หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 314 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จุดประสงค์ แนวความคดิ ต่อเน่ือง กจิ กรรม รายการประเมิน การเรียนรขู้ องบทเรยี น 2. อธบิ ายความสำคัญ 1. ระบบนิเวศที่มีความหลากหลาย กิจกรรมท่ี 7.6 2. อธบิ ายความสำคัญของ ของความหลากหลาย ทางชีวภาพแตกต่างกัน จะสง่ ผล ความหลากหลาย ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพทมี่ ตี ่อการ ต่อการรกั ษาสมดุลของระบบ ทางชีวภาพ ชวี ภาพที่มตี อ่ การรกั ษา รกั ษาสมดลุ ของระบบ นิเวศแตกตา่ งกัน เกยี่ วข้องกบั การ สมดุลของระบบนิเวศ นเิ วศและต่อมนษุ ย์ 2. ระบบนิเวศที่มคี วามหลากหลาย รักษาสมดุลของ และตอ่ มนุษย์ ทางชวี ภาพสูงมักจะมสี ายใย ระบบนิเวศอย่างไร อาหารที่ซับซ้อนกว่าระบบนเิ วศท่ี มีความหลากหลายทางชวี ภาพตำ่ กว่า จึงสามารถรกั ษาสมดุลไว้ได้ ดกี วา่ 3. ความหลากหลายทางชวี ภาพยังมี ประโยชน์ในการดำรงชีวิตของ มนษุ ย์ในดา้ นตา่ งๆ 3. ตระหนกั ในคุณค่าและ 1. การดูแลรกั ษาความหลากหลาย กจิ กรรมทา้ ยบท 3. นำเสนอแนวทางในการ ความสำคัญของความ ทางชีวภาพใหค้ งอยู่ มี ความหลากหลาย ดูแลรักษาความ หลากหลายทาง ความสำคญั ต่อการดำเนนิ ชวี ิต ทางชีวภาพมี หลากหลายทางชวี ภาพ ชีวภาพ โดยนำเสนอ ของมนษุ ย์ ความสำคัญ แนวทางในการดูแล อย่างไร รกั ษาความ หลากหลายทาง ชีวภาพ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
315 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทค่ี วรจะได้จากบทเรียน ทักษะ เรอื่ งท่ี 1 ทา้ ยบท ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปซกับสเปซ และสเปซกับเวลา การใชจ้ ำนวน การจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมลู การลงความเห็นจากขอ้ มูล การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร การกำหนดและควบคุมตวั แปร การทดลอง การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ การสรา้ งแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา ด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและการรู้เทา่ ทนั สือ่ ดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ ดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม ด้านคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ดา้ นการทำงาน การเรียนรู้ และการพง่ึ ตนเอง
หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 316 คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การนำเขา้ สหู่ น่วยการเรียนรู้ ครดู ำเนนิ การดงั น้ี 1. กระตุ้นความสนใจของนักเรียนและเชื่อมโยงเข้าสู่บทที่ 2 โดยให้นักเรียนดูวีดิทัศน์ หรือภาพพื้นที่บริเวณต่าง ๆ ที่ถูก ทำลาย ทำให้เสื่อมโทรม หรือเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เช่น การเผาป่า การตัดไม้ทำลายป่า การบุกรุกโดยทำเป็นพื้นท่ี เกษตรกรรม หรือใช้ภาพนำบทซึ่งเป็นภาพพื้นที่ธรรมชาติที่ ถกู บุกรกุ ทำลาย และรว่ มกันอภิปรายโดยใชค้ ำถามตอ่ ไปนี้ • นกั เรยี นคิดวา่ เกดิ อะไรข้ึนกบั พื้นทแ่ี หง่ นี้ (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) • สาเหตนุ ่าจะเกดิ มาจากอะไร (นกั เรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง) 2. ใหน้ ักเรียนอ่านเนอ้ื หานำบทและอภิปรายเพ่ือใหไ้ ด้คำตอบ ทถี่ กู ต้องของคำถามอีกครั้ง ดังน้ี • นักเรียนคิดวา่ เกดิ อะไรขึ้นกับพื้นทีแ่ ห่งนี้ (พื้นท่ีแหง่ นมี้ ี ตน้ ไมน้ อ้ ยลง เพราะมนษุ ย์ตดั ไม้ทำลายปา่ เพื่อนำไปใช้ ความรู้เพิม่ เตมิ สำหรบั ครู ประโยชน์ด้านต่าง ๆ อาจจะทำให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใน ป่าไม้ต้องอพยพหรือตายไป และทำให้พื้นที่เกิดความ ภาพนำบท คือ ภาพพื้นที่ภูเขาหัวโล้นที่เกิดการตัดไม้ เสอ่ื มโทรมมากขึน้ ) ทำลายปา่ เพือ่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากไมแ้ ละใช้พืน้ ทใี่ นการทำ • สาเหตุน่าจะเกิดมาจากอะไร (เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ เกษตรกรรม ทำให้สัตว์บางชนิดต้องอพยพไปหาที่อยู่ ของมนุษย์ที่มีการใช้ประโยชน์จากพื้นท่ี เช่น การทำท่ี อาศัยใหม่ บางชนิดอาจจะตายและสูญพันธุ์ ส่งผลให้ อยอู่ าศัย การทำเกษตรกรรม) ความหลากหลายทางชีวภาพในพนื้ ทีน่ นั้ ลดลง 3. จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นอ่านคำถามนำบทและจุดประสงคก์ ารเรียนรขู้ องบท เพือ่ ใหท้ ราบเปา้ หมายและขอบเขตเนอื้ หาท่ีจะได้ เรียนรใู้ นบทเรยี นและจุดประสงค์ในการเรียน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
317 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรือ่ งท่ี 1 ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชวี ติ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครดู ำเนนิ การดังน้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพนำเรื่องและอ่านเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับความ หลากหลายของชนิดผีเสื้อ หรือให้นักเรียนดูวีดิทัศน์ความ หลากหลายของสิ่งมชี วี ิตอืน่ ๆ เช่น นก (https://www.youtube.com/watch?v=4rz3xdl2R7Q) หรือปลา (https://www.youtube.com/watch?v=ZlUpovIkvaA) จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยอาจตั้งคำถามใน ประเดน็ ดังต่อไปน้ี • จากภาพคอื สิ่งมีชวี ิตอะไรและมกี ี่ชนิด (ผีเสื้อ มี 9 ชนิด ให้ นกั เรียนบอกว่ามชี นดิ ใดบ้าง โดยใชส้ ีหรือลายเปน็ เกณฑ)์ • อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีผีเสื้อกี่ชนิด (มีผีเสื้อ มากกวา่ 250 ชนดิ ) • ในแหล่งที่มีความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตมีข้อดี อยา่ งไร (นักเรยี นตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง เชน่ เป็นแหลง่ เรยี นรู้และศึกษาธรรมชาต)ิ 2. ให้นักเรียนอ่าน คำสำคัญ ทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง ถ้าครูพบว่านักเรียนยังทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนและแก้ไขความเข้าใจผิดของ นกั เรยี น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามรพู้ น้ื ฐานทถ่ี กู ตอ้ งและเพยี งพอทจ่ี ะเรียนเรอ่ื งความหลากหลายทางชวี ภาพต่อไป
หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 318 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยทบทวนความรกู้ ่อนเรียน เขยี นเคร่อื งหมาย ลอ้ มรอบขอ้ ที่ถูกต้องท่สี ุดเพียงขอ้ เดียว ง. ธาตอุ าหาร 1. ขอ้ ใดเป็นองคป์ ระกอบทมี่ ชี ีวติ ในระบบนิเวศ ก. นำ้ ข. ดนิ ค. จุลินทรยี ์ 2. จากสายใยอาหาร ถา้ หนมู จี ำนวนประชากรลดลงจะสง่ ผลกระทบต่อส่งิ มชี วี ติ ใดบา้ ง ก. นกอินทรีย์ ข. ข้าว กระต่าย ค. งู กา ตก๊ั แตน ง. สิง่ มีชีวิตทกุ ชนดิ 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพโดยให้นักเรียนทำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อน เรียน นักเรียนสามารถเขียนข้อความ แผนผัง หรือแผนภาพได้อย่างอิสระตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูยังไม่ เฉลยคำตอบที่ถกู ต้อง แต่ครูควรรวบรวมแนวคิดคลาดเคลื่อนที่พบเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละ แกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลื่อนเหล่านนั้ ใหถ้ ูกต้อง ตัวอยา่ งแนวคดิ คลาดเคล่อื นทอ่ี าจพบในเรอื่ งนี้ • การสญู พันธ์ขุ องสง่ิ มีชวี ติ ชนิดหนึ่ง ๆ ไม่สง่ ผลตอ่ มนุษย์ (Beebe, 2017) 4. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 7.5 ชนิดของสิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบนิเวศแตกต่างกันอย่างไร โดยใช้คำถามว่า ระบบนิเวศ แต่ละระบบนิเวศจะประกอบด้วยองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและองค์ประกอบที่มีชีวิต ถ้าองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของระบบ นเิ วศมคี วามแตกตา่ งกนั นกั เรียนคิดว่าชนดิ ของส่งิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศนั้นจะแตกต่างกันอย่างไร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
