ - พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำ�เนิดและพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ของสัตว์ จากการทำ� รายงานและแบบทดสอบ - ตัวอย่างพฤตกิ รรมการตอบสนองทสี่ ัมพันธก์ ับทิศทางของสง่ิ เรา้ จากการทำ�กจิ กรรม ดา้ นทักษะ - การสงั เกต และการลงความเหน็ จากข้อมูล จากการท�ำ กิจกรรม - การสื่อสารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทันสอ่ื จากการสบื ค้นขอ้ มูลและการนำ�เสนอ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ และความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากการสงั เกตพฤตกิ รรม ในการอภปิ รายรว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 243 22.4 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมและววิ ฒั นาการของระบบประสาทระ ัดบพฤ ิตกรรมที่พบ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และยกตวั อยา่ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมกบั ววิ ฒั นาการของ ระบบประสาท แนวการจัดการเรียนรู้ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาตาราง 22.1 ในหนงั สอื เรยี นทแ่ี สดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งววิ ฒั นาการของ ระบบประสาทและพฤตกิ รรมของสตั ว์ แลว้ ใหร้ ว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื น�ำ ไปสขู่ อ้ สรปุ วา่ สตั วท์ ม่ี วี วิ ฒั นาการ ของระบบประสาทเจรญิ ขน้ึ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะแสดงพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรทู้ ซ่ี บั ซอ้ นมากขน้ึ แตค่ รู ไมค่ วรเนน้ ใหน้ กั เรยี นจ�ำ วา่ สตั วแ์ ตล่ ะกลมุ่ มพี ฤตกิ รรมทส่ี �ำ คญั เทา่ ทแ่ี สดงในตาราง เชน่ เดยี วกบั กราฟ เปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมทพ่ี บในสตั วก์ ลมุ่ ตา่ ง ๆ ดงั รปู ซง่ึ ขอ้ มลู เหลา่ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ เพยี งแนวโนม้ ของการ แสดงพฤตกิ รรมเทา่ นน้ั และถา้ ตอ้ งการขอ้ มลู เพม่ิ ขน้ึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาในประเดน็ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไป การใชเ หตุผล การเรียนรู รเี ฟล็กซตอ เนือ่ ง รเี ฟล็กซ โอเรียนเทชัน โพรโทซัว สัต ว ั้ชน ่ตำหลายเซล ล หนอน แมลง สัต วสะเ ิทน ้นำสะเทินปลบาก ัสตวเ ้ืลอยคลาน สัตวปก ัสต วเลี้ยง ูลกดวย ้นำนม ไพรเมท ัช้นต่ำ ม ุนษ ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
244 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 กจิ กรรมเสนอแนะ : การศึกษาพฤตกิ รรมของสัตว์บางชนดิ จดุ ประสงค์ บันทกึ และอธิบายพฤติกรรมของสัตวท์ ี่เลือกศึกษา เวลาทใ่ี ช้ (โดยประมาณ) 1 ช่ัวโมง วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ ปริมาณตอ่ กลุม่ รายการ ตามจำ�นวนนกั เรียน ตามจ�ำ นวนนกั เรยี น สมดุ บนั ทกึ ปากกาหรอื ดินสอ 1 แผน่ กระดาษโปสเตอร์ ตามจำ�นวนนักเรียน (ถ้าม)ี กลอ้ งถา่ ยรปู หรือโทรศัพทม์ ือถือ การเตรียมล่วงหนา้ ก่อนน�ำ เข้าสูก่ ารทำ�กจิ กรรมเสนอแนะ เรื่องการศกึ ษาพฤตกิ รรมของสัตว์บางชนิด ครูควร ศึกษาความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู ซึ่งอธิบายวิธีการเก็บข้อมูลพฤติกรรมของสัตว์ตามมาตรฐาน สากล วธิ กี ารท�ำ ตารางบนั ทกึ ขอ้ มลู ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เพอื่ เสรมิ ความเขา้ ใจแกน่ กั เรยี นเกยี่ ว กบั วิธีการเกบ็ ขอ้ มูลระหวา่ งการท�ำ กิจกรรม แนวการจัดกิจกรรม ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ ครอู ธบิ ายแนวทางการศกึ ษาหรอื เกบ็ ขอ้ มลู พฤตกิ รรมของสตั ว์ จากนนั้ ให้นักเรียนเลือกศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ท่ีสนใจ โดยให้นักเรียนออกแบบวิธีการศึกษา การบนั ทกึ ผลการทดลอง การน�ำ เสนอผลการทดลองโดยอสิ ระ และศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั วท์ ่ี เลือกนอกเวลาเรียน จากน้ันอภปิ รายและสรปุ ผลรว่ มกัน นำ�เสนอผลการศึกษาในชนั้ เรยี นเป็น รายกลุ่ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 245 ข้อเสนอแนะส�ำ หรับครู 1. ครอู าจใหเ้ วลานกั เรยี นเกบ็ ขอ้ มลู การศกึ ษาประมาณ 3 - 4 วนั หรอื ตามความเหมาะสมเพอ่ื วางแผนและเกบ็ ขอ้ มลู จรงิ นกั เรยี นอาจน�ำ เสนอชนดิ สตั วแ์ ละวธิ กี ารศกึ ษาใหค้ รทู ราบเบอ้ื ง ตน้ เพอ่ื ขอค�ำ แนะน�ำ หรอื อาจออกแบบสง่ิ เรา้ ทไี่ มเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สตั วเ์ พอ่ื ศกึ ษาการแสดง พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อส่ิงเร้านั้นหรือศึกษาพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำ�เนิดของสัตว์ โดย ครอู าจน�ำ ความรเู้ พมิ่ เตมิ ส�ำ หรบั ครเู รอื่ งการศกึ ษาและเกบ็ ขอ้ มลู พฤตกิ รรมของสตั วจ์ ดั ท�ำ เปน็ ใบความรใู้ หน้ กั เรยี นกอ่ นศกึ ษาจรงิ แลว้ น�ำ ผลการศกึ ษามาน�ำ เสนอและอภปิ รายในชนั้ เรียน 2. ระหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มลู พฤตกิ รรมสตั ว์ ครคู วรแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นถา่ ยรปู บรเิ วณรอบ ๆ ทส่ี ตั ว์ อยู่ เพ่ือบันทึกลักษณะท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ หรือจดบันทึกข้อมูลโดยละเอียด และเตือน นกั เรยี นวา่ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ตอ้ งไมท่ �ำ ใหส้ ตั วเ์ ปน็ อนั ตราย ถา้ มกี ารจบั สตั วม์ าและเกบ็ ขอ้ มลู ในหอ้ งปฏิบัติการ เมอ่ื เสรจ็ สนิ้ ตอ้ งนำ�ไปปล่อยไว้ทเ่ี ดมิ สำ�หรบั ค�ำ ถามท้ายกิจกรรมมีแนวคำ�ตอบดงั นี้ พฤตกิ รรมของสัตว์ทนี่ ักเรยี นบนั ทึกไดม้ ีอะไรบา้ ง คำ�ตอบมีได้หลากหลายข้ึนอยู่กับสปีชีส์ของสัตว์ท่ีนักเรียนศึกษาและพฤติกรรมที่สัตว์น้ัน แสดงออก เชน่ การตอบสนองตอ่ อาหาร การขบั ถา่ ย อาจเปน็ พฤตกิ รรมทเี่ ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ เพราะสัตว์โดยทั่วไปตอบสนองต่อส่ิงเร้าเหล่านี้ได้ทันที และมักเหมือน ๆ กันทุกตัว แต่ใน ขณะทบ่ี างพฤตกิ รรมเปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กดิ จากการเรยี นรู้ เชน่ สนุ ขั และแมวบางตวั เปน็ มติ ร กับมนุษย์ บางตวั กลัวมนุษย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
246 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชีววิทยา เล่ม 5 ความรู้เพิม่ เตมิ ส�ำ หรบั ครู วธิ กี ารเกบ็ ข้อมูลพฤตกิ รรมสัตวม์ ี 4 วธิ ี ได้แก่ - แอด ลบิ ติ มั (ad libitum) การบนั ทกึ พฤตกิ รรมสตั วท์ ส่ี นใจโดยไมม่ รี ะเบยี บวธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ทีแ่ น่นอน ไมจ่ �ำ กดั เวลาเก็บขอ้ มูล เป็นการบนั ทึกเพ่ือใหเ้ ห็นรายละเอียดเบอ้ื งตน้ มักใชใ้ น การศึกษานำ�รอ่ ง (pilot study) ก่อนลงมอื ทำ�การศกึ ษาจรงิ - โฟคอล แซมปลงิ (focal sampling) การบนั ทกึ พฤตกิ รรมของสตั วแ์ บบเฉพาะเจาะจงรายตวั หรือทัง้ กลุ่ม โดยมกี รอบเวลาทีช่ ัดเจน เชน่ บนั ทกึ พฤตกิ รรมของแมวตัวแรกทกุ พฤตกิ รรม ที่แสดงออกในระยะเวลา 1 ชั่วโมง เมื่อครบกำ�หนดเวลาของตัวแรก จากนั้นบันทึกข้อมูล พฤติกรรมของแมวตัวที่สองในระยะเวลาเท่ากัน ทำ�ให้ได้ข้อมูลความยาวหรือความถ่ีของ พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ เชน่ ระยะเวลาและจ�ำ นวนครงั้ ทแ่ี มวใชใ้ นการแสดงพฤตกิ รรมชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ เดิน กินอาหาร ขับถา่ ย ในชว่ งเวลา 1 ชัว่ โมง - สแกน แซมปลิง (scan sampling) การบันทึกพฤติกรรมของสัตว์ทั้งกลุ่มหรือรายตัว โดยการบันทึกพฤติกรรมเป็นช่วงเวลาในกรอบเวลาชัดเจน เช่น ทุก 5 นาที ติดต่อกัน 1 ชวั่ โมง ในกรณที บ่ี นั ทกึ พฤตกิ รรมของสตั วท์ งั้ กลมุ่ จะเรมิ่ บนั ทกึ พฤตกิ รรมของสตั วแ์ ตล่ ะ ตัวพร้อมกันในทุกช่วงเวลาท่ีศึกษา เช่น ผู้ศึกษาบันทึกตำ�แหน่งของแมวในบ้านจำ�นวน 4 ตัว ทุก 15 นาที ในช่วงเวลาบ่ายโมงถึงหกโมงเย็น เพอ่ื ศึกษาว่าแมวแต่ละตวั มีพฤติกรรม การใช้พื้นท่ีใดในบ้านบ้าง แล้วบันทึกข้อมูลในรูปของการแจกแจงความถ่ีของแต่ละ พฤติกรรม - บแี ฮฟวเิ ออร์ แซมปลงิ (behavior sampling) เปน็ การเกบ็ ขอ้ มลู พฤตกิ รรมทสี่ นใจของสตั ว์ ทั้งกลุ่ม โดยท่ีผู้สังเกตบันทึกข้อมูลพฤติกรรมของสัตว์ที่แสดงออกเป็นรายตัวเช่นกัน โดยมกี รอบเวลาการเกบ็ ขอ้ มลู แนน่ อน มกั ใชบ้ นั ทกึ พฤตกิ รรมทห่ี ายากและส�ำ คญั ของสตั ว์ โดยจะได้รายละเอียดท่ีชัดเจนกว่าวิธีแอด ลิบิตัม ตัวอย่างเช่น ผู้ศึกษาบันทึกข้อมูล พฤติกรรมการตอ่ สกู้ ันของแมวจรจดั ในหมูบ่ ้านแห่งหนึง่ ในชว่ งเวลาห้าโมงเยน็ ถึงสองทุ่ม นอกจากวธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วแลว้ ผศู้ กึ ษาอาจสรา้ งสถานการณใ์ หส้ ตั วเ์ รยี นรเู้ พอื่ ตอบสนอง ตอ่ สง่ิ เรา้ โดยสถานการณท์ อี่ อกแบบนนั้ ไมค่ วรเปน็ อนั ตรายตอ่ สตั ว์ และสรา้ งตารางเพอ่ื บนั ทกึ ขอ้ มลู ตามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ 247 ความรู้เพมิ่ เตมิ สำ�หรบั ครู อโี ทแกรม (ethogram) : ตารางบนั ทึกข้อมูลพฤติกรรมของสัตว์ ในการสำ�รวจพฤติกรรมของสัตว์ที่สนใจเบื้องต้นก่อนทำ�การศึกษาจริง เพ่ือสร้างตารางบันทึก ข้อมูลพฤติกรรมของสัตว์หรืออีโทแกรม อาจกำ�หนดกฎเกณฑ์ ลักษณะของพฤติกรรม และข้อตกลงเบ้ืองต้นในการเก็บข้อมูลพฤติกรรมของสัตว์ เพื่อลดความสับสนในระหว่าง การศกึ ษา ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้ นักเรียนต้องการศึกษาพฤติกรรมของแมวบ้านในช่วงเวลากลางวัน หลังจากการศึกษานำ�ร่อง (pilot study) ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลเบื้องต้นอย่างหยาบ ๆ และไม่มีแบบแผนท่ีชัดเจน ตามวิธี แอด ลิบิตัม พบว่าแมวบ้านแสดงพฤตกิ รรมหลกั ในชว่ งกลางวันดงั น้ี พฤตกิ รรม รหัสแทนพฤตกิ รรม คำ�อธิบายของพฤตกิ รรม นอน S นอนพกั อย่นู ิ่ง ๆ ณ บรเิ วณทีพ่ บ เลน่ P เล่นกับแมวตัวอนื่ โดยไม่พบวา่ ต่อสู้หรอื ว่ากำ�ลงั ขกู่ ัน ล่าสตั ว์อื่น H ลา่ สัตว์อน่ื เช่น นก หนู จ้งิ จก เปน็ ต้น โดยผู้สงั เกตสามารถเหน็ แมวและเป้าหมายของสตั วท์ แ่ี มวกำ�ลังลา่ ได้ชดั เจน กนิ อาหาร C กนิ อาหารหรือนำ�้ เลยี ขน G เลยี ขนบรเิ วณสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ต่อสู้ F ตอ่ สู้กบั แมวตอ่ อ่นื มีการพองขน สง่ เสียงขู่ แยกเขย้ี ว ตวดั หาง ไปมา อาจมกี ารกดั กนั ขบั ถ่าย E ขับถา่ ยอจุ จาระหรอื ปัสสาวะ เคล่อื นที่ L เคลื่อนท่ี เชน่ เดนิ วิง่ เปน็ ต้น อืน่ ๆ OT พฤตกิ รรมอ่นื ๆ ของสตั ว์ นักเรียนสามารถออกแบบตารางการเก็บข้อมูลโดยยึดเกณฑ์การแบ่งประเภทพฤติกรรมของ แมวที่แสดงออกจากอโี ทแกรม ตามวิธีการเก็บข้อมลู พฤติกรรมของสตั ว์ได้ดังน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
