Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-23 19:01:34

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 6 | ไฟฟา้ 264 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

265 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7หน่วยที่ หน่วยการเรียนรู้นี้มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต ความสัมพันธร์ ะหว่างสิง่ มชี ีวติ กับสิง่ มชี วี ติ ในรูปแบบตา่ ง ๆ การถ่ายทอดพลังงานผ่านโซ่อาหารและสายใยอาหาร และการสะสม สารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพที่มี ความสำคญั ต่อการรักษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ องค์ประกอบของหน่วย บทที่ 1 ระบบนิเวศ เรอ่ื งที่ 1 องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ เวลาทใ่ี ช้ 4 ชว่ั โมง เรือ่ งท่ี 2 ความสัมพนั ธข์ องสิ่งมีชวี ติ เวลาทใ่ี ช้ 7 ชวั่ โมง ในระบบนิเวศ กิจกรรมท้ายบท เวลาท่ใี ช้ 1 ชว่ั โมง บทที่ 2 ความหลากหลายทางชวี ภาพ เร่ืองที่ 1 ความหลากหลายของ เวลาทใ่ี ช้ 5 ช่ัวโมง ชนดิ สิง่ มีชวี ิต กิจกรรมทา้ ยบท เวลาทใี่ ช้ 1 ชว่ั โมง รวมเวลาที่ใช้ 18 ชั่วโมง

หน่วยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 266 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี บทที่ 1 ระบบนเิ วศ สาระสำคญั ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีชีวิตและองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตเป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต ถ้าจำแนกตามบทบาทในระบบนิเวศจะแบ่งสิ่งมีชีวิตออกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย สารอินทรีย์ นอกจากนี้หากจำแนกผู้บริโภคตามลักษณะการบรโิ ภคจะแบ่งออกได้เปน็ 4 ประเภท ได้แก่ สิ่งมีชีวิตกินพชื สิ่งมีชีวิตกินสัตว์ สิ่งมีชีวิตกินพืชและสัตว์ และสัตว์กินซาก ส่วนองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต เช่น ดิน น้ำ แสง ธาตุอาหาร มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อม ซึ่งองค์ประกอบทั้งสองส่วนนี้จะมีปฏิสัมพันธ์กันอย่าง เหมาะสมทำใหเ้ กดิ ความสมดุลของระบบนิเวศ องค์ประกอบท่ีมีชีวิตจะมีปฏิสัมพันธก์ นั เองและมีปฏิสัมพนั ธ์กับองค์ประกอบทีไ่ ม่มชี ีวิต โดยมีผู้ผลิตเป็นส่ิงมีชีวิต ที่สร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งใช้แสงแดด น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จากนั้น ผู้บริโภคซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เองจะกินผู้ผลิตหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เป็นอาหาร เมื่อผู้ผลิตและ ผู้บริโภคตายลงจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ซึ่งมีบทบาทในการเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้กลายเป็นสาร อนินทรีย์กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดการหมุนเวียนสารเป็นวัฏจักร นอกจากนี้เมื่อสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ร่วมกันในบริเวณเดียวกันจะมีปฏิสัมพันธ์กันเกิดเป็นความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิง อาศยั ภาวะปรสติ การล่าเหยอื่ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบในระบบนิเวศทำให้เกิดการถ่ายทอดพลังงาน โดยเริ่มต้นจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ลำดับขั้นต่าง ๆ รวมทั้งผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในรูปแบบโซ่อาหารและสายใยอาหารที่ประกอบขึ้นจากโซ่อาหารหลาย โซ่ที่สัมพันธ์กันและซับซ้อนมากขึ้น การถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหาร พลังงานที่ถูกถ่ายทอดไปจะมีปริมาณลดลง เรื่อย ๆ ตามลำดับขั้นของการบริโภค ในทางตรงกันข้ามหากมีสารพิษที่ปนเปื้อนและสะสมในระบบนิเวศ สารพิษจะ สามารถสะสมใสสิ่งมีชีวิตเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามลำดับขั้นของการบริโภคที่สูงขึ้นในโซ่อาหาร ทั้งนี้อาจก่อให้เกิด อันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและความสมดุลของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมได้ ดังนั้นมนุษย์ควรตระหนักถึงความสำคัญและ ร่วมกนั ดูแลรักษาระบบนเิ วศใหม้ ีความสมบรู ณแ์ ละสามารถคงอยตู่ ่อไปได้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

267 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จุดประสงคข์ องบทเรียน เม่ือเรียนจบบทนแ้ี ลว้ นักเรยี นจะสามารถทำสิ่งตอ่ ไปน้ไี ด้ 1. อธบิ ายปฏิสัมพันธข์ ององค์ประกอบของระบบนิเวศทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจ 2. อธิบายรปู แบบความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ิตกับสิง่ มชี ีวิตรูปแบบตา่ ง ๆ ในแหล่งที่อยู่เดียวกนั 3. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของผผู้ ลติ ผบู้ รโิ ภค และผยู้ ่อยสลายสารอนิ ทรียใ์ นระบบนิเวศ 4. สร้างแบบจำลองเพ่อื อธบิ ายการถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร 5. อธิบายการสะสมสารพษิ ในสงิ่ มีชีวิตทอ่ี ยู่ในโซ่อาหาร 6. ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยนำเสนอแนวทางการดูแลรักษาระบบ นิเวศให้สมดลุ

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 268 คู่มอื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาพรวมการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จุดประสงค์ แนวความคดิ ต่อเนื่อง กจิ กรรม รายการประเมนิ การเรียนรู้ของบทเรียน 1. อธิบายปฏสิ ัมพันธข์ อง 1. ระบบนิเวศประกอบด้วย กิจกรรมที่ 7.1 1. อธิบายปฏสิ ัมพันธข์ อง องค์ประกอบของระบบ องคป์ ระกอบของ องค์ประกอบท่มี ีชวี ติ และไม่มีชีวิต องค์ประกอบของ นเิ วศท่ไี ด้จากการสำรวจ ระบบนเิ วศที่ไดจ้ าก การสำรวจ 2. องค์ประกอบท่ีมีชวี ิต เช่น พชื สภาพแวดลอ้ มใน 2. อธิบายรูปแบบ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง สัตว์ จลุ ินทรยี ์ ท้องถนิ่ มี สง่ิ มชี ีวติ กับสง่ิ มชี ีวติ รปู แบบตา่ ง ๆ ในแหล่ง 3. องคป์ ระกอบที่ไมม่ ีชวี ิต เชน่ แสง ปฏสิ ัมพนั ธ์กนั ทอ่ี ยู่ จากดวงอาทติ ย์ นำ้ อุณหภมู ิ แร่ธาตุ อยา่ งไร 4. องคป์ ระกอบท่ีมีชวี ิตและไม่มชี ีวิต ในระบบนเิ วศ มคี วามสมั พนั ธก์ นั ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม เชน่ พชื ต้องการแสง นำ้ และแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ในการสร้าง อาหาร สตั วต์ อ้ งการอาหาร และ สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมในการ ดำรงชวี ิตในรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน 5. สิ่งมชี ีวติ ชนดิ เดียวกนั ท่อี าศัยอยู่ รว่ มกนั ในแหลง่ ทอ่ี ยเู่ ดยี วกนั ในชว่ งเวลาเดยี วกนั เรียกวา่ ประชากร 6. กล่มุ สง่ิ มีชีวิตประกอบด้วย ประชากรของสง่ิ มีชีวติ หลาย ๆ ชนดิ อาศยั อยู่ร่วมกันในแหลง่ ที่ อยเู่ ดยี วกัน 7. ระบบที่กลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ อาศยั ใน แหลง่ ทอี่ ยู่เดยี วกัน มี ความสัมพันธ์ซึง่ กนั และกัน และ มีความสมั พนั ธก์ ับแหลง่ ทีอ่ ยู่ เรียกวา่ ระบบนิเวศ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

269 หน่วยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จุดประสงค์ แนวความคิดต่อเนื่อง กจิ กรรม รายการประเมิน การเรยี นรขู้ องบทเรียน 1. สรา้ งแบบจำลองในการ 2. อธิบายความสัมพนั ธ์ 1. กลมุ่ สงิ่ มีชีวิตในระบบนิเวศแบง่ กจิ กรรมที่ 7.2 อธบิ ายการถา่ ยทอด พลังงานใน ของผู้ผลิต ผู้บริโภค ตามบทบาทไดเ้ ป็น ผผู้ ลิต สร้างแบบจำลอง สายใยอาหาร 2. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ และผู้ยอ่ ยสลาย ผบู้ ริโภค และผยู้ ่อยสลาย สายใยอาหารได้ ของผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภค และผู้ยอ่ ยสลาย 3. สร้างแบบจำลองในการ 2. เมอื่ ผผู้ ลิตและผบู้ รโิ ภคตายลงจะ อย่างไร สารอินทรีย์ใน ระบบนเิ วศ อธบิ ายการถา่ ยทอด ถกู ยอ่ ยโดยผยู้ ่อยสลาย 1. ยกตัวอย่างและอธบิ าย พลงั งานในสายใย สารอนิ ทรยี ซ์ ่ึงจะเปลย่ี น การสะสมสารพษิ ใน โซอ่ าหาร อาหาร สารอินทรีย์เปน็ สารอนินทรีย์ กลบั คืนสู่ระบบนเิ วศ ทำใหส้ าร เกดิ การหมนุ เวียนเป็นวัฏจักร 3. พลงั งานถูกถา่ ยทอดจากผผู้ ลติ ไป ยงั ผู้บริโภคลำดับตา่ ง ๆ รวมท้งั ผู้ย่อยสลายสารอินทรียใ์ น รูปแบบโซอ่ าหารและสายใย อาหาร ท่ปี ระกอบดว้ ยโซอ่ าหาร หลายโซ่ทส่ี ัมพนั ธ์กัน 4. พลังงานทีถ่ กู ถ่ายทอดในโซ่อาหาร จะลดลงไปเร่อื ย ๆ ตามลำดับขัน้ ของการบริโภค 5. จำนวนผูผ้ ลติ ผู้บริโภค และ ผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรยี จ์ ะต้องมี ความเหมาะสม จงึ ทำใหก้ ลุ่ม สงิ่ มีชีวิตอยไู่ ด้อยา่ งสมดลุ 4. อธบิ ายการสะสม 1. การถ่ายทอดพลงั งานในระบบ กจิ กรรมท่ี 7.3 สารพษิ ในสิง่ มชี ีวติ ใน นิเวศ อาจทำใหม้ สี ารพิษสะสม การสะสมสารพษิ โซ่อาหาร อย่ใู นสงิ่ มชี วี ิตทกี่ นิ ต่อกันเปน็ ในส่ิงมชี วี ิตเกิดขึ้น ทอด ๆ ในโซ่อาหารได้ อย่างไร

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 270 คมู่ อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จดุ ประสงค์ แนวความคิดตอ่ เนอ่ื ง กจิ กรรม รายการประเมนิ การเรยี นรูข้ องบทเรียน 5. อธิบายรูปแบบ 1. สงิ่ มชี ีวิตกบั ส่ิงมีชีวิตที่อยใู่ นแหลง่ ท่ี กิจกรรมท่ี 7.4 1. อธิบายลกั ษณะ ความสมั พันธ์ระหวา่ ง ความสมั พนั ธ์ระหว่าง อยเู่ ดยี วกันจะมีความสมั พันธก์ ันใน สง่ิ มชี ีวิตอยูร่ ว่ มกัน สง่ิ มีชีวิตกับสิ่งมชี วี ิตที่ ส่งิ มีชีวติ กับสง่ิ มีชีวิต อย่รู ่วมกัน รปู แบบต่าง ๆ ใน รปู แบบต่าง ๆ เชน่ ภาวะพึ่งพากนั อยา่ งไร แหล่งท่ีอยู่ 1. นำเสนอแนวทางการ 6. ตระหนกั ถงึ ภาวะอิงอาศัย ภาวะปรสิต การล่า ดแู ลรกั ษาระบบนิเวศให้ ความสัมพันธข์ อง สมดุล สิง่ มชี วี ติ และ เหยอื่ ส่ิงแวดลอ้ มใน ระบบนเิ วศ โดย 1. ในระบบนิเวศที่มีความสมดลุ ของ กิจกรรมท้ายบท นำเสนอแนวทางการ ดูแลรักษาระบบนิเวศ องคป์ ระกอบทมี่ ชี ีวิตและไมม่ ี เราจะดูแลรกั ษา ใหส้ มดลุ ชวี ติ จะสง่ ผลให้ระบบนิเวศคงอยู่ ระบบนิเวศใน ต่อไปได้อยา่ งปกติ ทอ้ งถิน่ ใหส้ มดลุ ได้ 2. ทุกคนควรมสี ่วนร่วมในการดูแล อยา่ งไร รักษาระบบนเิ วศ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

271 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทคี่ วรได้จากบทเรยี น ทักษะ เร่ืองที่ ทา้ ยบท 12 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์  การสังเกต   การวัด   การจำแนกประเภท   การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และสเปซกบั เวลา   การใชจ้ ำนวน  การจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มูล การลงความเห็นจากข้อมลู  การพยากรณ์ การตั้งสมมตฐิ าน การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร การกำหนดและควบคุมตวั แปร การทดลอง  การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป  การสรา้ งแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21  ด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา ด้านการสื่อสาร สารสนเทศและการรู้เท่าทนั สื่อ  ดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ  ดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม  ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร  ดา้ นการทำงาน การเรียนรู้ และการพ่ึงตนเอง

