โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 3 บทท่ี 9 | การหมนุ เวยี นของน้�ำในมหาสมุทร 139 พ้นื ท่สี ตี ่าง ๆ ในรปู แทนสิง่ ใด แนวค�ำตอบ พื้นท่ีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟ้าอากาศซึ่งแปลความหมายไดด้ งั นี้ สี สภาพลมฟ้าอากาศ สี สภาพลมฟ้าอากาศ ฟ้า อากาศเย็น สม้ อากาศรอ้ น เขียวแก่ นำ�้ ตาลออ่ น แหง้ แลง้ ชุม่ ชื้นหรือฝนมาก ฟ้าออ่ น อากาศเยน็ และแหง้ แลง้ นำ�้ ตาลเข้ม อากาศร้อนและแห้งแลง้ นำ�้ เงนิ อากาศเยน็ และ เขียวอ่อน อากาศร้อนและ ชมุ่ ชืน้ หรอื ฝนมาก ชุ่มช้นื หรือฝนมาก รปู 9.20 (ก) และ 9.20 (ข) แตกตา่ งกนั อย่างไร แนวคำ� ตอบ รปู 9.20 (ก) และ 9.20 (ข) แสดงพ้นื ทท่ี ี่เกิดการเปลีย่ นแปลงสภาพลมฟา้ อากาศในช่วงเวลาทแ่ี ตกต่างกนั โดยรูป 9.20 (ก) แสดงชว่ งเดอื นธนั วาคมถึงกุมภาพันธ์ และรปู 9.20 (ข) แสดงช่วงเดือนมถิ ุนายนถึงสิงหาคม โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ ในขณะทเี่ กดิ ปรากฏการณเ์ อลนโี ญ พนื้ ทท่ี ห่ี า่ งไกลออกไปจากมหาสมทุ ร แปซิฟกิ เกดิ การเปลีย่ นแปลงสภาพลมฟา้ อากาศอย่างไร แนวคำ� ตอบ มอี ุณหภมู ิสงู ขึน้ หรอื เกดิ ความแหง้ แลง้ เพิม่ มากข้นึ รปู 9.21 (ก) และ 9.21 (ข) แตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ รปู 9.21 (ก) และ 9.21 (ข) แสดงพน้ื ทท่ี ีเ่ กดิ การเปลย่ี นแปลงสภาพลมฟ้า อากาศในช่วงเวลาทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยรปู 9.21 (ก) แสดงช่วงเดอื นธนั วาคมถึงกมุ ภาพนั ธ์ และรูป 9.21 (ข) แสดงชว่ งเดือนมิถนุ ายนถงึ สงิ หาคม โดยสว่ นใหญ่แล้ว ในขณะที่เกิดปรากฏการณล์ านีญา พื้นทท่ี ีห่ า่ งไกลออกไปจากมหาสมุทร แปซฟิ ิกเกิดการเปลยี่ นแปลงสภาพลมฟา้ อากาศอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ มีอณุ หภูมิต่�ำลงหรือเกิดความชุ่มช้นื เพม่ิ มากขนึ้ 18. ครูให้นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายตามความคิดของตนเองว่า “ปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานีญา ส่งผลเสยี เพียงอย่างเดียวหรอื ไม”่ จากนั้นนำ� อภปิ รายโดยใชค้ �ำถามดังน้ี หากพน้ื ทท่ี แี่ หง้ แลง้ ไดร้ บั หยาดนำ�้ ฟา้ เพม่ิ มากขนึ้ จะสง่ ผลอยา่ งไรตอ่ ปรมิ าณผลผลติ ทางการ เกษตร แนวคำ� ตอบ ผลผลิตทางการเกษตรเพมิ่ มากข้นึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
140 บทที่ 9 | การหมุนเวียนของน้�ำในมหาสมุทร โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 3 หากบริเวณชายฝั่งเกิดน�้ำผุดมากกข้ึน จะส่งผลอย่างไรต่อปริมาณผลผลิตทางการประมง แนวคำ� ตอบ ผลผลติ ผลผลติ ทางการประมงเพมิ่ มากขึ้น 19. ครสู รปุ ภาพรวมภายในบทที่ 9 ดังนี้ การหมนุ เวยี นนำ้� ในมหาสมทุ รเปน็ กระบวนการหนงึ่ ในการถา่ ยโอนความรอ้ นระหวา่ งบรเิ วณ ตา่ ง ๆ ของโลก ดงั นน้ั การหมนุ เวียนนำ�้ ในมหาสมุทรจงึ มผี ลต่อภมู อิ ากาศของพื้นทต่ี า่ ง ๆ ซึ่ง ส่งผลต่อสภาพแวดล้อมและการด�ำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต ในบางช่วงเวลาท่ีการหมุนเวียนน�้ำใน มหาสมุทรเปล่ียนแปลงไปจะท�ำให้เกิดความแปรปรวนของสภาพลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ ซง่ึ สง่ ผลตอ่ สภาพแวดลอ้ มและการด�ำรงชีวิตของสงิ่ มชี วี ิตได้เชน่ กัน แนวทางการวดั และประเมนิ ผล KPA แนวทางการวัดและประเมินผล K : 1. การตอบคำ� ถามตรวจสอบความเข้าใจ 1. ผลจากการหมุนเวียนของน�้ำผิวหน้า 2. การตอบคำ� ถาม และการน�ำเสนอผลการอภิปราย มหาสมทุ ร 3. แบบฝกึ หดั 2. ผลจากปรากฏการณ์เอลนีโญและ ลานญี าตอ่ สิ่งมีชีวิต และส่งิ แวดลอ้ ม P: 1. การจัดกระท�ำและสื่อความหมาย 1. การสรา้ งกราฟอณุ หภมู อิ ากาศและปริมาณน�้ำฝน และ ขอ้ มูล ผลงานการแสดงพนื้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ผลกระทบจาก 2. ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข ้ อ มู ล แ ล ะ ปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานีญาลงในแผนทีโ่ ลก ลงขอ้ สรุป 2. การแปลความหมายขอ้ มลู เพื่อสรุปความสมั พนั ธด์ งั น้ี 3. ด้านการส่ือสารสารสนเทศและ - ความสมั พนั ธ์ของสภาพลมฟา้ อากาศบรเิ วณชายฝง่ั การร้เู ท่าทนั สอ่ื กบั กระแสน้�ำอนุ่ และกระแสน�้ำเย็น 4. การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ - ความสัมพันธ์ของปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานญี า 5. ความรว่ มมอื การทำ� งานเปน็ ทมี และ กับการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟ้าอากาศในพื้นท่ี ภาวะผนู้ ำ� โดยรอบ 3. ข้อมลู ผลกระทบจากปรากฏการณเ์ อลนีโญและ ลานีญาทจ่ี ากการสืบค้น มาจากแหล่งขอ้ มลู ท่มี ี ความนา่ เชอื่ ถอื และมาจากแหลง่ ขอ้ มูลท่หี ลากหลาย 4. การอธบิ ายผลจากกระแสน้�ำอุ่น กระแสนำ้� เยน็ ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานญี า โดยใช้เหตผุ ลและ หลกั ฐานสนับสนนุ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 3 บทท่ี 9 | การหมุนเวยี นของน้�ำในมหาสมุทร 141 KPA แนวทางการวดั และประเมินผล A: 5. มสี ว่ นรว่ มในการวเิ คราะห์ อภปิ ราย และลงขอ้ สรปุ ดงั นี้ 1. ความเชอ่ื ม่ันต่อหลกั ฐาน 2. การยอมรบั ความเห็นตา่ ง - ผลจากกระแสน้�ำอนุ่ และกระแสน�ำ้ เย็นกบั สภาพลมฟ้าอากาศ - ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนโี ญและลาณญี า 1. การใช้เหตุผลและหลักฐานเพ่ืออธิบายผลจาก กระแสน�้ำอุ่นและกระแสน้�ำเย็น ปรากฏการณเ์ อลนีโญ และลาณีญา 2. การรับฟังความเห็นของผู้อ่นื ในการร่วมอภิปราย แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 1. ใชก้ ราฟตอ่ ไปนีต้ อบคำ� ถามขอ้ 1.1 และ 1.2 ก. ข. ขว้ั โลกเหนอื ศูนยสตู ร ขว้ั โลกใต ข้วั โลกเหนือ ศูนยส ตู ร ขัว้ โลกใต ค. ง. ขั้วโลกเหนือ ศูนยสูตร ข้วั โลกใต ขัว้ โลกเหนอื ศนู ยสตู ร ข้วั โลกใต 1.1 กราฟในขอ้ ใดแสดงการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ขิ องนำ�้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รจากขว้ั โลกเหนอื ไปยังข้ัวโลกใต้ไดถ้ ูกต้อง เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ กราฟ ก. เน่ืองจากน�้ำผิวหน้ามหาสมุทรแถบศูนย์สูตรมีอุณหภูมิสูงและ แถบข้วั โลกมอี ุณหภมู ิตำ่� สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
142 บทท่ี 9 | การหมนุ เวยี นของน้�ำในมหาสมุทร โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 3 1.2 กราฟในขอ้ ใดแสดงการเปลยี่ นแปลงความเคม็ ของนำ้� ผวิ หนา้ มหาสมทุ รจากขว้ั โลกเหนอื ไปยังข้วั โลกใตไ้ ดถ้ กู ต้อง เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ กราฟ ค. เน่ืองจากนำ้� ผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณแถบละติจูดท่ี 30 องศา เหนือและใต้มีความเค็มสูง แถบศูนย์สูตรมีความเค็มปานกลาง และแถบข้ัวโลก มีความเคม็ ต่�ำ โดยบรเิ วณขว้ั โลกเหนอื มีความเคม็ ต่ำ� กวา่ บริเวณขวั้ โลกใต้ 2. เตมิ คำ� ลงในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง 2.1 น�้ำในมหาสมทุ ร ถ้าใชก้ ารเปลย่ี นแปลงของ อุณหภมู ิ เป็นเกณฑ์ จะแบ่งได้เปน็ 3 ชน้ั ได้แก่ น�ำ้ ชัน้ บน น้ำ� ช้ันเทอรโ์ มไคลน์ น�้ำชน้ั ล่าง 2.2 นำ�้ ชนั้ ทอ่ี ยดู่ า้ นบนสดุ ของมหาสมทุ รไดร้ บั รงั สดี วงอาทติ ย์ ประกอบกบั มแี รงกระทำ� จาก คลนื่ กระแสน�ำ้ และน�้ำขน้ึ น�้ำลง ทำ� ให้มอี ณุ หภมู ิ และ ความเค็ม ใกล้เคียงกันทุกระดบั ความลึก 2.3 น้�ำช้นั ทีอ่ ยู่ด้านบนสุดของมหาสมุทรจะมีความเค็มนอ้ ยกวา่ น้�ำท่อี ยลู่ ึกลงไปเนอ่ื งจาก ได้รับน้�ำจืดเข้ามาผสม 2.4 อณุ หภมู แิ ละความเคม็ ของนำ้� ชน้ั ทอ่ี ยถู่ ดั ลงมาจะเกดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตาม ความลกึ โดยอณุ หภมู จิ ะ ลดลง อยา่ งรวดเรว็ ตามความลกึ ในขณะทคี่ วามเคม็ จะ เพม่ิ ขนึ้ อยา่ งรวดเร็วตามความลกึ 2.5 น�้ำชั้นที่อยู่ล่างสุดของมหาสมุทรจะมีอุณหภูมิและความเค็มเกือบคงที่ตามความลึก เน่ืองจาก เป็นน�้ำที่จมตัวและเคลื่อนที่มาจากแถบขั้วโลกซึ่งน้�ำในแถบนี้เป็นน�้ำที่มี อุณหภูมิต่�ำและความเค็มสูงท�ำให้มีความหนาแน่นมากจึงจมตัวลงด้านล่างโดยไม่เกิด การผสมกบั มวลนำ้� ในบรเิ วณอน่ื 3. หากพนื้ ผวิ โลกปกคลมุ ดว้ ยมหาสมทุ รทงั้ หมดโดยโลกยงั คงหมนุ รอบตวั เองและมกี ารหมนุ เวยี น ของอากาศบริเวณใกล้พื้นโลก (ลูกศรสีเทา) การหมุนเวียนของกระแสน้�ำผิวหน้ามหาสมุทร ควรจะเปน็ อย่างไร ให้วาดลกู ศรแทนการไหลของกระแสน�้ำ 90oN 60oN 30oN 0o 30oS 60oS 90oS สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 3 บทท่ี 9 | การหมนุ เวยี นของน้�ำในมหาสมทุ ร 143 4. การหมุนเวยี นของกระแสนำ้� ผิวหน้ามหาสมทุ รท่เี กิดข้ึนในขอ้ 3 จะยงั คงมกี ระแสนำ�้ อ่นุ หรือ กระแสนำ้� เย็นหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด แนวคำ� ตอบ ไมม่ ีกระแสน้�ำอุน่ และกระแสนำ้� เย็น เน่อื งจากอุณหภมู ขิ องน�้ำในกระแสนำ้� จะ เท่ากับอุณหภมู ินำ�้ โดยรอบ 5. จากรปู การทดลองดา้ นล่าง หากเทนำ�้ ในแกว้ (ก) ลงในกล่องพลาสติกใสดา้ นซ้าย และเทนำ�้ ในแกว้ (ข) ลงในกลอ่ งพลาสติกใสด้านขวา การไหลของนำ้� ในกลอ่ งพลาสตกิ จะเป็นอย่างไร เขียนลูกศรการไหลของน้�ำ น้ำอณุ หภูมิหอง ทศิ ทางการไหลของนำ้ จากแกว (ก) ทิศทางการไหลของนำ้ จากแกว (ข) 6. การเกดิ พายหุ มนุ เขตรอ้ นสง่ ผลตอ่ การเกดิ นำ�้ ผดุ นำ้� จม สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไร หาก ก�ำหนดให้ลูกศรสีเหลืองแทนทิศทางลมท่ีพัดเหนือผิวหน้ามหาสมุทรบนซีกโลกเหนือและ ซีกโลกใต้ ในขณะท่ีเกิดพายุหมุนเขตรอ้ น ดงั รปู ทิศทางลมในซีกโลกเหนือ ทิศทางลมในซีกโลกใต้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