248 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชีววทิ ยา เล่ม 5 วิธีการโฟคอล แซมปลงิ เก็บขอ้ มลู พฤติกรรมของแมว 2 ตัว ตง้ั แตเ่ วลา 12 : 00 – 13 : 00 เปน็ เวลา 1 ช่ัวโมง โดยบันทึก พฤตกิ รรมของแมวแตล่ ะตัวท่แี สดงออก และบันทึกระยะเวลาทแี่ มวใชใ้ นแตล่ ะพฤติกรรม ช่อื ผ้เู กบ็ ขอ้ มูล: ชือ่ ของนักเรยี น วันท่แี ละเวลา: 2 0 เมษายน 2562 เวลา 12 : 00 – 12 : 30 (ตัวท่ี 1) เวลา 12 : 30 – 13 : 00 (ตัวที่ 2) สถานทีเ่ ก็บขอ้ มูล: บา้ นของนกั เรยี น สภาพทัว่ ไปของสถานที่เก็บข้อมลู : สภาพทั่วไปของสถานท่เี กบ็ ข้อมูล: เป็นบา้ นปูน 1 ช้นั อยูใ่ นพืน้ ทีข่ นาด 1 ไร่ มรี ว้ั รอบพื้นท่ี ทั้งหมด เป็นพ้ืนท่บี ้านประมาณ 10% ของพ้นื ทท่ี ั้งหมด พ้นื ท่ีท่เี หลือเป็นสวนหย่อม พบสัตว์ อน่ื ๆ เชน่ นกขนาดเล็ก กง้ิ กา่ จง้ิ เหลน หากนิ ในสวนหย่อม มีคนเขา้ ออกบ้านตลอดเวลา จ�ำ นวนแมวทเี่ ลย้ี ง: 4 ตวั จำ�นวนแมวท่เี กบ็ ข้อมูล: 2 ตัว แมว รหัส ชว่ งเวลา เวลาที่แสดง ค�ำ อธบิ ายของพฤติกรรม แทน พฤตกิ รรม ตวั ท่ี 1 พฤตกิ รรม 12 : 00 – 12 : 24 เดิน ตวั ที่ 1 12 : 24 – 12 : 28 (นาที) ตวั ที่ 1 S 12 : 28 - 12 : 30 เดนิ ตัวท่ี 2 L 12 : 30 - 12 : 45 24 ถา่ ยอุจจาระ ตัวท่ี 2 G 12 : 45 - 12 : 46 4 ตวั ที่ 2 S 12 : 46 - 12 : 48 2 เดนิ ตัวที่ 2 L 12 : 48 - 12 : 52 15 ตวั ท่ี 2 E 12 : 52 - 12 : 56 1 ตัวท่ี 2 G 12 : 56 - 13 : 00 2 L 4 S 4 4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 249 วธิ กี ารสแกน แซมปลงิ เก็บขอ้ มลู พฤติกรรมของแมว 2 ตัว ตง้ั แต่เวลา 12 : 00 - 13 : 00 เป็นเวลา 1 ช่ัวโมง โดยบันทกึ พฤตกิ รรมทีแ่ มวแสดงออกทกุ ๆ 5 นาที ดงั ตารางบันทกึ ข้อมลู ช่อื ผู้เกบ็ ขอ้ มูล: ช่อื ของนักเรียน วันท่แี ละเวลา: 21 เมษายน 2562 เวลา 12 : 00 - 13 : 00 สถานท่ีเกบ็ ข้อมูล: บา้ นของนกั เรยี น สภาพท่ัวไปของสถานทีเ่ ก็บขอ้ มูล: เปน็ บ้านปนู 1 ชน้ั อย่ใู นพ้ืนที่ขนาด 1 ไร่ มีร้วั รอบพน้ื ที่ท้ังหมด เปน็ พ้นื ท่ีบา้ นประมาณ 10% ของพนื้ ท่ที งั้ หมด พืน้ ทีท่ ี่เหลอื เปน็ สวนหย่อม พบสตั วอ์ ื่น ๆ เช่น นกขนาดเล็ก กิง้ ก่า จิ้งเหลน หากินในสวนหยอ่ ม มคี นเขา้ ออกบา้ นตลอดเวลา จ�ำ นวนแมวที่เล้ียง: 4 ตัว จำ�นวนแมวที่เก็บขอ้ มลู : 2 ตวั เวลา พฤตกิ รรม พฤตกิ รรม หมายเหตุ ของแมว ของแมว 12:00 ตัวที่ 1 ตวั ที่ 2 เดิน (ตวั ที่ 2) 12:05 เดิน (ตัวที่ 1) 12:10 SS เดิน (ตัวที่ 1) 12:15 SS 12:20 SS 12:25 SS 12:30 SS 12:35 SS 12:40 GL 12:45 LG LS SS สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
250 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 เวลา พฤตกิ รรม พฤติกรรม หมายเหตุ ของแมว ของแมว 12:50 ตวั ที่ 1 ตวั ท่ี 2 12:55 13:00 SS SS SS นกั เรยี นสามารถดดั แปลงตารางเกบ็ ขอ้ มลู จากตารางตวั อยา่ งของวธิ กี ารโฟคอล แซมปลงิ และ วิธีการสแกน แซมปลิงท่ีกำ�หนดให้ สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลของพฤติกรรมบางพฤติกรรม รวมถึงกำ�หนดช่วงเวลาในการศึกษา สปีชีส์ของสัตว์ จำ�นวนตัวของสัตว์ได้ตามความเหมาะ สม ขึ้นอยู่กับสัตว์แต่ละสปีชีส์ สัตว์บางสปีชีส์อาจไม่คุ้นชินกับคน และมีอาการตื่นตกใจใน ขณะท�ำ การศกึ ษา ควรวางแผนการเกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งเหมาะสมเพอ่ื ไมใ่ หร้ บกวนสตั ว์ เชน่ บนั ทกึ พฤติกรรมของสตั วใ์ นระยะหา่ งออกไป นอกจากน้ีครูอาจเสนอแนะนักเรียนให้บันทึกข้อมูลพฤติกรรมอย่างง่าย นอกเหนือจากการ บันทึกตามวิธีการดังกล่าว เช่น เขียนบรรยายพฤติกรรมของสัตว์ที่นักเรียนศึกษาโดยละเอียด หรอื ถ่ายวดี ิทัศน์หรอื รปู ประกอบการอธิบายพฤตกิ รรมของสัตว์ท่ีศกึ ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 251 แนวการวัดและประเมนิ ผล ด้านความรู้ - ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของระบบประสาท และการยกตัวอย่าง พฤติกรรม จากการทำ�แบบทดสอบ ดา้ นทกั ษะ - การสังเกต และการลงความเหน็ จากข้อมลู จากการท�ำ กิจกรรม - การสอื่ สารสารสนเทศและการร้เู ทา่ ทนั สือ่ จากการสืบคน้ ขอ้ มลู และการน�ำ เสนอ ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ และความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากการสงั เกตพฤตกิ รรม ในการอภปิ รายรว่ มกนั 22.5 การส่ือสารระหวา่ งสตั ว์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายและยกตัวอย่างการสือ่ สารระหว่างสัตว์ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูรูป หรือวีดิทัศน์ท่ีเก่ียวกับการส่ือสารกันระหว่างสัตว์ เชน่ การรอ้ งของนก หรอื ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งการสอ่ื สารระหวา่ งสตั วจ์ ากประสบการณข์ องนกั เรยี น แลว้ อภปิ รายเพอ่ื น�ำ ไปสขู่ อ้ สรปุ วา่ การอยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ ยอ่ มตอ้ งมพี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงแลว้ สามารถสอ่ื สาร ใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ได้ ซง่ึ นกั เรยี นอาจบอกไดว้ า่ เปน็ การสอ่ื สารโดยใชเ้ สยี ง ทา่ ทาง การสมั ผสั หรอื สารเคมี นอกจากนค้ี รอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ การสอ่ื สารระหวา่ งสตั วย์ งั สามารถจดั อยใู่ นประเภทพฤตกิ รรมของ สตั วท์ ไ่ี ดเ้ รยี นมาแลว้ ในกอ่ นหนา้ นด้ี ว้ ย ทง้ั พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ หรอื พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้ นอกจากน้ีการส่ือสารของสัตว์บางชนิดมีความคาบเก่ียวกันระหว่างพฤติกรรมท่ีเป็นมาแต่กำ�เนิด และพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้ เชน่ นกบางชนดิ ขณะยงั เปน็ วยั แรกเกดิ สามารถรอ้ งขออาหารจาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
252 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสัตว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 แมน่ กไดท้ นั ทซี ง่ึ จดั เปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ มาแตก่ �ำ เนดิ เมอ่ื โตเตม็ วยั และมพี ฒั นาการของระบบประสาท รวมถงึ โครงสรา้ งและอวยั วะก�ำ เนดิ เสยี งเตม็ ท่ี จะสามารถเรยี นรกู้ ารรอ้ งเปน็ ท�ำ นองเพลงจากนกตวั อน่ื ได้ ซ่ึงมีประโยชน์ในการหาคู่ผสมพันธ์ุ จึงเป็นพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ การท่ีนกร้องได้ทันทีใน ช่วงวัยแรกเกิดและเรียนรู้การร้องเป็นเพลงได้เม่ือโตเต็มวัย จัดเป็นการส่ือสารด้วยเสียงท้ังคู่ ดังน้ัน การจดั ประเภทของพฤตกิ รรมตอ้ งศกึ ษาพฤตกิ รรมการสอ่ื สารของสตั วน์ น้ั โดยละเอยี ด 22.5.1 การสือ่ สารด้วยเสยี ง ครใู หน้ กั เรยี นดรู ปู 22.15 และยกตวั อยา่ งการใชเ้ สยี งในการสอ่ื สารของเมยี รแ์ คต ครใู หน้ กั เรยี น ศึกษาการทดลอง ดงั รูป 22.16 ซง่ึ แสดงให้เห็นว่าแม่ไกต่ วั เดียวกันแตต่ อบสนองต่อส่งิ เรา้ แตกต่างกัน โดยแมไ่ กไ่ มม่ อี าการตอบสนองตอ่ ลกู ไกท่ ส่ี ง่ เสยี งรอ้ งอยใู่ นครอบแกว้ ในขณะทล่ี กู ไกท่ ส่ี ง่ เสยี งรอ้ งแตม่ ี ฉากบงั ไวอ้ ยู่ แมไ่ กต่ อบสนองตอ่ เสยี งลกู ไกม่ ากกวา่ การเหน็ ภาพ ครอู าจใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งการสอ่ื สาร ดว้ ยเสยี งในสตั วส์ ปชี สี อ์ น่ื ๆ หรอื ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ หรอื ดจู ากวดี ทิ ศั นก์ ารสอ่ื สารดว้ ยเสยี งของสตั วจ์ าก อนิ เทอรเ์ นต็ ครูอาจร่วมอภิปรายหรือถามคำ�ถามนำ�นักเรียนเก่ียวกับประโยชน์และความสำ�คัญของ การสอ่ื สารดว้ ยเสยี ง ในธรรมชาตนิ น้ั การสอ่ื สารดว้ ยเสยี งเปน็ การสอ่ื สารทม่ี ปี ระโยชนอ์ ยา่ งมาก เพราะ เสียงสามารถเดินทางในอากาศหรือในนำ�้ สามารถใช้ได้ทุกเวลา นอกจากน้ใี นสัตว์สปีชีส์เดียวกันยังมี การสอ่ื สารดว้ ยเสยี งไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ เสยี งรอ้ งของนก มที ง้ั เสยี งรอ้ งแบบเปน็ เพลงเพอ่ื ใชใ้ นการเกย้ี ว พาราสกี นั ในชว่ งฤดผู สมพนั ธ์ุ เสยี งรอ้ งเตอื นภยั เสยี งรอ้ งทว่ั ไป หรอื เสยี งรอ้ งทใ่ี ชใ้ นการบง่ บอกอาณาเขต ทป่ี กครอง เสยี งยงั มคี วามถแ่ี ละความยาวคลน่ื ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไปตามแตช่ นดิ ของเสยี ง และรปู แบบ การสอ่ื สารดว้ ยเสยี งจะแตกตา่ งกนั ออกไปในสตั วแ์ ตล่ ะสปชี สี ์ ครอู าจหาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ หรอื เปดิ วดี ทิ ศั น์ แสดงพฤติกรรมของสัตว์ท่สี ่อื สารด้วยเสียงในอินเทอร์เน็ต เพ่อื เสริมความเข้าใจ ครูอาจยกตัวอย่างท่ี นา่ สนใจเพม่ิ เตมิ ในสตั วบ์ างสปชี สี ์ เชน่ วาฬหลงั คอ่ ม (humpback whale) ซง่ึ อาศยั อยใู่ นมหาสมทุ รใช้ เสยี งในการสอ่ื สารภายในกลมุ่ ซง่ึ เสยี งสามารถเดนิ ทางในน�ำ้ ไปไดไ้ กลเกนิ กวา่ 100 กโิ ลเมตรในบางครง้ั ทำ�ให้วาฬหลังค่อมสามารถส่ือสารในระยะท่ีไกลกันได้ ตัวอย่างอ่ืน ๆ เช่น การขันของไก่ป่าตัวผู้ใน ตอนเชา้ ตรเู่ พอ่ื บอกอาณาเขต การรอ้ งของอกี าเพอ่ื บอกอาณาเขต การรอ้ งของนกกระแตแตแ้ วด้ เพอ่ื เตอื นภยั การรอ้ งของกบเพศผเู้ พอ่ื จบั คผู่ สมพนั ธ์ุ การสปี กี ของจง้ิ หรดี เพอ่ื จบั คผู่ สมพนั ธ์ุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 253 ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การสอ่ื สารดว้ ยเสียงมขี ้อดีและขอ้ จำ�กดั อยา่ งไร ข้อดี เสียงสามารถเดินทางได้ในระยะไกลทั้งในนำ้�และอากาศ แม้สภาพแวดล้อมที่รกทึบเช่นป่า ยังสามารถส่ือสารกันได้ นอกจากนี้สัตว์บางชนิดยังสามารถเพิ่มความเข้มและความถี่ของ เสยี งในการส่ือสารระหวา่ งกันให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ขอ้ จำ�กัด เสียงสามารถดงึ ดดู ผู้ล่าได้ง่าย 22.5.2 การสื่อสารด้วยท่าทาง ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมการสอ่ื สารดว้ ยทา่ ทางในสตั วท์ น่ี กั เรยี น รจู้ กั หรอื พบเหน็ ไดใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั เพอ่ื ใหอ้ ภปิ รายรว่ มกนั จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาตวั อยา่ งพฤตกิ รรม การสอ่ื สารดว้ ยทา่ ทางในสตั ว์ ดงั รปู 22.17 ในหนงั สอื เรยี น ครเู นน้ ใหน้ กั เรยี นเหน็ ถงึ ความส�ำ คญั และ ประโยชนข์ องการสอ่ื สารดว้ ยทา่ ทางในสตั ว์ โดยเฉพาะในการจบั คผู่ สมพนั ธข์ุ องสตั วใ์ นธรรมชาติ สตั ว์ บางสปชี สี จ์ ะมกี ารเตน้ ร�ำ เพอ่ื เกย้ี วพาราสี โดยเฉพาะเพศผทู้ ม่ี สี สี นั สวยงาม ครใู หน้ กั เรยี นดวู ดี ทิ ศั นจ์ าก อนิ เทอรเ์ นต็ เชน่ การอา้ ปากขออาหารของลกู นก การร�ำ แพนหางของนกยงู และการเตน้ ร�ำ นกปกั ษา สวรรคเ์ พศผเู้ พอ่ื เกย้ี วพาราสเี พศเมยี ครูสามารถยกตัวอย่างเพ่ิมเติมเร่ืองพฤติกรรมการผสมพันธ์ุของปลาหนามหลัง ซ่ึงอาจยก ตัวอย่างไปแล้วก่อนหน้าน้ี ขณะท่ีสอนเร่ืองพฤติกรรมท่ีเป็นมาแต่กำ�เนิดประเภทรีเฟล็กซ์ต่อเน่ือง จัดเป็นการส่ือสารด้วยท่าทางเช่นกัน โดยท่ัวไปในธรรมชาติพฤติกรรมการเก้ียวพาราสีของสัตว์ การผสมพนั ธข์ุ องสตั วห์ ลายชนดิ จดั วา่ เปน็ การสอ่ื สารดว้ ยทา่ ทางในสตั วเ์ ชน่ กนั ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การสื่อสารดว้ ยท่าทางมีความสำ�คัญตอ่ การดำ�รงชีวติ ของสตั วอ์ ย่างไร เพื่อการสื่อสารให้เข้าใจตรงกันในสปีชีส์เดียวกัน อาจเพ่ือแสดงอารมณ์ เตือนภัย แสดงอาณาเขต เกยี้ วพาราสีหรอื ผสมพนั ธุ์ ซง่ึ สง่ ผลใหส้ ามารถอย่รู อดไดใ้ นธรรมชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
254 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชีววิทยา เลม่ 5 22.5.3 การส่อื สารดว้ ยการสมั ผสั ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนด้วยการนำ�เสนอวีดิทัศน์หรือรูปการส่ือสารด้วยการสัมผัสในสัตว์ เช่น แมวเลยี ขนใหก้ นั ครอู าจใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมการสอ่ื สารดว้ ยการสมั ผสั ทพ่ี บไดใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั และครยู กตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ เชน่ ลงิ บางชนดิ ลงิ ในฝงู จะมกี ารชว่ ยกนั สมั ผสั ไซข้ น หรอื ชว่ ยกนั แตง่ ตวั ซง่ึ นอกจากจะชว่ ยในเรอ่ื งการสานสมั พนั ธข์ องสมาชกิ ภายในฝงู แลว้ ยงั ชว่ ยก�ำ จดั ปรสติ ทเ่ี กาะตามขน ซ่ึงอาจเป็นพาหะนำ�โรคมาสู่ลิงในฝูงได้ จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายในเร่ืองการส่ือสารด้วย การสมั ผสั ส�ำ หรบั ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นมแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การสอ่ื สารดว้ ยการสมั ผสั มีความสำ�คญั ต่อการด�ำ รงชวี ิตของสัตวอ์ ย่างไร ช่วยในการกระชับความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม ในลูกอ่อนจะรู้สึกได้รับการปกป้องและความ ปลอดภยั จากการสมั ผสั ของแม่ และยงั ชว่ ยในเรอ่ื งพฒั นาการและเพมิ่ ทกั ษะการเขา้ สงั คมให้ กับลกู ไดเ้ มือ่ โตข้นึ จากนน้ั ครอู ธบิ ายกรณศี กึ ษาของลกู ลงิ รซี สั และใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในกรณศี กึ ษา กรณศี ึกษา เพราะเหตใุ ดลูกลิงจึงมักเขา้ ไปซบหนุ่ แมล่ งิ ท่ีมีผ้าหอ่ หมุ้ มากกว่าหุ่นแม่ลงิ ทีไ่ ม่มผี า้ หอ่ หมุ้ หุ่นแมล่ ิงท่มี ีผ้าหุม้ มคี วามเหมอื นแม่ลิงตามธรรมชาติมากกว่าห่นุ โครงเหล็ก การเข้าไปซบ ที่หุ่นแม่ลิงที่มีผ้าหุ้มทำ�ให้ลูกลิงรู้สึกปลอดภัยมากกว่า นอกจากน้ีลูกลิงนั้นต้องการความ อบอนุ่ และการเลย้ี งดจู ากแม่ ลกู ลงิ จงึ สามารถมกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการไดต้ ามปกติ ไม่หวาดระแวงหรือตกใจกลัว และสามารถเขา้ สงั คมได้ 22.5.4 การสอ่ื สารดว้ ยสารเคมี ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยการเสนอรปู หรอื วดี ทิ ศั นก์ ารสอ่ื สารดว้ ยสารเคมใี นสตั วท์ น่ี า่ สนใจ เชน่ สนุ ขั เพศผดู้ มกลน่ิ เพศเมยี เพอ่ื ตรวจสอบความพรอ้ มในการผสมพนั ธ์ุ ครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั ฟโี รโมน และ การสอ่ื สารดว้ ยสารเคมี ซง่ึ สตั วส์ ามารถรบั ฟโี รโมนได้ 3 ทาง ไดแ้ ก่ การไดร้ บั กลน่ิ การกนิ และการสมั ผสั ครสู ามารถยกตวั อยา่ งในสตั วอ์ น่ื ๆ เพม่ิ เตมิ ตามเนอ้ื หาในหนงั สอื เรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 255 ครอู าจยกตวั อยา่ งอน่ื ทน่ี า่ สนใจของการไดร้ บั ฟโี รโมนทางกลน่ิ เชน่ การปลอ่ ยฟโี รโมนของผเี สอ้ื ไหมเพศเมยี เพอ่ื ดงึ ดดู เพศผู้ ปลวกงานทเ่ี ปน็ ผนู้ �ำ ทางจะปลอ่ ยฟโี รโมนออกจากตอ่ มพเิ ศษทอ่ี ยบู่ รเิ วณ อกเอาไวต้ ามทางเดนิ เพอ่ื ใหป้ ลวกงานตวั อน่ื ๆ ไมอ่ อกนอกเสน้ ทางระหวา่ งการออกหาอาหาร ดว้ งปลอ่ ย ฟโี รโมนใหด้ ว้ งตวั อน่ื มารวมกนั ทแ่ี หลง่ อาหารซง่ึ ชว่ ยใหด้ ว้ งตวั อน่ื เขา้ ถงึ แหลง่ อาหารงา่ ยขน้ึ โดยไมต่ อ้ ง คน้ หาแหลง่ อาหารเองสนุ ขั และเสอื ขบั ถา่ ยปสั สาวะทม่ี ฟี โี รโมนไวท้ ต่ี า่ ง ๆ เพอ่ื บอกอาณาเขต ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ การรบั ฟโี รโมนโดยการสมั ผสั ในสตั ว์ มกั จะเปน็ ฟโี รโมนทร่ี ะเหยได้ ยาก และเกาะแน่นกับวัตถุในส่ิงแวดล้อมได้นาน เช่น ฟีโรโมนชนิด (Z)-9-tricosene (เป็นสาร ไฮโดรคารบ์ อนโมเลกลุ ขนาดใหญท่ ป่ี ระกอบดว้ ยคารบ์ อน 23 อะตอม) เปน็ ฟโี รโมนทแ่ี มลงวนั ตวั ผไู้ ดร้ บั ขณะเกาะทต่ี วั เมยี และจะกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การผสมพนั ธก์ุ นั โดยทว่ั ไปการไดร้ บั ฟโี รโมนทางกลน่ิ นน้ั ฟโี รโมนมกั เปน็ สารทม่ี นี �ำ้ หนกั โมเลกลุ ปานกลาง เพราะ ถา้ น�ำ้ หนกั โมเลกลุ มากจะแพรไ่ ดย้ ากแตถ่ า้ น�ำ้ หนกั โมเลกลุ นอ้ ยเกนิ ไปจะระเหยงา่ ยท�ำ ใหก้ ารสอ่ื สารเกดิ ยากขน้ึ ยกเวน้ ฟโี รโมนทส่ี ตั วร์ บั โดยการสมั ผสั อาจมโี มเลกลุ ขนาดใหญ่ ระเหยไดย้ าก เกาะตดิ กบั วตั ถไุ ด้ นานได้ จากนน้ั ครนู �ำ นกั เรยี นเขา้ สคู่ �ำ ถามและตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การสือ่ สารดว้ ยฟีโรโมนมีความสำ�คัญตอ่ สตั ว์อย่างไร ทำ�ให้สัตวส์ ามารถติดตอ่ ส่อื สารกันไดอ้ ย่างเฉพาะเจาะจง สามารถรับรูไ้ ด้ถึงสถานะของสตั ว์ ตวั ท่ปี ลอ่ ยฟโี รโมน เช่น ความพรอ้ มในการผสมพนั ธุ์ การใชเ้ พื่อบ่งบอกอาณาเขต ในแมลง บางชนิดยังใชฟ้ โี รโมนในการควบคุม และแบง่ หน้าที่แมลงตวั อน่ื ในรัง เชน่ มด เปน็ ตน้ ฟีโรโมนเหมือนหรอื ต่างจากฮอร์โมนอยา่ งไร ฟีโรโมนและฮอร์โมนเหมือนกันเพราะจัดเป็นสารเคมีที่สัตว์สร้างข้ึน และแตกต่างกันคือ ฟีโรโมนผลิตจากต่อมมีท่อส่วนฮอร์โมนผลิตจากต่อมไร้ท่อ ฟีโรโมนใช้สื่อสารกับสัตว์ตัวอื่น หรอื กระตนุ้ ใหส้ ตั วต์ วั อน่ื ทเ่ี ปน็ สปชี สี เ์ ดยี วกนั แสดงพฤตกิ รรม สว่ นฮอรโ์ มนเปน็ สงิ่ เรา้ ภายใน มีผลเฉพาะต่อสัตวต์ ัวทสี่ รา้ งเทา่ นนั้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
256 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชีววทิ ยา เลม่ 5 จากนน้ั ครยู กกรณศี กึ ษาการทดลองกบั ผเี สอ้ื ไหม ครถู ามน�ำ วา่ ปจั จยั ใดทท่ี �ำ ใหผ้ เี สอ้ื ไหมเพศผู้ เคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หาผเี สอ้ื ไหมเพศเมยี ซง่ึ ควรจะไดร้ บั ค�ำ ตอบวา่ เปน็ สารเคมบี างชนดิ ซง่ึ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ สารนเ้ี รยี กวา่ ฟโี รโมน จากนน้ั ครใู หค้ วามหมายของฟโี รโมนวา่ เปน็ สารเคมที ผ่ี ลติ มาจากตอ่ มมที อ่ ของ สตั วท์ ส่ี รา้ งออกมาแลว้ ไมม่ ผี ลตอ่ รา่ งกายของสตั วเ์ องแตส่ ามารถไปมผี ลตอ่ สตั วต์ วั อน่ื ทเ่ี ปน็ ชนดิ เดยี วกนั ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ผเี สอ้ื ไหมใชห้ นวด ซง่ึ มคี วามไวตอ่ การตรวจจบั ฟโี รโมนทเ่ี ฉพาะเจาะจงสงู และ นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ ฟโี รโมนเปน็ สารเคมที ส่ี �ำ คญั ทส่ี ตั วใ์ ชใ้ นการสอ่ื สาร กรณศี กึ ษา ผลการทดลองนีส้ ามารถอธิบายได้อย่างไร การเคลอื่ นทขี่ องผเี สอื้ ไหมเพศผเู้ ขา้ หาผเี สอ้ื ไหมเพศเมยี ไมไ่ ดเ้ กดิ จากการใชป้ ระสาทสว่ น ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การรับภาพ การทดลองน้สี รุปไดอ้ ย่างไร ผีเส้ือไหมเพศเมียสร้างฟีโรโมนท่ีทำ�ให้ผีเส้ือไหมเพศผู้เคล่ือนที่เข้าหาเพศเมียตัวท่ีปล่อย ฟโี รโมน ผลการทดลองนสี้ ามารถอธิบายได้อยา่ งไร สารเคมที ผ่ี เี สอื้ ไหมเพศเมยี สรา้ งขน้ึ มผี ลตอ่ ผเี สอ้ื ไหมเพศผู้ โดยผเี สอ้ื ไหมเพศผใู้ ชห้ นวดใน การรับกลิน่ สารเคมีและเคล่อื นทเี่ ขา้ หาเพ่อื จับคูผ่ สมพันธุ์ ครอู าจเชอ่ื มโยงกบั การศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั วใ์ นแนวอลั ทเิ มตคอสทไ่ี ดเ้ รยี นไปแลว้ เพอ่ื