319 หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 7.5 ชนิดของสง่ิ มีชีวิตในแตล่ ะระบบนเิ วศแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครดู ำเนนิ การดังนี้ กอ่ นการทำกจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปนี้ • กจิ กรรมนีเ้ ก่ยี วข้องกบั เรื่องอะไร (ชนิดของส่งิ มชี ีวติ ในแต่ละระบบนิเวศที่มคี วามแตกต่างกนั ) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (วิเคราะห์ข้อมูลและเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดของ ส่งิ มชี ีวติ ในระบบนิเวศต่าง ๆ) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านสถานการณ์ข้อมูลเกี่ยวกับระบบนิเวศป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบเขา ร่วมกันอภิปรายชนิดของสิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบนิเวศ เปรียบเทียบความหลากหลาย ของชนดิ พชื ในระบบนเิ วศตา่ ง ๆ) ครูควรบันทึกขัน้ ตอนการทำกจิ กรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นกั เรยี นตอ้ งสงั เกตหรือรวบรวมข้อมลู อะไรบ้าง (รวบรวมข้อมลู ขององค์ประกอบท่ีไม่มีชีวิตและส่งิ มีชีวติ ความ หลากหลายของชนิดพืชในแต่ละระบบนิเวศ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและชนิด ส่ิงมชี ีวติ ทพ่ี บในระบบนิเวศนนั้ ๆ) ระหวา่ งการทำกิจกรรม (30 นาท)ี 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มทำกิจกรรม ครูสังเกตการทำงานของนักเรียน ให้ความช่วยเหลือเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัย เช่น การจัดการข้อมูลที่ให้มา โดยให้นักเรียนแยกข้อมูลขององค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ข้อมูลของสิ่งมีชีวิต ความ หลากหลายของชนิดพชื ในแต่ละระบบนเิ วศ เปน็ ตน้ 3. เน้นให้นักเรียนอธิบายเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยสามารถสืบค้น เพ่ิมเตมิ เพ่อื หาข้อมูลของส่งิ มชี ีวิตได้ หลงั การทำกิจกรรม (15 นาที) 4. ให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น นำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยครูรวบรวมและบันทึกบน กระดาน หรือเขียนอธิบายและติดแสดงไว้รอบห้องเพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นชมผลงาน ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และ ร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ระบบนิเวศ ป่าทั้ง 3 ระบบนเิ วศมอี งค์ประกอบทีไ่ มม่ ีชีวิตแตกต่างกนั ส่งผลทำใหพ้ บสิง่ มชี วี ติ ในระบบนิเวศปา่ ท้ัง 3 ระบบนิเวศ แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบความหลากหลายของชนิดพืชที่พบในระบบนิเวศทั้ง 3 ระบบนิเวศ พบว่าระบบนิเวศ ป่าดิบเขามีความหลากหลายของพชื มากที่สุด รองลงมาเป็นป่าเบญจพรรณ และปา่ เต็งรังตามลำดบั
หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 320 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 188 และตอบคำถามระหว่างเรียนหน้า 189 ที่เกี่ยวกับระดับของความ หลากหลายของระบบนิเวศ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การที่แต่ละระบบนิเวศมีองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและชนิดของ สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน ทำให้มีระบบนิเวศหลายแบบซึง่ แตล่ ะระบบนเิ วศมีลักษณะเฉพาะและมีความแตกตา่ งไปจาก ระบบนเิ วศอ่ืน ๆ จนเกดิ ความหลากหลายของระบบนิเวศ เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • เพราะเหตุใดระบบนิเวศทีต่ า่ งกันจึงพบชนิดของส่งิ มชี ีวิตแตกต่างกนั แนวคำตอบ ระบบนิเวศต่างกันเป็นผลมาจากการมีองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อชนิด สง่ิ มชี ีวิตทอี่ าศัยอยใู่ นระบบนเิ วศนน้ั ๆ ตา่ งกนั ดว้ ย 3. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทางพันธุกรรม โดยอ่าน เนื้อหาในหนงั สือเรยี นหน้า 189-191 และตอบคำถามระหวา่ งเรยี น เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ วา่ • แตล่ ะระบบนิเวศมีสิ่งมีชีวติ หลายชนดิ เกิดเปน็ ความหลากหลายของชนิดสิง่ มีชวี ิต • สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม จนทำให้สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นมีหลายพันธุ์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการที่มนุษย์ปรับปรุงพันธุ์ ส่งผลให้เกิดความหลากหลายทาง พันธุกรรม เฉลยคำถามระหว่างเรียน • จากภาพ 7.18 ประเทศใดมีความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ มากกว่ากนั เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ ประเทศไทยมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่า เพราะประเทศไทยมีจำนวนชนิดของ สิ่งมชี ีวติ มากกว่า • การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมสง่ ผลต่อความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของสิ่งมีชวี ติ ได้อยา่ งไร แนวคำตอบ การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมทำให้สิ่งมีชีวิตรุ่นลูกมีสารพันธุกรรมแตกต่างไปจากรุ่นพ่อแม่ ถงึ แมว้ ่าสารพันธุกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงน้นั จะแสดงลกั ษณะออกมาหรอื ไม่ก็ตาม เมอื่ เวลาผา่ นไปสารพันธุกรรมที่ เปลีย่ นแปลงไปนน้ั จะทำใหเ้ กิดสิ่งมีชวี ติ ทีม่ ีลักษณะแตกต่างกนั ไป จนทำให้เกดิ ส่งิ มชี วี ติ ชนดิ ใหม่ข้นึ มา 4. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพในระดับต่าง ๆ โดยอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียน หน้า 191 เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การที่สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิดและในแต่ละชนิดมีหลายพันธุ์ที่มีลักษณะทางพันธุกรรม ต่างกัน อาศัยอยู่ในระบบนิเวศแบบต่าง ๆ ทั่วโลกทำให้มีความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมี 3 ระดับ ได้แก่ ความ หลากหลายของระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวติ และความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม 5. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรม 7.6 ความหลากหลายทางชีวภาพเก่ียวข้องกับการรักษาสมดุลของระบบนเิ วศอย่างไร โดยใช้ คำถามวา่ นกั เรยี นคิดวา่ ความหลากหลายเหลา่ น้ีมคี วามสำคญั ตอ่ การรกั ษาสมดลุ ของระบบนเิ วศอยา่ งไร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
321 หน่วยที่ 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 7.6 ความหลากหลายทางชวี ภาพเกยี่ วข้องกบั การรักษาสมดุลของระบบนเิ วศอย่างไร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูดำเนินการดงั นี้ ก่อนการทำกิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้ คำถามดังตอ่ ไปน้ี • กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร (ความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสมดุล ของระบบนเิ วศ) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (อธิบายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของ ระบบนเิ วศ) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านสถานการณ์ สังเกตสายใยอาหารของทั้ง 2 ระบบนิเวศ วิเคราะห์ผลกระทบของสิ่งมีชีวิตในสายใยอาหาร และอภิปรายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ต่อระบบนิเวศ) • ครคู วรใหน้ กั เรยี นบนั ทึกขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมโดยสรปุ ก่อนทำกิจกรรม • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (รวบรวมข้อมูลในโซ่อาหารแต่ละโซ่อาหารที่อยู่ในสายใย อาหารจากสถานการณ์ ระดมความคิดเกี่ยวกับลำดับขั้นการบริโภคและบทบาทของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดใน สายใยอาหาร) ระหวา่ งการทำกจิ กรรม (30 นาท)ี 2. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ เริ่มทำกจิ กรรม ครูสงั เกตการทำงานของนกั เรียน คอยชว่ ยเหลอื ให้คำแนะนำ หรอื ตอบคำถาม เม่อื นกั เรยี นมขี ้อสงสัยเกีย่ วกับสายใยอาหารและโซอ่ าหารแตล่ ะสถานการณ์ หลงั การทำกจิ กรรม (15 นาที) 3. ให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้คำถามท้าย กจิ กรรมเปน็ แนวทาง เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปจากกิจกรรมวา่ ระบบนเิ วศท่ี 1 มคี วามหลากหลายของชนิดส่ิงมีชีวติ สูงกวา่ และมีสายใยอาหารที่ซับซ้อนมากกว่าซับซ้อน เมื่อมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดในสายใยอาหารหายไปจะมีสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นท่ี สามารถทำหน้าที่แทนกันได้ จึงสามารถรักษาสมดุลของระบบนิเวศได้ดีกว่าระบบนิเวศที่ 2 ซึ่งมีความหลากหลาย ของชนดิ สงิ่ มีชีวิตตำ่ กวา่ และมสี ายใยอาหารท่ีไม่
หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 322 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. ใหน้ ักเรียนเรยี นร้เู พมิ่ เติมเก่ียวกบั ประโยชน์ของความหลากหลายทางชีวภาพตอ่ การรกั ษาสมดุลของระบบนิเวศและ มนุษย์ โดยอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 194 ตอบคำถามระหว่างเรียน และเปิดโอกาสให้ทำกิจกรรมเสริม เกม food web เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ว่า • ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตแตกต่างกัน จะส่งผลต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ แตกต่างกนั ระบบนเิ วศท่ีมคี วามหลากหลายทางชีวภาพสูงมกั จะมสี ายใยอาหารทีซ่ บั ซ้อนมากกว่าระบบนิเวศท่ีมี ความหลากหลายทางชีวภาพต่ำกว่า เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงจำนวนของสิ่งมีชีวิตที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ จึงสามารถรักษาสมดุลไวไ้ ดด้ กี วา่ ระบบนิเวศทีม่ ีความหลากหลายทางชีวภาพต่ำกว่า • ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชน์ในการดำรงชีวิตของมนุษย์หลายอย่าง เช่น ใช้เป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนงุ่ หม่ ยารกั ษาโรค และวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • ถ้ากบหายไปจากสายใยอาหาร ระบบนเิ วศนจ้ี ะเปล่ียนแปลงอยา่ งไร แนวคำตอบ ถ้ากบหายไปจากสายใยอาหารนี้ ผีเสื้อและตั๊กแตนที่เป็นอาหารของกบจะเพิ่มจำนวนมากข้ึน เพราะไม่มีผู้ล่า มะม่วงและข้าวจะลดจำนวนลงเพราะถูกกินมากขึ้นจากการเพิ่มของผีเสื้อและตั๊กแตน งูที่กิน กบเป็นอาหารจะขาดแคลนอาหารและกินนกมากขึ้น นกจะถูกงูกินมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันนกก็จะเพิ่ม จำนวนขน้ึ เช่นกันเพราะตกั๊ แตนที่เปน็ อาหารของนกเพมิ่ ขึน้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
323 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่ทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง การดูแลรักษา ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยอา่ นเนอ้ื หาในหนังสอื หน้า 195 และเกรด็ นา่ รู้ โดยอาจจะใชค้ ำถามเพม่ิ เติม ดังนี้ • กิจกรรมใดบา้ งที่สง่ ผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพ (กจิ กรรมทกุ ๆ อยา่ งของมนุษย์ เชน่ การทำเกษตรกรรม การก่อสรา้ ง หรอื กิจกรรมอืน่ ๆ มกั มีผลต่อสง่ิ แวดลอ้ มทงั้ ทางตรงและทางอ้อม) • เมื่อความหลากหลายทางชวี ภาพลดลงจะเกิดอะไรข้ึน (ส่งผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศและการใช้ชวี ิตของมนษุ ย)์ เพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปวา่ • พฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์ นอกจากจะส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์แล้ว ยังทำให้ความหลากหลายทาง ชีวภาพลดน้อยลง ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุที่นำไปสู่การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตบางชนิดและการเสียสมดุลของระบบ นิเวศ 6. ถ้าพบวา่ นกั เรียนมีแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นเกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ จากการตอบคำถามก่อนเรียน ระหว่าง เรียน หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธอี น่ื ๆ ใหค้ รูแกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นนน้ั ใหถ้ กู ตอ้ ง เช่น ใชค้ ำถามและอภปิ ราย รว่ มกัน ใชแ้ ผนภาพ วดี ิทศั น์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคดิ ท่ีถูกตอ้ ง การสญู พนั ธขุ์ องส่ิงมีชวี ิตชนิดหนง่ึ ๆ ไม่ส่งผลต่อ การสูญพันธ์ุหรือหายไปของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ ในธรรมชาติมี มนษุ ย์ (Beebe, 2017) ผลกระทบต่อระบบโดยรวม แต่อาจจะไม่เห็นผลกระทบน้ัน ทนั ที แต่สดุ ทา้ ยผลกระทบนั้นจะขยายมากขึน้ เปน็ วงกวา้ ง 7. ให้นักเรียนตรวจสอบตนเองเพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียน ผังมโนทศั นส์ ่งิ ที่ได้เรยี นรูจ้ ากบทเรียนน้ี ตัวอย่างผังมโนทศั น์ในบทเรยี นเร่อื งความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ มี ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนดิ สิง่ มชี วี ิต ความหลากหลายทางพันธุกรรม เช่น เชน่ เช่น สุนัขพันธไ์ุ ทยหลังอาน ระบบนิเวศป่าดิบช้ืน ผีเส้อื สนุ ขั พันธบุ์ ลู ด๊อก ระบบนิเวศปา่ เบญจพรรณ กล้วยไม้ พระรบรณบนทเิ ะวเศลปท่ารเาตย็งรงั รา สุนัขพันธ์ุชิสุ
หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 324 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. ให้นักเรียนทำกิจกรรมท้ายบท ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสำคัญอย่างไร และตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนนั้ ให้นกั เรยี นตอบคำถามสำคญั ของบท เฉลยคำถามสำคัญของบท • ความหลากหลายทางชวี ภาพเก่ยี วข้องกบั สมดุลในระบบนิเวศอยา่ งไร แนวคำตอบ ความหลากหลายทางชีวภาพเกี่ยวข้องกับสมดุลในระบบนิเวศ โดยระบบนิเวศที่มีความ หลากหลายของชนดิ สิ่งมีชวี ติ แตกต่างกัน จะส่งผลต่อการรักษาสมดลุ ของระบบนิเวศแตกต่างกัน ระบบนิเวศท่ี มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมักจะมีสายใยอาหารที่ซับซ้อนมากกว่าระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทาง ชีวภาพต่ำกว่า เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จึงสามารถรักษาสมดุลไว้ได้ ดกี วา่ ระบบนิเวศทมี่ ีความหลากหลายทางชีวภาพต่ำกว่า • ความหลากหลายทางชวี ภาพมีประโยชน์อย่างไร แนวคำตอบ ความหลากหลายทางชวี ภาพมีประโยชน์ต่อมนษุ ย์หลายอยา่ ง เช่น เป็นปจั จยั 4 ใชเ้ ป็นวตั ถุดิบใน อุตสาหรรมต่าง ๆ นอกจากมีประโยชน์ต่อมนุษย์แล้วยังมีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม คือช่วยรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ 9. นกั เรยี นตรวจสอบตนเองดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีไดท้ ำในบทเรยี นน้ี อา่ นสรปุ ทา้ ยบท ตอบคำถาม สำคัญของหน่วยและทำแบบฝึกหัดท้ายบท อ่านเนื้อหาวิทยาศาสตร์กับชีวิต เพื่อร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับระบบ นิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลยคำถามสำคัญของหน่วย • องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ มีปฏิสมั พันธ์กนั อยา่ งไร แนวคำตอบ องค์ประกอบในระบบนิเวศแบ่งออกเป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต ได้แก่ สัตว์ พืช จุลินทรีย์ และ องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ แสง อากาศ น้ำ ดิน ธาตุอาหาร โดยองค์ประกอบทั้ง 2 ชนิดมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น สิ่งมีชีวิตต้องการน้ำเพื่อใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ใช้แก๊สออกซิเจนในการหายใจ พืชและสาหร่ายใช้ คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ และแสงในการสังเคราะห์ด้วยแสงและปล่อยแก๊สออกซิเจนออกสู่อากาศ พืชและ สง่ิ มีชวี ิตบางชนดิ ใชด้ นิ เปน็ ทอ่ี ยูอ่ าศยั และแหลง่ ธาตอุ าหาร • ความหลากหลายทางชีวภาพมคี วามสำคัญอยา่ งไร แนวคำตอบ ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในหลายด้าน เช่น เป็นปัจจัย 4 ในการ ดำรงชีวิต หรือใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ นอกจากมีประโยชน์ต่อมนุษย์แล้วยังมีประโยชน์ต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม ชว่ ยรกั ษาสมดลุ ของระบบนิเวศ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
325 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยกิจกรรมและแบบฝกึ หัดของบทท่ี 2
