Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมฟิสิกส์4

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมฟิสิกส์4

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-27 05:54:19

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมฟิสิกส์4

คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมฟิสิกส์4,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ฟิสกิ ส์ เล่ม 4 ภาคผนวก 385 แบบประเมินคณุ ลักษณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกที่ปรากฏใหเ้ หน็ ในลกั ษณะของคำ�พดู   การแสดงความคิดเหน็  การปฏิบตั ิ หรอื พฤตกิ รรมบ่งช้ี ที่สามารถสังเกตหรือวัดได้ และแปลผลไปถึงจิตวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นสิ่งท่ีส่งผลให้เกิดพฤติกรรมดังกล่าว เคร่ืองมือที่ใช้ประเมินคณุ ลักษณะดา้ นจติ วิทยาศาสตร ์ ดงั ตวั อยา่ ง ตวั อย่างแบบประเมนิ คุณลักษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ คำ�ช้ีเเจง จงท�ำ เครื่องหมาย ลงในช่องวา่ งท่ีตรงกบั คณุ ลักษณะท่ีนักเรยี นเเสดงออก โดยจำ�เเนกระดับ พฤติกรรมการเเสดงออกเปน็ 4 ระดับ ดังนี้ มาก หมายถึง นักเรียนเเสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ น้นั อย่างสมำ�่ เสมอ ปานกลาง หมายถึง นักเรียนเเสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่าน้นั เปน็ คร้งั คราว น้อย หมายถงึ นักเรียนเเสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านั้นนอ้ ยครั้ง ไมม่ ีการเเสดงออก หมายถึง นกั เรยี นเเสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นัน้ เลย ระดับพฤตกิ รรมการเเสดงออก รายการพฤตกิ รรมการเเสดงออก มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่มกี าร เเสดงออก ด้านความอยากร้อู ยากเหน็ 1.นกั เรยี นสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษาคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ เมอ่ื เกดิ ความสงสยั ในเรอ่ื งราววทิ ยาศาสตร์ 2.นกั เรยี นชอบไปงานนิทรรศการวทิ ยาศาสตร์ 3.นกั เรยี นน�ำ การทดลองทส่ี นใจไปทดลองตอ่ ทบ่ี า้ น ด้านความซอ่ื สัตย์ 1.นกั เรยี นรายงานผลการทดลองตามทท่ี ดลองไดจ้ รงิ 2.เมอื่ ท�ำ งานทดลองผิดพลาด นักเรียนจะลอกผล การทดลองของเพื่อนส่งครู 3.เม่อื ครมู อบหมายใหท้ ำ�ชิน้ งานสิง่ ประดิษฐ์ นักเรียนจะประดิษฐ์ตามเเบบทปี่ รากฏอย่ใู น หนังสอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