เสรมิ ความเข้าใจให้นักเรียนว่าสัตว์ใช้ฟีโรโมนเพ่ือวัตถุประสงค์ใด ครูสามารถยกตัวอย่างการส่ือสาร ดว้ ยฟโี รโมนในแมลงทอ่ี ยเู่ ปน็ สงั คม เชน่ มดนางพญาจะใชฟ้ โี รโมนในการควบคมุ และสอ่ื สารกบั มดงาน เพอ่ื ใหไ้ ปท�ำ หนา้ ทต่ี า่ ง ๆ เชน่ เลย้ี งดตู วั ออ่ น และปกปอ้ งรงั ซง่ึ เปน็ ผลจากการคดั เลอื กทางธรรมชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 257 ตรวจสอบความเขา้ ใจ การสื่อสารระหว่างสัตว์โดยใช้เสียง ท่าทาง การสัมผัส และฟีโรโมนมีความแตกต่างกัน อยา่ งไร การสอื่ สารแตล่ ะแบบมคี วามแตกตา่ งกนั เชน่ ชนดิ ของอวยั วะทใี่ ชใ้ นการรบั ขอ้ มลู จากการ ส่ือสาร สัตว์ที่ส่ือสารด้วยเสียงต้องมีอวัยวะในการสร้างเสียง และต้องมีอวัยวะรับเสียงได้ ส่วนสัตว์ท่ีสื่อสารด้วยท่าทางต้องพัฒนาระบบต่าง ๆ รวมถึงอวัยวะบางอย่างเฉพาะ เพ่ือ ให้การสื่อสารด้วยท่าทางอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และสัตว์ผรู้ ับการสื่อสารต้องมตี าท่พี ฒั นาดี ทำ�ใหม้ องเห็นทา่ ทางได้ การส่ือสารดว้ ยการสัมผัส สัตวต์ อ้ งพัฒนาระบบประสาทรบั ความ รู้สึกท่ีดีและไวพอต่อการรับการส่ือสารด้วยการสัมผัสได้อย่างมีประสิทธิภาพ การส่ือสาร ด้วยสารเคมีหรือฟีโรโมน สัตว์ต้องมีการพัฒนาอวัยวะเฉพาะเพ่ือสร้างฟีโรโมน รวมถึง อวยั วะรับฟีโรโมน การสื่อสารดว้ ยเสียงสามารถสง่ ไปได้ในระยะค่อนขา้ งไกล และสามารถ ส่งได้ทุกเวลาไม่ขึ้นกับช่วงกลางวันหรือกลางคืน การส่ือสารด้วยท่าทางมักจะใช้ได้ผลดีใน เวลากลางวนั สตั วจ์ งึ มองเหน็ ทา่ ทางทส่ี อ่ื สารได้ ส�ำ หรบั การสมั ผสั สตั วท์ ใี่ ชก้ ารสอื่ สารดว้ ย วธิ นี ี้จำ�เป็นต้องอยู่ในระยะท่ใี กลก้ ัน จงึ สามารถสอ่ื สารกนั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และการ ส่อื สารดว้ ยฟีโรโมนไปตามกระแสลมจะสามารถสง่ ฟีโรโมนออกไปได้ในระยะไกลมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
258 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชีววิทยา เลม่ 5 ความรูเ้ พ่มิ เตมิ สำ�หรับครู การส่ือสารในสัตว์บางสปีชีส์มีความซับซ้อนมาก และใช้วิธีการสื่อสารที่หลากหลายเพื่อส่งต่อ ขอ้ มลู ใหก้ บั สมาชกิ ตวั อน่ื ภายในสปชี สี เ์ ดยี วกนั เชน่ การเตน้ ของผง้ึ ยโุ รป (Apis mellifera) เพอ่ื บอกระยะและทศิ ทางของแหลง่ อาหาร เมอ่ื ผงึ้ ยโุ รปพบแหลง่ อาหารและกลบั มาทร่ี งั ผงึ้ ตวั นจี้ ะ เป็นจุดสนใจของผ้ึงตัวอื่นในรัง ผึ้งตัวท่ีพบแหล่งอาหารจะสื่อสารโดยการเต้นเป็นวงกลมหรือ เลขแปดซงึ่ เปน็ การสือ่ สารด้วยท่าทาง ดังรูป การเต้นแบบเลขแปดของผ้ึงยโุ รป การเต้นแบบวงกลมของผง้ึ ยุโรป ระหวา่ งทผี่ ง้ึ ก�ำ ลงั เตน้ จะมผี งึ้ ตวั อน่ื ในรงั เขา้ มาสมั ผสั กบั ผงึ้ ตวั ทก่ี �ำ ลงั เตน้ ซงึ่ เปน็ การสอื่ สารดว้ ย การสัมผัส นอกจากน้ียังพบว่าผึ้งมีการส่งสัญญาณเสียงและมีการปล่อยสารเคมีหลายชนิด ระหวา่ งการเตน้ ดว้ ย ซง่ึ การสอื่ สารทห่ี ลากหลายเชน่ นจ้ี ะถกู ผง้ึ ตวั อนื่ แปลงเปน็ ขอ้ มลู ระยะและ ทิศทางของแหลง่ อาหาร ท�ำ ใหผ้ ้ึงตัวอื่นบนิ ไปยงั แหล่งอาหารไดถ้ ูกต้อง ครสู รปุ และเนน้ ย�ำ้ ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจความส�ำ คญั ของการสอ่ื สารของสตั ว์ ซง่ึ ชว่ ยใหส้ ตั วส์ ามารถ เลอื กคหู่ รอื จบั คผู่ สมพนั ธ์ุ ปกปอ้ งอาณาเขตของตนหรอื กลมุ่ ประสานงานและด�ำ รงอยเู่ ปน็ กลมุ่ อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ และเลย้ี งลกู ออ่ นใหอ้ ยรู่ อดไดม้ ากขน้ึ หรอื มพี ฤตกิ รรมเหมาะสม ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เรอ่ื งมนษุ ยใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากการศกึ ษาพฤตกิ รรมของสตั วต์ ามหนงั สอื เรยี น จากนน้ั สรปุ วา่ พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ทส่ี ตั วแ์ สดงออก ลว้ นเปน็ ผลมาจากการปรบั ตวั ของสง่ิ มชี วี ติ ใหส้ ามารถ อยไู่ ดใ้ นสง่ิ แวดลอ้ มทง้ั ในระยะสน้ั หรอื ระยะยาว ถา้ สง่ิ มชี วี ติ มพี ฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสมแกก่ ารด�ำ รงชวี ติ ใน ถน่ิ อาศยั นน้ั สง่ิ มชี วี ติ นน้ั มคี วามจ�ำ เปน็ ตอ้ งปรบั ตวั เพอ่ื ใหอ้ ยอู่ าศยั ได้ ถา้ ไมป่ รบั ตวั อาจสญู พนั ธใ์ุ นทส่ี ดุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 5 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 259 แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - การสอื่ สารระหวา่ งสตั วท์ ท่ี �ำ ใหส้ ัตว์แสดงพฤตกิ รรมจากการท�ำ แบบทดสอบ ดา้ นทกั ษะ - การสงั เกต และการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการศกึ ษาภาพหรอื วดี ทิ ศั น์ และการอภปิ ราย ร่วมกนั - การส่ือสารสารสนเทศและการร้เู ทา่ ทนั ส่ือ จากการสืบค้นขอ้ มูลและการน�ำ เสนอ ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ และความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากการสงั เกตพฤตกิ รรม ในการอภปิ รายรว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
260 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชวี วิทยา เลม่ 5 เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 22 1. จงใส่เคร่ืองหมายถูก (√) หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เคร่ืองหมายผิด (×) หน้าข้อความท่ี ไมถ่ กู ตอ้ ง และขดี เสน้ ใตเ้ ฉพาะค�ำ หรอื สว่ นของขอ้ ความทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง และแกไ้ ขโดยตดั ออก หรือเตมิ คำ�หรอื ข้อความท่ถี ูกตอ้ งลงในชอ่ งว่าง ������ 1.1 กลไกการเกดิ พฤติกรรมในสัตว์เกดิ จากสิง่ เร้าภายนอกเท่าน้นั แก้ไขเปน็ และส่ิงเร้าภายใน ������ 1.2 ปลาหลายชนิดว่ายน้ำ�สวนทางกับทิศทางของกระแสนำ้� ทำ�ให้ไม่ถูกกระแสน้ำ� พัดพาไป จัดเปน็ พฤตกิ รรมแบบโอเรยี นเทชัน ������ 1.3 พฤตกิ รรมการใชเ้ หตผุ ลจดั เปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กดิ จากการเรยี นรทู้ พ่ี บมากในสตั ว์ ที่มีระบบประสาทไม่ซับซอ้ น แกไ้ ขเปน็ ซับซอ้ น ������ 1.4 การรอ้ งเตอื นภยั ของนกเม่ือมศี ัตรูบกุ รุกอาณาเขตเป็นการสื่อสารด้วยเสียง ������ 1.5 การศกึ ษาพฤตกิ รรมแนวพรอกซเิ มตคอสเปน็ การศกึ ษาในแงก่ ลไกการแสดงออก ของพฤติกรรม และสิง่ เร้าท่ีท�ำ ให้เกิดพฤตกิ รรม ������ 1.6 อวยั วะรบั ความรสู้ กึ จะเปลยี่ นสง่ิ เรา้ ใหเ้ ปน็ กระแสประสาทเขา้ สหู่ นว่ ยประมวล ข้อมูลในไขสันหลังแล้วส่งคำ�ส่ังไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เพ่ือแสดงพฤติกรรมท่ี เหมาะสม แก้ไขเป็น สมอง ������ 1.7 เมอื่ สง่ิ แวดลอ้ มมกี ารเปลยี่ นแปลง พฤตกิ รรมกอ็ าจเปลยี่ นแปลงไดบ้ า้ งเนอื่ งจาก การเรยี นร้เู พอื่ ใหอ้ ย่รู อดในสภาพแวดล้อมทเี่ ปลีย่ นไปไดด้ ีย่งิ ขึ้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 261 ������ 1.8 พฤติกรรมที่พันธุกรรมมีบทบาทมากกว่าประสบการณ์มักเป็นพฤติกรรมท่ีเกิด จากการเรียนรู้ ข้อความทีผ่ ิดกรณีที่ 1 พฤติกรรมที่พันธุกรรมมีบทบาทมากกว่าประสบการณ์มักเป็นพฤติกรรมท่ีเกิด จากการเรยี นรู้ แกไ้ ขเป็น นอ้ ยกว่า ข้อความท่ีผดิ กรณที ี่ 2 พฤติกรรมที่พันธุกรรมมีบทบาทมากกว่าประสบการณ์มักเป็นพฤติกรรมท่ีเกิด จากการเรียนรู้ แกไ้ ขเปน็ พฤตกิ รรมที่เป็นมาแตก่ �ำ เนดิ ������ 1.9 พฤติกรรมท่ีมีแบบแผนแน่นอนเป็นพฤติกรรมท่ีเป็นมาแต่กำ�เนิด มีแบบแผน เฉพาะตวั และจะเหมือนกันในสตั วส์ ปชี สี ์นัน้ ������ 1.10 การฝังใจในสตั วส์ ามารถเกิดได้ทุกชว่ งของชวี ิต แก้ไขเปน็ ในทุกชว่ งของชีวิต แต่ต้องอยใู่ นระยะวิกฤติ ������ 1.11 แฮบิชูเอชันเป็นพฤติกรรมท่ีเป็นมาแต่กำ�เนิดที่สัตว์ลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้า เพราะสงิ่ เร้านน้ั ไมเ่ กดิ ประโยชน์หรอื โทษกับการดำ�รงชีวิตของตน ������ 1.12 การฝังใจเป็นพฤติกรรมของสัตว์แรกเกิดท่ีเรียนรู้ท่ีจะสร้างความผูกพันกับแม่ หรือสัตว์ที่มีอายุมากกว่า ช่วยให้ลูกได้รับประโยชน์ในเรื่องความคุ้มครองจาก อันตรายและการได้รบั อาหาร ������ 1.13 ผู้ฝึกจะใช้อาหารเป็นตัวกระตุ้นให้สัตว์ที่ถูกฝึกเพื่อการแสดงทำ�ตาม เป็น พฤติกรรมการลองผดิ ลองถูก ������1.14 สตั วท์ ี่มรี ะบบประสาทเจริญไม่ดี จะมกี ารแสดงพฤตกิ รรมทซี่ ับซอ้ นได้ ขอ้ ความที่ผดิ กรณที ่ี 1 สตั วท์ ีม่ รี ะบบประสาทเจรญิ ไมด่ ี จะมีการแสดงพฤติกรรมทีซ่ บั ซอ้ นได้ แก้ไขเปน็ ดี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