หน่วยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 326 คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 7.5 ชนดิ ของสง่ิ มชี วี ิตในแตล่ ะระบบนเิ วศแตกต่างกันอย่างไร นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรูเ้ กย่ี วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพในระดบั ชนิดของสง่ิ มชี วี ติ ในระบบนิเวศที่แตกต่างกัน 3 ระบบนเิ วศ จดุ ประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูลและเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศต่าง ๆ เวลาที่ใชใ้ น 50 นาที การทำกจิ กรรม วสั ดุและอปุ กรณ์ -ไมม่ ี- การเตรยี มตัว -ไมม่ ี- ลว่ งหนา้ สำหรับครู ขอ้ เสนอแนะ ครูควรแนะนำใหน้ กั เรียนรวบรวมขอ้ มูลจากกิจกรรมในประเด็นสำคัญดงั นี้ ในการทำกจิ กรรม 1. องค์ประกอบทีไ่ ม่มีชวี ติ ของป่าแตล่ ะชนดิ 2. สิ่งมีชวี ิตท่ีพบในป่าแตล่ ะชนดิ 3. ความหลากหลายของพชื ทัง้ ไม้พมุ่ และไมต้ ้นของปา่ แตล่ ะชนดิ นอกจากนั้นสามารถแนะนำนกั เรยี นใหส้ บื คน้ ขอ้ มูลเพ่มิ เติมเกี่ยวกบั ปา่ แตล่ ะชนิด และสิ่งมีชวี ิต ต่าง ๆ ทีพ่ บในปา่ สื่อการเรียนรู้/ • หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
327 หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอยา่ งผลการทำกจิ กรรม รายละเอยี ด ปา่ เบญจพรรณ ปา่ เต็งรัง ป่าดิบเขา องค์ประกอบที่ไม่ ดินเป็นดินร่วนปนทราย มี ดินเป็นดินลูกรัง มีหินและ ดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง มีชวี ิต ความชื้นในดินปานกลาง กรวดปะปนกับดินเหนียวและ มีอากาศเย็นและชุ่มชื้น มีฝน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปี ดินร่วนปนทราย ดินมีแร่ธาตุ ตกเป็นประจำ มีปริมาณ ประมาณ 1,400 มลิ ลิเมตร บางชนิดต่ำหรือสูงเกินไป มี น้ำฝนเฉลี่ย 1,500-2,000 ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ มลิ ลเิ มตร 1,400 มลิ ลิเมตร สงิ่ มชี วี ติ พชื เช่น สกั แดง ตะแบก พืช เชน่ เตง็ รัง ยางกราด พืช เช่น ก่อเดือย ก่อหนาม ชิงชัน เสลา งว้ิ ปา่ เหยี ง พลวง มะคา่ แต้ มะขามป้อมดง จำปี จำปา ตะเคียนหนู มะกอก กระโดน โมกใหญ่ มณฑาดอย สารภีดง คอ้ ประดูป่า ไผ่รวก ไผ่ซาง อินทนลิ บก สมอไทย กายอม เตา่ รา้ งยกั ษ์ ฯลฯ ฯลฯ ผกั หวาน หญ้าเพ็ก ฯลฯ สัตว์ เชน่ กวางป่า หมปู ่า สตั ว์ เชน่ กวางปา่ เกง้ สัตว์ เชน่ เกง้ กระต่ายป่า เลยี งผา กวางผา ลิงอ้ายเงียะ กระทิง กระจง หมคี วาย หมู สุนขั จงิ้ จอก ตนุ่ บ่าง กระรอก ล่นิ เล็ก พังพอนเหลือง ปา่ ลงิ ค่าง ชะนี ชะมด หลากสี กระแต งูจงอาง งู เสอื ดาว ไกฟ่ ้าหลงั ขาว ฯลฯ หมาใน ฯลฯ เหลอื ม งหู ลาม ฯลฯ ความหลากหลาย 100-150 ชนิดตอ่ พืน้ ท่ี 100 ชนิดต่อพื้นที่ 10,000 400 ชนิดต่อพื้นที่ 10,000 ของพืช 10,000 ตารางเมตร ตารางเมตร ตารางเมตร (1 เฮกแตร)์ ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายของพืชทั้งไม้พุ่มและไม้ต้นสูงมากที่สุดคือ ป่าดิบเขา เพราะมีองค์ประกอบท่ี ไม่มีชีวิตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและอาศัยของสิ่งมีชีวิต จึงทำให้มีความหลากหลายของพืชสูงมากที่สุด รองลงมาคอื ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ตามลำดับ หมายเหตุ: กิจกรรมไม่เปรียบเทียบความหลากหลายของสัตว์ เนื่องจากสัตว์สามารถปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม จงึ ทำให้สัตว์บางชนิดสามารถอยอู่ าศัยอยใู่ นปา่ หลายชนดิ และสามารถอพยพยา้ ยถิ่นไปยังพ้ืนทอี่ ่ืน ได้ จึงไมส่ ามารถเปรียบเทยี บความหลากหลายของสัตวไ์ ด้
หน่วยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 328 คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. สภาพแวดล้อมของระบบนเิ วศทั้ง 3 ระบบนเิ วศและชนิดของสง่ิ มีชวี ิตมคี วามแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ แตกตา่ งกนั โดยปา่ เบญจพรรณเป็นป่าโปรง่ ผลดั ใบ มีดนิ เป็นดนิ ร่วนปนทราย มีความช้นื ในดิน ปานกลาง ปริมาณนำ้ ฝนเฉลยี่ ตอ่ ปีประมาณ 1,400 มิลลเิ มตร มพี ชื หลายชนิด เช่น สกั แดง ตะแบก ชงิ ชัน เสลา งว้ิ ปา่ ตะเคียนหนู มะกอก ประดูป่า ไผร่ วก ไผซ่ าง ฯลฯ สัตว์ เชน่ กวางปา่ เก้ง กระทิง กระจง หมคี วาย หมปู า่ ลงิ คา่ ง ชะนี ชะมด หมาใน ฯลฯ ป่าเต็งรังเป็นป่าโปร่งมากกว่าป่าเบญจพรรณ พื้นล่างมีหญ้าปกคลุม มีดินเป็นดินลูกรัง มีหินและ กรวด ปะปนกับดินเหนียวและดินร่วนปนทราย ดินมีแร่ธาตุบางชนิดต่ำหรือสูงเกินไป มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 1,400 มิลลิเมตร มีพืชหลายชนิด เช่น เต็ง รัง ยางกราด เหียง พลวง มะค่าแต้ กระโดน โมกใหญ่ อินทนิลบก สมอไทย ผักหวาน หญ้าเพ็ก ฯลฯ สัตว์ เช่น เก้ง กระต่ายป่า สุนัขจิ้งจอก ตุ่น บ่าง กระรอกหลากสี กระแต งู จงอาง งูเหลอื ม งหู ลาม ฯลฯ ป่าดิบเขาเป็นป่าไม่ผลัดใบ มีเรือนยอดแน่นทึบ เขียวตลอดทั้งปี มีพันธุ์ไม้หลายระดับ มีดินเป็นดินร่วน ปนทรายแปง้ มีอากาศเย็นและชุ่มชื้น มีฝนตกเปน็ ประจำ มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,500-2,000 มิลลเิ มตร มีพชื หลายชนิด เช่น ก่อเดือย ก่อหนาม มะขามป้อมดง จำปี จำปา มณฑาดอย สารภีดง ค้อ กายอม เต่าร้างยักษ์ ฯลฯ สัตว์ เช่น กวางป่า หมูป่า เลียงผา กวางผา ลิงอ้ายเงียะ ลิ่นเล็ก พังพอนเหลือง เสือดาว ไก่ฟ้าหลังขาว ฯลฯ 1 2. จำนวนชนดิ ของพชื ในแต่ละระบบนเิ วศมีความแตกต่างกนั อยา่ งไร แนวคำตอบ จำนวนชนิดมีความแตกต่างกัน โดยป่าดิบเขามีความหลากหลายของชนิดพืชมากที่สุดประมาณ 400 ชนิดต่อพื้นที่ 10,000 ตารางเมตร (1 เฮกแตร์) ป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของชนิดพืชประมาณ 100-150 ชนิดต่อพื้นท่ี 1 เฮกแตร์ และ ป่าเต็งรังมีความหลากหลายของชนิดพืชประมาณ 100 ชนิดต่อพื้นที่ 10,000 ตารางเมตร 3. เพราะเหตใุ ดจำนวนชนิดของพืชแต่ละระบบนเิ วศจึงมคี วามแตกต่างกัน แนวคำตอบ จำนวนชนดิ ของพืชแต่ละระบบนิเวศแตกต่างกันเพราะแตล่ ะระบบนิเวศมีองค์ประกอบท่ีไม่มีชีวติ แตกต่างกัน ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชก็จะมีจำนวนชนิดของ พืชมากกว่า 4. จากกจิ กรรม สรปุ ได้วา่ อย่างไร แนวคำตอบ ระบบนิเวศป่าทั้ง 3 ระบบนิเวศมีองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตแตกต่างกัน ส่งผลทำให้พบสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศป่าทั้ง 3 ระบบนิเวศแตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบความหลากหลายของชนิดพืชที่พบในระบบนิเวศ ทั้ง 3 ระบบนิเวศ พบว่าระบบนิเวศป่าดิบเขามีความหลากหลายของชน่ดพืชสูงมากที่สุด รองลงมาเป็นป่า เบญจพรรณ และปา่ เตง็ รงั ตามลำดับ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
329 หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 7.6 ความหลากหลายทางชวี ภาพเก่ียวขอ้ งกับการรักษาสมดลุ ของระบบนเิ วศอยา่ งไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ โดยวเิ คราะห์จากสถานการณท์ ่ีกำหนดให้ จุดประสงค์ อธบิ ายความสำคญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพท่มี ตี อ่ การรกั ษาสมดุลของระบบนเิ วศ เวลาทีใ่ ชใ้ น 50 นาที การทำกิจกรรม -ไมม่ ี- วัสดแุ ละอุปกรณ์ การเตรยี มตัว -ไม่มี- ลว่ งหนา้ สำหรับครู ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ ี- ในการทำกิจกรรม สือ่ การเรยี นร/ู้ • หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาปที ี่ 3 เล่ม 2 สสวท. แหลง่ เรียนรู้ ตัวอยา่ งผลการทำกิจกรรม นกั เรยี นเปรยี บเทียบผลกระทบจากสถานการณใ์ น 2 ระบบนเิ วศ โดยพบวา่ • ระบบนิเวศที่ 1 มีสิ่งมีชีวิต 13 ชนิด สายใยอาหารซับซ้อน เมื่อหนูหายไปจากระบบนิเวศส่งผลทำให้สุนัขและ นกอินทรที ก่ี นิ หนูเป็นอาหารจะไม่สามารถกินหนูเป็นอาหารได้ แต่สนุ ัขและนกอินทรสี ามารถดำรงชีวติ ดว้ ยการ กินสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นแทนได้ โดยนกอินทรีสามารถกินกระต่าย นก และงูเป็นอาหารแทนได้ สุนัขสามารถกิน กระตา่ ยแทนได้ ทำใหร้ ะบบนเิ วศน้ยี งั คงอยู่ต่อไปได้ • ระบบนเิ วศท่ี 2 มีส่งิ มชี ีวติ 7 ชนดิ มีสายใยอาหารไม่ซับซอ้ น เม่ือหนหู ายไปจากระบบนเิ วศส่งผลทำให้งูจะไม่มี อาหารทำให้งูลดจำนวนลง และนกอนิ ทรีทไ่ี มม่ หี นูเปน็ อาหารกจ็ ะกินงมู ากข้นึ จนทำใหง้ ูหมดไปจากระบบนิเวศ
หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 330 คมู่ ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม 1. ในแต่ละระบบนิเวศมจี ำนวนชนดิ ของสง่ิ มชี วี ติ แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร แนวคำตอบ แตกตา่ งกัน ระบบนเิ วศที่ 1 มีความหลากหลายของชนิดส่ิงมีชีวิตมากกว่าระบบนิเวศท่ี 2 ระบบนิเวศที่ 1 มสี ง่ิ มชี วี ิต 13 ชนิด มผี ผู้ ลิตจำนวน 2 ชนดิ ผ้บู ริโภคจำนวน 11 ชนิด ระบบนเิ วศที่ 2 มีสิ่งมชี วี ิต 7 ชนิด มีผูผ้ ลติ จำนวน 2 ชนดิ ผบู้ ริโภคจำนวน 5 ชนิด 2. เมือ่ หนูหายไป สายใยอาหารในแต่ละระบบนิเวศมกี ารเปล่ยี นแปลงหรอื ไม่ อย่างไร แนวคำตอบ มีการเปล่ยี นแปลงทงั้ 2 ระบบนเิ วศ โดย ระบบนเิ วศที่ 1 เมอื่ หนหู ายไปจากระบบนเิ วศสง่ ผลทำใหส้ ุนขั และนกอนิ ทรที ี่กินหนูเปน็ อาหารจะไมส่ ามารถ กนิ หนเู ปน็ อาหารได้ แต่สนุ ขั และนกอนิ ทรสี ามารถดำรงชีวิตดว้ ยการกนิ ส่งิ มีชีวิตชนิดอ่ืนแทนได้ โดยนกอินทรี สามารถกนิ กระต่าย นก และงูเปน็ อาหารแทนได้ สุนขั สามารถกินกระตา่ ยแทนได้ ทำใหร้ ะบบนเิ วศน้ยี ังคงอยู่ ต่อไปได้ ระบบนเิ วศท่ี 2 เมอื่ หนหู ายไปจากระบบนเิ วศส่งผลทำใหง้ ูจะไมม่ ีอาหาร ทำให้งูลดจำนวนลง และนกอนิ ทรีท่ี ไม่มีหนเู ป็นอาหารก็จะกนิ งูมากขน้ึ จนทำใหง้ หู มดไปจากระบบนเิ วศ 3. เมอ่ื หนูหายไป สายใยอาหารในระบบนิเวศใดสามารถเขา้ สสู่ มดลุ ไดด้ กี วา่ กนั เพราะเหตุใด แนวคำตอบ ระบบนิเวศที่ 1 เนื่องจากมีจำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตมากกว่าและมีสายใยอาหารที่ซับซ้อน ทำให้ 1. 1 สิ่งมีชีวิตในสายใยอาหารมีทางเลือกในการกินอาหาร เมื่อสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งหายไปจากสายใยอาหารก็จะมี ส่งิ มีชีวติ ชนิดอ่นื ที่สามารถกินเปน็ อาหารได้ จึงสามารถเขา้ สสู่ มดุลได้เรว็ กวา่ 4. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอยา่ งไร แนวคำตอบ ระบบนิเวศที่ 1 มคี วามหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวติ สูงกว่าและมีสายใยอาหารท่ีซับซ้อนมากกว่า จึงสามารถรักษาสมดุลของระบบนิเวศได้ดีกว่าระบบนิเวศที่ 2 ซึ่งมีความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตต่ำกว่า และมีสายใยอาหารที่ไม่ซับซ้อน ทำให้เมื่อมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดในสายใยหายไปจะมีสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นที่สามารถ ทดแทนกันได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
331 หน่วยท่ี 7 | ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ค่มู อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมทา้ ยบท ความหลากหลายทางชีวภาพมคี วามสำคัญอยา่ งไร นักเรียนจะได้นำความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ไปใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบ สถานการณ์การปลกู ป่า 2 แบบ จุดประสงค์ วเิ คราะห์สถานการณ์และอธิบายความสำคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพ เวลาท่ีใชใ้ น 1 ชวั่ โมง การทำกจิ กรรม วัสดุและอุปกรณ์ -ไม่มี- การเตรียมตัว เตรียมข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสวนป่าเชิงเดี่ยวและสวนป่าแบบผสม รวมทั้งสถานการณ์ใกล้ตัว ล่วงหนา้ สำหรับครู เพ่อื เชือ่ มโยงให้นักเรียนเข้าใจเกยี่ วกับการปลกู ป่าท้งั สองแบบ ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ ี- ในการทำกิจกรรม สอื่ การเรียนร/ู้ • หนังสือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่ม 2 สสวท. แหลง่ เรยี นรู้ ตัวอยา่ งผลการทำกจิ กรรม ขน้ึ อยกู่ ับความคดิ เห็นของนกั เรยี น โดยอาจวิเคราะห์ ตวั อย่างเช่น สวนปา่ เชิงเด่ยี วเปน็ การปลกู ตน้ ไม้เพียงชนิดเดยี วเพือ่ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ส่วนสวนปา่ แบบผสมจะปลูก ต้นไม้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มีประโยชน์หลายด้าน ทั้งทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เมื่อเกิดโรคระบาดกับต้นสักจะ ส่งผลให้สวนป่าสักเชงิ เดยี่ วได้รับผลกระทบหนกั จนอาจทำใหต้ น้ สักติดเชื้อและแพร่กระจายจนทำให้ต้นสักทั้งสวน ตายลง ในขณะที่สวนป่าแบบผสมจะได้รับผลกระทบแค่ต้นสักท่ีอยูใ่ นสวนป่า ต้นไม้ชนิดอื่นไม่ได้รับผลหรอื อาจจะ ได้รับผลกระทบน้อย รวมทัง้ ไมเ่ กดิ การระบาดของโรคดว้ ย ทำให้สวนป่าแบบผสมยงั คงรกั ษาสภาพป่าอยูไ่ ด้
หนว่ ยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ 332 ค่มู ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม 1. ความหลากหลายของชนดิ พชื ในสวนปา่ แบบผสมและสวนปา่ เชงิ เดย่ี วเหมอื นหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร แนวคำตอบ แตกตา่ งกนั โดยความหลากหลายของชนดิ ของพชื ในปา่ ผสมมีมากกว่าสวนป่าเชิงเดีย่ ว 2. เมื่อเกิดโรคระบาดกับต้นสัก ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ 2 พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกัน หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง 2 พื้นที่แต่เปลี่ยนแปลงไม่เหมือนกัน โดยในป่าเชิงเดี่ยวจะมีการ เปลี่ยนแปลงมากเนื่องจากมีแต่ต้นสัก เมื่อเกิดโรคระบาดมีโอกาสทำให้ต้นสักทั้งสวนตาย ในขณะที่สวนป่า แบบผสมก็มกี ารเปลย่ี นแปลงแต่นอ้ ย อาจจะทำใหต้ ้นสักในสวนปา่ แบบผสมตายหมด แต่ยงั คงเหลอื ตน้ ไม้ชนิด อ่ืน 3. แนวทางในการรกั ษาความหลากหลายทางชวี ภาพในทอ้ งถิ่นทำได้อยา่ งไร แนวคำตอบ ขึ้นอยู่กับแนวทางที่นักเรียนระดมความคิด เช่น รณรงค์ ทำแผ่นพับ โดยการเพิ่มความหลากหลาย ทางชีวภาพใหก้ บั พ้ืนที่ เช่น การปลกู พืชชนิดอน่ื ร่วมกับพชื เศรษฐกิจ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
333 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยแบบฝกึ หัดท้ายบท 1. ภาพในแตล่ ะข้อเป็นความหลากหลายทางชวี ภาพระดบั ใด เพราะเหตใุ ด * 1.1 1.2 1.3 แนวคำตอบ 1.1 ความหลากหลายของชนิดสิง่ มีชีวิต เพราะมีสงิ่ มีชวี ิตหลายชนดิ 1.2 ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม เพราะแมวเป็นสง่ิ มชี ีวติ ชนิดเดยี วแต่หลายพนั ธุ์ 1.3 ความหลากหลายของระบบนเิ วศ เพราะมีระบบนิเวศหลายระบบนิเวศ 2. ระบบนิเวศ A ประกอบด้วยสายใยอาหารที่มีสิ่งมีชีวิต 15 ชนิด ส่วนระบบนิเวศ B ประกอบด้วยสายใยอาหารที่มี ส่งิ มีชีวิต 50 ชนดิ เมอื่ สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ระบบนเิ วศใดน่าจะรักษาสมดลุ ได้ดกี ว่ากัน เพราะเหตุใด * แนวคำตอบ ระบบนิเวศ B น่าจะรักษาสมดุลได้ดีกว่า เนื่องจากมีจำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตในสายใยอาหารมากกว่า ระบบนเิ วศ A สายใยอาหารของระบบนเิ วศ B จะมีความซับซ้อนสงู ทำให้ส่งิ มีชวี ิตหลายชนดิ กินอาหารได้หลายชนิด เมื่อสิง่ มีชีวิตชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ลดจำนวนลงหรอื หายไปจากระบบนเิ วศ กจ็ ะมีส่งิ มีชีวิตชนดิ อน่ื ที่สามารถกินเป็นอาหาร ทดแทนกันได้ ทำให้สามารถรักษาสมดลุ ไดด้ กี วา่ ระบบนิเวศ A 3. ถา้ ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงจะสง่ ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์อยา่ งไรบ้าง * แนวคำตอบ ขาดแคลนปัจจัย 4 ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค รวมไปถึงผลกระทบ ทางดา้ นสนั ทนาการ เชน่ สถานท่ีท่องเทีย่ วทนี่ อ้ ยลง 4. พิจารณาสถานการณต์ อ่ ไปนีแ้ ล้วตอบคำถาม “สัตว์ทะเลอย่างน้อย 180 ชนิดกินพลาสติกเพราะหลงว่าเป็นอาหาร เช่น ปลากินพลาสติกเพราะคิดว่ากำลังกินตัว เคยและสาหร่าย เต่าทะเลกินพลาสติกที่มีลักษณะอ่อนนุ่มและใส ซึ่งคล้ายกับแมงกะพรุนที่เป็นอาหารของเต่า นอกจากนี้สีของขยะพลาสติกยังดึงดูดสัตว์ทะเล เช่น เต่าชอบถุงพลาสติกสีขาว นกจมูกหลอดชอบพลาสติกสีแดง เม่ือสตั ว์เหล่านก้ี นิ พลาสตกิ เขา้ ไปทำใหป้ ว่ ยและล้มตาย” นักเรียนคิดว่าสถานการณด์ งั กล่าวจะส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชวี ิตในทะเลหรอื ไม่ อย่างไร * แนวคำตอบ เหตุการณ์ดังกล่าวจะส่งผลทำให้จำนวนประชากรของสิ่งมีชีวิตในทะเลลดน้อยลง โดยเฉพาะสิ่งมีชีวติ ในธรรมชาติท่ีมจี ำนวนน้อยย่ิงมโี อกาสสูญพันธไ์ุ ด้ ซงึ่ จะทำใหค้ วามหลากหลายทางชีวภาพลดลง