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 272 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การนำเขา้ สหู่ นว่ ยการเรียนรู้ ครดู ำเนนิ การดงั นี้ 1. กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเพื่อนำเข้าสู่หน่วยการเรียนรู้ ที่ 7 เรื่องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ โดย ให้นักเรียนสังเกตภาพนำหน่วย หรือวีดิทัศน์เกี่ยวกับสภาพ ธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีสภาพแวดล้อมและสิง่ มีชีวิตหลากหลาย (https://www.youtube.com/watch?v=dkPLIw9aZwY) โดยอาจใชค้ ำถามต่อไปน้ี • แนวปะการังมีสิ่งมีชีวิตอะไรอยู่บ้าง (นักเรียนตอบ ตามที่สังเกตได้ เช่น ปลาสิงโต ปลาชนิดต่าง ๆ ที่อาศัย อย่ใู นแนวปะการงั ) • จากวีดิทัศน์นักเรียนสังเกตว่ามีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง (นกั เรียนตอบตามที่สงั เกตได)้ 2. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหานำหน่วย แล้วร่วมกันอภิปรายโดย อาจใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี • ปะการังมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในแนวปะการัง ความรเู้ พ่ิมเตมิ สำหรับครู อย่างไร (นักเรียนตอบตามที่สังเกตได้ เช่น ปะการังเป็น ภาพนำหน่วย คือ แนวปะการังซึ่งเป็นที่อยู่ของ ทีอ่ ยอู่ าศยั และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำหลายชนิด) สิ่งมชี ีวิตหลายชนดิ เป็นตวั อยา่ งหนึง่ ของระบบนิเวศ ครูสามารถหาภาพของระบบนิเวศอื่น ๆ เช่น ป่าไม้ • หากแนวปะการังถูกทำลายจะส่งผลอย่างไร (สิ่งมีชีวิต แม่น้ำ ทุ่งหญ้า หรือน้ำตก ที่มีสิ่งมีชีวิตจำนวนมาก ในแนวปะการังจะไม่มีที่อยู่อาศัยและขาดแหล่งอาหาร หลากหลายชนิดอยดู่ ้วยกนั มาทดแทนได้ หรืออื่น ๆ ตามความคดิ และเหตุผลของนกั เรยี น) 3. ร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมว่า แนวปะการังเป็นตัวอย่างของ ระบบนิเวศทางทะเลแบบหนึ่ง ประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลาย ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ จากหน่วยการเรียนรู้นี้ จากนั้นให้นักเรียนอ่านคำถามนำหน่วย องค์ประกอบของหนว่ ย และร่วมกนั อภิปราย เพื่อใหน้ ักเรียนทราบว่าจะต้องเรียนรเู้ รื่องอะไรบ้างในหน่วยนี้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

273 หน่วยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ ค่มู อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. เชื่อมโยงเข้าสู่บทที่ 1 ระบบนิเวศ โดยให้นักเรียนดูภาพ ความรู้เพ่มิ เตมิ สำหรับครู นำบทและร่วมกนั อภปิ ราย โดยอาจใช้คำถามตอ่ ไปนี้ ภาพนำบท เป็นภาพแสดงระบบนิเวศที่แตกต่างกัน • องค์ประกอบในแต่ละภาพมอี ะไรบา้ ง ซึ่งในบางภาพอาจจะไม่สามารถสังเกตเห็นสิ่งมีชีวิต ได้ ครูอาจต้องให้ข้อมูลเพิ่มเติม เช่น บริเวณธาร • ส่ิงเหล่านี้มคี วามสมั พันธก์ ันอย่างไร น้ำแข็งจะมีปลาและแบคทีเรียอาศัยอยู่ได้ หรือครู 5. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหานำบทและอภิปรายเพื่อให้ได้ อาจจะหาภาพระบบนิเวศอืน่ ๆ มาเพม่ิ เตมิ ได้ คำตอบที่ถูกตอ้ งของคำถามอีกครงั้ ดังนี้ • องค์ประกอบในภาพมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามท่ี สังเกตได้ เช่น มีสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตอาศัยอยู่ ร่วมกนั ) • สิ่งเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร (นักเรียนตอบ ตามที่สังเกตได้ เช่น ปลากินสาหรา่ ยเป็นอาหาร) 6. จากนั้นให้นักเรียนอ่านคำถามนำบทและ จุดประสงค์การ เรียนรู้ของบท เพื่อให้ทราบขอบเขตเนื้อหาที่จะได้เรียนรู้ใน บทเรียนและจดุ ประสงค์ในการเรยี น

หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 274 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เร่อื งที่ 1 องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำเนนิ การดงั นี้ 1. นำเข้าสู่เรื่องที่ 1 องค์ประกอบของระบบนิเวศ โดยให้นักเรียนดู ภาพนำเรื่อง อ่านเนื้อหานำเรื่อง และ คำสำคัญ จากนั้น นกั เรยี นอภปิ รายร่วมกัน โดยอาจใช้คำถามดังต่อไปน้ี • ในนาข้าวมีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง (มีสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น ตน้ ขา้ ว แมลง ปนู า และสงิ่ มีชีวติ อืน่ ) • ในนาข้าวมีสิ่งไม่มีชีวิตอะไรบ้าง (มีสิ่งไม่มีชีวิตหลายอย่าง เช่น แสง ดิน น้ำ อากาศ) • สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชวี ิตมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร (ตอบตามความเข้าใจและประสบการณ์เดิมของนักเรียน แต่ครูควรบันทึกคำตอบไว้อภิปรายในตอนท้ายของ บทเรียน) 2. ให้ทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง ถ้าครูพบว่านักเรียนยังทำกิจกรรม ทบทวนความรกู้ อ่ นเรียนไม่ถกู ตอ้ ง ครคู วรทบทวนและแก้ไขความเขา้ ใจคลาดเคลือ่ นของนกั เรียน เพอื่ ให้นกั เรียนมคี วามรู้ พื้นฐานท่ถี ูกตอ้ งและเพียงพอทจี่ ะเรยี นเรอ่ื งองค์ประกอบของระบบนิเวศต่อไป เฉลยทบทวนความร้กู อ่ นเรยี น เขยี นเคร่ืองหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขยี นเครอ่ื งหมาย X หนา้ ขอ้ ความที่ไมถ่ ูกตอ้ ง  1. สง่ิ มีชีวติ แบ่งออกเป็น 2 กล่มุ คือ กลมุ่ พืชและกลมุ่ สัตว์  2. สง่ิ มีชีวติ กับสิ่งไม่มีชีวิตในบรเิ วณเดียวกันมีความสัมพันธ์กัน  3. สิง่ มีชวี ิตมีการปรบั ตัวดา้ นโครงสร้างและลกั ษณะใหเ้ หมาะสมกับแหล่งท่อี ยู่ 2. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับระบบนิเวศและองค์ประกอบของระบบนิเวศโดยให้นักเรียนทำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถเขียนข้อความได้อย่างอิสระตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูยังไม่เฉลย คำตอบที่ถูกตอ้ ง แต่ครูควรรวบรวมแนวคดิ คลาดเคลื่อนทีพ่ บเพื่อนำไปใชใ้ นการวางแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละแก้ไข แนวคิดคลาดเคล่ือนเหล่าน้นั ใหถ้ ูกตอ้ ง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

275 หน่วยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ ค่มู ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอย่างแนวคดิ คลาดเคลือ่ นทีอ่ าจพบในเรอื่ งนี้ • องคป์ ระกอบในระบบนเิ วศมีความสมั พนั ธก์ ันในทางตรงเท่าน้ัน (Griffiths, 1985) • ประชากรและกลมุ่ สง่ิ มีชวี ิตคือส่งิ เดยี วกนั (Adeniyi, 1985) 3. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 7.1 องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร โดยใช้คำถามว่า นักเรียนคิด ว่าสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถิน่ ของนักเรียนมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง และองค์ประกอบเหล่านน้ั มีปฏิสัมพนั ธ์กันอยา่ งไร

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 276 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 7.1 องคป์ ระกอบของสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถ่นิ มีปฏิสัมพนั ธก์ นั อย่างไร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครดู ำเนินการดังน้ี ก่อนการทำกิจกรรม (15 นาที) 1. ให้นกั เรยี นอา่ นช่อื กิจกรรม จดุ ประสงค์ และวธิ ีดำเนนิ กิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอา่ นโดยใชค้ ำถาม ดังต่อไปนี้ • กจิ กรรมนเ้ี กย่ี วข้องกบั เร่ืองอะไร (ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งองคป์ ระกอบของสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถ่นิ ) • กจิ กรรมนีม้ จี ุดประสงคอ์ ะไร (สำรวจและอธิบายปฏสิ ัมพันธข์ ององคป์ ระกอบของสภาพแวดล้อมในทอ้ งถิ่น) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (ระดมความคิด เลือกและกำหนดพื้นที่ สำรวจพื้นที่ด้วยวิธีการต่าง ๆ สังเกตและบันทึกสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางชีวภาพ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และอภิปรายเกี่ยวกับ ปฏสิ มั พันธ์ขององค์ประกอบทพี่ บในบรเิ วณที่สำรวจ) ครคู วรอภปิ รายให้นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมและบันทึกลงบนกระดานหรือในสมุดของนกั เรยี น • ขอ้ ควรระวงั ในการทำกจิ กรรมมอี ะไรบา้ ง (การเก็บข้อมูลของสตั ว์ท่ีเป็นอนั ตราย เช่น แมลงบางชนิด งู หรือสัตว์ มีพิษ ควรหลีกเลี่ยง แต่หากนักเรียนสนใจศึกษาอาจใช้วิธีการถ่ายภาพหรือวาดแผนแทนการสัมผัสโดยตรง รวมทั้งคำนึงถึงความปลอดภัยในการสำรวจ เช่น ระวังการพลัดตกลงไปในแหล่งน้ำ ระวังความเสียหายที่เกิด จากการใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครื่องมือสำรวจ) • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (เก็บและรวบรวมข้อมูลสิ่งมีชีวิต เช่น จำนวนและชนิดของสัตว์ และพืช ข้อมูลขององค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต เช่น แสง ค่า pH ของน้ำ รวมทั้งสังเกตปฏิสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบท่พี บในบรเิ วณทสี่ ำรวจ ซงึ่ สามารถสงั เกตได้ เช่น พฤตกิ รรม การเคลื่อนที่ การกินอาหาร) ระหว่างการทำกิจกรรม (45 นาท)ี 2. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ เริม่ ทำกิจกรรมในการสำรวจ ครูสงั เกตการทำงานของนักเรยี น โดยเฉพาะการสำรวจในบริเวณ ต่าง ๆ ครูควบคุมนักเรยี นให้สำรวจตามพ้ืนที่และขอบเขตที่กำหนดไวต้ อนตน้ และใหค้ ำแนะนำเมอ่ื นักเรยี นมคี ำถาม หรอื มีขอ้ สงสยั เชน่ การใช้เครื่องมอื ชอื่ ของสิ่งมชี ีวติ การบนั ทกึ จำนวน เป็นตน้ หลังการทำกจิ กรรม (30 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันเปรียบเทียบข้อมูล อภิปราย และสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกันจะพบชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตต่างกัน ในสภาพแวดล้อมเดียวกันสิ่งมีชีวิตที่อยู่ ร่วมกันจะมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น กินกันเป็นอาหาร นอกจากนี้สิ่งมีชีวิตยังมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิตด้วย เช่น พืชใช้ แสงและนำ้ ในการสร้างอาหาร กงิ้ ก่านอนอาบแดดเพอ่ื เพม่ิ อุณหภมู ใิ นรา่ งกาย เปน็ ตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

277 หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมและตอบคำถามระหว่างเรียนในหนังสือเรียนหน้า 162 ที่เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มี ชวี ิตและองค์ประกอบทไี่ ม่มชี วี ิตในระบบนิเวศ จากนน้ั รว่ มกันอภปิ ราย เพ่อื ให้ได้ข้อสรปุ ว่า ในสภาพแวดล้อมแตล่ ะ บริเวณจะพบชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต และองค์ประกอบท่ีไม่มีชีวิต โดยที่ องค์ประกอบตา่ ง ๆ จะมีปฏสิ ัมพนั ธ์กัน เฉลยคำถามระหวา่ งเรียน • ยกตัวอย่างสภาพแวดล้อม ระบุสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต พร้อมทั้งอธิบายปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและ สงิ่ ไม่มชี ีวติ ท่พี บในแหล่งทีอ่ ยูน่ ั้น แนวคำตอบ คำตอบขึ้นอยู่กับประสบการณ์เดิมของนักเรียน เช่น ในแปลงผักบุ้ง สามารถพบสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ผักบุ้ง หญ้า ตั๊กแตน ด้วงเต่าทอง หนอน สิ่งไม่มีชีวิต ได้แก่ ดิน น้ำ อากาศ แสงแดด โ ดยผักบุ้งใช้แสง น้ำ อากาศในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงเพ่อื การเจรญิ เตบิ โต หนอนและต๊กั แตนกินผกั บ้งุ และน้ำเปน็ อาหาร 5. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและตอบคำถามระหว่างเรียนในหนังสือเรียนหน้า 163 ที่เกี่ยวกับความหมายของแหล่งที่อยู่ ประชากร กลมุ่ สิ่งมีชีวติ และระบบนิเวศ และอาจจะใชค้ ำถามเพิ่มเติมดังน้ี • บรเิ วณที่สง่ิ มีชีวติ อาศัยอยเู่ รียกว่าอะไร (แหลง่ ท่อี ยู)่ • คำว่าประชากรกบั กลุ่มสิ่งมีชีวติ เหมือนหรือแตกต่างกันอยา่ งไร (แตกต่างกัน ประชากร คือสิ่งมชี ีวิตชนดิ เดยี วกัน ที่อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกันในช่วงเวลาหนึ่ง ส่วนกลุ่มส่ิงมีชีวิต คือ ประชากรของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิดท่ี อาศยั อย่ใู นแหลง่ ท่ีอยเู่ ดียวกันและมีความสัมพนั ธ์กัน) • ระบบนิเวศคืออะไร เรากำหนดขอบเขตของระบบนิเวศอย่างไร (ระบบนิเวศ คือ ระบบที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอาศัยใน แหล่งที่อยู่เดียวกัน มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และมีความสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่นั้น การกำหนดขอบเขตของ ระบบนเิ วศขึน้ อยู่กับผทู้ ี่ศกึ ษาเป็นผ้กู ำหนด) จากนัน้ ร่วมกนั อภิปราย เพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปว่า 5.1. แหลง่ ที่อยู่ คอื บรเิ วณท่ีส่งิ มชี ีวิตเหล่านอี้ าศยั อยู่ 5.2. ประชากร คือ สงิ่ มีชีวิตชนดิ เดียวกนั ที่อาศัยอยใู่ นแหล่งที่อยเู่ ดียวกนั ในช่วงเวลาหน่ึง 5.3. กลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ คือ ประชากรของส่ิงมชี วี ิตหลาย ๆ ชนดิ ท่อี าศยั อยใู่ นแหลง่ ท่อี ยู่เดียวกนั และมคี วามสัมพันธ์กนั 5.4. ระบบนิเวศ คือ ระบบที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอาศัยในแหล่งที่อยู่เดียวกัน มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และมี ความสมั พนั ธก์ ับแหลง่ ที่อยู่นนั้ ซึ่งการกำหนดขอบเขตของระบบนเิ วศขึน้ อยู่กบั ผ้ทู ศี่ กึ ษาเปน็ ผกู้ ำหนด