144 บทท่ี 9 | การหมนุ เวียนของน�้ำในมหาสมทุ ร โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 3 แนวค�ำตอบ พายุหมุนเขตร้อนส่งผลให้เกิดน้�ำผุด โดยกระแสน�้ำบนซีกโลกเหนือมีทิศทาง การไหลสุทธิไปทางขวาของทิศทางลม และกระแสน้�ำบนซีกโลกใต้มีทิศทางการไหลสุทธิไป ทางซา้ ยของทศิ ทางลม สง่ ผลใหน้ ำ�้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณทเี่ กดิ พายหุ มนุ เขตรอ้ นไหลแยก ออกจากกัน น้�ำที่อยู่ด้านล่างจึงสามารถยกตัวข้ึนมาแทนท่ี เป็นผลให้น�้ำผิวหน้ามหาสมุทร บริเวณน้ันมีสารอาหารมากและเกิดความอุดมสมบรู ณ์ขึน้ ในบริเวณนัน้ 7. วงกลมค�ำตอบท่ถี กู ตอ้ งจากตวั เลือกก�ำหนดให้ ข้อ ขอ้ ความ ตวั เลอื ก 7.1 ขณะเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญน้�ำอุ่นผิวหน้า ไหลไปทางตะวันตกมากขึ้น มหาสมทุ รเกิดการเปลย่ี นแปลงอย่างไร ไมเ่ กดิ การเปล่ียนแปลง ไหลไปทางตะวนั ตกน้อยลง 7.2 ขณะเกิดปรากฏการณ์ลานีญาน้�ำอุ่นผิวหน้า ไหลไปทางตะวันตกมากขน้ึ มหาสมทุ รเกดิ การเปลยี่ นแปลงอย่างไร ไมเ่ กดิ การเปลี่ยนแปลง ไหลไปทางตะวนั ตกน้อยลง 7.3 อุณหภูมิน�้ำทะเลบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอน สงู ขน้ึ ลดลง กลางเปน็ อยา่ งไรเมอื่ เกิดปรากฏการณเ์ อลนีโญ ไมเ่ ปลย่ี นแปลง 7.4 อุณหภูมิน้�ำทะเลบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอน สูงขึ้น ลดลง กลางเปน็ อยา่ งไรเมอ่ื เกดิ ปรากฏการณล์ านีญา ไมเ่ ปล่ยี นแปลง 7.5 ปรากฏการณ์เอลนีโญท่ีเกิดข้ึนอย่างรุนแรง ส่งผล ฝนตกหนัก ฝนแล้ง ตอ่ ประเทศไทยอยา่ งไร ไม่เปลี่ยนแปลง 7.6 ปรากฏการณล์ านญี าทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งรนุ แรง สง่ ผลตอ่ ฝนตกหนกั ฝนแลง้ ประเทศไทยอย่างไร ไมเ่ ปลี่ยนแปลง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 3 บทที่ 9 | การหมุนเวียนของน�้ำในมหาสมุทร 145 8. จากรปู ดา้ นลา่ งซง่ึ แสดงขอ้ มลู อณุ หภมู นิ ำ้� ผวิ หนา้ มหาสมทุ รทท่ี ำ� การตรวจวดั ในเดอื นธนั วาคม ปี พ.ศ. 2536 2540 และ 2541 ให้นกั เรียนตอบคำ� ถามขอ้ 8.1 และ 8.2 8.1 ระบวุ า่ รปู ใดเป็นอุณหภูมนิ ำ�้ ผิวหนา้ มหาสมทุ รในสภาวะปกติ ในขณะเกดิ ปรากฏการณ์ เอลนีโญ และในขณะเกิดปรากฏการณ์ลานีญา แนวคำ� ตอบ รูป (ก) สภาวะปกติ รปู (ข) ขณะเกดิ ปรากฏการณ์เอลนีโญ และรูป (ค) ขณะเกดิ ปรากฏการณ์ลานีญา 8.2 ระบุผลทเ่ี กิดข้นึ ตอ่ สภาพลมฟ้าอากาศ สิ่งมชี วี ิต และสิ่งแวดล้อม ในบริเวณชายฝั่งด้าน ตะวันออกและชายฝ่ังดา้ นตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิ ิกในสภาวะต่าง ๆ แนวคำ� ตอบ ในสภาวะปกติ ชายฝ่ังดา้ นตะวันออกเกิดนำ้� ผุดทำ� ให้มีความอุดมสมบรู ณ์ ในบริเวณน้ี ส่วนชายฝ่งั ด้านตะวนั ตกเกิดความช่มุ ชนื้ มีฝนตก ในขณะเกดิ ปรากฏการณเ์ อลนโี ญ ชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ออกเกดิ นำ้� ผดุ นอ้ ยลงจงึ มคี วาม อุดมสมบูรณ์น้อยลงและน้�ำผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณน้ีมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติท�ำให้เกิด ฝนตกมากข้ึนจึงมีโอกาสเกิดน�้ำท่วมและแผ่นดินถล่มมากขึ้น ส่วนชายฝั่งด้านตะวันตก น้�ำผิวหน้ามหาสมุทรมีอุณหภูมิต�่ำกว่าปกติท�ำให้มีฝนตกน้อยลงและเกิดความแห้งแล้ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
146 บทที่ 9 | การหมนุ เวยี นของน�้ำในมหาสมุทร โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 3 ในขณะเกิดปรากฏการณ์ลานีญา ชายฝั่งด้านตะวันออกเกิดน้�ำผุดมากข้ึน ส่งผลให้ นำ�้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณนม้ี อี ณุ หภมู ติ ำ�่ กวา่ ปกตจิ งึ มฝี นนอ้ ยและเกดิ ภยั แลง้ อยา่ งไร กต็ าม การเกดิ นำ้� ผดุ ทม่ี ากขนึ้ ทำ� ใหม้ คี วามอดุ มสมบรู ณม์ ากขน้ึ สว่ นชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตก น�้ำผิวหน้ามหาสมุทรมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติท�ำให้มีฝนตกมากข้ึนจนท�ำให้เกิดน�้ำท่วม และแผน่ ดินถล่ม สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ภาคผนวก