หนว่ ยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 334 คูม่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เฉลยแบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วย 1. ขอ้ ใดที่แสดงปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบทีม่ ีชีวติ กบั องคป์ ระกอบทีไ่ มม่ ีชีวิตในระบบนิเวศ * ก. นกหลายชนิดทำรงั อยบู่ นตน้ ไม้ เพอื่ ใชเ้ ป็นท่อี ยูอ่ าศัยและเลย้ี งดลู ูก ข. เหด็ ฟางชอบข้ึนอย่บู นฟางข้าว เพราะไดร้ บั ธาตุอาหารและความชืน้ จากฟางข้าว ค. เฟนิ หลายชนิดเจรญิ เตบิ โตได้ดีเม่ือเกาะอยบู่ นต้นไม้ใหญ่ เพราะไดร้ ับแสงและอากาศมากกวา่ ทพ่ี ้ืนดิน ง. พชื และสาหรา่ ยใช้แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงและปล่อยแก๊สออกซิเจนออกสอู่ ากาศ เฉลย ง. เพราะพืชและสาหร่ายที่เป็นองค์ประกอบที่มีชีวิตใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ไม่มี ชวี ิตในการสงั เคราะห์ด้วยแสงเพื่อสรา้ งอาหาร 2. ขอ้ ใดเป็นกลุ่มสงิ่ มีชวี ิต * ก. ค้างคาวเพศผูแ้ ละเพศเมียจำนวนมากเกาะอยู่ในถำ้ ข. สาหร่าย ปลาหางนกยูง ลูกนำ้ อาศัยอยู่รว่ มกนั ในสระนำ้ ค. โกงกางจำนวนหลายตน้ ขึ้นอยูบ่ รเิ วณดนิ เลนใกลป้ ากแมน่ ้ำ ง. โขลงชา้ งทมี่ ีช้างหลายครอบครัวอาศัยอยู่รวมกันในป่าดบิ ชน้ื เฉลย ข. เพราะมสี ง่ิ มีชีวติ มากกวา่ หนึง่ ชนดิ อาศยั อยรู่ ว่ มกนั ในแหลง่ ท่ีอยเู่ ดยี วกัน 3. สภาพแวดลอ้ มในข้อใดเป็นระบบนิเวศ ก. บริเวณสนามกฬี าของโรงเรยี นมีหญ้าแหว้ หมูขนึ้ อย่เู ต็มสนาม ข. แม่นำ้ สายหนงึ่ มีผกั ตบชวาท่ีเจรญิ เติบโตอย่างรวดเร็วและออกดอกสมี ่วงพร้อมกันจนเต็มลำน้ำ ค. บรเิ วณสวนสัตว์มสี ัตว์หลายชนิดอยใู่ นกรง และมกี ารปลกู พืชหลายชนิดเป็นรั้วเพอ่ื ความสวยงาม ง. เชิงเขาแหง่ หนง่ึ มีพืช สัตว์ และเหด็ หลายชนดิ อาศยั อยูร่ ว่ มกนั และมคี วามสมั พนั ธก์ ันหลายรปู แบบ เฉลย ง. เพราะมกี ล่มุ สง่ิ มีชวี ิตอาศยั อยใู่ นบริเวณเดยี วกันและมปี ฏิสัมพันธก์ นั สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
335 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชีวภาพ ค่มู อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใช้ภาพโซอ่ าหารในการตอบคำถามข้อ 4-6 4. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั โซอ่ าหารนี้ * ก. ปรมิ าณพลงั งานทีถ่ า่ ยทอดไปยังผูบ้ รโิ ภคลำดบั ต่าง ๆ จะมีปริมาณเทา่ กันเสมอ ข. กบจะนำพลงั งานทัง้ หมดที่ไดจ้ ากการกนิ ตก๊ั แตนไปใช้ในการสร้างเนือ้ เยอื่ ของตนเอง ค. หญา้ เปน็ ผูผ้ ลิตท่ีมพี ลงั งานสะสมมากทส่ี ดุ สว่ นงูเป็นผู้บรโิ ภคท่ีมีพลังงานสะสมมากทสี่ ุด ง. ในการถ่ายทอดพลังงาน พลังงานส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกายและอีกส่วนหน่ึง สญู เสียไปในรูปความรอ้ น เฉลย ง. เพราะในการถ่ายทอดพลังงาน พลังงานส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกายและ อีกส่วนหนึ่งสูญเสียไปในรปู ความรอ้ น 5. ข้อใดเรียงลำดับปรมิ าณพลังงานที่สะสมในส่งิ มีชีวติ ของโซ่อาหารนีจ้ ากมากไปหาน้อยไดถ้ กู ตอ้ ง * ก. งู - กบ - ตัก๊ แตน - หญ้า ข. หญา้ - ตัก๊ แตน - กบ - งู ค. ต๊กั แตน - หญา้ - งู - กบ ง. งู - กบ - หญา้ – ตกั๊ แตน เฉลย ข. เพราะพลังงานสะสมจะอยู่ที่ผู้ผลิตมากที่สุด และผู้บริโภคที่มีลำดับขั้นการบริโภคที่ต่ำกว่าจะได้รับ พลงั งานสะสมมากกว่าผู้บริโภคท่อี ยู่ในลำดบั ที่สูงกว่าเสมอ 6. ถ้ามีการฉีดสารพิษในสนามหญ้าทำให้สารพิษนี้ไปสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อของหญ้า ข้อใดเรียงลำดับสิ่งมีชีวิตที่มี โอกาสสะสมสารพษิ จากมากไปหานอ้ ยได้ถูกต้อง * ก. กบ - งู - หญ้า ข. ตกั๊ แตน - กบ - งู ค. งู - กบ - ตัก๊ แตน ง. หญา้ - ตก๊ั แตน – งู เฉลย ค. เพราะการสะสมสารพิษจะมากขน้ึ ไปตามลำดบั ขัน้ ของการบรโิ ภคในโซอ่ าหารเดยี วกัน
หน่วยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 336 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จงพิจารณาแผนภาพแสดงสายใยอาหารตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคำถามข้อ 7-8 7. A น่าจะเป็นส่ิงมชี ีวิตชนิดใด และมีบทบาทอยา่ งไร * ก. A เปน็ สิง่ มีชวี ิตทีอ่ าศยั ในดนิ มีบทบาทเปน็ สิ่งมีชวี ิตกนิ พืชและสัตว์ ข. A เป็นเห็ดหรอื แบคทีเรยี บางชนดิ มบี ทบาทเปน็ ผยู้ อ่ ยสลายสารอินทรีย์ ค. A เป็นสิง่ มีชวี ิตท่ีอาศยั บนผวิ ดนิ มีบทบาทเปน็ ผู้บรโิ ภคลำดบั สดุ ทา้ ย ง. A เป็นสัตว์กินซาก มีบทบาทเป็นผรู้ บั พลงั งานลำดับสุดท้ายของสายใยอาหารนี้ เฉลย ข. เพราะเมื่อสง่ิ มีชีวิตทุกชนดิ ในสายใยอาหารตายลง ผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรียจ์ ะยอ่ ยซากสิ่งมชี ีวติ เหล่านน้ั 8. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ต้อง * ก. ถา้ เหยี่ยวมีประชากรเพิม่ มากข้ึน จะมีผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ิตทุกชนิดในสายใยอาหาร ข. นกเป็นผ้บู รโิ ภคลำดับท่ี 2 และ 3 เหย่ยี วเป็นผู้บรโิ ภคลำดับที่ 2 3 และ 4 ของสายใยอาหารนี้ ค. ถา้ พน้ื ท่ปี ลกู ผกั กาดมนี ำ้ ทว่ มขังแลว้ ทำใหผ้ ักกาดตายหมด จะสง่ ผลกระทบต่อเพลี้ย หนอน และหอยทากเท่านั้น ง. ถา้ มีการฉดี สารพษิ เพื่อกำจดั ศัตรพู ืชในแปลงผกั กาด เหยย่ี วมโี อกาสท่จี ะมสี ารพษิ สะสมไว้ในร่างกายมากที่สุด เฉลย ค. เพราะถา้ ผักกาดหายไปจะส่งผลต่อส่งิ มีชีวิตทกุ ชนิดในสายใยอาหารน้ี สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
337 หน่วยท่ี 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9. จงศึกษาขอ้ มูลและตอบคำถาม จากการศึกษาความเข้มข้นของสารกำจัดศัตรูพืชในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต 5 ชนิดที่อยู่ในโซ่อาหารใน สระนำ้ แหง่ หน่ึง ได้ข้อมลู ดังน้ี ชนิดสง่ิ มีชีวติ ปริมาณสารกำจดั ศัตรูพชื (ppm) A ตรวจพบน้อยมาก B 0.47 C 0.04 D 2.11 E 0.09 ข้อใดแสดงโซอ่ าหารในสระน้ำแห่งนีไ้ ด้ถูกต้อง * ก. A ➞ C ➞ E ➞ B ➞ D ข. A ➞ D ➞ B ➞ E ➞ C ค. C ➞ E ➞ B ➞ D ➞ A ง. D ➞ B ➞ E ➞ C ➞ A เฉลย ก. เพราะสารพษิ จะเพม่ิ ขนึ้ ไปเร่อื ย ๆ ตามลำดบั ของการบริโภคทส่ี งู ข้ึน 10. ตำลึงใช้มอื เกาะยดึ ตามลำต้นของต้นไม้เพื่อใหไ้ ดร้ บั แสงมากขึ้น ตำลึงกับต้นไมม้ ีความสัมพนั ธแ์ บบใด * ก. ภาวะปรสติ ข. การลา่ เหย่อื ค. ภาวะอิงอาศยั ง. ภาวะพงึ่ พากัน เฉลย ค. เพราะตำลงึ ได้ประโยชน์ แต่ตน้ ไมไ้ ม่ได้และไม่เสียประโยชน์ 11. พยาธิตัวตืดอาศัยอยู่ที่ผนังลำไส้ของสุนัข ดำรงชีวิตโดยการดูดสารอาหารภายในลำไส้ของสุนัข พยาธิตัวตืด กับสนุ ัขมคี วามสัมพนั ธ์แบบใด * ก. ภาวะปรสิต ข. การล่าเหย่ือ ค. ภาวะองิ อาศัย ง. ภาวะพึง่ พากนั เฉลย ก. เพราะพยาธิตัวตืดอาศัยอยู่ในตัวของสุนัขและได้รับอาหารจากสุนัข ส่วนสุนัขเสียประโยชน์จากการถูก แยง่ อาหารแตไ่ ม่ถงึ ขน้ั เสยี ชีวติ
หน่วยที่ 7 | ระบบนเิ วศและความหลากหลายทางชวี ภาพ 338 คู่มอื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 12. แบคทีเรียในปมรากถั่วตรึงไนโตรเจนจากอากาศเพื่อเป็นธาตุอาหารแก่พืช ส่วนแบคทีเรียได้รับคาร์โบไฮเดรต จากรากพชื แบคทเี รยี และถ่วั มคี วามสมั พนั ธแ์ บบเดยี วกับสิ่งมชี ีวิตคู่ใด * ก. ปลาเหาฉลามกับปลาฉลาม ข. กาฝากกบั มะม่วง ค. หนอนกับต้นรัก ง. ดอกไมก้ ับผึ้ง เฉลย ง. เพราะส่ิงมชี ีวติ ทั้งสองชนดิ ได้ประโยชนร์ ่วมกัน คล้ายกบั ในกรณขี องผง้ึ กบั ดอกไม้ 13. ขอ้ ใดมีความหลากหลายของสงิ่ มีชีวิตนอ้ ยทีส่ ดุ * ก. บงึ แห่งหนง่ึ พบสตั ว์นำ้ ที่บรเิ วณผวิ นำ้ จำนวน 30 ชนดิ และพบสัตวน์ ้ำใตผ้ ิวน้ำอกี 300 ชนิด ข. อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญพ่ บลงิ กงั อาศยั อยูต่ ามธรรมชาติหลายฝูง แต่ละฝงู มปี ระชากรประมาณ 160 ตัว ค. ปา่ ชายเลนพบพชื และสตั วป์ ระมาณ 200 ชนดิ ตัวอยา่ งเช่น โกงกาง ต้นแสม ปลาตนี ปแู สม ง. ทุ่งหญา้ สะวันนาในทวปี แอฟรกิ าพบควายป่า 100 ตัว มา้ ลาย 150 ตัว และกวาง 250 ตัวอาศัยอยู่รว่ มกนั เฉลย ข. เพราะมีชนิดของสงิ่ มีชีวิตเพยี งชนิดเดียว 14. ระบบนิเวศทมี่ ีสายใยอาหารแบบข้อใดที่สามารถรกั ษาสมดลุ ของระบบนเิ วศไดด้ ีท่สี ุด * ก. ข. ค. ง. เฉลย ค. เพราะมีผู้ผลิตในสายใยอาหารมากกว่าหนึ่งชนิด และยังมีผู้บริโภคพืชมากกว่าหน่ึงชนิดด้วย ทำให้เมื่อ เกดิ การเปลี่ยนแปลงในสายใยอาหารกับผผู้ ลติ หรือผ้บู ริโภคพืชก็จะยังคงรกั ษาสมดุลไดด้ ี สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