หน่วยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 278 ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • จากภาพ 7.2 มสี ่ิงมีชวี ิตกช่ี นดิ และแตล่ ะชนดิ มจี ำนวนประชากรเทา่ ใด แนวคำตอบ จากภาพ 7.2 จะพบสิ่งมีชีวิตทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ ต้นหญ้า ต้อยติ่ง มด นก และกระต่าย โดยที่ ต้นหญ้ามีประชากรทั้งหมด 8 ต้น ต้อยติ่งมีประชากรทั้งหมด 3 ต้น มดมีประชากรทั้งหมด 5 ตัว นกมี ประชากรทัง้ หมด 2 ตัว และกระตา่ ยมีประชากรทัง้ หมด 3 ตวั 6. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ หรือคำสำคัญอื่น ๆ เช่น ประชากร กลุ่มสิ่งมีชีวิต หรือคำอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากการตอบคำถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรืออาจตรวจสอบ โดยใช้กลวิธีอื่น ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนนั้นให้ถูกต้อง เช่น ใช้คำถามและอภิปรายร่วมกัน ใช้แผนภาพ วีดิทัศน์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคดิ ทีถ่ กู ต้อง ประชากรและกล่มุ สง่ิ มชี วี ติ มคี วามหมาย ประชากร คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกนั อยู่ในบริเวณเดียวกัน เหมอื นกัน (Adeniyi, 1985) ในช่วงเวลาเดียวกัน ส่วนกลุ่มสิ่งมีชีวิต คือ ประชากรของ สง่ิ มชี วี ติ หลาย ๆ ชนดิ ท่อี าศยั อยู่ในแหลง่ ทอี่ ย่เู ดยี วกันและ มคี วามสมั พนั ธก์ นั 7. นำเข้าสู่เรื่องที่ 2 ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ โดยใช้คำถามว่า นอกจากสิ่งมีชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งไม่มีชีวิตแล้ว สิ่งมีชีวิตยังมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ มีความสมั พันธก์ ันในรปู แบบใดบา้ ง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

279 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรื่องที่ 2 ความสัมพันธ์ของส่ิงมชี ีวิตในระบบนเิ วศ แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดำเนนิ การดังน้ี 1. กระตุ้นความสนใจ โดยให้นักเรียนดูภาพนำเรื่องและอ่าน เนื้อหานำเรื่องที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผึ้งกับดอกไม้ หรือ ครูอาจยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น นกกกกินลูกไทร (https://www.youtube.com/watch?v=aOFG-HPyvu8) ปลาอาศยั ในดงสาหร่าย หรืออ่นื ๆ จากนั้นใหน้ ักเรียนร่วมกัน อภปิ ราย โดยอาจใช้คำถามดังต่อไปน้ี • ผึ้งกับดอกไม้มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร (ผึ้งกินน้ำหวาน จากดอกไม้ ขณะเดยี วกันผึ้งช่วยถา่ ยเรณใู หด้ อกไม้) • นักเรียนรู้จักความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อีกหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดเห็นและประสบการณ์ เดมิ เช่น เป็ดกบั หอยเชอรี) 2. ให้นักเรียนอ่าน คำสำคัญ ทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อน เรียน แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง ถา้ ครพู บว่านกั เรยี นยังทำกจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรียนไม่ถกู ต้อง ครูควรทบทวนและแก้ไขความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรียน เพอื่ ให้นกั เรยี นมีความร้พู นื้ ฐานทถ่ี ูกต้องและเพยี งพอทจี่ ะเรยี นเรือ่ งความสัมพันธข์ องส่งิ มชี วี ติ ในระบบนิเวศ เฉลยทบทวนความร้กู อ่ นเรยี น เติมคำท่กี ำหนดให้ลงในช่องวา่ ง (สามารถใช้คำซำ้ ได้) ผู้ผลติ ผ้บู รโิ ภค ผ้ผู ลิต ผบู้ รโิ ภค ผบู้ รโิ ภค

หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 280 คู่มือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศโดยให้นักเรียนทำกิจกรรม รอู้ ะไรบ้างกอ่ นเรยี น นกั เรยี นสามารถเขียนขอ้ ความ แผนผงั หรอื แผนภาพไดอ้ ย่างอสิ ระตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูยังไม่เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง แต่ครูควรรวบรวมแนวคิดคลาดเคลื่อนที่พบเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนการ จัดการเรยี นรแู้ ละแก้ไขแนวคดิ คลาดเคล่อื นเหลา่ น้นั ใหถ้ ูกต้อง ตวั อย่างแนวคดิ คลาดเคลื่อนท่ีอาจพบในเรอื่ งน้ี • พชื เป็นส่ิงมชี ีวิตชนิดเดยี วที่เป็นผู้ผลติ (Khan Academy, 2019) • ผยู้ ่อยสลายสารอนิ ทรีย์คือเช้อื โรค (Driver และคณะ, 1994) • สง่ิ มชี วี ิตขนาดใหญก่ นิ สิ่งมชี วี ติ ทมี่ ีขนาดเล็กกว่าเสมอ (Adeniyi, 1985) 4. ให้นกั เรยี นอา่ นเนื้อหา เกรด็ น่ารู้ และตอบคำถามระหว่างเรยี น ในหนงั สือเรยี นหนา้ 165-166 ท่ีเกยี่ วข้องกับบทบาทของ สงิ่ มีชวี ิตในระบบนิเวศและการหมุนเวยี นของสาร และอาจใช้คำถามเพม่ิ เตมิ ดงั นี้ • ผู้ผลิตต่างจากผู้บริโภคอย่างไร (ผู้ผลิตสร้างอาหารได้เองจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนผู้บริโภคสร้าง อาหารเองไม่ได้ ต้องกนิ สิง่ มีชีวิตอ่นื เป็นอาหาร) • ถ้าพิจารณาตามอาหารที่กิน เราสามารถแบ่งผู้บริโภคไดก้ ่ีกลุ่ม อะไรบ้าง (สามารถแบ่งผ้บู รโิ ภคออกเป็น สง่ิ มีชวี ิต กินพชื สิง่ มีชวี ติ กนิ สตั ว์ สิ่งมชี ีวิตกินพชื และสัตว์ และสตั วก์ นิ ซาก) • ถ้าระบบนิเวศไม่มีผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์จะเกิดอะไรขึ้น (ซากพืชซากสัตว์ที่ทับถมจะไม่ถูกย่อยสลายและไม่เกดิ การหมุนเวียนของสารต่าง ๆ ในระบบนิเวศ) จากนนั้ อภิปรายร่วมกัน เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปว่า 4.1. สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่างมีบทบาทและหน้าที่แตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เองโดยใช้ กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง สง่ิ มีชวี ิตกลุ่มน้ีมีบทบาทเป็นผ้ผู ลิต 4.2. สิ่งมชี วี ิตท่ีไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ต้องกนิ ส่งิ มีชีวติ อื่นเปน็ อาหาร ส่งิ มชี วี ิตกลมุ่ นี้มบี ทบาทเปน็ ผ้บู ริโภค 4.3. ผูบ้ รโิ ภคสามารถแบ่งออกเปน็ สง่ิ มีชีวิตกนิ พืช สง่ิ มีชวี ิตกินสตั ว์ สิง่ มีชวี ติ กนิ พชื และสัตว์ และสตั วก์ นิ ซาก 4.4. ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ จะย่อยซากสิง่ มีชีวติ ที่ตายลง เพื่อดูดซึมไปใช้บางส่วน ส่วนที่เหลือจะอยูใ่ นสิ่งแวดลอ้ ม ซ่ึงผู้ผลติ สามารถนำไปใชใ้ นการดำรงชวี ิตต่อไป 4.5. ผูย้ ่อยสลายสารอนิ ทรยี ์ทำให้เกดิ การหมนุ เวียนของสารเปน็ วฏั จักร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

281 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามระหว่างเรยี น • ยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่เป็นสิ่งมีชีวิตกินพืช สิ่งมีชีวิตกินสัตว์ สิ่งมีชีวิตกินพืชและสัตว์ และสัตว์กินซากมา อยา่ งละ 2 ชนดิ แนวคำตอบ สิ่งมีชีวิตกินพืช เช่น ตั๊กแตน วัว สิ่งมีชีวิตกินสัตว์ เช่น เสือ สุนัขป่า สิ่งมีชีวิตกินพืชและสัตว์ เช่น ลิงแสม มนษุ ย์ และสัตว์กนิ ซาก เช่น หอยและปูบางชนิด 5. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและตอบคำถามระหว่างเรียนในหนังสือเรียนหน้า 167 เกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในการ ถ่ายทอดพลังงานผ่านการสร้างอาหารโดยผู้ผลิต จากนั้นจะมีการกินกันเป็นทอด ๆ ตามลำดับขั้นของการบริโภค จากน้ัน ร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ในโซ่อาหารสิ่งมีชีวิตจะมีการกินกันเป็นทอด ๆ เริ่มต้นจากผู้ผลิต ผู้บริโภค ลำดบั ท่ี 1 ผู้บรโิ ภคลำดับท่ี 2 และต่อไปเร่ือย ๆ เปน็ ลักษณะคล้ายโซท่ ่ีต่อกันเปน็ สายยาว เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • จากภาพ 7.7 ถ้าไม่มีกบในโซ่อาหารและงูสามารถกินตั๊กแตนทดแทนกบได้ ลำดับของการบริโภคจะ เปลี่ยนแปลงอยา่ งไร แนวคำตอบ งูจะเปลี่ยนจากผู้บริโภคลำดับที่ 3 หรือผู้บริโภคลำดับสุดท้ายมาเป็นผู้บริโภคลำดับที่ 2 ใน โซอ่ าหารนี้ 6. ใหน้ ักเรยี นอ่านเนอ้ื หาและตอบคำถามระหว่างเรยี นในหนังสอื เรียนหนา้ 168 เกีย่ วกับสายใยอาหารในระบบนิเวศ จากนัน้ ร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า สายใยอาหาร คือ ความสัมพันธ์ของโซ่อาหารที่มีความซับซ้อนหรือมีมากกว่าหนึ่ง โซ่อาหารท่สี มั พนั ธ์กนั เฉลยคำถามระหว่างเรียน • จากภาพ 7.8 มีโซอ่ าหารทั้งหมดกี่โซอ่ าหาร แนวคำตอบ โดยทั่วไปโซ่อาหารจะต้องประกอบด้วยผู้ผลิตและผู้บริโภคลำดับต่าง ๆ จนถึงผู้บริโภคลำดับ สดุ ท้าย ซึง่ ในสายใยอาหารนจ้ี ะประกอบดว้ ยโซ่อาหารท้งั หมด 22 โซอ่ าหาร ตวั อย่างโซ่อาหารท่ีเป็นไปได้ เช่น 1) มะมว่ ง → แมลงหว่ี → แมลงปอ → นกกนิ แมลง → แมว → นกอินทรี 2) มะม่วง → แมลงหวี่ → แมลงปอ → นกกนิ แมลง → นกอินทรี 3) มะม่วง → แมลงหวี่ → กบ → แมว → นกอินทรี 4) ข้าวโพด → ต๊ักแตน → กบ → แมว → งู→ นกอินทรี 5) ข้าวโพด → ตั๊กแตน → กบ → แมว → นกอนิ ทรี 6) ขา้ วโพด → หนู → งู → นกอนิ ทรี