148 ตัวอยา่ งเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธิ์ใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะ ของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ใน การสร้างหรือเลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทงั้ ข้อดแี ละขอ้ จ�ำ กดั ของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เป็นดงั น้ี 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลือก แบบทดสอบแบบท่มี ีตวั เลือก ได้แก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ และแบบทดสอบแบบจับคู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเป็นดังน้ี 1.1) แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ เปน็ แบบทดสอบทมี่ กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถี่ กู เพยี งหนงึ่ ตวั เลือก องค์ประกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 ส่วน คือ คำ�ถามและตัวเลือก แตบ่ างกรณอี าจมสี ว่ นของสถานการณเ์ พม่ิ ขน้ึ มาดว้ ย แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมหี ลายรปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำ ถามเดีย่ ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชั้น โครงสร้างดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถามเดยี่ วที่ไม่มีสถานการณ์ ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
149 แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทีม่ สี ถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเป็นชดุ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 …………………………………………………………….................. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
150 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามที่ 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบค�ำ ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมีข้อดีคือ สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุม เน้ือหาตามจุดประสงค์ สามารถตรวจให้คะแนนและแปลผลคะแนนได้ตรงกัน แต่มีข้อจำ�กัดคือ ไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิด สร้างสรรคไ์ ด้ นอกจากนน้ี ักเรียนทไี่ ม่มคี วามร้สู ามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ เป็นแบบทดสอบที่มีตัวเลือก ถูกและผิด เท่าน้ัน มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ คำ�สั่งและ ขอ้ ความให้นักเรยี นพิจารณาว่าถูกหรือผดิ ดังตัวอย่าง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
151 แบบทดสอบแบบถูกหรอื ผิด คำ�ส่งั ใหพ้ ิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปนถี้ ูกหรือผิด แล้วใส่เครอื่ งหมาย หรอื หนา้ ขอ้ ความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบนส้ี ามารถสร้างไดง้ า่ ย รวดเร็ว และครอบคลุมเนอ้ื หา สามารถตรวจ ได้รวดเร็วและให้คะแนนได้ตรงกัน แต่นักเรียนมีโอกาสเดาได้มาก และการสร้างข้อความให้เป็น จริงหรอื เป็นเท็จโดยสมบรู ณ์ในบางเนื้อทำ�ไดย้ าก 1.3) แบบทดสอบแบบจบั คู่ ประกอบด้วยส่วนท่ีเป็นคำ�ส่ัง และข้อความ 2 ชุด ท่ีให้จับคู่กัน โดยข้อความชุดที่ 1 อาจเป็นคำ�ถาม และข้อความชดุ ที่ 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรือตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนข้อความในชุดที่ 2 อาจมมี ากกวา่ ในชุดท่ี 1 ดังตัวอย่าง แบบทดสอบแบบจบั คู่ คำ�ส่ัง ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ คำ�ถาม ชุดคำ�ถาม ชดุ ค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
152 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะ ส�ำ หรบั วดั ความสามารถในการหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งค�ำ หรอื ขอ้ ความ 2 ชดุ แตใ่ นกรณที นี่ กั เรยี น จบั คู่ผิดไปแล้วจะท�ำ ให้มีการจับคูผ่ ิดในค่อู ื่น ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทวั่ ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบ แบบเติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างส้ัน และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของ แบบทดสอบทม่ี กี ารตอบแตล่ ะแบบเปน็ ดังนี้ 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเตมิ คำ�หรือตอบอย่างส้ัน ประกอบด้วยคำ�สั่ง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพื่อให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสนั้ ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบ ดว้ ยสถานการณแ์ ละค�ำ ถามทใี่ หน้ กั เรยี นตอบโดยการเขยี นอยา่ งอสิ ระ แตส่ ถานการณแ์ ละค�ำ ถาม จะเป็นสิง่ ท่กี �ำ หนดค�ำ ตอบให้มีความถกู ตอ้ งและเหมาะสม แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทนี่ กั เรยี น ตอบผดิ เพื่อใหท้ ราบถึงขอ้ บกพรอ่ งทางการเรียนรู้หรอื ความเขา้ ใจทีค่ ลาดเคลื่อนได้ แตก่ ารจ�ำ กดั ค�ำ ตอบให้นักเรียนตอบเป็นค�ำ วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเนื่องจากบางครง้ั มี ค�ำ ตอบถกู ตอ้ งหรือยอมรับได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เป็นแบบทดสอบที่ต้องการใหน้ กั เรยี นสร้างค�ำ ตอบอยา่ งอิสระ ประกอบด้วยสถานการณ์ และค�ำ ถามท่สี อดคลอ้ งกัน โดยคำ�ถามเปน็ ค�ำ ถามแบบปลายเปิด แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แตเ่ นอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ให้ วดั ไดไ้ มค่ รอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