339 ภาคผนวก คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคผนวก สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ภาคผนวก 01340 คูม่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บรรณานกุ รม กรมควบคุมมลพิษ. (2562). 1 ปี กับผลการดำเนินการในการจดั การขยะพลาสติก. ข่าว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 29 มถิ ุนายน 2563, จาก https://thaimsw.pcd.go.th/newsdetail.php?id=128 กลุ่มอุตสาหกรรมอลูมเิ นียม. (2563). อลูมิเนียม (Aluminium) ชนิด และประโยชน์. สบื คน้ เมือ่ 20 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.fti.or.th/อลมู เิ นียม-aluminium-ชนดิ -และประ/ กองป้องกนั การบาดเจบ็ / สำนักสื่อสารความเส่ียงฯ กรมควบคุมโรค. (2563). กรมควบคุมโรค เตือนประชาชน ระมดั ระวังพายุฤดูรอ้ นในช่วงนี้ ควรหลกี เลย่ี งพื้นทีโ่ ลง่ แจง้ หรืออย่ใู ต้ต้นไม้สูงใหญ่ และระวังอบุ ัตเิ หตุจราจร. สืบค้นเม่อื 13 กรกฎาคม 2563, จาก https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=12616&deptcode=brc&news_views=457 เกศวดี อชั ะวิสิทธ์.ิ ถุงรอ้ นหรือถงุ เยน็ เลือกอยา่ งไรใหเ้ หมาะสม. สืบค้นเม่อื 24 ตุลาคม 2562, จาก http://www.nsm.or.th/other-service/1757-online-science/knowless-inventory/sci- article/science-article-nsm/2775-hot-bag-or-cool-bag-how-to-choose.html การไฟฟา้ นครหลวง. (2555). ค่า Ft คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.mea.or.th/content/2985/2987 ชพู นั ธ์ุ รัตนโภคา. (2559). เอกสารคำสอนวิชาความรเู้ บ้ืองตน้ ทางปัญญาประดิษฐ์ (Introduction to Artificial Intelligence). มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . กรงุ เทพมหานคร. ฐานข้อมูลอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ สำนกั งานเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม. การบรรจนุ ำ้ อดั ลม. สืบค้นเม่ือ 2 ตลุ าคม 2562, จาก https://packaging.oie.go.th/new/admin_control_new/html-demo/file_technology/9438170625.pdf ณฏั ฐ์ อรณุ . ปญั ญาประดิษฐ์กับการประยุกต์ใช้งาน (Artificial Intelligence and the Application). สบื ค้นเมื่อ 4 สงิ หาคม 2562, จาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_10/pdf/aw25.pdf ธวัชชยั สันตสิ ขุ . (2549). ป่าของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธ์ุพืช. ปรมนิ ทร์ ผาแกว้ (2558). สำนกั คณะกรรมการอาหารและยา. ประโยชนห์ รอื ขอ้ ควรระวังของเบคก้ิงโซดาหรือผงฟู. วารสารอาหารและยา, 22(2), 8-10, สบื ค้นเม่ือ 20 กรกฎาคม 2563, จาก http://kmfda.fda.moph.go.th/Journal/Chapter/1/25_59_A2_2.58.pdf ปรวิ รรต องค์ศุลี. (2560). ปัญญาประดิษฐก์ บั เน้ือหาวชิ าในหลกั สตู รวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ (Artificial Intelligence and Computer Science Curriculum). วารสารวิชาการ ฉบับวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สมาคม สถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชปู ถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี, 6(1), 100-107. ภญิ โญ พานชิ พันธ์, พณิ ทิพ รนื่ วงษา และดำรัส วงศส์ วา่ ง (2547). ปัญญาประดิษฐ์. สบื คน้ เม่ือ สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2561, จาก https://il.mahidol.ac.th/e-media/computer/evolution/AI_what.html สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
341 ภาคผนวก คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาณวุ ฒั น์ จอ้ ยกลดั และสนุ ติ ิ สภุ าพ. คอนกรีตเสริมเหล็ก : จากแหลง่ กำเนิดส่สู ยามประเทศ. สบื ค้นเม่ือ 29 มถิ นุ ายน 2563, จาก http://eitprblog.blogspot.com/2014/04/blog-post_17.html ภาควชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. วัสดผุ สม. สืบคน้ เมือ่ 2 เมษายน 2563, จาก http://ie.eng.cmu.ac.th/IE2014/elearnings/2014_08/23/บทท%ี่ 2014%20Composite%20material.pdf มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล. คณุ สมบัติเชงิ กลของวัสดุ. สืบค้นเม่ือ 21 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.rmutphysics.com/charud/metal/1/Mechanical%20Properties.htm มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร.ี คลังขอ้ มลู งานวิจยั . สบื ค้นเมอ่ื 2 เมษายน 2563, จาก http://www.research.rmutt.ac.th/?tag=วสั ดผุ สม มูลนธิ โิ ครงการสารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ. ซีเมนต์และคอนกรีต. สบื คน้ เมื่อ 21 กรกฎาคม 2563, จาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=2&chap=5&page=t2-5- infodetail10.html วนดิ า ทองช่วย. มลพษิ จากการใชพ้ ลงั งานทางเลือก. สบื คน้ เมอ่ื 29 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.diw.go.th/km/env/pdf/lpg.pdf ศุภกจิ สุทธิเรืองวงศ์ และสุจิตรา วาสนาดำรงดี. (2562). ข้อเทจ็ จรงิ “พลาสตกิ ย่อยสลายไดใ้ นสภาวะแวดล้อม ธรรมชาติ”. สืบค้นเม่อื 24 สงิ หาคม 2562, จาก http://www.chulazerowaste.chula.ac.th/the-fact-of- environmentally-degradable-plastics-edp/ ศุลีพร แสงกระจา่ ง, ปทั มา พลอยสวา่ ง และปรณิ ดา พรหมหติ าธร. (2556) ผลกระทบของพลาสติกต่อสุขภาพและ ส่งิ แวดลอ้ ม. พิษวิทยาไทย, 28(1), 39-50. ศูนย์เทคโนโลยีวัสดแุ ละโลหะแหง่ ชาติ. ประเภทของพลาสติกยอ่ ยสลายได้. สืบค้นเม่ือ 24 สิงหาคม 2562, จาก https://www.2mtec.or.th/th/special/biodegradable_plastic/type_de_plas.html ศูนยเ์ ทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง่ ชาต.ิ พจนานกุ รมวัสดุศาสตร์. สบื คน้ เม่ือ 1 สิงหาคม 2562, จาก https://www.mtec.or.th/dictionary-of-materials ศูนยส์ ร้างสรรค์งานออกแบบ. ฐานขอ้ มลู วัสดุไทย. สืบคน้ เม่ือ 2 ตลุ าคม 2562, จาก http://materials.tcdc.or.th สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2553). หนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ . กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2561). คู่มือการใช้หลกั สตู รรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2562). พจนานุกรมศัพทว์ ทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ เทคโนโลยี. สืบคน้ เม่ือ 2 ตลุ าคม 2562, จาก https https://escivocab.ipst.ac.th สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ภาคผนวก 01342 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2562). หนังสอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เลม่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). แนวคิดคลาดเคล่ือนเก่ียวกับช้นิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์. การประชุมพจิ ารณาคมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. 5-8 สิงหาคม 2562. กรุงเทพมหานคร. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2562). แนวคดิ คลาดเคล่ือนเกยี่ วกับพลงั งานไฟฟา้ . การประชุม พจิ ารณาคู่มือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2. 5-8 สงิ หาคม 2562. กรุงเทพมหานคร. สถาบนั เหลก็ และเหล็กกล้าแหง่ ประเทศไทย. การทดสอบความแขง็ (Hardness test). สืบค้นเมอื่ 30 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.scribd.com/document/381787407/การทดสอบความแขง็ -Hardness-test-สถาบัน เหลก็ และเหลก็ กล้าแห่งประเทศไทย-pdf สภาวศิ วกร. งานกอ่ สร้างคอนกรตี เสริมเหล็ก. สืบคน้ เมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.yotathai.com/yotanews/reinforced-concrete สมาคมพฒั นาคุณภาพส่ิงแวดล้อม. ร้รู อบเรือ่ งพลาสตกิ : จากตน้ กำเนิดสกู่ ารจัดการ. สืบคน้ เมอ่ื 27 กรกฎาคม 2562, จาก http://adeq.or.th/knowlage-about-plastic-01/ สำนักงานวิจยั พัฒนาการจัดการป่าไม้เศรษฐกิจอย่างยั่งยนื . (2560). สรุปผลการดำเนินการโครงการวจิ ัยในพ้นื ที่สวน ป่าองค์การอตุ สาหกรรมปา่ ไม้ ประจำปี 2560. กรงุ เทพมหานคร. อนุวัฒน์ จตุ ิลาภถาวร. คุณสมบัตทิ างกลและการทดสอบวสั ด.ุ สืบคน้ เมือ่ 15 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/2/material/1Material_Properties.pdf อนสุ ษิ ฐ์ เกื้อกลู . พอลิเมอร์. สบื ค้นเม่ือ 22 สงิ หาคม 2562, จาก https://scimath.org/lesson- chemistry/item/7095-2017-06-04-02-45-14 อรรถพล กณั หเวก. (2562). ความหมายของ Smart Home. สืบค้นเมอื่ 4 สงิ หาคม 2562, จาก https://www.arm.co.th/Knowledge.aspx?id=2 Adeniyi, E. O. (1985) Misconceptions of selected ecological concepts held by some Nigerian students, Journal of Biological Education, 19:4, 311-316, DOI: 10.1080/00219266.1985.9654758 Driver, R., Squires, A., Rushworth, P., & Wood-Robinson, V. (1994). Making sense of secondary science: Research into children's ideas. New York, NY: Rutledge. Ecology Unit. (2019). Retrieved October 4, 2019, from https://www.khanacademy.org/science/biology/ecology Elsevier, B.V. Reinforced plastics. Retrieved July 26, 2019, from https://www.sciencedirect.com/topics/materials-science/reinforced-plastics Griffiths, A. K., & Grant, B. A. (1985). High school students’ understanding of food webs: identification of a learning hierarchy and related misconceptions. Journal of Research in Science Teaching, 22(5), 421–436. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