หน่วยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 282 คูม่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • ถ้าชาวนาจับกบไปขายจนประชากรของกบเหลือน้อยมาก จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในสายใยอาหารนี้ อยา่ งไรบ้าง แนวคำตอบ เมื่อกบซึ่งมีบทบาทเป็นผู้บริโภคลำดับที่ 2 ลดจำนวนลง อาจจะส่งผลให้งูขาดแคลนอาหารและ ลดจำนวนลง และในขณะเดียวตั๊กแตนกจ็ ะเพิ่มจำนวนข้ึน สง่ ผลกระทบต่อผผู้ ลิตท่ีจะลดจำนวนลง • โซอ่ าหารกบั สายใยอาหารแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวคำตอบ โซ่อาหารเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ส่วนสายใยอาหารจะ ประกอบด้วยโซ่อาหารมากกว่าหนึง่ สายซึ่งมีความสมั พันธก์ นั ซบั ซอ้ นมากกวา่ โซ่อาหาร 7. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับระบบนิเวศและองค์ประกอบของระบบนิเวศ จากการตอบคำถาม ก่อนเรียนและระหว่างเรียน หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอื่น ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนนั้นใหถ้ ูกต้อง เช่น ใช้คำถามและอภปิ รายรว่ มกัน ใชแ้ ผนภาพ วีดิทัศน์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคดิ คลาดเคล่ือน แนวคิดท่ถี กู ตอ้ ง พชื เป็นส่ิงมีชีวติ ชนดิ เดยี วทเ่ี ปน็ ผูผ้ ลิต นอกจากพืชแล้ว ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นที่เป็นผู้ผลิตได้ เช่น สาหร่าย (Khan Academy, 2019) และแบคทีเรยี บางชนดิ ผยู้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรียค์ ือเชอ้ื โรค ผยู้ ่อยสลายสารอินทรียม์ ที ั้งที่เปน็ แบคทีเรยี ทีก่ ่อโรค และไม่ก่อ (Driver และคณะ, 1994) โรค และบางสว่ นไม่ใชแ่ บคทเี รยี เชน่ เห็ดรา สง่ิ มชี ีวติ ขนาดใหญ่กินส่งิ มีชีวติ ท่ีมขี นาดเล็กกวา่ เสมอ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกว่าก็สามารถกินสิ่งมีชีวิตท่ีขนาดใหญ่ (Adeniyi, 1985) กว่าได้ เช่น ตั๊กแตนตำข้าวสามารถกินกบบางชนิดได้ เสือ สามารถกนิ ววั ท่ีขนาดตวั ใหญ่กว่า งูเหลอื มสามารถกินกวางได้ 8. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 7.2 สร้างแบบจำลองสายใยอาหารได้อย่างไร โดยใช้คำถามว่า ในสภาพธรรมชาติการกิน กันเป็นทอด ๆ อยใู่ นรปู ของสายใยอาหารซึ่งประกอบด้วยโซ่อาหารหลายสายท่ีสมั พันธ์กนั นกั เรียนคิดวา่ สายใยอาหารใน ธรรมชาตเิ หมือนกันหรือไม่ และจะเขยี นสายใยอาหารได้อยา่ งไร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

283 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 7.2 สรา้ งแบบจำลองสายใยอาหารได้อยา่ งไร แนวการจัดการเรยี นรู้ ครดู ำเนินการดังน้ี กอ่ นการทำกิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นกั เรยี นอา่ นชื่อกิจกรรม จดุ ประสงค์ และวิธดี ำเนนิ กจิ กรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอา่ นโดยใช้คำถาม ดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เก่ียวข้องกบั เรื่องอะไร (การสร้างแบบจำลองสายใยอาหารจากส่งิ มชี วี ิตที่กำหนดให)้ • กิจกรรมน้ีมีจุดประสงค์อะไร (สรา้ งแบบจำลองสายใยอาหาร และอธบิ ายความสมั พันธข์ องผผู้ ลิตและผู้บริโภคใน สายใยอาหาร) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (เลือกระบบนิเวศ 1 ระบบนิเวศ สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาหารของ สิ่งมีชีวิต วิเคราะห์และสร้างแบบจำลองโซ่อาหารและสายใยอาหาร นำเสนอและอภิปรายเกี่ยวกับสายใยอาหาร ท่ีสร้างขน้ึ ) • ครูควรบันทกึ ขนั้ ตอนการทำกจิ กรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (นักเรียนสังเกต สืบค้น และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกบั ลักษณะสิง่ มี ชีวตและอาหารของสงิ่ มชี วี ิตแต่ละชนดิ ในระบบนิเวศที่เลือก) ระหว่างการทำกจิ กรรม (30 นาท)ี 2. ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เริ่มทำกิจกรรม ครูสงั เกตการทำงานของนกั เรียน โดยพยายามใหน้ ักเรยี นสร้างโซอ่ าหาร แสดง ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ มชี วี ติ ในระบบนิเวศ ในด้านการถา่ ยทอดพลงั งานโดยการกนิ กนั เป็นทอด ๆ จากนั้นเชอื่ มโยง แต่ละโซ่อาหาร โดยสร้างเป็นแบบจำลองสายใยอาหาร ซงึ่ มีตวั อย่างแนวทางดงั ตอ่ ไปน้ี • การสร้างโซ่อาหารใหเ้ ร่มิ ต้นจากผผู้ ลติ ไปยงั ผ้บู ริโภคลำดบั ต่าง ๆ ถัดไปทีละลำดบั • เมื่อได้โซ่อาหารครบทุกโซ่อาหารแล้ว จากนั้นพจิ ารณาโซอ่ าหารท่ียาวที่สุดมาใชเ้ ปน็ หลักในการสร้างแบบจำลอง สายใยอาหาร • สร้างแบบจำลองสายใยอาหาร โดยนำส่วนของโซ่อาหารทม่ี ีสิง่ มชี ีวิตซำ้ กนั มาทบั ซ้อนกัน หลังการทำกิจกรรม (20 นาที) 3. ให้นักเรียนนำเสนอผลการสร้างแบบจำลองสายใยอาหารบนกระดาน เพื่อใช้ประกอบการอภิปรายและตอบคำถาม ท้ายกิจกรรม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ จะมี สิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่มีความสัมพันธ์กันในด้านการถ่ายทอดพลังงานในรูปของสายใยอาหาร ซึ่งประกอบด้วยโซ่ อาหารหลายโซ่อาหารสัมพันธ์กัน ในธรรมชาติสายใยอาหารจะมีความซับซ้อนแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับจำนวนชนิด ของสงิ่ มีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศน้นั

หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 284 คมู่ ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดพลังงานระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละ ลำดับขั้นของการบริโภค และตอบคำถามระหว่างเรียนในหนังสือเรียนหน้า 170-171 จากนั้นอภิปรายร่วมกัน เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ 4.1. การถ่ายทอดพลังงานระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศ ปริมาณพลังงานในผู้ผลิตจะมีมากที่สุดและลดลงไป เรอ่ื ย ๆ ตามลำดับขน้ั ของการบรโิ ภค 4.2. การถ่ายทอดพลังงานลดลงไปตามลำดับขั้นของการบริโภค เพราะผู้บริโภคกินผู้ผลิตได้เพียงบางส่วน ซึ่งส่วนที่ กินได้นั้นผู้บริโภคจะนำไปใช้ในการเจริญเติบโตและเผาผลาญเพื่อผลิตพลังงานสำหรับใช้ในการทำกิจกรรม ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย 4.3. ผู้บริโภคในโซ่อาหารจำเป็นต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในปริมาณที่มากเพียงพอจึงจะสามารถดำรงชีวิตและทำ กิจกรรมต่าง ๆ ได้ เนื่องจากระหว่างที่มีการถ่ายทอดพลังงานตามลำดับขั้นของการบริโภคมีการสูญเสีย พลังงานไปในปริมาณมาก เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • จากโซอ่ าหารนี้ ปรมิ าณพลังงานจากสาหรา่ ยที่ถ่ายทอดไปยงั ผบู้ รโิ ภคลำดบั ต่าง ๆ เปลย่ี นไปอย่างไร แนวคำตอบ พลังงานทีถ่ า่ ยทอดไปจะลดลงไปตามลำดบั ขนั้ ของการบริโภค โดยผผู้ ลิต (สาหรา่ ย) จะมีพลังงาน สะสมในเนื้อเยื่อมากที่สุด ปลาซิวได้รับพลังงานสะสมในเนื้อเยื่อจากผู้ผลิตมากที่สุด ในขณะที่นกยางได้รับ พลงั งานสะสมในเนอ้ื เยือ่ จากผู้ผลติ น้อยท่สี ดุ 5. เชือ่ มโยงเขา้ สู่ กิจกรรมที่ 7.3 การสะสมสารพิษในส่งิ มีชวี ติ เกดิ ข้ึนอย่างไร โดยใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเก่ียวกับ การใช้สารพิษต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศผ่านการกินกันเป็นทอด ๆ โดยใช้คำถามว่า นกั เรยี นคิดวา่ สารพษิ ทส่ี ะสมอยู่ในรา่ งกายของส่งิ มีชวี ิตจะถา่ ยทอดไปยงั สิ่งมีชวี ติ อ่ืน ๆ ได้หรือไม่ อยา่ งไร สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

285 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คู่มือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 7.3 การสะสมสารพิษในส่งิ มชี ีวติ เกิดข้นึ อยา่ งไร แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดำเนินการดงั น้ี กอ่ นการทำกจิ กรรม (15 นาที) 1. ให้นักเรยี นอา่ นชอื่ กิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนนิ กิจกรรม และตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่านโดยใชค้ ำถาม ดังต่อไปนี้ • กจิ กรรมนเ้ี ก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองอะไร (การสะสมสารพษิ ในโซอ่ าหาร) • กจิ กรรมน้มี ีจุดประสงคอ์ ะไร (แสดงบทบาทสมมตแิ ละอธบิ ายการสะสมสารพษิ ในโซ่อาหาร) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านและศึกษารายละเอียดในสถานการณ์ แสดงบทบาทสมมตติ าม วธิ ดี ำเนินกิจกรรม สังเกต บันทึก และรวบรวมข้อมลู ของสารพิษในสิ่งมชี ีวติ พร้อมท้งั อภิปรายผลจากกจิ กรรม) • ครูควรบันทึกขัน้ ตอนการทำกิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (สังเกต บันทึก และรวบรวมข้อมูลของปริมาณสารพิษใน ส่งิ มีชวี ติ แต่ละตัว และคา่ เฉลี่ยปริมาณสารพิษในสิ่งมชี ีวิตตามลำดบั ข้นั ของการบริโภคในโซ่อาหาร) ระหวา่ งการทำกจิ กรรม (30 นาท)ี 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มทำกิจกรรม ครูสังเกตการทำงานของนักเรียน โดยเฉพาะในขั้นตอนของการทำกิจกรรม บทบาทสมมติควรใหน้ ักเรยี นซกั ซอ้ มความเขา้ ใจในบทบาทของตนเอง 3. ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลในลำดับขั้นของการบริโภคอย่างชดั เจนและหาค่าเฉลี่ย เพื่อใช้ในการสรุปผลการทำกิจกรรม ได้อยา่ งถกู ต้อง ครูอาจจะช่วยเหลือนกั เรียนในการออกแบบตารางบนั ทึกผลกอ่ นการบันทกึ ผล หลงั การทำกิจกรรม (15 นาที) 4. ให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้าย กจิ กรรมเป็นแนวทาง เพอื่ ให้ได้ขอ้ สรุปจากกิจกรรมวา่ สารพษิ จะสะสมในสง่ิ มีชวี ิตเพม่ิ ข้ึนตามลำดบั ขั้นการบริโภค โดยจะพบค่าเฉลี่ยสารพิษในปลาซิวน้อยที่สุดและพบค่าเฉลี่ยสารพิษในนกกระสามากที่สุด เนื่องจากผู้บริโภคลำดับ ที่สูงกว่าจะบริโภคผู้ผลิตหรือผู้บริโภคลำดับต่ำกว่าในปริมาณมาก เพื่อให้ได้รับพลังงานเพียงพอในการดำรงชีวิต ทำ ใหม้ ีโอกาสได้รับสารพิษสะสมมากกว่าผบู้ ริโภคลำดบั ท่ตี ่ำลงไป

หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 286 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและตอบคำถามระหว่างเรียน ในหนังสือเรียนหน้า 174 เกี่ยวกับการสะสมสารพิษที่มี การปนเปอื้ น ตกคา้ ง และสะสมเพ่ิมข้ึนในส่งิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศ จากนัน้ รว่ มกันอภิปราย เพื่อให้ไดข้ อ้ สรุปว่า 5.1. สารพิษจะสะสมในส่ิงมีชีวติ เพ่มิ ขึน้ ตามลำดบั ข้นั การบริโภค 5.2. การสะสมสารพิษก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและอาจทำให้ระบบนิเวศเสียสมดุลได้ ถ้าสารพิษสะสมใน สงิ่ มีชวี ิตในปริมาณมาก แลว้ ทำใหส้ ิง่ มชี วี ติ นัน้ ตายลงจะส่งผลกระทบตอ่ สง่ิ มีชีวติ ชนดิ อน่ื ๆ ในระบบนเิ วศน้ัน เฉลยคำถามระหวา่ งเรียน • เหตุใดผบู้ รโิ ภคลำดบั ทส่ี งู กว่าจงึ มีปริมาณสารพิษสะสมในรา่ งกายมากกว่าผบู้ ริโภคลำดบั ท่ีต่ำกว่า แนวคำตอบ เน่อื งจากผูบ้ รโิ ภคลำดบั ทสี่ งู กวา่ กินผู้บรโิ ภคท่ีตำ่ กวา่ ในจำนวนและปริมาณท่มี าก ทำให้มีโอกาสท่ี สารพิษสะสมในเนื้อเยื่อมากกว่า • ปรมิ าณพลังงานทถี่ า่ ยทอดไปตามลำดับขัน้ ของการบริโภคแตกตา่ งจากปริมาณสารพิษทีส่ ะสมในโซอ่ าหาร หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ แตกต่าง เพราะในการถ่ายทอดพลังงาน พลังงานท่ีได้จะลดลงไปเรื่อย ๆ ตามลำดับขั้นของการ บริโภค ในทางตรงกันขา้ ม สารพษิ จะสะสมเพ่ิมข้ึนเร่อื ย ๆ ในสงิ่ มชี ีวติ ที่มลี ำดับขั้นการบริโภคสงู กว่า 6. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 7.4 สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไร โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตที่มีการกินกันเป็นทอด ๆ เพื่อเชื่อมโยงไปยังความสัมพันธ์แบบอื่น ๆ โดยใช้คำถามว่า ในระบบนิเวศ หนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตที่อาศยั อยู่ร่วมกัน นอกจากจะมีปฏิสัมพันธก์ ันในด้านการกินต่อกันเป็นทอด ๆ แล้ว นักเรียนคดิ ว่า สง่ิ มีชีวิตจะมีความสัมพันธก์ ันในรูปแบบใดอกี บา้ ง และมีปฏสิ ัมพันธต์ อ่ กนั อย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