153 แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ัติ ซงึ่ หลักฐานร่องรอยเหล่าน้นั สามารถใช้ในการประเมินความสามารถ ทักษะการคดิ และทักษะปฏิบัตไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทส่ี �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไป จะประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครอ่ื งมือที่ใช้ประเมินดังตวั อย่าง ตวั อย่างแบบส�ำ รวจรายการทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง ผลการสำ�รวจ รายการท่ีต้องสำ�รวจ มี ไมม่ ี (ระบจุ ำ�นวนครัง้ ) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามข้ันตอน การสงั เกตการทดลอง การบันทึกผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
154 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทักษะปฏิบัติ คะแนน 1 การทดลอง 32 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เลือกใช้อุปกรณ์/ เลือกใช้อุปกรณ์/ เครอื่ งมอื ในการทดลอง เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เคร่ืองมือในการ เคร่ืองมือในการ ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองได้ถูกต้อง ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน แ ต่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม กับงาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ือง ใช้อุปกรณ์/เคร่อื ง ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ มอื ในการทดลองได้ มือในการทดลอง อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก ไม่ถกู ตอ้ ง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม การปฏิบัติ แต่ไม่ หลักการปฏิบตั ิ คลอ่ งแคล่ว การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวธิ กี าร ทดลองตามวธิ กี าร กำ�หนด แ ล ะ ข้ั น ต อ น ที่ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ กำ � ห น ด ไ ว้ อ ย่ า ง กำ�หนดไว้ มีการ กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ถู ก ต้ อ ง มี ก า ร ปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม ปรับปรุงแก้ไขเป็น ข้ันตอนท่ีกำ�หนด ระยะ ไ ว้ ไ ม่ มี ก า ร ปรับปรุงแก้ไข สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
155 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทป่ี ระเมนิ ผลการประเมนิ ระดับ 2 ระดบั 3 ระดับ 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมาย ระดับ 1 หมาย ข้นั ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ถึง ปฏิบัติได้ ถึง ปฏิบัติได้ท้ัง ทง้ั 2 ขอ้ 1 ขอ้ 2. ปฏิบัติการทดลองได้อย่าง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม แ ล ะ จั ด ว า ง อุ ป ก ร ณ์ เ ป็ น ระเบียบ สะดวกต่อการใช้งาน 3. บันทกึ ผลการทดลองได้ถกู ตอ้ ง และครบถว้ นสมบูรณ์ ตวั อย่างแนวทางการให้คะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ขั้ น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ� ดับข้ันตอนไม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไม่สื่อความหมาย สอื่ ความหมาย แบบประเมนิ คุณลักษณะด้านจติ วิทยาศาสตร์ การประเมนิ จติ วทิ ยาศาสตรไ์ มส่ ามารถท�ำ ไดโ้ ดยตรง โดยทว่ั ไปท�ำ โดยการตรวจสอบพฤตกิ รรม ภายนอกท่ีปรากฏให้เห็นในลักษณะของคำ�พูด การแสดงความคิดเห็น การปฏิบัติหรือพฤติกรรม บง่ ชท้ี ส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ ง่ึ เปน็ สง่ิ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรม ดังกลา่ ว เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ประเมนิ คุณลักษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ ดงั ตัวอยา่ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