262 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 ข้อความทีผ่ ดิ กรณที ่ี 2 สัตว์ท่มี รี ะบบประสาทเจริญไมด่ ี จะมีการแสดงพฤติกรรมทซี่ บั ซ้อนได้ แก้ไขเปน็ ไมซ่ บั ซ้อน ������ 1.15 สนุ ขั เพศผจู้ ะพองขนและโกง่ ตวั เมอื่ พบกบั สนุ ขั เพศผตู้ วั อนื่ เปน็ การสอ่ื สารดว้ ย ทา่ ทาง 2. จงศกึ ษาพฤตกิ รรมของสัตวต์ อ่ ไปนีแ้ ละระบวุ ่าเปน็ พฤติกรรมแบบใด 2.1 ผเี สอ้ื กลางคนื ชนดิ หนง่ึ ขณะทก่ี �ำ ลงั บนิ เมอื่ ไดร้ บั สญั ญาณเสยี งความถส่ี งู ทป่ี ลอ่ ยออก มาโดยคา้ งคาวทเ่ี ป็นผู้ลา่ จะหบุ ปกี ทันทแี ละตกลงสพู่ ื้น เพื่อหลบหนจี ากผู้ลา่ ฟกิ ซแ์ อกชันแพทเทริ ์น 2.2 เม่ือชาวประมงส่องไฟจากบนเรือลงบนผิวน้ำ�ในคืนเดือนมืด จะพบแพลงตอนสัตว์ จำ�นวนมากมารวมกลุ่มกันท่ผี ิวน้ำ�บรเิ วณใตแ้ สงไฟ โอเรียนเทชนั 2.3 เมื่อฉายแสงไปยังพลานาเรีย พลานาเรียจะตอบสนองต่อแสงด้วยการยืดตัวยาวออก แตเ่ มอื่ กระตนุ้ ดว้ ยกระแสไฟฟา้ ออ่ น ๆ พลานาเรยี จะตอบสนองดว้ ยการหดตวั สนั้ เขา้ ถ้าให้แสงแล้วตามด้วยการปล่อยกระแสไฟฟ้าซำ้�หลายครั้ง พบว่าในท่ีสุดเมื่อให้แสง พลานาเรียจะยืดตวั และตามดว้ ยการหดตัวแม้ว่าจะยงั ไม่กระตนุ้ ดว้ ยกระแสไฟฟ้า การเช่ือมโยง 3. จงสบื คน้ พฤตกิ รรมของสตั วต์ อ่ ไปนแี้ ละบอกประโยชนท์ ส่ี ตั วไ์ ดร้ บั จากการแสดงพฤตกิ รรม 3.1 การชกั ใยของแมงมมุ แมงมุมจะมอี วยั วะสำ�หรับสรา้ งใยที่เรยี กว่า สปินเนอรเ์ ร็ท (spinnerets) ท้งั หมด 7 คู่ อยู่ที่บริเวณกลางหรือส่วนท้ายของลำ�ตัว และอวัยวะสำ�หรับสร้างใยแต่ละคู่จะมี ลักษณะแตกตา่ งกัน ท�ำ หนา้ ทสี่ รา้ งใยท่มี ลี กั ษณะแตกตา่ งกัน เชน่ สรา้ งใยทม่ี ลี ักษณะ บางเบา ท�ำ ใหส้ ามารถลอยตวั กลางอากาศเพอ่ื อพยพหาแหลง่ ทอ่ี ยใู่ หม่ เปน็ ประโยชน์ ตอ่ การแพรก่ ระจายพนั ธข์ุ องแมงมมุ โดยเมอื่ แมงมมุ ฟกั ตวั ออกจากไขก่ จ็ ะสรา้ งใยชนดิ น้ีขึ้นมาทำ�ให้สามารถลอยตัวกลางอากาศไปได้ไกลๆ สร้างใยท่ีมีลักษณะเหนียวใช้ ส�ำ หรบั จบั เหยอื่ ทผี่ า่ นเขา้ มาเพอ่ื เปน็ อาหาร สรา้ งใยทใ่ี ชส้ �ำ หรบั หอ่ หมุ้ เหยอื่ ท�ำ ใหเ้ หยอ่ื ไมส่ ามารถเคลือ่ นไหวได้ สร้างใยส�ำ หรบั หอ่ หมุ้ ถุงไข่ และสำ�หรบั เป็นเสน้ ทางการเดิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ 263 ทางของแมงมมุ และส�ำ หรับใชเ้ ปน็ ตัวส่งสญั ญาณบอกแรงสัน่ สะเทอื นเมื่อมเี หย่ือเข้า มาตดิ ทใ่ี ย เปน็ ต้น 3.2 การรวมฝงู ของปลา ปลาหลายชนิดอาศัยรวมกันเป็นฝูงใหญ่ เช่น ปลาซาร์ดีนว่ายนำ้�รวมเป็นฝูงไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั ท้งั ในแนวด่ิงและแนวระนาบ ซง่ึ มีผลดี เช่น ลดความเสย่ี งจากการถูก ล่า โดยผู้ล่าไม่สามารถพุ่งเป้าเพ่ือล่าปลาตัวใดตัวหนึ่งโดยตรงได้ นอกจากน้ีเมื่อปลา บางตวั ในฝงู ตรวจจบั ภยั คกุ คามทมี่ ตี อ่ ฝงู ปลาได้ ปลาเหลา่ นนั้ จะเคลอื่ นไหวเพอ่ื เตอื น ภัยอย่างรวดเร็ว ปลาตัวอ่ืนจะรับรู้การเตือนภัยได้จากอวัยวะรับความรู้สึก เช่น ตา และเส้นข้างลำ�ตัว 3.3 การท่แี มวถลู ำ�ตัวกบั เจ้าของหรือกบั สิ่งต่าง ๆ เปน็ พฤติกรรมท่ีแมวใช้ในการแสดงอาณาเขต และแสดงความเป็นเจา้ ของ เนือ่ งจาก แมวจะมีต่อมสร้างกลิ่นอยู่ที่โคนหางและตลอดความยาวของหาง และด้านข้างของ ส่วนหัว บริเวณริมฝีปาก คาง บริเวณใกล้อวัยวะเพศ และอุ้งเท้าด้านหน้า เม่ือแมว แสดงพฤติกรรมดังกลา่ วอาจท้งิ รอยสเี ทาดำ�มีลักษณะเปน็ คราบมนั 3.4 การเดนิ ตามกันของมด มดจะมกี ารเดนิ ตามกนั เปน็ แถวในทศิ ทางเดยี วกนั พฤตกิ รรมนเี้ รม่ิ ตน้ จากมมี ดตวั แรก หรือกลุ่มแรกๆเดินไปพบกับแหล่งอาหาร โดยมดเหล่าน้ีจะมีการหล่ังฟีโรโมนลงตาม ทางที่เดินจากรังไปสู่แหล่งอาหารเพ่ือนำ�ทางมดตัวอื่น ๆ จากรังไปสู่แหล่งอาหารน้ัน เพื่อขนอาหารกลับเข้ารัง ซ่ึงเป็นการสื่อสารด้วยสารเคมีกับมดตัวอื่น นอกจากนี้เมื่อ สงั เกตดใู กล ้ ๆ จะพบว่า จะมมี ดบางตวั ทเ่ี ดนิ สวนกนั บนเสน้ การเดนิ เดยี วกนั โดยพบ วา่ จะมกี ารใชห้ นวดแตะกบั มดทเ่ี ดนิ สวนกนั เปน็ การสอ่ื สารกนั โดยใชก้ ารสมั ผสั และ อาจเปน็ การตรวจสอบดว้ ยวา่ เป็นสมาชกิ จากกล่มุ หรอื รงั เดยี วกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
264 บทที่ 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชวี วิทยา เล่ม 5 4. นกั เรยี นคนหนงึ่ ทดลองโดยใชก้ ลอ่ งรปู ตวั ที (T) ซงึ่ ใสน่ �้ำ ไวเ้ ตม็ ปลายดา้ นหนงึ่ มกี ระแสไฟฟา้ อ่อน ๆ ดังรูป ก. นำ�พลานาเรียใส่ในกล่องเพ่ือสังเกตการเคล่ือนที่ว่าจะเลือกไปในทางใด โดยทำ�การทดลอง 10 ครง้ั ในแต่ละวันเปน็ เวลา 7 วัน บนั ทกึ ผลการทดลองไดด้ ังกราฟใน รปู ข. ขวั้ ไฟฟา พลานาเรีย จำนวนค ัร้ง ีท่พลานาเ ีรย 10 7 เ ืลอกไปทาง ดาน ี่ท ีมกระแสไฟ ฟา 9 ก. 8 7 6 5 4 3 2 1 01 2 3 4 5 6 วันที่ทำการทดลอง ข. จากข้อมูลขา้ งตน้ จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี 4.1 การแสดงพฤติกรรมของพลานาเรีย จัดเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด เป็นพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้แบบการลองผิดลองถูก เพราะพลานาเรียไม่รู้ว่า ด้านใดมีกระแสไฟฟา้ และเม่ือไปผิดทางในครั้งแรก ๆ กย็ ังไมส่ ามารถจดจ�ำ ได้แตเ่ มือ่ ผิดหลายคร้งั จงึ เรียนรวู้ ่าไปผิดทางและถูกลงโทษ 4.2 ถา้ หยดุ ท�ำ การทดลองเมอื่ ครบ 7 วนั แลว้ อกี 5 วนั ตอ่ มาน�ำ พลานาเรยี ตวั เดมิ มาท�ำ การ ทดลองอีก จำ�นวนคร้ังท่ีพลานาเรียเลือกเคลื่อนที่ไปทางด้านท่ีมีกระแสไฟฟ้าจะ แตกตา่ งจากวนั ท่ี 7 ของการทดลองครงั้ แรกหรือไม่อย่างไร เพราะเหตุใด จำ�นวนครัง้ ทพ่ี ลานาเรียเลือกไปด้านท่มี กี ระแสไฟฟ้าอาจเพิม่ ขนึ้ เพราะพลานาเรียมี ระบบประสาทไม่เจริญดจี ึงอาจจ�ำ ไมไ่ ดว้ ่าดา้ นใดมีกระแสไฟฟา้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสตั ว์ 265 5. เมอื่ น�ำ ผลองนุ่ ทเ่ี รม่ิ เนา่ ใสล่ งในจาน 1 เพาะเช้ือที่มีลักษณะแตกต่างกัน 5 ชดุ แลว้ ปลอ่ ยแมลงหวี่ 20 ตวั ซงึ่ 5 2 อยู่ห่างจากจานเพาะเชื้อแต่ละชุด 4 เป็นระยะทาง 5 เมตร ดงั รูป 5 เมตร แมลงหวี่ 3 เม่ือเวลาผ่านไป 30 วินาที นับจำ�นวนแมลงหวี่ท่ีอยู่รอบจานเพาะเช้ือ และนับอีกคร้ังเม่ือ เวลาผ่านไป 10 นาที ไดผ้ ลการทดลองดังน้ี ลักษณะของจานเพาะเช้ือ จ�ำ นวนแมลงหว่ที ี่อยรู่ อบจานเพาะเชือ้ (ตวั ) 30 วนิ าทหี ลงั จากปล่อย 10 นาทหี ลังจากปล่อย 1. แก้วใส และเปดิ ฝาดา้ นบน 2. แกว้ ใส และปดิ ฝาสนทิ 7 17 3. แ ก้วใส และปิดฝาด้านบนไว้ด้วย 00 72 ตาขา่ ยทมี่ ีชอ่ งขนาดเล็ก 4. แก้วสีทึบ และปิดฝาสนิท 00 5. แ กว้ สที บึ และปิดฝาดา้ นบนไว้ด้วย 61 ตาขา่ ยท่มี ชี อ่ งขนาดเล็ก จากขอ้ มูลข้างตน้ จงตอบคำ�ถามต่อไปน้ี 5.1 สิง่ เร้าท่ที ำ�ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการเคลอ่ื นที่ของแมลงหว่ีคืออะไร กล่นิ ขององ่นุ ทเี่ รม่ิ เน่า 5.2 พฤตกิ รรมการเคลื่อนทีข่ องแมลงหวี่เป็นพฤตกิ รรมแบบใด โอเรียนเทชัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
266 บทที่ 22 | พฤติกรรมของสัตว์ ชีววิทยา เลม่ 5 5.3 จำ�นวนแมลงหวีท่ ่เี ปลย่ี นแปลงไปใน 10 นาทีหลังจากปลอ่ ย ควรมีสาเหตจุ ากอะไร จานเพาะเชอ้ื หมายเลข 3 และ 5 น้ันในช่วง 30 วนิ าทแี รกแมลงหว่ยี ังไดก้ ลนิ่ ขององุ่น ที่เริ่มเน่าอยู่ เพราะใชต้ าขา่ ยปดิ ฝาดา้ นบนไวซ้ ่ึงกลน่ิ ขององุน่ ทเ่ี ร่มิ เนา่ ยงั คงผา่ นออก มาได้ แมลงหว่ีบางสว่ นจงึ มาเกาะอยู่ทีร่ อบจานเพาะเชอื้ หมายเลข 3 และ 5 แต่เมอื่ เวลาผา่ นไป 10 นาที จำ�นวนแมลงหว่ีท่อี ยรู่ อบจานเพาะเชอื้ หมายเลข 3 และ 5 น้อย ลง เนอื่ งจากยา้ ยไปจานเพาะเชอ้ื หมายเลข 1 มากข้ึน เพราะเปิดฝาด้านบนไว้และมี อาหารอยู่ แมลงหว่ีจงึ เข้าถงึ องนุ่ ทเ่ี รมิ่ เนา่ ได้ ส�ำ หรบั จานเพาะเช้อื หมายเลข 2 และ 4 นั้นถูกปิดฝาไว้สนิท แมลงหว่ีไม่ได้กล่ินขององุ่นท่ีเริ่มเน่า จึงไม่พบแมลงหวี่เกาะอยู่ รอบจานเพาะเชอื้ หมายเลข 2 และ 4 6. มดฤดูหนาว (Prenolepis imparis) พบได้ทั่วไปในทวีปอเมริกาเหนือ และเป็นมดท่ีทำ�รัง อยใู่ ตด้ นิ ในระดบั ลกึ นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดศ้ กึ ษาพฤตกิ รรมการเคลอื่ นทขี่ องมดชนดิ น้ี โดยนบั จำ�นวนมดที่พบบนพ้ืนดินทั้งหมดในรัศมี 10 เซนตเิ มตรจากปากทางเข้ารงั ท่ชี ว่ งอุณหภูมิ แตกต่างกนั ได้ผลการศกึ ษาดังน้ี อุณหภมู ิ (องศาเซลเซียส) จำ�นวนมดทพี่ บในการนบั แต่ละครัง้ (ตัว) 0-2 2 5-7 23 10-12 32 15-17 27 22-24 9 27-29 1 6.1 สิง่ เรา้ ท่ที �ำ ใหเ้ กิดพฤติกรรมการเคลือ่ นทีข่ องมดไปยังปากรงั คืออะไร อณุ หภูมิ 6.2 พฤตกิ รรมของมด จดั เปน็ พฤตกิ รรมแบบใด โอเรยี นเทชัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 22 | พฤติกรรมของสัตว์ 267 6.3 มดมกี ารตอบสนองต่อสงิ่ เร้าน้ีอย่างไร มดตอบสนองต่ออุณหภูมิในช่วง 10 - 12 องศาเซลเซียส มากท่ีสุด โดยออกจากรัง อาจเปน็ เพราะชว่ งอณุ หภมู นิ สี้ ตั วท์ เี่ ปน็ อาหารของมดชนดิ นอี้ อกมาอยบู่ รเิ วณดงั กลา่ ว คอ่ นขา้ งมากดว้ ย 6.4 ระหว่างฤดูร้อน (อุณหภูมิเฉล่ีย 24 องศาเซลเซียส) กับฤดูใบไม้ผลิ (อุณหภูมิเฉล่ีย 12 องศาเซลเซยี ส) ฤดใู ดท่ีมโี อกาสพบมดบนผิวดนิ มากกวา่ กนั เพราะเหตุใด ฤดใู บไมผ้ ลิ เพราะมอี ุณหภูมเิ ฉลีย่ 12 องศาเซลเซียส ซ่ึงเป็นช่วงอุณหภูมิท่ีเหมาะสม ตอ่ การดำ�รงชวี ิตของมดชนิดน้ี 7. นกตด๊ิ วลิ โลวส์ (Parus montanus) พบไดท้ วั่ ไปในเขตเมอื งของประเทศฟนิ แลนด์ ซงึ่ มกั จะ อยรู่ วมเปน็ ฝงู ใหญ่ นกภายในฝงู มกั จะท�ำ หนา้ ทรี่ ะวงั ภยั ใหก้ บั ฝงู โดยการสง่ เสยี งเตอื นเมอื่ มสี ่ิงท่ีเป็นภยั คุกคามตอ่ ฝงู นก นกตัวเตม็ วัยสามารถปรบั ตัวใหอ้ ยูก่ ับมนุษยไ์ ด้ สามารถกิน อาหารที่มนุษย์วางไว้ และไม่แสดงอาการกลัวมนุษย์ แม้จะมีนกบางตัวในฝูงส่งเสียงเตือน นักวิทยาศาสตร์ได้เก็บข้อมูลการตอบสนองของนกตัวเต็มวัยและนกวัยอ่อนต่อเสียงเตือน โดยใช้วิธีอัดเสียงเตือนของนกสปีชีส์นี้แล้วมาเปิดให้นกตัวเต็มวัย 25 ตัว และนกวัยอ่อน 30 ตัว ซ่ึงอาศัยอยู่บริเวณพุ่มไม้ในเขตเมือง โดยวางลำ�โพงซึ่งเปิดเสียงร้องของนกท่ีอัดไว้ เป็นระยะทาง 5 เมตรจากพมุ่ ไม้ แล้วบันทึกพฤติกรรมท่แี สดงออก ไดผ้ ลการศกึ ษาดังนี้ การแสดงออกของพฤติกรรม (รอ้ ยละ) พฤตกิ รรมของนก นกตวั เตม็ วยั นกวยั ออ่ น บินหนีเขา้ พ่มุ ไม้ 42 79 บนิ หนีออกจากพุ่มไม้ 5 10 ไม่ตอบสนองต่อเสยี งเตือน 53 11 7.1 การแสดงพฤติกรรมของนกตวั เต็มวัยเป็นพฤติกรรมแบบใด แฮบชิ เู อชนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