287 หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คูม่ อื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 7.4 สง่ิ มีชีวติ อยรู่ ่วมกนั อย่างไร แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดำเนินการดงั นี้ ก่อนการทำกจิ กรรม (10 นาที) 1. ใหน้ กั เรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวธิ ีดำเนนิ กิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใชค้ ำถาม ดงั ต่อไปน้ี • กจิ กรรมนีเ้ กย่ี วข้องกับเรอ่ื งอะไร (ปฏิสมั พนั ธข์ องส่งิ มชี ีวติ ที่อยู่รว่ มกนั ) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (สืบค้นข้อมูลและอธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ ร่วมกนั ) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อภิปรายและสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ ส่งิ มชี ีวิตแต่ละคู่ จำแนกคูส่ งิ่ มีชวี ิตตามเกณฑ์ และอภิปรายเกย่ี วกบั ความสัมพันธ์แตล่ ะลักษณะ) ครูควรบันทึกข้ันตอนการทำกจิ กรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (รวบรวมข้อมูลจากการสืบค้นและการอภิปรายลักษณะ ความสมั พนั ธข์ องคู่สงิ่ มชี วี ิตแต่ละค)ู่ ระหวา่ งการทำกจิ กรรม (30 นาท)ี 2. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มเริ่มทำกิจกรรม ครูสังเกตการทำงานของนักเรียน ช่วยเหลือในการหาคำตอบความสมั พันธแ์ ต่ ละแบบเมือ่ นักเรยี นมีข้อสงสัย 3. เน้นให้นักเรียนสืบค้นเพิ่มเติม วิเคราะห์ และหาหลักฐาน เพื่อสนับสนุนแนวความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ ส่ิงมีชีวิตในรปู แบบตา่ ง ๆ เพม่ิ เตมิ หลงั การทำกิจกรรม (10 นาที) 4. ให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้าย กิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ในธรรมชาติสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกันมีความสัมพันธ์กัน ในลักษณะตา่ ง ๆ ส่งิ มีชีวติ บางชนดิ ได้ประโยชน์ บางชนดิ เสียประโยชน์ และบางชนิดไมไ่ ด้และไมเ่ สียประโยชน์

หนว่ ยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 288 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. ให้นกั เรยี นอา่ นเน้อื หาและตอบคำถามระหวา่ งเรียนในหนังสือเรียนหนา้ 176-177 เกีย่ วกับรปู แบบของความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งสงิ่ มีชวี ติ กับส่งิ มชี ีวิต และอาจจะใช้คำถามเพิ่มเติมดงั น้ี • ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชวี ิตแบบใดท่เี ป็นประโยชน์ต่อระบบนเิ วศ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจและ ประสบการณ์เดิม ครูพยายามกระตุ้นให้นักเรียนตอบให้ครบทุกแบบ เช่น ภาวะปรสิตและการล่าเหยื่อจะช่วย ควบคุมจำนวนประชากรของสิ่งมีชีวิตบางชนิดให้มีจำนวนเหมาะสมไม่มากหรือน้อยเกินไปในธรรมชาติ ภาวะ อิงอาศยั และภาวะพง่ึ พากันสามารถทำให้ประชากรของสง่ิ มชี ีวิตเพิ่มจำนวนประชากรไดด้ ี ทำให้เพิ่มแหล่งอาหาร ใหก้ บั ส่งิ มชี ีวติ ที่บริโภคส่งิ มชี วี ติ เหลา่ นน้ั เป็นอาหาร) • ยกตัวอย่างคู่สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ (คำตอบขึ้นอยู่กับข้อมูลที่มาจากการสืบค้น หรือจากประสบการณเ์ ดิมของนักเรยี น) จากน้ันร่วมกนั อภิปราย เพื่อให้ไดข้ ้อสรปุ วา่ สงิ่ มีชวี ิตที่อย่รู ่วมกนั จะมปี ฏิสมั พันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ ตวั อยา่ งเช่น 5.1. ภาวะพึ่งพากัน เป็นภาวะท่ีสิ่งมีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดมาอยู่ร่วมกันจะได้ ประโยชน์ 5.2. ภาวะอิงอาศัย เป็นภาวะที่สิ่งมีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ โดยที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งไม่ เสยี ประโยชน์และไมไ่ ด้ประโยชน์ 5.3. ภาวะปรสิต เป็นภาวะที่สิ่งมีชวี ิตสองชนดิ มาอยูร่ ว่ มกนั แลว้ สิ่งมีชวี ิตหน่ึงไดป้ ระโยชน์ (ปรสติ ) สง่ิ มีชีวิตหนง่ึ เสยี ประโยชน์ (ผู้ถูกอาศยั ) 5.4. การล่าเหยื่อ เป็นภาวะที่สิง่ มีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตหนึง่ ได้ประโยชน์ (ผู้ล่า) สิ่งมีชีวิตหนึ่งเสยี ประโยชน์ (เหยื่อ) เฉลยคำถามระหวา่ งเรียน • ภาวะปรสติ กับการล่าเหยอ่ื เหมือนหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร แนวคำตอบ การล่าเหยื่อ คือการที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งกินสิ่งมีชีวิตหนึ่งโดยตรง ซึ่งทำให้สิ่งมีชีวิตที่เป็นเหยื่อตายลง ส่วนภาวะปรสิต สิ่งมีชีวิตที่เป็นปรสิตจะเบียดเบียนเอาอาหารหรือสารอาหารจากเจ้าบ้าน โดยไม่ได้ทำให้ สิ่งมีชีวิตเจ้าบ้านตายลงในทันที แต่ความสัมพันธ์ทั้งสองแบบก็เหมือนกันตรงที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ ขณะทส่ี ่ิงมีชีวิตอกี ชนิดหนงึ่ เสยี ประโยชน์ 6. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและตอบคำถามระหว่างเรียนในหนังสือเรียนหน้า 177-178 เกี่ยวกับความสัมพันธ์ในรูปแบบ การล่าเหยื่อ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อผู้ล่าเพิ่มจำนวนมากขึ้นจะทำให้เหยื่อซึ่งเป็นอาหารลดลง หากผู้ล่ากินเหย่ือ ชนิดเดียวที่มีความจำเพาะจะส่งผลทำให้ผู้ล่าขาดแคลนอาหารและเกิดการแข่งขันระหว่างกันเพื่อแย่งอาหาร ทำให้ จำนวนผู้ล่าลดลง ดังน้นั จำนวนของผ้ลู า่ และเหย่อื ในระบบนิเวศหนึ่งอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงทำใหเ้ กิดความสมดลุ ของ จำนวนประชากรทัง้ ผู้ล่าและเหยอ่ื สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

289 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • ในชว่ งปี ค.ศ. 1925-1935 ประชากรของแมวปา่ ลิงซล์ ดลง นักเรียนคิดวา่ เกิดจากปัจจยั ใด แนวคำตอบ หากวิเคราะห์จากกราฟข้อมูลอาจจะมีความเป็นไปได้ว่า จำนวนของกระต่ายป่าลดลง ทำให้แมว ป่าลิงซ์ขาดแคลนอาหารและลดจำนวนลงเช่นเดียวกัน ซึ่งอาจจะเกิดจากสาเหตุได้หลายอย่าง เช่น ขาดแคลน อาหาร เกดิ โรคระบาด หรือจำนวนประชากรผ้ลู ่าชนิดอ่ืน ๆ เพม่ิ จำนวนประชากรมากขึ้น • ความสมั พันธข์ องจำนวนประชากรส่ิงมีชีวิตทงั้ สองชนดิ นเ้ี ปน็ อย่างไร แนวคำตอบ จำนวนของประชากรสิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดแปรผันตามกัน นั่นคือ เมื่อจำนวนกระต่ายป่าเพิ่มขึ้น จำนวนแมวปา่ ลงิ ซ์ก็จะเพ่ิมข้นึ ถงึ จดุ หน่งึ จำนวนกระตา่ ยปา่ จะลดลง ทำใหจ้ ำนวนแมวปา่ ลิงซ์ลดลงตาม • ปจั จยั ใดที่มีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของประชากรของเหย่ือกับผูล้ า่ แนวคำตอบ จำนวนของประชากรของสิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิด นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอื่น ๆ อีก เช่น ภูมิอากาศ ภัยธรรมชาติที่ส่งผลโดยตรง หรือส่งผลทางอ้อมต่ออาหารของกระต่ายป่า เช่น ภัยแล้งทำให้พืชที่เป็นอาหาร ของกระต่ายป่าลดลง ส่งผลให้จำนวนประชากรกระต่ายป่าอาจจะลดลงโดยไม่ได้เกี่ยวข้องกับจำนวนของแมว ปา่ ลิงซ์แตอ่ ยา่ งใด 7. ให้นักเรียนตรวจสอบตนเองเพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผัง มโนทัศน์สิ่งทไ่ี ด้เรยี นร้จู ากหน่วยการเรียนรู้นี้

หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 290 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอยา่ งผงั มโนทศั นใ์ นบทเรียนเรอื่ งระบบนเิ วศ ระบบนิเวศ องค์ประกอบที่มีชีวิต ประกอบดว้ ย องค์ประกอบทีไ่ มม่ ีชวี ติ มี ทำใหเ้ กดิ มีความสัมพันธก์ ัน บทบาทในระบบนิเวศ ปฏสิ มั พนั ธก์ นั หลายรูปแบบ เช่น การหมุนเวยี นของสาร ไดแ้ ก่ สงิ่ มีชีวติ กนิ พืช ภาวะพ่ึงพากัน เกดิ เปน็ ผ้ผู ลิต สิง่ มีชวี ิตกินสัตว์ แบง่ เป็น ภาวะองิ อาศยั โซ่อาหาร ผบู้ รโิ ภค สง่ิ มีชีวติ กินทง้ั ภาวะปรสติ ซับซอ้ นข้นึ เปน็ ผู้ย่อยสลายสารอินทรยี ์ พืชและสตั ว์ การลา่ เหยื่อ สายใยอาหาร สัตวก์ ินซาก อาจเกิด มีสว่ นชว่ ยใน เกิด การสะสมสารพิษ การถ่ายทอดพลังงาน 8. สุ่มนักเรียนนำเสนอผังมโนทัศน์สรุปความรู้ที่ได้จากบทเรียน หรือจัดแสดงผลงานเพื่อให้นักเรียนพิจารณาให้ ความเหน็ และร่วมกันอภิปรายสรปุ ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากบทเรยี น 9. ให้นักเรียนทำ กิจกรรมท้ายบท เราจะดูแลรักษาระบบนิเวศในท้องถิ่นได้อย่างไร และตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนน้ั ให้นักเรียนตรวจสอบตนเอง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

291 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 10. ให้นักเรียนตอบคำถามสำคญั ของบทและอภปิ รายร่วมกนั โดยนักเรยี นควรตอบคำถามสำคัญดังกล่าวได้ ดงั ตัวอยา่ ง เฉลยคำถามสำคญั ของบท • ระบบนิเวศมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง และระบบนเิ วศแตล่ ะระบบนเิ วศมคี วามเหมอื นและแตกต่างกนั อยา่ งไร แนวคำตอบ ระบบนิเวศประกอบดว้ ยองค์ประกอบทีม่ ชี ีวติ และองค์ประกอบทไี่ มม่ ีชีวิต ซ่ึงองค์ประกอบเหล่านี้ จะแตกต่างไปในแต่ละบริเวณ โดยองค์ประกอบเหล่านี้จะมีปฏิสัมพันธ์อย่างเหมาะสม จึงจะทำให้ระบบนิเวศ เกดิ ความสมดลุ และคงอยไู่ ด้ตอ่ ไป • องค์ประกอบท่มี ชี ีวิตมปี ฏสิ ัมพันธ์กนั อย่างไร และมปี ฏิสัมพนั ธ์กับองคป์ ระกอบท่ไี ม่มชี วี ติ อยา่ งไร แนวคำตอบ ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีชีวิตและองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตเป็น องค์ประกอบที่มีชีวิต องค์ประกอบที่มีชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์กันเองและมีปฏิสัมพันธ์กับองค์ประกอบที่ไม่มีชีวติ โดยมีผู้ผลิตเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งใช้แสงแดด น้ำ และแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต จากนั้นผู้บริโภคซึ่งเป็นส่ิงมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้ เองจะกินผู้ผลิตหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เป็นอาหาร เมื่อผู้ผลิตและผู้บริโภคตายลงจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลาย สารอินทรีย์ซึ่งมีบทบาทในการเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้กลายเป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อมทำใ ห้เกิดการ หมุนเวยี นสารเป็นวัฏจกั ร นอกจากนี้เมือ่ สงิ่ มีชีวิตกับสงิ่ มีชวี ติ อาศัยอยู่รว่ มกันในบรเิ วณเดียวกันจะมปี ฏสิ ัมพันธ์ กนั เกดิ เป็นความสมั พนั ธก์ ันในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ ภาวะพงึ่ พากนั ภาวะอิงอาศยั ภาวะปรสิต การล่าเหยอื่ 11. นักเรียนตรวจสอบตนเองด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ทำในบทเรียนนี้ อ่านสรุปท้ายบท และทำ แบบฝึกหัดท้ายบท 12. นำเข้าสู่ บทที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยอภิปรายและตั้งคำถามว่า จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งไม่มีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่มีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอยู่ร่วมกัน นกั เรยี นคิดวา่ ถา้ องค์ประกอบในระบบนเิ วศมีการเปลยี่ นแปลงจะมผี ลตอ่ ชนดิ และจำนวนชนดิ ของสงิ่ ชีวิตหรือความ หลากหลายของสิ่งมชี ีวิตอยา่ งไร

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 292 คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยกิจกรรมและแบบฝึกหัดของบทท่ี 1 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