386 ภาคผนวก ฟิสกิ ส์ เล่ม 4 ระดบั พฤตกิ รรมการเเสดงออก รายการพฤติกรรมการเเสดงออก มาก ปานกลาง นอ้ ย ไมม่ ีการ เเสดงออก ด้านความใจกวา้ ง 1.แมว้ ่านกั เรียนจะไม่เห็นด้วยกับการสรุปผลการ ทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรบั ผลสรุปของสมาชิก สว่ นใหญ่ 2.ถ้าเพ่อื นแย่งวิธกี ารทดลองนักเรยี นและมีเหตุผล ที่ดีกวา่ นกั เรยี นพร้อมทจ่ี ะน�ำ ข้อเสนอเเนะของ เพอื่ นไปปรับปรุงงานของตน 3.เมอ่ื งานที่นักเรียนตั้งใจและท่มุ เทท�ำ ถูกต�ำ หนิ หรือโตเ้ เย้ง นกั เรยี นจะหมดกำ�ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1.นกั เรียนสรปุ ผลการทดลองทันทีเมือ่ เสร็จส้นิ การทดลอง 2.นักเรียนทำ�การทดลองซ้�ำ ๆ กอ่ นท่จี ะสรปุ ผล การทดลอง 3.นักเรยี นตรวจสอบความพรอ้ มของอปุ กรณก์ ่อน ท�ำ การทดลอง ด้านความมุง่ ม่ันอดทน 1.ถึงแม้ว่างานค้นควา้ ท่ที ำ�อยมู่ โี อกาสสำ�เร็จได้ยาก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ต่อไป 2.นกั เรียนลม้ เลิกการทดลองทันที เมอื่ ผลการ ทดลองที่ไดข้ ัดจากท่ีเคยเรียนมา 3.เมื่อทราบวา่ ชดุ การทดลองทน่ี ักเรยี นสนใจต้อง ใช้ระยะเวลาในการทดลองนาน นกั เรียนก็ เปลีย่ นไปศกึ ษาชุดการทดลองที่ใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฟิสิกส์ เล่ม 4 ภาคผนวก 387 ระดับพฤตกิ รรมการเเสดงออก รายการพฤติกรรมการเเสดงออก มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่มีการ เเสดงออก เจตคติที่ดีต่อวทิ ยาศาสตร์ 1.นกั เรียนน�ำ ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ มาใช้ เเกป้ ญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั อยเู่ สมอ 2.นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ 3.นกั เรียนสนใจติดตามขา่ วสารท่ีเกีย่ วข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ วธิ กี ารตรวจให้คะเเนน ตรวจใหค้ ะเเนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตัวเลขในช่องตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ตามลำ�ดบั ข้อความทมี่ ีความหมายเป็นทางบวก กำ�หนดใหค้ ะเเนนเเตล่ ะขอ้ ความดังตอ่ ไปน้ี ระดบั พฤตกิ รรมการเเสดงออก คะเเนน มาก 4 3 ปานกลาง 2 นอ้ ย 1 ไมม่ ีการเเสดงออก สว่ นขอ้ ความทม่ี คี วามหมายเปน็ ทางลบ ก�ำ หนดใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ ความมลี กั ษณะเปน็ ไปในแนวทาง ตรงขา้ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