268 บทท่ี 22 | พฤตกิ รรมของสตั ว์ ชีววิทยา เล่ม 5 7.2 นกตัวเตม็ วยั ตอบสนองตอ่ เสียงเตอื นอยา่ งไร แตกต่างจากนกวัยอ่อนหรอื ไม่ อยา่ งไร นกตัวเต็มวัยส่วนใหญ่ตอบสนองต่อเสียงเตือนน้อยกว่านกท่ีมีอายุน้อย เพราะมี ประสบการณ์ว่าเสียงเตือนท่ีได้ยินไม่ได้ตามมาด้วยอันตรายจึงลดการตอบสนองต่อ เสียงเตือน 8. นกั วทิ ยาศาสตรท์ ดลองผสมฟโี รโมนชนดิ A และฟโี รโมนชนดิ B ในอตั ราสว่ นทแ่ี ตกตา่ งกนั เพ่ือพัฒนากับดักล่อผีเส้ือกลางคืนสปีชีส์หนึ่งซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืช โดยนำ�กับดักท่ีใส่ ฟโี รโมนทงั้ สองชนดิ นไ้ี ปวางลอ่ ผเี สอ้ื กลางคนื ในพนื้ ทเี่ ปดิ แลว้ นบั จ�ำ นวนผเี สอื้ กลางคนื ทมี่ า ติดกับดกั ไดผ้ ลการศึกษาดังน้ี กบั ดกั ชดุ ท่ี อัตราสว่ นฟโี รโมน (A : B) จำ�นวนผเี สื้อกลางคืนเฉล่ยี ทต่ี ดิ กบั ดกั (ตัว/วนั ) 1 2 97 : 3 45 3 3 : 97 3 4 35 : 65 7 ไม่ใช้ฟีโรโมน 0 8.1 จากผลการศึกษา กับดักแต่ละชุดมีประสิทธิภาพในการล่อผีเส้ือกลางคืนแตกต่างกัน หรือไม่ อย่างไร แตกต่างกัน กับดักชุดที่มีปริมาณฟีโรโมนชนิด A มากกว่าจะสามารถล่อผีเสื้อกลาง คนื มาตดิ กับดกั ได้มากกวา่ 8.2 ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรและต้องการลดการระบาดของผีเส้ือกลางคืนชนิดนี้ จะใช้ กบั ดกั ชุดใด เพราะเหตใุ ด กับดกั ชุดที่ 1 เพราะสามารถดักผเี ส้อื กลางคนื ชนดิ นีไ้ ดม้ ากทสี่ ุด 8.3 ถ้าใช้ฟีโรโมนท้ังสองชนิดน้ีในอัตราส่วน ฟีโรโมนชนิด A : ฟีโรโมนชนิด B เท่ากับ 65 : 35 จำ�นวนผีเส้ือกลางคนื ที่มาตดิ กบั ดักน้ีควรเปน็ อยา่ งไร ควรดักได้มากกว่า 7 ตวั และอาจดกั ไดน้ ้อยกว่า 45 ตวั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก
270 ภาคผนวก ชวี วทิ ยา เลม่ 5 ตวั อยา่ งเครือ่ งมอื วดั และประเมินผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะของ แบบทดสอบ รวมท้งั ขอ้ ดีและขอ้ จำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ ประโยชนใ์ นการสร้างหรอื เลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและ ขอ้ จ�ำ กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เป็นดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเปน็ ดังนี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เป็นแบบทดสอบที่มีการกำ�หนดตัวเลือกให้หลายตัวเลือก โดยมีตัวเลือกที่ถูกเพียงหนึ่ง ตัวเลอื ก องคป์ ระกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 สว่ น คอื คำ�ถามและตวั เลอื ก แต่บางกรณีอาจมีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลาย รปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำ ถาม 2 ช้ัน โครงสรา้ งดงั ตัวอย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเด่ียวทไ่ี ม่มสี ถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 5 ภาคผนวก 271 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเป็นชุด สถานการณ์…………………………………………………………….. คำ�ถามท่ี 1 …………………………………………………………….. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …………………………………………………………….. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
272 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 5 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …(ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามท่ี 1)…… …………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………...... แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุมเนื้อหา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ได้ นอกจากน้นี กั เรียนทีไ่ มม่ คี วามรูส้ ามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผดิ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ ักเรยี นพิจารณาวา่ ถูกหรือผิด ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ ค�ำ ส่ัง ให้พิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปนถ้ี ูกหรือผิด แล้วใสเ่ ครอื่ งหมาย √ หรือ × หน้าข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 2. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 5 ภาคผนวก 273 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี ามารถสรา้ งไดง้ า่ ย รวดเรว็ และครอบคลมุ เนอื้ หา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเนอ้ื หาทำ�ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทเี่ ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชดุ ทใี่ หจ้ บั คกู่ นั โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเป็นค�ำ ตอบหรอื ตัวเลือก โดยจำ�นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกว่าในชุด ที่ 1 ดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจบั คู่ คำ�สง่ั ใหน้ ำ�ตัวอกั ษรหน้าข้อความในชุดค�ำ ตอบมาเติมในชอ่ งว่างหน้าข้อความในชุดคำ�ถาม ชุดคำ�ถาม ชุดค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนสี้ รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะส�ำ หรบั วัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียนจับคู่ผิด ไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ กี ารจับคผู่ ดิ ในคู่อ่ืน ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบที่มี การตอบแต่ละแบบเป็นดังนี้ 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ ค�ำ หรอื ตอบอย่างส้นั ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สงิ่ ท่กี ำ�หนดคำ�ตอบใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
274 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เลม่ 5 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทนี่ กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถูกต้องหรอื ยอมรบั ได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทตี่ อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกัน โดยค�ำ ถามเป็นคำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรูปแบบนี้ให้อิสระแก่นักเรียนในการตอบจึงสามารถใช้วัดความคิดระดับสูงได้ แต่เนื่องจากนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดและเขียนคำ�ตอบมาก ทำ�ให้ถามได้น้อยข้อ จึงอาจทำ�ให้ วดั ไดไ้ มค่ รอบคลมุ เน้ือหาทัง้ หมด รวมท้ังตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจให้คะแนนอาจไม่ตรงกนั แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไปจะ ประเมนิ 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบตั กิ ารทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครื่อง มอื ทใี่ ชป้ ระเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลอง รายการที่ตอ้ งส�ำ รวจ ผลการสำ�รวจ การวางแผนการทดลอง มี ไมม่ ี การทดลองตามข้ันตอน (ระบุจ�ำ นวนคร้งั ) การสงั เกตการทดลอง การบนั ทึกผล การอภปิ รายผลการทดลอง ก่อนลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 5 ภาคผนวก 275 ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารทดลองทีใ่ ชก้ ารให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง คะแนน 321 การเลอื กใช้อปุ กรณ์/ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลอื กใชอ้ ุปกรณ/์ เคร่อื งมือในการทดลอง เครือ่ งมอื ในการทดลองได้ เครื่องมอื ในการทดลองได้ เครื่องมือในการทดลอง ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน ถกู ตอ้ งแต่ไม่เหมาะสมกบั ไมถ่ กู ตอ้ ง งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ ใช้อปุ กรณ/์ เครื่องมอื ใน ใชอ้ ุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ใน ใชอ้ ปุ กรณ์/เครื่องมือใน เครื่องมือในการทดลอง การทดลองไดอ้ ยา่ ง การทดลองไดถ้ ูกตอ้ งตาม การทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว และถูกต้อง หลักการปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ การทดลองตามแผนที่ ตามหลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคลว่ ก�ำ หนด ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ทดลองตามวธิ กี ารและ ขนั้ ตอนทกี่ �ำ หนดไว้อย่าง ขัน้ ตอนท่กี ำ�หนดไว้ มกี าร ข้ันตอนท่ีกำ�หนดไว้หรอื ถูกตอ้ ง มีการปรับปรุง ปรับปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ดำ�เนินการขา้ มขัน้ ตอนที่ แกไ้ ขเปน็ ระยะ กำ�หนดไว้ ไม่มกี าร ปรับปรงุ แก้ไข ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลองทีใ่ ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ 1. วางแผนการทดลองอยา่ งเป็นขั้นตอน 321 2. ป ฏบิ ตั กิ ารทดลองได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว สามารถเลอื กใช้ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 อปุ กรณ์ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และจดั วางอุปกรณ์เปน็ หมายถึง หมายถึง หมายถึง ระเบียบ สะดวกตอ่ การใช้งาน ปฏบิ ัติได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 3. บันทกึ ผลการทดลองได้ถูกตอ้ งและครบถ้วนสมบรู ณ์ 3 ขอ้ 2 ข้อ 1 ขอ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