343 ภาคผนวก คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Horton, C. (2007). Student Alternative Conceptions in Chemistry. California Journal of Science Education, 7(2). Retrieved May 29, 2019, from http://www.daisley.net/hellevator/misconceptions/misconceptions.pdf Kristi Schertz. Biomagnification Activity from the Monterey Bay Aquarium. Retrieved May 29, 2019, from https://teachingapscience.com/biomagnification-activity-from-the-monterey-bay-aquarium KÜÇÜKÖZER, H. & KOCAKÜLAH, S. (2007). Secondary School Students’ Misconceptions about Simple Electric Circuits. Journal of Turkish Science Education 4(1), 101-115. LESSON SIX: Materials and Process: Plastics. Retrieved May 29, 2019 from https://assets.moma.org/momaorg/shared/pdfs/moma_learning/docs/design_6.pdf Mondal, Bhim & Chakraborty, Aniruddha, (2013). Misconceptions in Chemistry: Its identification and remedial measures. Saarbrücken: Lap Lambert Academic Publishing. Peipei, W, Nahal, A., Xiao, Z. & Amir, A. (2019) Strong ultralight foams based on nanocrystalline cellulose for high-performance insulation. Carbohydrate Polymers, 218, 103-111. Portland Cement Association. Reinforced Concrete. Retrieved July 22, 2019, from https://www.cement.org/designaids/reinforced-concrete Reading Plastic Machining and Fabrication. Different Types of Fiber-Reinforced Plastic. Retrieved July 26, 2019, from http://readingplastic.com/fiber-reinforced-plastic Reece, J. B., Urry, L. A., Cain, M. L. 1., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., Jackson, R., & Campbell, N. A. (2017). Campbell biology (Eleventh edition.). Boston: Pearson. Santhawat Premsang. (2562). สมาร์ทโฮม (Smart Home) กับ 6 ประโยชน์เจ๋ง ๆ ท่ีควรรู้. สบื คน้ เมอ่ื 4 สิงหาคม 2562, จาก https://www.studio7thailand.com/how-to/smarthome ScienceDirect. Reinforced Concrete. Retrieved July 22, 2019, from https://www.sciencedirect.com/topics/materials-science/reinforced-concrete Setyani, N.D., Suparmi, Sarwanto, & Handhika, J. (2017). Students conception and perception of simple electrical circuit. Journal of Physics: Conference Series 909. Stanley Electric. (2010). Features and Selection of LED Packages. Retrieved August 29, 2019, from https://www.stanley-components.com/data/technical_note/TN010_e.pdf Weebly. Common Misconceptions. Retrieved May 29, 2019, from https://grade12uchemistry.weebly.com/common-misconceptions2.html สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก 01344 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผ้จู ัดทำ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะทีป่ รึกษา สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.ชกู ิจ ลิมปิจำนงค์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ดิ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้จัดทำคมู่ ือครู สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางชุตมิ า เตมยี สถิต สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางกง่ิ แกว้ คูอมรพฒั นะ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวดวงกมล เหมะรตั สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววราภรณ์ ถิรสริ ิ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาววรรณภา ศรวี ไิ ลสกุลวงศ์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวธนพรรณ ชาลี สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวสุนิสา แสงมลคลพิพัฒน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.อรนษิ ฐ์ โชคชัย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.กฤษลดา ชสู นิ คุณาวฒุ ิ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.วชิร ศรีคมุ้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.นิพนธ์ จันเลน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววิมลมาศ ศรนี าราง นายศุภณัฐ คมุ้ โหมด สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายจริ วัฒน์ ดำแก้ว ดร.ยศินทร์ กิติจนั ทโรภาส ดร.วลิ านี สชุ วี บริพนธ์ นายอภิรตั น์ ฐิตมิ นั่
345 ภาคผนวก คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผ้พู ิจารณาคมู่ อื ครู มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลยั รามคำแหง รองศาสตราจารย์ ดร.วิวธั น์ ยงั ดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชริ าภรณ์ อาชวาคม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศกั ดศิ์ รี สุภาษร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรีสลุ กั ษณ์ ธีรานพุ ัฒนา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนวัช อาชวาคม มหาวิทยาลยั ศิลปากร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แกว้ อดุ มศิริชาคร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ดร.ณฐั รินทร์ วงศธ์ รรมวานชิ โรงเรยี นราชินบี น ดร.เดชา ศุภพิทยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ดร.พิรณุ ศริ ศิ ักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ดร.ภาณพุ ันธ์ ลิมปชยาพร สถาบนั วิจัยดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดร.สายรุ้ง ซาวสภุ า โรงเรียนวดั ราชาธิวาส ดร.อุเทน แสวงวทิ ย์ โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา นางจันทมิ า สุขพัฒน์ โรงเรียนบ้านสวนอดุ มวทิ ยา นางรุ่งรตี เทพนม โรงเรยี นราชนิ ี นางสมพร วชิ ัยประเสรฐิ โรงเรยี นมัธยมประชานิเวศน์ นางสาวปวณี า จาดพนั ธ์อนิ ทร์ โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ นางสาวปวณี า ชาลเี ครอื โรงเรยี นปทมุ คงคา นางสาววรรณวรี ์ เหมือนประยรู ข้าราชการบำนาญ นางสาวสุชาดา โสภูงา สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพฯ นางสาวสภุ าพ แจ่มปัญญา โรงเรยี นหนองตาไก้ศึกษา นายกอบวทิ ย์ พิริยะวัฒน์ โรงเรียนวดั น้ำพุ นายพพิ ัฒน์พงษ์ สาจันทร์ โรงเรียนนานอ้ ย นายรงั สมิ ันต์ จนั ทร์เรือง โรงเรียนเชยี งคำวิทยาคม นายสจั จะ รณุ วุฒิ โรงเรียนอรุณประดิษฐ นายศักดิ์ดาวุฒิ เมืองก้อน นายอดศิ ักด์ิ สขุ วิสุทธ์ิ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก 01346 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะบรรณาธกิ าร มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ รองศาสตราจารย์ ดร.กติ ติวิทย์ มาแทน มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จตรุ งค์ สคุ นธชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จรรยา ดาสา มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศธ์ าริน โล่หต์ ระกูล ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ฐาปนา จ้อยเจริญ โรงเรยี นบคี อนเฮาส์แยม้ สอาดรังสิต โรงเรียนอนุบาลบางสะพานน้อย คณะผทู้ ดลองใช้ โรงเรยี นศรีสำโรงชนปู ถัมภ์ โรงเรยี นอนบุ าลบางสะพานน้อย นางสาวจิตรลดา อยดู่ วง โรงเรยี นน้ำดบิ วทิ ยาคม นางสาวธรรชนก ชืน่ ชอบ โรงเรยี นดอนจานวิทยาคม นางสาวไพลนิ นวลหงษ์ โรงเรียนชมุ ชนบ้านตาหลังใน นางสาววมิ ลสิริ อาสนะ โรงเรยี นหันคาพิทยาคม นางสาวอมั พิกา ต๊ิบกวาง โรงเรยี นนครระยองวทิ ยาคม (วัดโขดใต้) นายชมุ พล ชารีแสน โรงเรยี นป่าพะยอมพทิ ยาคม นายปกรณเ์ กียรติ ศริ ิสุทธ์ิ นายมนศักด์ิ ฤทธโิ ชติ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศริ พิ ล กจิ วาสน์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายห่วง ฆงั คสุวรรณ คณะทำงานฝ่ายเสรมิ วชิ าการ นางสาวรชั ดากรณ์ สุนาวี ฝา่ ยนวัตกรรมเพ่ือการเรยี นรู้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384