388 ภาคผนวก ฟิสิกส์ เลม่ 4 การประเมินการนำ�เสนอผลงาน การประเมินผลและให้คะแนนการนําเสนอผลงานอาจใช้แนวทางการประเมินเช่นเดียวกับ การประเมินภาระงานอื่น คอื การใชค้ ะแนนแบบภาพรวม และการใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ดงั รายละเอียด ตอ่ ไปน้ี 1) การให้คะแนนในภาพรวม เป็นการให้คะแนนที่ต้องการสรุปภาพรวมจึงประเมินเฉพาะ ประเด็นหลกั ที่สําคัญ ๆ เช่น การประเมนิ ความถูกตอ้ งของเน้อื หา ความรแู้ ละการประเมนิ สมรรถภาพ ด้านการเขยี น โดยใชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี ตัวอยา่ งเกณฑก์ ารประเมินความถกู ตอ้ งของเน้ือหาความรู้ (แบบภาพรวม) ระดบั ประเมิน ตอ้ งปรบั ปรุง รายการประเมนิ พอใช้ - เนือ้ หาไมถ่ กู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ดี - เนอื้ หาถูกต้องเเต่ให้สาระสำ�คญั น้อยมาก เเละระบุเเหลง่ ทีม่ าของความรู้ ดมี าก - เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คญั แตย่ งั ไม่ครบถ้วน มีการระบุเเหล่งท่ีมาของความรู้ ระดบั ประเมิน ตอ้ งปรบั ปรงุ - เน้อื หาถกู ตอ้ ง มสี าระสำ�คญั ครบถ้วน เเละระบเุ เหลง่ ทมี่ าของความรู้ชดั เจน พอใช้ ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพด้านการเขียน (แบบภาพรวม) ดี รายการประเมนิ ดีมาก - เขียนสบั สน ไมเ่ ป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเชื่อมโยง เนือ้ หาบางสว่ นไม่ถูกต้องหรอื ไม่สมบูรณ์ ใชภ้ าษาไมเ่ หมาะสมเเละสะกดคำ�ไม่ ถูกต้อง ไมอ่ า้ งอิงเเหล่งท่ีมาของความรู้ - เขยี นเป็นระบบเเตไ่ มช่ ัดเจน บอกจุดประสงคไ์ ม่ชดั เจน เนอ้ื หาถกู ตอ้ งเเตม่ ี รายละเอยี ดไมเ่ พยี งพอ เนื้อหาบางตอนไม่สมั พันธก์ นั การเรียบเรียงเนือ้ หาไม่ ตอ่ เนอ่ื ง ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง อา้ งอิงแหลง่ ที่มาของความรู้ - เขียนเป็นระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสร้างของเรอื่ ง บอกความสำ�คญั เเละท่ีมาของ ปญั หา จุดประสงค์ เเนวคดิ หลกั ไม่ครอบคุมประเดน็ สำ�คญั ทั้งหมด เนือ้ หาบาง ตอนเรยี บเรียงไมต่ ่อเนอื่ ง ใชภ้ าษาถูกต้อง มกี ารยกตวั อย่าง รปู ภาพเเผนภาพ ประกอบ อา้ งอิงเเหล่งที่มาของความรู้ - เขยี นเปน็ ระบบ แสดงให้เหน็ โครงสร้างของเร่อื ง บอกความสำ�คญั เเละทม่ี าของ ปญั หา จุดประสงค์ เเนวคิดหลกั ได้ครอบคุมประเดน็ ส�ำ คญั ทัง้ หมด เรยี บเรยี ง เน้อื หาไดต้ อ่ เนื้องตอ่ เนอื่ ง ใชภ้ าษาถกู ต้อง ชัดเจนเข้าใจงา่ ย รูปภาพเเผนภาพ ประกอบ อา้ งอิงเเหล่งที่มาของความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฟิสกิ ส์ เล่ม 4 ภาคผนวก 389 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ตอ้ งการนาํ ผลการประเมิน ไปใชพ้ ฒั นางานใหม้ คี ณุ ภาพผา่ นเกณฑ์ และพฒั นาคณุ ภาพใหส้ งู ขน้ึ กวา่ เดมิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยใชเ้ กณฑย์ อ่ ย ๆ ในการประเมินเพอ่ื ทาํ ให้รูท้ งั้ จดุ เดน่ ท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยทีค่ วรแก้ไขปรบั ปรงุ การทํางานในส่วนน้ัน ๆ เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบย่อย มีตัวอย่างดงั นี้ ตวั อย่างเกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถภาพ (แบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย) รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ด้านการวางเเผน ต้องปรบั ปรงุ - ไมส่ ามารถออกเเบบได้ หรอื ออกเเบบไดเ้ เตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการเรยี นรู้ พอใช้ - ออกเเบบการได้ตามประเดน็ ส�ำ คัญของปญั หาบางสว่ น ดี - ออกเเบบครอบคลุมประเดน็ ส�ำ คญั ของปัญหาเป็นส่วนใหญ่ เเต่ยังไม่ชัดเจน - ออกเเบบไดค้ รอบคลุมประเด็นสำ�คญั ของปญั หาอยา่ งเป็นขั้นตอนท่ีชดั เจน ดีมาก เเละตรงตามจุดประสงคท์ ี่ต้องการ ต้องปรบั ปรุง ด้านการดำ�เนินการ - ด�ำ เนนิ การไมเ่ ปน็ ไปตามแผน ใชอ้ ปุ กรณเ์ เละสอ่ื ประกอบถกู ตอ้ งเเตไ่ มค่ ลอ่ งเเคลว่ - ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณเื เละสอ่ื ประกอบถกู ตอ้ งเเตไ่ มค่ ลอ่ งเเคลว่ พอใช้ - ด�ำ เนินการตามแผนทวี่ างไว้ ใช้อปุ กรณเ์ เละสอื่ ประกอบการสาธติ ได้อย่าง ดี คลอ่ งเเคล่วและเสร็จทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจุดประสงค์ ดมี าก - ดำ�เนนิ การตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อปุ กรณ์เเละสอื่ ประกอบไดถ้ ูกตอ้ ง คลอ่ งเเคล่ว ตอ้ งปรับปรุง เเละเสร็จทนั เวลา ผลงานทุกข้ันตอนเปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ พอใช้ ดี ดา้ นการอธบิ าย ดีมาก - อธิบายไม่ถูกต้อง ขดั เเยง้ กับเเนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ - อธบิ ายโดยอาศัยเเนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ เเตก่ ารอธบิ ายเปน็ เเนวพรรณนา ทั่วไป ซึ่งไมค่ �ำ นึงถงึ การเชอ่ื มโยงกบั ปญั หาทำ�ใหเ้ ขา้ ใจยาก - อธบิ ายโดยอาศยั เเนวคดิ หลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปัญหา แตข่ า้ มไปในบางข้ันตอน ใช้ภาษาได้ถูกต้อง - อธิบายโดยอาศัยเเนวคดิ หลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาเเละ จดุ ประสงค์ ใชภ้ าษาได้ถูกต้องเขา้ ใจงา่ ย สอื่ ความหมายให้ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