276 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 5 ตัวอย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 32 1 เขียนรายงานตามลำ�ดบั ขนั้ ตอน เขียนรายงานการทดลอง เขียนรายงานโดยลำ�ดบั ขน้ั ตอน ผลการทดลองตรงตามสภาพจรงิ ตามล�ำ ดบั แต่ไม่สือ่ ความหมาย ไม่สอดคลอ้ งกัน และสื่อความหมาย และไม่สือ่ ความหมาย แบบประเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทปี่ รากฏให้เห็นในลกั ษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ช้ี ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เคร่ืองมือท่ใี ช้ประเมนิ คุณลักษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่างแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ค�ำ ช้ีแจง จงท�ำ เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องว่างที่ตรงกับคณุ ลักษณะทีน่ กั เรียนแสดงออก โดยจำ�แนกระดับพฤตกิ รรม การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นอย่างสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เป็นครง้ั คราว นอ้ ย หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นักเรียนไมแ่ สดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านนั้ เลย รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ดา้ นความอยากรอู้ ยากเห็น มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. นักเรียนสอบถามจากผรู้ หู้ รอื ไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ แสดงออก เมือ่ เกดิ ความสงสัยในเรอื่ งราววิทยาศาสตร์ 2. น ักเรยี นชอบไปงานนทิ รรศการวิทยาศาสตร์ 3. น กั เรยี นนำ�การทดลองที่สนใจไปทดลองตอ่ ท่ีบ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 5 ภาคผนวก 277 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก ด้านความซอื่ สัตย์ มาก ปานกลาง น้อย ไมม่ กี าร 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามทีท่ ดลองได้จรงิ แสดงออก 2. เมื่อทำ�การทดลองผดิ พลาด นกั เรียนจะลอก ผลการทดลองของเพือ่ นส่งครู 3. เมื่อครมู อบหมายใหท้ �ำ ช้นิ งานออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ นกั เรยี นจะประดิษฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยู่ในหนงั สือ ด้านความใจกวา้ ง 1. แมว้ ่านกั เรยี นจะไมเ่ ห็นด้วยกบั การสรุปผลการทดลอง ในกลุ่ม แตก่ ย็ อมรับผลสรุปของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพือ่ นแย้งวธิ ีการทดลองของนกั เรียนและมเี หตผุ ลท่ี ดีกวา่ นกั เรยี นพรอ้ มท่จี ะน�ำ ขอ้ เสนอแนะของเพื่อนไป ปรับปรงุ งานของตน 3. เมื่องานทีน่ ักเรียนตัง้ ใจและทุ่มเทท�ำ ถูกตำ�หนหิ รอื โต้แย้ง นกั เรียนจะหมดกำ�ลังใจ ด้านความรอบคอบ 1. นกั เรียนสรุปผลการทดลองทันทเี ม่อื เสร็จสิน้ การทดลอง 2. นักเรยี นท�ำ การทดลองซ้�ำ ๆ ก่อนทีจ่ ะสรปุ ผล การทดลอง 3. น กั เรยี นตรวจสอบความพรอ้ มของอุปกรณ์ก่อนทำ� การทดลอง ด้านความมงุ่ มัน่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานคน้ คว้าทีท่ ำ�อยมู่ ีโอกาสส�ำ เร็จได้ยาก นกั เรียนจะยงั คน้ ควา้ ต่อไป 2. น ักเรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เม่อื ผลการทดลอง ทีไ่ ด้ขดั จากท่เี คยไดเ้ รยี นมา 3. เมือ่ ทราบวา่ ชุดการทดลองท่นี กั เรยี นสนใจต้องใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นักเรยี นกเ็ ปลยี่ นไป ศึกษาชดุ การทดลองท่ีใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
278 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 5 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก เจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. น กั เรยี นนำ�ความรูท้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใชแ้ กป้ ญั หาใน แสดงออก ชวี ิตประจำ�วนั อยูเ่ สมอ 2. นกั เรียนชอบทำ�กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั วทิ ยาศาตร์ 3. นกั เรียนสนใจตดิ ตามขา่ วสารที่เกี่ยวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ วิธีการตรวจใหค้ ะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตวั เลอื กในชอ่ งตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความท่ีมคี วามหมายเป็นทางบวก ก�ำ หนดให้คะแนนแต่ละขอ้ ความดังน้ี ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 สว่ นของขอ้ ความทมี่ คี วามหมายเปน็ ทางลบการก�ำ หนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะขอ้ ความจะ มีลกั ษณะเป็นตรงกันขา้ ม การประเมนิ การนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอื่น คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ดา้ นการเขยี นโดยใช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดังตัวอย่างต่อไปน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ภาคผนวก 279 ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ เน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรุง เน้ือหาถูกต้องแต่ให้สาระสำ�คัญน้อยมาก และ พอใช้ ไมร่ ะบุแหล่งท่ีมาของความรู้ เน้ือหาถกู ตอ้ ง มีสาระสำ�คญั แต่ยงั ไม่ครบถ้วน มี ดี การระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุ ดีมาก แหลง่ ท่มี าของความรู้ชัดเจน ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุด ประสงค์ ขาดการเช่ือมโยงเน้ือหาบางส่วน พอใช้ ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสม และสะกดคำ�ไม่ถูกต้อง ไม่อ้างอิงแหล่งท่ีมาของ ดี ความรู้ เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มีรายละเอียด ไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียบเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง ใช้ภาษา ถูกตอ้ ง อา้ งองิ แหล่งทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของ เร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมาของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็น สำ�คัญทั้งหมด เน้ือหาบางตอนเรียบเรียงไม่ ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหล่งทีม่ าของ ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
280 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 5 รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดีมาก เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความส�ำ คญั และทมี่ าของปญั หา จดุ ประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ 2) การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เป็นการประเมินเพื่อต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใช้พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในสว่ นน้ัน ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มีตัวอย่างดังน้ี ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการวางแผน ต้องปรับปรุง พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ต่ไม่ ดี ตรงกับประเด็นปัญหาทีต่ ้องการเรียนรู้ ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เปน็ บางสว่ น ออกแบบครอบคลมุ ประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เป็นส่วนใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน ออกแบบไดค้ รอบคลุมทุกประเด็นส�ำ คญั ของ ปญั หาอย่างเป็นขน้ั ตอนทช่ี ดั เจนและตรงตาม จดุ ประสงคท์ ี่ต้องการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เลม่ 5 ภาคผนวก 281 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการด�ำ เนนิ การ ต้องปรบั ปรงุ ด�ำ เนนิ การไมเ่ ป็นไปตามแผน ใช้อปุ กรณ์และสอ่ื ประกอบถูกตอ้ งแตไ่ มค่ ล่องแคล่ว พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละส่ือ ดี ประกอบถกู ตอ้ งแต่ไม่คล่องแคล่ว ด�ำ เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อปุ กรณ์และสือ่ ดมี าก ประกอบการสาธติ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทันเวลา ผลงานในบางขั้นตอนไม่เป็นไปตามจุด ต้องปรบั ปรุง ประสงค์ พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ุปกรณ์และสื่อ ดี ประกอบไดถ้ ูกต้อง คล่องแคลว่ และเสรจ็ ทัน ดีมาก เวลา ผลงานทกุ ขัน้ ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ ดา้ นการอธิบาย อธิบายไม่ถกู ต้อง ขัดแยง้ กบั แนวคดิ หลักทาง วิทยาศาสตร์ อธิบายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธบิ ายเปน็ แบบพรรณนาทวั่ ไปซ่ึงไม่ ค�ำ นงึ ถงึ การเช่ือมโยงกบั ปัญหาทำ�ให้เขา้ ใจยาก อธิบายโดยอาศยั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปัญหาแต่ขา้ มไปในบางขัน้ ตอน ใชภ้ าษาได้ถูกตอ้ ง อธบิ ายตามแนวคดิ หลักทางวทิ ยาศาสตร์ ตรง ตามประเด็นของปญั หาและจุดประสงค์ ใช้ ภาษาได้ถกู ต้องเข้าใจงา่ ย ส่อื ความหมายได้ ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
282 บรรณานุกรม ชีววทิ ยา เลม่ 5 บรรณานกุ รม ช่อผกา วิจิตรตระกูลชัย, ประทีป ด้วงแค และวิจักขณ์ ฉิมโฉม. (2558). ลักษณะเสียงร้องของชะนี มือขาวเพศผู้ (Hylobates lar) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี. วารสาร สตั ว์ป่าเมืองไทย, 22 (1), 191-202. ไพศาล สทิ ธกิ รกลุ และศิวาพร ลงยนั ต์. (2557). กายวภิ าคของสัตวไ์ มม่ ีกระดกู สันหลงั Anatomy of The Invertebrates (พิมพ์ครงั้ ท่ี 1). กรุงเทพฯ : บริษัท ซัคเซสพับลเิ คชน่ั . ราชบัณฑิตยสภา. (2546). ศัพท์วิทยาศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พมิ พ์ครงั้ ที่ 5 แก้ไขเพ่มิ เตมิ ). กรงุ เทพฯ : หา้ งหุ้นส่วนจ�ำ ากดั อรุณการพิมพ์. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 9). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รง้ั ที่ 8). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สุนทร โสตถิพันธ์ุ. (2534). พฤติกรรมของสัตว์. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 167 หน้า. สำ�นักงานราชบัณฑิตยสถาน. (2560). พจนานุกรมศัพท์พันธุศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (พมิ พ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ นจำ�กดั อรณุ การพิมพ.์ Alcock, J. (2013). Animal behavior: An evolutionary approach (10th ed.). Sunderland, MA, US: Sinauer Associates. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 5 บรรณานุกรม 283 Barrett, C. E., Keebaugh, A. C., Ahern, T. H., Bass, C. E., Terwilliger, E. F., & Young, L. J. (2013). Variation in vasopressin receptor (Avpr1a) expression creates diversity in behaviors related to monogamy in prairie voles. Hormones and behavior, 63(3), 518-526. Batsell, W. R. (2012). Taste Aversion Learning. In: Seel N. M. (eds) Encyclopedia of the Sciences of Learning. Springer, Boston, MA. Blamires, S. J., Zhang, S., & Tso, I. M. (2017). Webs: Diversity, Structure and Function. In Behaviour and Ecology of Spiders (pp. 137-164). Springer, Cham. Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Reece, J. B. (2018). Biology: A global approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Chen, L. C., & Martinich, R. L. (1975). Pheromonal stimulation and metabolite inhibition of ovulation in the zebrafish, Brachydanio rerio. Fishery Bulletin 73(4), 889-893. Covino, K. M., Morris, S. R., & Moore, F. R. (2015). Patterns of testosterone in three Nearctic–Neotropical migratory songbirds during spring passage. General and comparative endocrinology, 224, 186-193. Gill, F. B. (1995). Ornithology. New York: W.H. Freeman. Griffin, A. S., Blumstein, D. T., & Evans, C. S. (2000). Training captive‐bred or translocated animals to avoid predators. Conservation biology, 14(5), 1317-1326. Johnson, G. B., & Losos, J. B. (2017). Essentials of the living world (10th ed). New York: McGraw-Hill. Kardong, V.K. (2019). Vertebrates: Comparative Anatomy Evolution (8th ed). New York: McGraw-Hill. Krebs, J. R., & Davies, N. B. (2009). Behavioural Ecology: An Evolutionary Approach. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