156 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ ค�ำ ชแ้ี จง จงท�ำ เครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งวา่ งทต่ี รงกบั คณุ ลกั ษณะทนี่ กั เรยี นแสดงออก โดยจ�ำ แนก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออกเปน็ 4 ระดบั ดงั นี้ มาก หมายถึง นกั เรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นนั้ อยา่ งสมำ่�เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นเปน็ ครง้ั คราว น้อย หมายถงึ นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นน้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถงึ นกั เรยี นไม่แสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เลย ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไม่มีการ กลาง แสดงออก ด้านความอยากร้อู ยากเหน็ 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม เมื่อเกิดความสงสัยใน เรือ่ งราววทิ ยาศาสตร์ 2. นักเรยี นชอบไปงานนิทรรศการ วิทยาศาสตร์ 3. นกั เรียนนำ�การทดลองทสี่ นใจไป ทดลองตอ่ ทีบ่ า้ น ด้านความซือ่ สัตย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามท่ี ทดลองได้จรงิ 2. เมอื่ ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพือ่ สง่ ครู 3. เมื่อครูมอบหมายใหท้ ำ�ชิ้นงาน ออกแบบสิ่งประดษิ ฐ์ นักเรยี นจะ ประดษิ ฐ์ตามแบบทีป่ รากฏอยูใ่ น หนงั สือ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
157 ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ กี าร ด้านความใจกว้าง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรปุ ของสมาชกิ สว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพอ่ื นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลท่ีดีกว่า นักเรียนพร้อมที่ จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พ่ื อ น ไ ป ปรับปรงุ งานของตน 3. เมอ่ื งานทน่ี กั เรยี นตง้ั ใจและทมุ่ เท ท�ำ ถกู ต�ำ หนหิ รอื โตแ้ ยง้ นกั เรยี นจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ดา้ นความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสร็จส้นิ การทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซ้ำ� ๆ ก่อนท่ีจะ สรปุ ผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อุปกรณ์กอ่ นท�ำ การทดลอง ดา้ นความม่งุ ม่นั อดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอื่ ผล การทดลองทไี่ ดข้ ดั จากทเี่ คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองท่ีนักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นักเรยี นกเ็ ปลี่ยนไปศกึ ษาชดุ การทดลองทีใ่ ช้เวลานอ้ ยกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
158 ระดับพฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ ีการ เจตคตทิ ดี่ ตี อ่ วทิ ยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจำ�วนั อยเู่ สมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ท่ี เกีย่ วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ การประเมนิ การน�ำ เสนอผลงาน การประเมินผลและให้คะแนนการนำ�เสนอผลงานใช้แนวทางการประเมินเช่นเดียวกับ การประเมินภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยก องคป์ ระกอบยอ่ ย ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี 1) การให้คะแนนในภาพรวม เป็นการให้คะแนนที่ต้องการสรุปภาพรวมจึงประเมินเฉพาะ ประเด็นหลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมิน สมรรถภาพด้านการเขยี นโดยใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี ตัวอยา่ งเกณฑก์ ารประเมนิ ความถูกต้องของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรงุ เน้ือหาไมถ่ ูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ พอใช้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ งแตใ่ หส้ าระส�ำ คญั นอ้ ยมาก และไมร่ ะบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ ดี เน้อื หาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญ แต่ยังไม่ครบถ้วน มีการระบุแหล่งท่มี าของ ดีมาก ความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุแหล่งท่ีมาของความรู้ ชดั เจน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
159 ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมินสมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเช่ือมโยง เน้ือหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� ต้อง ไม่ถกู ตอ้ ง ไม่อา้ งองิ แหลง่ ทีม่ าของความรู้ ปรบั ปรุง ขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มี พอใช้ รายละเอยี ดไม่เพียงพอ เนือ้ หาบางตอนไม่สัมพันธ์กนั การเรยี บเรยี บเน้ือหา ไม่ต่อเนอื่ ง ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง อา้ งอิงแหล่งทีม่ าของความรู้ ดี เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ดีมาก ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมา ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเน้ือหาได้ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตวั อยา่ ง รปู ภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งท่มี าของความรู้ 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย เป็นการประเมนิ เพอ่ื ต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใช้พฒั นางานใหม้ คี ณุ ภาพผา่ นเกณฑ์ และพฒั นาคณุ ภาพใหส้ งู ขน้ึ กวา่ เดมิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ทั้งจุดเด่นที่ควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในส่วนนั้น ๆ เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย มีตัวอย่างดังนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