390 ภาคผนวก ฟสิ กิ ส์ เล่ม 4 บรรณานกุ รม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2555). คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐาน ฟสิ กิ ส์ กลมุ่ สาระ การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ส�ำ หรบั นักเรยี นท่เี นน้ วิทยาศาสตร์ (พิมพค์ รัง้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพรา้ ว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2555). คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ พลังงาน (พิมพ์ครงั้ ที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). คมู่ อื ครูรายวชิ าเพมิ่ เติม ฟสิ ิกส์ เล่ม 3. (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). คู่มอื ครรู ายวชิ าเพิ่มเติม ฟิสกิ ส์ เล่ม 4. (พมิ พ์คร้ังท่ี 2). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2547). คมู่ อื ครสู าระการเรยี นรพู้ น้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ ฟสิ กิ ส์ เลม่ 2. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2548). คมู่ อื ครสู าระการเรยี นรพู้ น้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ ฟสิ กิ ส์ เลม่ 3. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว. Giancoli, D. C. (2014). Physics: Principles with Applications. (7th ed). Pearson. Halliday, D., Resnick, R., Walker, J. (2013). Fundamentals of Physics. (10th ed). John Wiley & Sons, Inc. McLaughlin, C. W., Thompson, M., Zike, D. (2011). Physical Science. Columbus, OH. Glencoe/Mcgraw-Hill. Serway, R. A., Faughn, J. S. (2009). Holt Physics. Holt, Rinehart and Winston. Serway, R. A., Jewett, Jr., J. W. (2014). Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics. (9th ed). Brooks/Cole. Young, H. D., Freedman, R. A. (2015). Sears and Zemansky’s University Physics with Modern Physics. (14th ed). Pearson. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฟิสิกส์ เล่ม 4 ภาคผนวก 391 คณะกรรมการจัดทำ�คูม่ ือครูรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฟสิ ิกส์ เล่ม 4 ตามผลการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 -------------- คณะทปี่ รึกษา 1. ศ.ดร.ชกู จิ ลิมปจิ ำ�นงค์ ผ้อู �ำ นวยการสถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ ์ ผชู้ ่วยผู้อำ�นวยการสถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะผู้จัดทำ�คมู่ ือครู รายวิชาเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 4 1. นายรงั สรรค์ ศรีสาคร ผเู้ ชย่ี วชาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผ้ชู ำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. นายบญุ ชยั ตันไถง ผู้ช�ำ นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผูช้ ำ�นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. นายวฒั นะ มากชนื่ นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. นายโฆสิต สงิ หสตุ นักวชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. นายรักษพล ธนานุวงศ์ นักวิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. ดร.กวนิ เชือ่ มกลาง 7. ดร.ปรีดา พชั รมณีปกรณ์ 8. ดร.จ�ำ เริญตา ปรญิ ญาธารมาศ 9. นายสรจิตต์ อารีรัตน์ 10. นายจอมพรรค นวลดี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