284 บรรณานุกรม ชีววิทยา เลม่ 5 Mader, S. S., Windelspecht, M. (2016). Biology (12th ed). New York: McGraw-Hill Education. Martin, P., & Bateson, P. (2007). Measuring behaviour: an introductory guide. Cambridge University Press. Nation Sr, J. L. (2015). Insect physiology and biochemistry. CRC press. Powell, D. (2008). Methods for Animal Behavior Research [DVD]. New York: Wildlife Conservation Society. Rajala, M., Rätti, O., & Suhonen, J. (2003). Age differences in the response of willow tits (Parus montanus) to conspecific alarm calls. Ethology, 109(6), 501-509. Reece, J. B., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Jackson, R. B. (2014). Biology (10th ed). Boston: Pearson. Rossi, M. Cicconofri, G., Beran, A., Noselli, G., and DeSimone, A. (2017). Kinematics of flagellar swimming in Euglena gracilis.: Helical trajectories and flagellar shapes. PNAS, 114(50), 13085-13090. Sadava, D. E., Heller, H. C., Purves, W. K., Orians, G. H., & Hillis, D. M. (2008). Life: The science of biology. New York: W.H. Freeman. Saladin, K.S. (2018). Anatomy & Physiology : The Unity of Form and Function (8th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Shier, D., Butler, J., & Lewis, R. (2009). Hole’s essential of Human Anatomy & Physiology (10th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Skinner, B. F. (1938). The Behavior of Organisms: An Experimental Analysis. Cambridge, Massachusetts: B.F. Skinner Foundation. Soldati, F., Burman, O. H., John, E. A., Pike, T. W., & Wilkinson, A. (2017). Long-term memory of relative reward values. Biology letters, 13(2), 20160853. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บรรณานุกรม 285 Talbot, M. (1943). Response of the ant Prenolepis imparis Say to temperature and humidity Changes. Ecology, 24(3), 345–352. Thom, C., Gilley, D., Hooper, J., & Esch, H. (2007). The scent of the waggle dance. PLoS Biology. 5 (9): e228. Tinbergen, N., & Perdeck, A. C. (1950). On the stimulus situation releasing the begging response in the newly hatched Herring Gull chick (Larus argentatus argentatus Pont.). Behaviour, 3, 1-39. VanPutte, C., Regan, J., Russo, A., Seeley, R., Stephen, T., Tate, P. (2017). Seeley’s Anatomy & Physiology (11th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Webster, R. P., Charlton, R. E., Schal, C., & Cardé, R. T. (1986). High-efficiency pheromone trap for the European corn borer (Lepidoptera: Pyralidae). Journal of economic entomology, 79(4), 1139 -1142. Widmaier, E.P., Raff, H., Strang, K. T. (2016). Vander’s Human Physiology: The Mechanisms of Body Function (14th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
286 คณะกรรมการจัดทำ�คู่มือครู ชวี วทิ ยา เล่ม 5 คณะกรรมการจดั ท�ำ ค่มู อื ครู รายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา เลม่ 5 ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คณะทป่ี รึกษา ผู้อำ�นวยการ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. ศ.ดร.ชกู ิจ ลิมปิจ�ำ นงค ์ ผชู้ ว่ ยผูอ้ �ำ นวยการ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. ดร.วนิดา ธนประโยชนศ์ กั ดิ์ คณะผจู้ ดั ทำ�ค่มู อื ครู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เลม่ 5 1. รศ.ดร. ธรี พงษ์ บัวบชู า จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธกิ รกลุ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ 3. นายธีรพฒั น์ เวชชประสทิ ธ์ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. รศ.ดร.วรี ะวรรณ สทิ ธกิ รกลุ ผู้อ�ำ นวยการสาขาเคมีและชวี วิทยา 5. นางเพช็ รรัตน์ ศรีวลิ ัย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. ผศ.ดร.พชั นี สิงห์อาษา ผเู้ ชี่ยวชาญ 7. นายณรงค์ พ่วงศรี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. ดร.สนุ ัดดา โยมญาต ิ ผเู้ ชย่ี วชาญ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ช�ำ นาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ำ�นาญ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญสาขาเคมีและชวี วทิ ยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 5 คณะกรรมการจดั ท�ำ คู่มอื ครู 287 9. นางสาววลิ าส รตั นานกุ ูล นักวชิ าการอาวโุ สสาขาเคมีและชวี วิทยา 10. ดร.นันทยา อัครอารยี ์ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11. นางสาวปาณิก เวียงชยั นกั วชิ าการสาขาเคมแี ละชีววทิ ยา 12. ดร.ธเณศ เกิดแก้ว สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วิชาการสาขาเคมีและชวี วทิ ยา สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วชิ าการสาขาเคมแี ละชีววทิ ยา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผรู้ ว่ มพิจารณาคูม่ อื ครู รายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วิทยา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 5 1. ผศ.ดร.ชชั วาล ใจซ่ือกุล จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2. ผศ.ดร.นพดล กิตนะ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 3. ผศ.ดร.อาจอง ประทตั สนุ ทรสาร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. อ.ดร.สพ.ญ.วัชราภรณ์ ตยิ ะสัตยก์ ลุ โกวทิ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 5. นางกลั ยารตั น์ นาคีย ์ โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.สกลนคร 6. นางสาวจันทรสั ม์ สัตตรัตนขจร โรงเรยี นเสริมงามวทิ ยาคม จ.ล�ำ ปาง 7. นางสาวจนั ทรา เป็นสขุ โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ จ.สรุ นิ ทร์ 8. นางสาวจันทิมา มีลา โรงเรียนเรณนู ครวิทยานกุ ลู จ.นครพนม 9. นางสาวชยาภา พมุ่ สมบตั ิ โรงเรียนขาณุวิทยา จ.ก�ำ แพงเพชร 10. นางนันท์นลิน เพชรรกั ษ์ โรงเรยี นเทศบาล ๑ (เอ็งเสยี งสามคั ค)ี จ.สงขลา 11. นางสาวน้ำ�รินทร์ ก้อนเพชร โรงเรยี นเทพลลี า กรุงเทพมหานคร 12. นายปรัชญา ละง ู โรงเรียนเมอื งถลาง จ.ภูเก็ต 13. นางพจนีย์ ปลื้มมะลงั โรงเรียนล�ำ สนธวิ ทิ ยา จ.ลพบรุ ี 14. นายรฐั ราษฎร์ เกอ้ื สกุล โรงเรียนสรุ ศกั ด์มิ นตรี กรุงเทพมหานคร 15. นางลักขณา รัตนพทิ ยาภรณ ์ โรงเรียนวสิ ทุ ธริ งั ษี จ.กาญจนบุรี 16. นายวิวัฒน์ บญุ ธรรม โรงเรียนโยธนิ บรู ณะ ๒ (สุวรรณสทุ ธาราม) กรงุ เทพมหานคร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
288 คณะกรรมการจัดทำ�คมู่ ือครู ชวี วิทยา เลม่ 5 17. นางสาวศศิธร บวั ลา โรงเรียนพระหฤทัย จ.เชยี งใหม่ 18. นางสาวอรนุช เฉยฉิว โรงเรียนปากชอ่ ง จ.นครราชสีมา 19. นายอาทวิ ราห์ ไตรภมู ิ โรงเรยี นหนองพลับวทิ ยา จ.ประจวบครี ีขันธ์ 20. ดร.อรสา ชูสกุล ผูช้ �ำ นาญสาขาเคมแี ละชีววทิ ยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 21. ดร.ขวัญชนก ศรัทธาสขุ นกั วิชาการสาขาเคมี และชีววิทยา สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22. ดร.ภัณฑลิ า อุดร นกั วิชาการสาขาเคมแี ละชวี วิทยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23. นางสาวปุณยาพร บรเิ วธานนั ท ์ นักวชิ าการสาขาเคมีและชีววิทยา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะบรรณาธิการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 1. รศ.ดร.ธรี ะพงษ์ บัวบชู า จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2. ผศ.ดร.ชัชวาล ใจซ่ือสกุล จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 3. ผศ.ดร.นพดล กิตนะ ผู้ชว่ ยผอู้ ำ�นวยการ 4. อ.ดร.สพ.ญ.วัชราภรณ์ ตยิ ะสัตย์กุลโกวิท สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. ดร.วนดิ า ธนประโยชนศ์ กั ด ์ิ ผู้เชีย่ วชาญพเิ ศษ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธิกรกลุ ผูอ้ �ำ นวยการสาขาเคมแี ละชีววิทยา สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. นายธีรพัฒน์ เวชชประสิทธ ิ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301