160 ตวั อย่างเกณฑ์การประเมนสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย) รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ด้านการวางแผน ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการ ต้อง เรยี นรู้ ปรับปรงุ ออกแบบการไดต้ ามประเด็นส�ำ คญั ของปญั หาเป็นบางสว่ น ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน พอใช้ ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนทช่ี ดั เจน ดี และตรงตามจดุ ประสงคท์ ี่ตอ้ งการ ด้านการด�ำ เนินการ ดมี าก ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคล่ว ต้อง ดำ�เนินการตามแผนที่วางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ ปรบั ปรงุ คล่องแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง พอใช้ คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอื่ ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ ดี และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานทกุ ขั้นตอนเป็นไปตามจุดประสงค์ ดมี าก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
161 รายการประเมิน ระดับ คุณภาพ ด้านการอธบิ าย ตอ้ งปรบั ปรงุ อธบิ ายไม่ถกู ต้อง ขดั แยง้ กับแนวคิดหลักทางวทิ ยาศาสตร์ อธบิ ายโดยอาศัยแนวคิดหลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ แต่การอธิบายเปน็ พอใช้ แบบพรรณนาทัว่ ไปซ่งึ ไม่คำ�นงึ ถึงการเชื่อมโยงกบั ปญั หาท�ำ ให้เขา้ ใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ดี ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ ดมี าก จดุ ประสงค์ ใช้ภาษาได้ถูกต้องเข้าใจงา่ ย สอ่ื ความหมายไดช้ ัดเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
162 บรรณานกุ รม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสอื เรยี นรายวิชา เพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1. (พมิ พ์คร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. Ahrens, C. D. (2009). Meteorology Today: An Introduction to Weather, Climate, and Environment. 9th ed. Canada: Thomson Brook/Cole. Ahrens, C. D. and Robert Henson (2016). Meteorology Today: An Introduction to Weather, Climate, and Environment. 11th ed. Canada: Thomson Brook/Cole. Alan P. Trujillo and Harold V. Thurman. (2014). Essentials of Oceanography. 7th ed. USA: Pearson Education. Keith A. Sverdrup, Alison B. Duxbury and Alyn C. Duxbury. (2006). Fundamental of Oceanography. 5th ed. USA: McGraw-Hill. Stefan Rahmstorf . (2006). Thermohaline Ocean Circulation. Encyclopedia of Quaternary Sciences. Elsevier, Amsterdam 2006. กรมอุตุนยิ มวิทยา. ระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและพยากรณอ์ ากาศ: สืบคน้ เมือ่ 24 กันยายน 2561 จาก http://www.metalarm.tmd.go.th/monitor/typhoonSelect กรมอตุ ุนยิ มวิทยา. เอลนีโญ. สืบค้นเมือ่ 2 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=17 กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา. เอลนีโญ. สืบคน้ เมอ่ื 2 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=18 โพสตท์ เู ดย์. เอลนีโญ และลานญี า ผลกระทบกบั สินคา้ โภคภัณฑเ์ กษตร. สบื ค้นเมอ่ื 5 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.posttoday.com/ finance/invest/434051 EarthNow Project. Effects of El Niño and La Niña on Phytoplankton and Fish: Retrieved August 31, 2018, from http://sphere.ssec.wisc.edu/20130315/ National Aeronautics and Space Administration (NASA). Climate and Earth’s Energy Budget: สบื ค้นเม่อื 12 เมษายน 2561 จาก https://earthobservatory.nasa.gov/Features/EnergyBalance สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