293 หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ คูม่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 7.1 องค์ประกอบของสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ินมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กันอย่างไร นกั เรยี นเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบทม่ี ีชีวติ และองคป์ ระกอบท่ีไมม่ ีชีวิตในระบบนิเวศ จดุ ประสงค์ สำรวจและอธิบายความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบของสภาพแวดล้อมในทอ้ งถิ่น เวลาที่ใชใ้ น 1 ช่ัวโมง 30 นาที การทำกจิ กรรม วสั ดุที่ใช้ต่อกลมุ่ วสั ดุและอุปกรณ์ รายการ 1. เทอร์มอมิเตอร์ จำนวน/กลุ่ม 2. แท่งแกว้ คน 1 อนั 3. กระดาษยูนิเวอรซ์ ัลอนิ ดเิ คเตอร์ 2 อนั 4. กระจกนาฬิกา 2 แผ่น 5. ปากคีบ 1 ใบ 6. พกู่ ัน 1 อัน 7. ถงุ พลาสตกิ 1 ด้าม 8. บกี เกอรห์ รอื แกว้ พลาสตกิ ใส 3 ใบ 9. เขม็ ทศิ 3 ใบ 10. อปุ กรณ์บนั ทกึ ภาพ 1 อนั 11. แว่นขยายหรอื กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง 1 ชดุ 12. เซคคิดิสก์ (Secchi disc) 1 อนั 13. ลกั ซม์ ิเตอร์ (Lux meter) 1 ชุด 14. ช้อนปลูก 1 ชดุ 15. นำ้ กลน่ั 1 อนั 1 ขวด

หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 294 ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การเตรียมตวั ครูควรสำรวจพน้ื ท่ีทจี่ ะใชท้ ำกิจกรรมกอ่ นจดั กจิ กรรม เพ่อื ให้ทราบขอ้ มลู ท่ีจำเป็นสำหรบั การ ล่วงหนา้ สำหรับครู เตรียมอปุ กรณ์และการอภปิ รายผล เชน่ สภาพพื้นท่ี ชนิดของสง่ิ มชี ีวิต เป็นตน้ ขอ้ ควรระวัง ครูควรกำหนดข้อตกลงกับนักเรียนก่อนที่จะเริ่มต้นการสำรวจ และควรแจ้งให้นักเรียนระวัง สัตว์มีพษิ และความปลอดภัยในการสำรวจ เชน่ การใชอ้ ปุ กรณ์ การลงพ้ืนทเี่ ก็บน้ำตัวอย่าง ข้อเสนอแนะ ครูควรพิจารณาเลือกพื้นที่สำรวจที่มีความแตกต่างกันทั้งทางกายภาพ เช่น แหล่งน้ำ สนาม ในการทำกจิ กรรม หญ้า ต้นไม้ใหญ่ และทางชีวภาพ เช่น มีสิ่งมีชีวิตแตกต่างกัน เพื่อให้นักเรียนเก็บข้อมูลได้ หลากหลายและนำมาใช้อภิปรายเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศในแต่ละ พ้นื ท่ี ส่อื การเรยี นรู/้ • หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 3 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

295 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ ค่มู ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั อย่างผลการทำกจิ กรรม นักเรียนเก็บและบันทึกข้อมูลทางชีวภาพ ได้แก่ สิ่งมีชีวิต ลักษณะของสิ่งมีชีวิต บริเวณที่พบ จำนวน ประชากร พฤติกรรมที่สังเกตได้ และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง เช่น กระต่ายกินหญ้าเป็น อาหาร สว่ นองคป์ ระกอบทไี่ ม่มีชวี ิต ใหน้ ักเรียนตรวจวัดตามแนวทางในหนังสือเรียน ตวั อยา่ งเช่น แสงสวา่ ง ความ เป็นกรด-เบสของดนิ และนำ้ ความโปร่งใสของนำ้ (ในกรณที ีม่ ีแหล่งนำ้ ) โดยครูพยายามกระตุ้นให้นกั เรยี นสังเกตและ บันทึกความเป็นไปได้ของความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและองค์ประกอบที่มีชีวิต เช่น ต้นหญ้าและ ตั๊กแตนจำเป็นต้องอาศัยดินและแสงในการดำรงชีวิต หรือพบมดจำนวนมากใกล้กับต้นไม้หรือแหล่งน้ำ เพ่ือ นำมาใช้อภิปรายในชั้นเรียน ตัวอย่างการบันทึกผลมีดังตอ่ ไปน้ี ตัวอย่างการบนั ทึกผลระบบนเิ วศแหล่งน้ำ บ่อน้ำ อาคารเรียน 1 บอ่ นำ้ สนามหญ้า บ่อน้ำหลังอาคารเรยี น 1 ขนาดพื้นที่ของบ่อน้ำประมาณ 50 ตารางเมตร พบหญ้าขึ้นรอบ ๆ บ่อน้ำ บริเวณ ที่สำรวจ (ในวงกลมสีแดง) น้ำในบ่อมีค่าพีเอช เท่ากับ 7.1 ความลึกเฉลี่ยประมาณ 80.5 เซนติเมตร (วัดทั้งหมด 3 ตำแหนง่ ไมซ่ ้ำกนั ) ความโปร่งใสของน้ำประมาณ 60 เซนติเมตร สำรวจพบส่งิ มชี ีวิตหลายชนดิ ดงั ตอ่ ไปนี้ ตัวอย่างตารางบันทกึ ผล รายการ สิง่ มชี ีวติ จำนวน 1 สาหร่ายหางกระรอก ประมาณ 10 ต้น 2 ลูกปลา (ไม่สามารถระบชุ นดิ ได้) 3 ตวั 3 จงิ โจ้นำ้ 11 ตวั 4 ลูกน้ำ 36 ตวั รายละเอียดเพิ่มเติม ไม่พบสาหร่ายหางกระรอกบริเวณที่ลึกกว่า 60 เซนติเมตร พบลูกปลาว่ายวนไปมาอยู่ บริเวณสาหร่ายหางกระรอก ลูกปลากินลูกน้ำเปน็ อาหาร จิ้งโจ้น้ำอาศัยอยู่บริเวณผิวน้ำ บนพื้นดินรอบ ๆ บ่อน้ำมี หญา้ ขึ้นสูง แต่ไกลออกไปจะพบต้นหญ้านอ้ ยลง

หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 296 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั อย่างผลการทำกิจกรรม ตัวอย่างการบนั ทึกผลระบบนเิ วศสนามหญ้า สนามหญ้าอาคารเรียน 1 กำหนดขอบเขตที่สำรวจ ขนาดพื้นที่ 100 ตารางเมตร บริเวณที่สำรวจ (ใน กรอบสี่เหลี่ยมสีแดง) ดินค่อนข้างแห้ง อุณหภูมิผิวดิน 33 องศาเซลเซียส ตัวอย่างดินที่เก็บมามีค่าพีเอช เท่ากับ 6.8 แสงแดดสว่าง 1,100 ลักซ์ บริเวณที่สำรวจโดนแสงแดดส่องตลอดทั้งวัน สำรวจพบสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ดงั ตอ่ ไปนี้ ตวั อยา่ งตารางบนั ทกึ ผล รายการ สิ่งมชี วี ติ จำนวน 1 มด ประมาณ 50 ตวั 2 หญ้า ไม่รูช้ นิด ประมาณ 300 ตน้ 3 ต้นมะเขอื 2 ต้น ต้นหน่ึงมผี ล 3 ผล อกี ต้นไม่มีผล 4 ตั๊กแตน 3 ตวั รายละเอียดเพิ่มเติม พบมดจำนวน 50 ตัว ขนซากใบไม้ขนาดเล็กและซากแมลงชนิดหนึ่ง (ไม่ทราบชนิด) พบรังมดอยู่ใต้ต้นมะเขือ ตั๊กแตนอาศยอยู่บนใบหญ้า ดินบริเวณใต้ต้นมะเขือมีลักษณะชื้นกว่าดินที่อยู่ส่วนอื่น ๆ บริเวณพื้นที่สำรวจฝั่งชิดกับอาคาร (เป็นที่ร่มไม่โดนแดด) มีต้นหญ้าขึ้นจำนวนน้อย บางจุดไม่พบต้นหญ้า ส่วน บรเิ วณท่ไี ดร้ บั แสงแดดตลอดวันจะมีหญ้าจำนวนมากกว่า สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

297 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ในบริเวณที่สำรวจ พบสิ่งมีชวี ติ ชนดิ ใดมากท่สี ุด และสิง่ มีชวี ติ ชนิดใดนอ้ ยท่สี ุด เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ ตอบตามข้อมูลที่นักเรียนสำรวจได้ โดยให้นักเรียนแสดงหลักฐานสนบั สนนุ ข้อมูลจำนวนของชนิด สงิ่ มชี ีวิตแตล่ ะชนดิ เช่น ตารางบันทกึ ผล ภาพถ่าย ภาพวาด 2. สง่ิ มชี ีวิตทีพ่ บในบรเิ วณทีส่ ำรวจมีความสมั พันธ์กนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ตอบตามความคิดเห็นและข้อสรุปของกลุ่ม ซึ่งครูสามารถนำอภิปรายร่วมกันถึงปฏิสัมพันธ์ของ องค์ประกอบในระบบนิเวศนั้น ๆ เช่น มดขุดดินเพื่อสร้างรัง และกินตั๊กแตนตัวเล็ก ๆ เป็นอาหาร หรือปลา อาศัยอยู่ในน้ำ กินสาหร่ายเป็นอาหาร ส่วนสาหร่ายมักขึ้นริมตลิ่งเพราะต้องอาศัยแสงแดดในการสังเคราะห์ ด้วยแสง จึงไมส่ ามารถเจรญิ เตบิ โตในบรเิ วณนำ้ ลึกได้ 3. ชนดิ และปรมิ าณของสิ่งมีชวี ิตและส่ิงไมม่ ชี ีวติ ในแต่ละบรเิ วณ เหมอื นหรอื แตกต่างกนั อย่างไร เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ คำตอบขึ้นอยู่กับข้อมูล หากสำรวจในบริเวณใกลเ้ คียงกันมีความเป็นไปได้ว่าข้อมูลอาจจะมีความ คล้ายคลึงกัน แต่ถ้านักเรียนสำรวจในบริเวณที่แตกต่างกันก็อาจจะมีความแตกต่างกันทั้งสิ่งมีชีวิตและ สิง่ ไมม่ ีชวี ิต สว่ นสาเหตทุ ่แี ตกต่างกัน เพราะในแตล่ ะบริเวณจะมีสงิ่ ไม่มชี ีวติ ท่แี ตกตา่ งกัน ทำใหส้ ่งิ มีชวี ิตท่ีอาศัยแตกต่าง กัน เช่น บริเวณที่มีหญ้าขึ้นเป็นจำนวนมากและมีร่มเงา มักพบแมลงมากกว่าบริเวณที่ไม่มีหญ้าและไม่มีร่มเงา เนื่องจากแมลงกินหญ้าเป็นอาหารและใช้เป็นแหล่งท1ี่อยู่เพราะอุณหภูมิไม่สูงจนเกินไป ส่วนบริเวณที่ไม่มีหญ้า ขึ้นและมีแสงแดดส่องถึงมากกว่าบริเวณอื่น จะพบแมลงได้น้อยมากเพราะไม่มีอาหาร อุณหภูมิสูงมาก และ ความชืน้ ต่ำทำใหไ้ ม่เหมาะสมตอ่ การดำรงชวี ติ อกี ทง้ั ยงั ไมม่ ที ่ีหลบภัยจากผลู้ า่ เชน่ นกทก่ี ินแมลงเปน็ อาหาร 4. ส่งิ ไมม่ ีชวี ิตท่พี บในแต่ละบริเวณมีผลทำใหช้ นดิ ของสิง่ มชี ีวติ มีความแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ความแตกต่างของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แสง น้ำ อากาศ ในแต่ละบริเวณ ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ ในแต่ละบริเวณนั้นแตกต่างกัน เนื่องจากสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิตที่แตกต่าง เชน่ พืชบางชนิดเจรญิ เตบิ โตได้ดีในพน้ื ทช่ี ่มุ น้ำ ดังน้ันในบริเวณทใี่ กลแ้ หล่งน้ำกจ็ ะพบพชื ชนิดน้ีมากกว่าบริเวณ ที่แห้งแล้ง พืชบางชนิดต้งการแสงมาก พืชบางชนิดต้องการแสงปานกลาง สัตว์บางชนิดอาศัยอยู่ในโพรงไม้ สตั ว์บางชนิดอาศยั อยู่ในดนิ 5. จากกจิ กรรม สรปุ ได้ว่าอย่างไร แนวคำตอบ ในสภาพแวดล้อมแต่ละบริเวณจะพบชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตต่างกัน เรา สามารถพบสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ เป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แสงแดด อากาศ น้ำ ดิน อุณหภมู ิ ที่เป็นองคป์ ระกอบทไี่ มม่ ีชวี ิตแตกต่างกนั ออกไปในแตล่ ะระบบนิเวศ เพราะองค์ประกอบดังกล่าวจะมี ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ดังนั้นเมื่อองค์ประกอบใดเปลี่ยนไปย่อมส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนขององค์ประกอบอื่น ๆ เช่น บริเวณที่ดินมีความชื้นสูงจะพบกบอาศัยอยู่ แต่ถ้าดินบริเวณนั้นไม่ได้รับน้ำต่อเนื่องและดินแห้งลงเรื่อย ๆ จะส่งผลให้กบไม่สามารถดำรงชีวติ อยไู่ ด้ จำเป็นตอ้ งอพยพไปบริเวณอืน่ เป็นต้น

หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 298 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 7.2 สรา้ งแบบจำลองสายใยอาหารไดอ้ ย่างไร นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองโซ่อาหารและสายใยอาหารจากระบบนิเวศที่เลือก เพื่ออธิบาย ความสัมพนั ธ์ของผู้ผลิตและผบู้ ริโภค จดุ ประสงค์ สร้างแบบจำลองสายใยอาหาร และอธิบายความสัมพันธข์ องผู้ผลิตและผบู้ รโิ ภค 60 นาที เวลาทใ่ี ช้ใน การทำกจิ กรรม -ไม่มี- วสั ดุและอปุ กรณ์ การเตรยี มตวั -ไมม่ ี- ล่วงหนา้ สำหรบั ครู ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ ี- ในการทำกิจกรรม สอื่ การเรยี นรู้/ • หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • เกม Food Web (เกมทใ่ี ช้ความเขา้ ใจเร่ืองสายใยอาหารในการเล่น) สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