392 ภาคผนวก ฟิสิกส์ เลม่ 4 11. นายเทพนคร แสงหัวชา้ ง นักวชิ าการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 12. นายธนะรชั ต์ คัณทักษ์ นักวิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผู้รว่ มพจิ ารณาคู่มือครู รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 4 (ฉบบั รา่ ง) 1. ผศ.ดร.บรุ ินทร์ อศั วพภิ พ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ผศ.ดร.สชุ ยั นพรัตนแ์ จ่มจ�ำ รสั สถาบนั นวตั กรรมการเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จ.นครปฐม 3. นายสมุ ิตร สวนสุข โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลยั กรุงเทพมหานคร 4. นายประสทิ ธ์ิ สลดั ทกุ ข ์ โรงเรียนย่านตาขาวรฐั ชนปู ถัมภ์ จ.ตรงั 5. นายนิกรณ์ นิลพงษ์ โรงเรียนศรคี ูณวิทยบัลลงั ก์ จ.อ�ำ นาจเจรญิ 6. นายอดศิ กั ดิ์ ยงยทุ ธ โรงเรยี นมัธยมวัดหนองจอก กรงุ เทพมหานคร 7. นางสาวสายชล สุขโข โรงเรียนจ่านกร้อง จ.พษิ ณโุ ลก 8. นายชรนิ ทร์ วฒั นธีรางกรู โรงเรยี นพระปฐมวิทยาลัย จ.นครปฐม 9. นายบญุ โฮม สขุ ลว้ น โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทร์สมโภชลาดกระบัง กรงุ เทพมหานคร 10. นายพลพิพฒั น์ วฒั นเศรษฐานกุ ุล สำ�นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฟิสกิ ส์ เลม่ 4 ภาคผนวก 393 คณะบรรณาธิการ นกั วิชาการอิสระ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปภมั ภ์ 1. นายวิศาล จิตตว์ าริน มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. ดร.ศักด์ิ สุวรรณฉาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ดร.รงั สนั ต์ จอมทะรักษ์ 4. นายรักษพล ธนานวุ งศ ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

394 ภาคผนวก ฟิสิกส์ เล่ม 4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คา่ คงตวั และขอ้ มลู ทางกายภาพอน่ื ๆ คา่ คงตัว สญั ลกั ษณ์ ค่าประมาณ ปรมิ าณ c , c0 3.0 × 108 m s-1 G 6.6726 × 10-11 m3 kg-1 s-2 อตั ราเรว็ ของแสง h ค่าคงตัวโนม้ ถ่วง 6.6261 × 10-34 J s ค่าคงตัวพลังค์ e 1.6022 × 10-19 C ประจมุ ลู ฐาน R 1.0974 × 107 m-1 ค่าคงตวั รดิ เบิร์ก a0 5.2918 × 10-11 m รศั มโี บร์ me 9.1094 × 10-31 kg มวลอิเล็กตรอน mp 1.6726 × 10-27 kg มวลโปรตอน mn 1.6749 × 10-27 kg มวลนิวตรอน md 3.3436 × 10-27 kg มวลดิวเทอรอน NA , L 6.0221 × 1023 mol-1 ค่าคงตัวอาโวกาโดร mu 1.6605 × 10-27 kg ค่าคงตัวมวลอะตอม R 8.3145 J mol-1 K-1 ค่าคงตัวแกส๊ kB 1.3807 × 10-23 J K-1 คา่ คงตวั โบลต์ซมันน์ ขอ้ มลู ทางกายภาพอ่ืน ๆ ค่า ปริมาณ 5.97 × 1024 kg 7.36 × 1022 kg มวลของโลก 1.99 × 1030 kg มวลของดวงจนั ทร์ 6.38 × 103 km มวลของดวงอาทิตย์ 1.74 × 103 km รัศมีของโลก (เฉลยี่ ) 6.96 × 105 km รัศมขี องดวงจันทร์ (เฉลย่ี ) 3.84 × 105 km รัศมขี องดวงอาทติ ย์ (เฉลี่ย) 1.496 × 108 km ระยะทางระหว่างโลกและดวงจันทร์ (เฉลี่ย) ระยะทางระหวา่ งโลกและดวงอาทติ ย์ (เฉล่ีย)