163 National Aeronautics and Space Administration (NASA). Tropical Cyclone Tracks: Retrieved August 11, 2018, from https://www.climate.gov/ news-features/understanding-climate/tropical-cyclone-tracks National Geographic. La Niña : Retrieved August 31, 2018, from https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/la-nina/ National Oceanic and Atmospheric Administration. The science behind the polar vortex: Retrieved August 2, 2018, from https://www.noaa.gov/ infographic/science-behind-polar-vortex Science Education through Earth Observation for High Schools (SEOS). Nike Trainers and Rubber Ducks: Retrieved Febuary 20, 2018, from http://www.seos-project.eu/modules/oceancurrents/oceancurrents- c01-p02.html United States Geological Survey (USGS). How much water is there on, in, and above the Earth?: Retrieved January 31, 2018, from https://water.usgs.gov/edu/earthhowmuch.html สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
164 คณะกรรมการการจดั ท�ำค่มู อื ครู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 3 ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 คณะท่ีปรกึ ษา ผู้อ�ำนวยการ 1. ศาสตราจารย์ ดร. ชกู ิจ ลิมปิจ�ำนงค ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยผ้อู ำ� นวยการ 2. ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศกั ด ์ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผู้จดั ทำ� คมู่ อื ครู รายวิชาเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร์ โลก อวกาศ และดาราศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 3 1. นายสุพจน์ วฒุ โิ สภณ ผูเ้ ชี่ยวชาญ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2. นางสาวบุศราศริ ิ ธนะ ผชู้ ำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ผศ.ดร.อลิศรา ชูชาติ ผชู้ �ำนาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. นางพรรณทิพา ธนากรโยธิน ผู้ช�ำนาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. นางดารกิ า วีรวนิ ันทนกลุ ผชู้ ำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. นายมนตรี ประเสริฐฤทธ ิ์ ผชู้ �ำนาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7. นางฤทัย เพลงวฒั นา ผูช้ ำ� นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. นายนทิ ศั น์ ลมิ้ ผอ่ งใส นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9. นางสาววชิ ุราตรี กลับแสง นักวิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 10.นางสาวรมั ภา ศรบี างพลี นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11.นางสาวกัญญจิต จันเสนา นักวชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
165 คณะผู้ร่วมพิจารณาคู่มือครู รายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ โลก อวกาศ และดาราศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 (ฉบบั ร่าง) 1. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจิศภุ ร จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 2. ดร.สงกรานต์ อกั ษร กระทรวงดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม 3. ดร.สธน วจิ ารณว์ รรณลักษณ์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 4. ผศ.มาลี สทุ ธโิ อภาส มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 5. นางเบ็ญจวรรณ ศรเี จรญิ นกั วิชาการอสิ ระ 6. นายวิทยา อินโท โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ฝา่ ยมธั ยม 7. นางสาวชุณหภคั เทดิ อวยพร โรงเรยี นวัดสุทธวิ ราราม กรุงเทพมหานคร 8. นายประเดมิ วนั ทอง โรงเรยี นเมืองกาฬสนิ ธ์ุ จ.กาฬสนิ ธ์ุ 9. นางสาวโศภติ า อุไพพานชิ นักวิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10.วา่ ท่ี ร.ต.ภูริวัจน์ จิราตันตพิ ัฒน์ นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11.นางสาวมนัญญา ลิกมลสวัสดิ์ นักวชิ าการอิสระ คณะบรรณาธกิ าร กระทรวงดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม 1 ดร.สงกรานต์ อักษร จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจิศภุ ร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 3. ดร.สธน วิจารณ์วรรณลกั ษณ์ ผู้ชำ� นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 4. นางสาวบศุ ราศิริ ธนะ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผเู้ ชีย่ วชาญ 5. นายสุพจน์ วุฒิโสภณ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ ำ� นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย 6. นางฤทัย เพลงวฒั นา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178