299 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอย่างผลการทำกจิ กรรม ชื่อสงิ่ มีชีวิต อาหารท่บี ริโภค ต้นหญา้ - ต้นขา้ ว - ตก๊ั แตน นกกระจอก ตน้ หญา้ ตน้ ข้าว เปด็ ต้นั ขา้ ว ตก๊ั แตน หอยเชอรี งเู หลอื ม หอยเชอรี ต้นหญ้า ต้นขา้ ว โซ่อาหาร หอยเชอรี นกกระจอก เป็ด ของระบบนเิ วศนาขา้ ว ตน้ หญา้ นกกระจอก งเู หลอื ม ต้นข้าว หอยเชอรี เป็ด งูเหลือม ตก๊ั แตน นกกระจอก งเู หลอื ม ตน้ หญา้ งูเหลือม เป็ด ต๊กั แตน สายใยอาหาร หอยเชอรี นกกระจอก ของระบบนเิ วศนาข้าว ตน้ หญ้า ตน้ ข้าว

หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 300 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. ในระบบนเิ วศทนี่ กั เรียนเลอื ก มีโซอ่ าหารก่โี ซอ่ าหาร อะไรบ้าง แนวคำตอบ ตามผลการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น 2. นกั เรียนสามารถนำโซ่อาหารท้งั หมดมาสร้างเป็นสายใยอาหารไดอ้ ย่างไร แนวคำตอบ ในการสร้างแบบจำลองสายใยอาหารได้หลายวิธี ยกตัวอย่างเช่น สร้างแบบจำลองโซ่อาหารโดย เริ่มจากผู้ผลิตไปถึงผู้บริโภคลำดับสุดท้ายให้ครบถ้วน จากนั้นโซ่อาหารที่มีสิ่งมีชีวิตเหมือนกันมาซ้อนทับกัน ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นแบบจำลองสายใยอาหาร หรือนักเรียนอาจจะใช้วิธีลำดับส่ิงมีชวี ิตโดยเริม่ ตน้ จากผู้ผลิตและ เรียงต่อกันไปเรื่อย ๆ สิ่งมีชีวิตชนิดใดถูกบริโภค หรือบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นมากกว่าหนึ่งชนิดก็ทำลูกศรแยก ออกไปเรอ่ื ย ๆ จนครบสงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ ในระบบนเิ วศนั้น 3. จากสายใยอาหาร สิ่งมีชีวิตชนิดใดบ้างที่เป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตอื่นหลายชนิด และสิ่งมีชีวิตใดบ้างที่กนิ ส่ิงมีชวี ิตอนื่ หลายชนดิ เป็นอาหาร แนวคำตอบ ตอบตามผลการทำกิจกรรมของนกั เรยี น 4. จากกจิ กรรม สรปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร แนวคำตอบ ในระบบนิเวศจะมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่มีความสัมพันธ์กันในด้านการถ่ายทอดพลังงานในรูปของ สายใยอาหาร ซ่งึ ประกอบด้วยโซ่อาหารหลายโซ่อาหารสัมพันธ์กนั ในธรรมชาติสายใยอาหารจะมีความซบั ซ้อน แตกต่างกนั ไปขน้ึ อย่กู บั ชนดิ ของสิ่งมชี วี ติ ที่อยู่ในระบบนิเวศนนั้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

301 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 7.3 การสะสมสารพษิ ในสิง่ มชี ีวิตเกดิ ข้นึ อย่างไร นกั เรยี นเรยี นรเู้ กย่ี วกบั การสะสมสารพษิ ในโซอ่ าหาร โดยแสดงบทบาทสมมติจากสถานการณ์ท่ีกำหนดให้ จดุ ประสงค์ แสดงบทบาทสมมติและอธิบายการสะสมสารพิษในโซอ่ าหาร เวลาท่ีใช้ใน 60 นาที การทำกิจกรรม วัสดุและอุปกรณ์ วัสดทุ ี่ใช้ต่อกลุ่ม รายการ จำนวน/กลุ่ม 1. ถังพลาสติก 1 ใบ 2. แกว้ พลาสตกิ ขนาดเล็ก 4 ใบ 3. แก้วพลาสติกขนาดกลาง 4 ใบ 4. แกว้ พลาสติกขนาดใหญ่ 4 ใบ 5. ลกู ปดั สีเขียว 40 เม็ด 6. ลกู ปดั สีแดง 40 เม็ด การเตรียมตัว ครูเตรียมอุปกรณ์ไว้ให้เพียงพอกับนักเรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มควรมีอัตราส่วนของแก้ว ล่วงหนา้ สำหรบั ครู ขนาดเล็ก แก้วขนาดกลาง และแก้วขนาดใหญ่เป็น 4 : 2 : 1 เพื่อให้สามารถบันทึกผลและทำ กจิ กรรมได้อยา่ งสมบรู ณ์ ข้อเสนอแนะ ครูควรให้นักเรียนกำหนดบทบาทของตนเองในกลุ่มให้เรียบร้อยก่อนทำกิจกรรม เน้นให้มีการ ในการทำกิจกรรม บันทึกผลการทำกิจกรรมทุกครั้ง และเปิดโอกาสให้นักเรียนทำซ้ำ และให้นักเรียนร่วมกันระดม ความคิดออกแบบตารางบันทกึ ผลร่วมกัน เพอ่ื นำข้อมูลไปใชใ้ นการอภปิ ราย สอื่ การเรยี นรู/้ • หนงั สือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ • วดี ทิ ศั นเ์ ก่ียวกบั การสะสมสารพิษในโซอ่ าหาร หรือ Biological magnification (https://www.youtube.com/watch?v=85I7oPWUuak)

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 302 ค่มู อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอย่างผลการทำกจิ กรรม ปลาซวิ ลกู ปลาช่อน นกยาง โซ่อาหารจากสถานการณ์ คือ สาหรา่ ย ตัวอยา่ งการบนั ทกึ ผลจากกจิ กรรม สารพษิ สะสม จำนวนสารพษิ ต่อสง่ิ มชี ีวติ หน่งึ ตัว คา่ เฉลย่ี สารพษิ สะสม ในสิง่ มชี วี ติ รอบท่ี 1 รอบที่ 2 รอบที่ 3 1.5 ปลาซิว 2/1/3/0 1/1/0/2 3/2/2/1 3 คา่ เฉลีย่ ในปลาซิว 6 ÷ 4 = 1.5 4÷4=1 8÷4=2 6 ลกู ปลาชอ่ น 4/2 1/3 3/5 คา่ เฉลี่ยในลกู ปลา 6÷2=3 4÷2=2 8÷2=4 ช่อน นกยาง 6 4 8 คา่ เฉล่ยี ในนกยาง 6 ÷ 1 = 6 4÷1=4 8÷1=8 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

303 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. โซ่อาหารจากสถานการณน์ ้เี ปน็ อย่างไร และสิง่ มีชวี ติ แตล่ ะชนิดมบี ทบาทอย่างไร แนวคำตอบ โซอ่ าหารจากสถานการณ์ คอื สาหรา่ ย ปลาซวิ ลกู ปลาช่อน นกยาง โดยท่ีสาหรา่ ยมีบทบาทเป็นผู้ผลิต ปลาซิวเปน็ สง่ิ มีชีวิตกนิ พืช (ผบู้ รโิ ภคลำดบั ที่ 1) ลกู ปลาชอ่ นเป็นส่ิงมีชวี ิตกิน สัตว์ (ผู้บริโภคลำดับที่ 2) และนกยางเป็นสิ่งมีชีวิตกินสัตว์ (ผู้บริโภคลำดับที่ 3 หรือลำดับสุดท้ายของโซ่ อาหาร) 2. สารพิษในระบบนเิ วศเรม่ิ ต้นสะสมอยู่ในสง่ิ มีชีวติ ชนดิ ใดเป็นลำดบั แรก แนวคำตอบ สาหร่าย 3. ในลำดับของโซอ่ าหาร สิ่งมชี วี ติ ใดสะสมสารพษิ มากที่สดุ เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ นกยางมีสารพิษสะสมมากที่สุด เนื่องจากเป็นผู้บริโภคลำดับสุดท้ายในโซ่อาหารนี้ ซึ่งกินลูกปลา ชอ่ นหลายตวั 4. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร แนวคำตอบ สารพิษจะสะสมในสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นตามลำดับขั้นการบริโภค เนื่องจากผู้บริโภคลำดับที่สูงกว่าจะ บริโภคผ้ผู ลติ หรือผู้บริโภคลำดบั ต่ำกว่าในปริมาณมาก เพ่ือให้ได้รับพลงั งานเพียงพอในการดำรงชวี ติ

หน่วยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 304 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 7.4 ส่งิ มีชวี ิตอยรู่ ่วมกนั อยา่ งไร นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน โดยสืบค้นข้อมูลและ อภิปรายรว่ มกันในช้นั เรียน จดุ ประสงค์ สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายรูปแบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ มชี ีวิตกับสง่ิ มีชีวิตทอี่ ยรู่ ่วมกัน เวลาท่ใี ชใ้ น 50 นาที การทำกจิ กรรม วสั ดแุ ละอุปกรณ์ -ไมม่ ี- การเตรยี มตัว -ไม่มี- ลว่ งหนา้ สำหรบั ครู ขอ้ เสนอแนะ -ไม่มี- ในการทำกิจกรรม ส่ือการเรียนร/ู้ • หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

305 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั อย่างผลการทำกจิ กรรม ส่ิงมีชีวติ ตวั ที่ 1 ส่งิ มีชวี ติ ตัวที่ 2 ลกั ษณะความสัมพนั ธ์ คู่ส่ิงมชี ีวติ ววั + นกเอี้ยง + (+ , +) กาฝาก + มะมว่ ง - (+ , -) ววั กับนกเอ้ียง เสอื โครง่ + กวางดาว + (+ , +) กาฝากกับมะมว่ ง กลว้ ยไมป้ ่า + ตน้ ยางนา 0 (+ , 0) เสือโคร่งกบั กวางดาว หมดั + สุนขั - (+ , -) กลว้ ยไม้ป่ากบั ต้นยางนา ปลาเหาฉลาม + ปลาฉลาม 0 (+ , 0) หมดั กบั สุนัข ปลาการต์ นู + ดอกไมท้ ะเล + (+ , +) ปลาเหาฉลามกับปลาฉลาม ต๊กั แตนตำขา้ ว + แมลงปอ - (+ , -) ปลาการต์ ูนกับดอกไมท้ ะเล ต๊ักแตนตำขา้ วกบั แมลงปอ เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. ลักษณะความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ ทกี่ ำหนดใหม้ ีกกี่ ลมุ่ และส่ิงมีชีวติ แตล่ ะกลุ่มมคี วามสัมพนั ธก์ ันอย่างไร แนวคำตอบ ความสัมพันธม์ ที ้ังหมด 3 แบบ ได้แก่ • แบบท่ี 1 คือ ส่ิงมชี วี ติ หนึ่งทัง้ สองชนิดไดป้ ระโยชน์ (+ , +) • แบบที่ 2 คอื สิ่งมีชวี ติ หนง่ึ ได้ประโยชน์ และสง่ิ มีชีวติ หนึง่ ไม่เสียหรอื ได้ประโยชน์ (+ , 0) • แบบท่ี 3 คอื สง่ิ มชี วี ิตหน่ึงได้ประโยชน์ และส่งิ มีชวี ติ หนึ่งเสยี ประโยชน์ (+ , -) 2. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอยา่ งไร แนวคำตอบ ความสัมพันธม์ ีทงั้ หมด 4 แบบ โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ ลกั ษณะการอยรู่ ว่ มกนั ผลทเ่ี กิดขน้ึ กบั สิง่ มชี วี ิตทั้งสองชนิด ภาวะพึ่งพากัน ส่งิ มชี ีวิตท้งั สองชนิดไดป้ ระโยชน์ทง้ั คู่ (+,+) ภาวะอิงอาศัย สง่ิ มีชีวติ หนงึ่ ได้ประโยชน์ โดยทสี่ ่งิ มีชวี ติ หนึง่ ไม่เสียประโยชน์และไมไ่ ดป้ ระโยชน์ (+,0) การลา่ เหย่ือ ส่งิ มชี วี ิตหนง่ึ ได้ประโยชน์ (ผู้ลา่ ) ส่งิ มชี วี ติ หนึง่ เสียประโยชน์ (เหย่อื ) (+,-) ภาวะปรสติ สงิ่ มีชวี ิตหน่ึงได้ประโยชน์ (ปรสติ ) สงิ่ มชี ีวิตหนง่ึ เสียประโยชน์ (ผถู้ ูกอาศัย) (+,-)

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 306 คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมทา้ ยบท เราจะดแู ลรักษาระบบนเิ วศในทอ้ งถ่นิ ได้อย่างไร นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศมาประยุกต์ใช้ในการนำเสนอแนวทางการดูแลรักษาระบบนิเวศในท้องถิ่น ของตนเอง จุดประสงค์ นำเสนอแนวทางการดแู ลรักษาระบบนิเวศในท้องถ่นิ ให้สมดลุ เวลาท่ีใช้ใน 1 ชั่วโมง การทำกจิ กรรม วัสดุและอุปกรณ์ -ไม่มี- การเตรยี มตัว -ไม่มี- ลว่ งหนา้ สำหรบั ครู ข้อเสนอแนะ ครูควรเตรียมข้อมูลเว็บไซต์เกี่ยวกับโครงการอนุรักษ์และรณรงค์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ท่ี ในการทำกิจกรรม อยู่ในกระแสสังคม เพื่อให้นักเรียนใช้เป็นตัวอย่างแนวทางในการรณรงค์หรือเสนอแนวทาง แก้ปัญหา สอ่ื การเรียนรู้/ • หนังสือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • World Wild Fund For Nature ประเทศไทย (http://www.wwf.or.th/) • กรนี พซี ประเทศไทย (https://www.greenpeace.org/thailand/) • องคก์ ารบรหิ ารจัดการก๊าซเรอื นกระจก (http://www.tgo.or.th/) สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

307 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอยา่ งผลการทำกิจกรรม นักเรียนวิเคราะห์ปัญหาระบบนิเวศในท้องถิ่น โดยครูอาจจะให้นักเรียนหาข้อมูลเพิ่มเติม จากนั้นช่วยกัน ออกแบบแนวทางในการป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูระบบนิเวศของท้องถิ่น หรืออาจจะใช้ประเดน็ ปัญหาระบบนเิ วศ อื่น ๆ ที่กว้างขึ้น เช่น การลักลอบค้าสัตวป์ ่า การตัดงาช้าง หรืออ่ืน ๆ โดยชิ้นงานของนักเรียนอาจจะเป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม โดยอยู่ในรูปแบบของโปสเตอรร์ ณรงค์ วดี ิทัศน์ หรือส่อื ประเภทอื่น ๆ เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม 1. ปัญหาของระบบนเิ วศจากสถานการณ์คืออะไร และมีสาเหตมุ าจากอะไร แนวคำตอบ สาเหตุเกิดจากการกระทำของมนุษย์ คือ การใช้สารเคมีทางการเกษตร แล้วทำให้เกิดปัญหากับ สง่ิ แวดล้อม คอื การระบาดของเพลย้ี กระโดดสีน้ำตาล 2. แนวทางในการแกป้ ัญหาทำไดอ้ ย่างไร แนวคำตอบ ขึ้นอยู่กับคำตอบของนักเรียน เช่น ลดการใช้สารเคมี ลดการรบกวนสิ่งแวดล้อมหรือใช้การ ควบคมุ โดยชวี วิธี ที่นำสิง่ มีชีวติ บางชนดิ มาควบคมุ การเพม่ิ จำนวนประชากรของศัตรพู ชื ได้ 3. ในทอ้ งถนิ่ ของนักเรียนประสบปัญหาเกี่ยวกับระบบนิเวศหรอื ไม่ มแี นวทางในการแกไ้ ขปญั หาอย่างไร แนวคำตอบ ตอบตามข้อมูลและผลของการทำกิจกรรมของนักเรียน เช่น แม่น้ำมีขยะและเน่าเสีย นักเรียนจึง ระดมความคดิ จัดกิจกรรมเกบ็ ขยะในแมน่ ้ำ พร้อมท้ังทำป้ายรณรงคไ์ มใ่ ห้มีการท้ิงขยะลงแหลง่ นำ้

หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 308 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 1. ในระบบนิเวศแหง่ หนง่ึ มสี ่ิงมชี วี ติ อาศยั อยรู่ ่วมกันดงั น้ี * ต้นหญ้า ไส้เดอื นดิน ตก๊ั แตน ตน้ มะขาม นกพิราบ หนู กระตา่ ย เหยยี่ ว กบ 1.1 เขยี นสายใยอาหารในระบบนเิ วศน้ี แนวคำตอบ เหยย่ี ว กระตา่ ย นกพริ าบ กบ ตกั๊ แตน หนู ไสเ้ ดอื นดิน ตน้ หญา้ ตน้ มะขาม 1.2 สง่ิ มีชีวิตชนิดใดเป็นผ้ผู ลิต เพราะเหตุใด แนวคำตอบ ตน้ หญา้ และต้นมะขามเปน็ ผผู้ ลติ เน่ืองจากเป็นสง่ิ มีชวี ิตท่ีสามารถสร้างอาหารไดเ้ อง 1.3 สิ่งมีชวี ิตใดเปน็ ทง้ั ผู้บรโิ ภคลำดับท่ี 1 และลำดบั ท่ี 2 เพราะเหตุใด แนวคำตอบ หนแู ละนกพริ าบ เนือ่ งจากทง้ั หนแู ละนกพริ าบกินผ้ผู ลติ และผบู้ ริโภคพชื เปน็ อาหาร 1.4 หากไส้เดือนดินถกู ทำลายจนหายไปจากระบบนเิ วศนี้ นักเรียนคดิ วา่ จะส่งผลตอ่ ระบบนเิ วศนห้ี รือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ ส่งผลต่อการหมุนเวียนของสารในระบบนิเวศเพราะเป็นสัตว์กินซาก ทำให้ซากพืชและซากสัตว์ ย่อยสลายได้ชา้ ลงและสะสมมากเกนิ ไป สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

309 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2. จากสายใยอาหารข้างล่างนี้ ส่งิ มชี ีวติ ชนดิ ใดเป็นผู้ผลติ สิ่งมชี วี ติ กินพืช ส่งิ มชี ีวติ กนิ สตั ว์ สงิ่ มชี วี ิตกินทัง้ พชื และ สตั ว์ และผู้ยอ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ * แนวคำตอบ จากข้อมูลสายใยอาหารท่กี ำหนดให้ สรุปได้ดงั น้ี • สง่ิ มชี วี ติ A คือ ผ้ผู ลติ • ส่ิงมชี ีวิต B คือ สิง่ มชี วี ิตกนิ พืช • D คือสิ่งมีชวี ิตกนิ สัตว์ • สิ่งมชี วี ิต C และ E คือ สงิ่ มชี วี ติ กินทง้ั พืชและสัตว์ และ • สงิ่ มชี ีวติ F คือ ผ้ยู ่อยสลายสารอนิ ทรีย์ 3. ผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์แตกตา่ งกับสัตว์กนิ ซากอย่างไร * แนวคำตอบ ผ้ยู ่อยสลายสารอนิ ทรียแ์ ละสตั ว์กินซากมีความเหมอื นกนั ทไี่ มส่ ามารถสรา้ งอาหารไดเ้ อง จำเปน็ ตอ้ งกนิ ส่ิงมีชวี ิตอนื่ เปน็ อาหาร รวมทั้งลกั ษณะของอาหารท่ีกินคอื เปน็ ซากของสิง่ มีชีวติ แต่มคี วามแตกต่างตรงที่ผู้ย่อยสลาย สารอินทรีย์จะปล่อยน้ำย่อยออกมาเพื่อย่อยซากสิ่งมีชีวิตแล้วค่อยดูดซึมสารอาหาร ตัวอย่างผู้ย่อยสลายสารอนิ ทรีย์ เช่น แบคทเี รยี บางชนดิ เห็ดรา ส่วนสตั ว์กินซากจะกินซากของสิง่ มชี วี ิตและการย่อยสลายเกิดขน้ึ ภายในร่างกาย เชน่ แรง้

หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 310 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. ตอบคำถามโดยใชข้ อ้ มลู จากกราฟแสดงประชากรของสง่ิ มชี ีวติ ที่อยรู่ ่วมกนั โดยมีความสมั พนั ธใ์ นรปู แบบการลา่ เหยอื่ * 4.1 สงิ่ มีชีวติ ใดเปน็ ผู้ล่าและสิง่ มีชวี ิตใดเป็นเหย่ือ เพราะเหตุใด แนวคำตอบ จากข้อมูลในกราฟ สิ่งมีชีวิต B คือ ผู้ล่า ส่วนสิ่งมีชีวิต A คือ เหยื่อ เนื่องจากแนวโน้มจำนวน ประชากรของสิ่งมชี วี ติ B จะมีการเพม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลงตามประชากรของสง่ิ มีชีวิต A 4.2 อธิบายความสัมพนั ธ์ของกราฟนไ้ี ด้อยา่ งไร แนวคำตอบ จำนวนประชากรของสิ่งมีชวี ิต B จะเพิ่มขึน้ หรอื ลดลงตามจำนวนประชากรของสิ่งมีชีวิต A ดังนั้น จำนวนประชากรของสง่ิ มชี วี ติ สองชนดิ น้ีนบั วา่ มีการแปรผันตามกัน 4.3 หากสิง่ มชี ีวติ B หายไปจากระบบนเิ วศน้ี จะสง่ ผลต่อสิง่ มชี วี ติ A อย่างไร แนวคำตอบ ถ้าสิ่งมีชีวิต B ที่เป็นผู้ล่าหายไป จะทำให้จำนวนของสิ่งมีชีวิต A ที่เป็นเหยื่อมีจำนวนประชากรเพิ่ม มากขึ้น 5. จากโซอ่ าหารท่ีกำหนด ตอบคำถามตอ่ ไปนี้ * 5.1 ระบุบทบาทและลำดับของการบรโิ ภค บทบาท ลำดบั ของการบริโภค แนวคำตอบ ผู้ผลิต ผผู้ ลติ ผู้บริโภค (ส่ิงมชี วี ิตกินพืช) ส่ิงมชี ีวิต ผบู้ รโิ ภค (สง่ิ มชี วี ติ กนิ สัตว)์ ผบู้ ริโภคลำดบั ท่ี 1 หญ้า ผู้บริโภค (สง่ิ มชี ีวิตกินสัตว์) ผบู้ รโิ ภคลำดับที่ 2 ตั๊กแตน ผ้บู ริโภคลำดบั ท่ี 3 นก นกอนิ ทรี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

311 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5.2 เรียงลำดบั สง่ิ มีชวี ติ ทม่ี พี ลงั งานสะสมในเนื้อเยอ่ื จากนอ้ ยทสี่ ุดไปถงึ มากท่ีสดุ แนวคำตอบ นกอนิ ทรี นก ตก๊ั แตน และตน้ หญา้ 5.3 ถ้ามสี ารพิษสะสมอยใู่ นหญา้ สงิ่ มชี ีวติ ใดจะมกี ารสะสมสารพิษในรา่ งกายมากทส่ี ุด เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ นกอินทรจี ะมสี ารพิษสะสมในรา่ งกายมากที่สุดในโซอ่ าหารน้ี เพราะสารพษิ สะสมจะเพมิ่ ข้นึ ตามลำดบั ขัน้ ของการบรโิ ภค

หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 312 คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี บทท่ี 2 ความหลากหลายทางชีวภาพ สาระสำคัญ บนโลกของเรามีส่ิงมีชวี ิตหลายชนิดและในแต่ละชนดิ มีหลายพนั ธทุ์ ี่มลี ักษณะทางพนั ธกุ รรมต่างกัน อาศัยอยู่ในระบบ นิเวศที่แตกต่างกันไป ทำให้เกิดเป็นความหลากหลายทางชีวภาพที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ความหลากหลายของ ระบบนเิ วศ ความหลากหลายของชนิดสิง่ มชี ีวิต และความหลากหลายทางพนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพนี้มีความสำคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทาง ชีวภาพสูงจะรักษาสมดุลได้ดีกวา่ ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพต่ำกว่า นอกจากนี้ความหลากหลายทางชีวภาพ ยังมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนษุ ย์อยา่ งย่ิง ตัวอยา่ งเชน่ ใช้เปน็ อาหาร ทอี่ ยู่อาศยั เคร่ืองนงุ่ หม่ ยารกั ษาโรค รวมท้ัง เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของทุกคนในการดูแลและรักษาความหลากหลายทางชีวภาพให้ สามารถคงอยูต่ อ่ ไปได้ จุดประสงคข์ องบทเรียน เมอ่ื เรียนจบบทน้แี ล้ว นกั เรียนจะสามารถทำสง่ิ ต่อไปนไ้ี ด้ 1. เปรยี บเทยี บความหลากหลายทางชีวภาพในระดบั ชนิดของส่ิงมชี ีวติ ในระบบนิเวศตา่ ง ๆ 2. อธบิ ายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มตี อ่ การรักษาสมดลุ ของระบบนเิ วศและตอ่ มนุษย์ 3. ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยนำเสนอแนวทางในการดูแลและ รักษาความหลากหลายทางชวี ภาพ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

313 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาพรวมการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ แนวความคดิ ต่อเนื่อง กจิ กรรม รายการประเมนิ การเรยี นรขู้ องบทเรียน 1. เปรียบเทยี บความ 1. ระบบนเิ วศแต่ละระบบ กิจกรรมท่ี 7.5 1. เปรยี บเทียบความ หลากหลายทาง ประกอบด้วยองค์ประกอบท่ไี มม่ ี ชนิดของส่ิงมชี ีวิตใน หลากหลายทางชีวภาพ ชีวภาพในระดับชนิด ชวี ติ และองคป์ ระกอบที่มชี ีวติ แตล่ ะระบบนิเวศ ในระดับชนิดส่งิ มีชวี ติ ใน สิง่ มชี ีวิตในระบบนเิ วศ แตกตา่ งกนั แตกตา่ งกันอย่างไร ระบบนิเวศต่าง ๆ ตา่ ง ๆ 2. การทรี่ ะบบนิเวศมีองคป์ ระกอบที่ ไม่มีชวี ิตและองค์ประกอบทมี่ ี ชีวติ แตกตา่ งกัน ทำให้มรี ะบบ นิเวศหลายแบบ ซ่ึงแต่ละระบบ นเิ วศมลี กั ษณะเฉพาะและมคี วาม แตกตา่ งไปจากระบบนเิ วศอ่ืน เกิดความหลากหลายของระบบ นเิ วศ 3. ระบบนเิ วศท่หี ลากหลายทำใหม้ ี ส่งิ มชี วี ติ หลายชนดิ ทำใหเ้ กิด ความหลากหลายของชนดิ สง่ิ มีชีวิต 4. สิ่งมชี วี ติ แต่ละชนิดสามารถเกิด การเปล่ยี นแปลงทางพันธกุ รรม ทำให้ส่ิงมชี วี ิตชนดิ น้นั ๆ มีหลาย พันธ์ุ สง่ ผลใหเ้ กิดความ หลากหลายทางพันธกุ รรม 5. การทส่ี งิ่ มีชวี ิตมีหลายชนิด ในแต่ ละชนดิ มหี ลายพนั ธทุ์ ่มี ลี ักษณะ ทางพนั ธกุ รรมตา่ งกนั อาศัยอยู่ ในระบบนเิ วศแบบต่าง ๆ ทั่วโลก ทำให้มคี วามหลากหลายทาง ชีวภาพ