44 ทำแบบสำรวจให้ผเู้ ช่ียวชำญพิจำรณำขอ้ คำถำมแต่ละขอ้ โดยไดก้ ำหนดคะแนนสำหรับกำรพิจำรณำ ขอ้ คำถำมแต่ละขอ้ ดงั น้ี ให้ +1 ถำ้ แน่ใจวำ่ ขอ้ คำถำมน้นั สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้รำยปี ให้ 0 ถำ้ ไม่แน่ใจวำ่ ขอ้ คำถำมน้นั สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้รำยปี ให้ -1 ถำ้ แน่ใจวำ่ ขอ้ คำถำมน้นั ไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้รำยปี 2.4 นำผลท่ีไดจ้ ำกกำรประเมินของผูเ้ ชี่ยวชำญแต่ละคน ท้งั 5 ท่ำน คำนวณหำ ค่ำเฉลี่ยดชั นีควำมสอดคลอ้ ง (Index of item Objective Congruence : IOC) จำกควำมคิดเห็นของ ผูเ้ ช่ียวชำญและได้ทำกำรคดั เลือกแบบทดสอบที่มีค่ำเฉลี่ยดชั นีควำมสอดคลอ้ ง (IOC) อยู่ระหวำ่ ง 0.75 – 1.00 (รำยละเอียด ดงั ภำคผนวก ค) 2.5 นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลงั กำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่ม สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 ท่ีได้วิเครำะห์ค่ำเฉลี่ยดัชนีควำมสอดคลอ้ ง (IOC) ของผูเ้ ชี่ยวชำญท้งั หมดไปทดสอบกบั นักเรียนช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 โรงเรียนบ้ำนทุ่งจงั จำนวน 3 คน โรงเรียนควนเนียง จำนวน 4 คน และโรงเรียนทุ่งปรือพิทยำคม(รัตนปัญโญ) จำนวน 23 คน ปี กำรศึกษำ 2555 อำเภอหำดใหญ่ จังหวดั สงขลำ รวมท้ังหมด 30 คน เพ่ือ หำค่ำควำมยำกและอำนำจจำแนก แลว้ คดั เลือกขอ้ สอบที่ดีเฉพำะขอ้ ท่ีมีค่ำควำมยำกต้งั แต่ 0.20 ถึง 0.80 และอำนำจจำแนกต้ังแต่ 0.20 ข้ึนไป (รำยละเอียดดังภำคผนวก ง) ไวเ้ ป็ นแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนก่อนและหลงั กำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพิ่มเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ 2.6 นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลงั กำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่ม สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ ที่ไดว้ เิ ครำะห์ค่ำเฉล่ียดชั นี ควำมสอดคล้อง (IOC) ของผูเ้ ชี่ยวชำญท้ังหมด ไปหำค่ำควำมเชื่อม่ันจำกสูตร K.R. – 20 ของ คูเดอร์ ริชำร์ดสัน (Kuder Richardson) (สมำน จนั ทะดี. 2552 : 413) ไดค้ ่ำควำมเช่ือมนั่ เท่ำกบั 0.68 จำกน้ันนำไปทดสอบกับกลุ่มทดลองนักเรียนช้ันประถมศึกษำปี ท่ี 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยำคม (รัตนปัญโญ) จำนวน 28 คน ปี กำรศึกษำ 2556 อำเภอหำดใหญ่ จงั หวดั สงขลำ วดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำร เรียนก่อนและหลงั กำรใช้หนังสืออ่ำนเพิ่มเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำ ปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์
44 2.7 จดั พิมพ์เป็ นแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลงั กำรใช้หนังสืออ่ำน เพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จำนวน 30 ขอ้ เป็นฉบบั สมบูรณ์ เพือ่ ใชใ้ นกำรเก็บรวบรวมขอ้ มูลตอ่ ไป (รำยละเอียดดงั ภำคผนวก จ) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การศึกษาคร้ังน้ีผูด้ าเนินการได้เก็บรวบรวมข้อมูลการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ เรื่องสาคญั กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดโลกมหัศจรรย์ กบั กลุ่มประชากรท้งั หมด เนื่องจากนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียน ทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา มีนักเรียนจานวน 1 ห้องเรี ยน จานวน 22 คน ต้ังแต่วนั พฤหัสบดีที่ 22 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ถึงวันศุกร์ ท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557 จานวน 24 ชว่ั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2557 ซ่ึงไดเ้ ลือกใชแ้ บบ การศึกษ าก ลุ่มเดี ยว วัดก่อน เรี ยน และห ลังเรี ยน (One – Group Pretest – Posttest Design) โดยมีข้นั ตอนดงั น้ี 1. ก่อนทำกำรทดลอง ผูด้ ำเนินกำรให้นกั เรียนกลุ่มเป้ำหมำยทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ก่อนเรียนวิชำวิทยำศำสตร์ โดยใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ัน ประถมศึกษำปี ที่ 3 จำนวน 30 ข้อ ที่ผู้ดำเนินกำรได้พัฒนำข้ึน แล้วเก็บข้อมูลที่ได้จำกกำรทำ แบบทดสอบ เพ่อื ใชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูลต่อไป 2. ระหวำ่ งกำรทดลอง ผดู้ ำเนินกำรไดด้ ำเนินกำรสอนตำมแผนกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้กบั นักเรี ยนกลุ่มเป้ ำหมำย โดยกำรใช้หนังสื ออ่ำนเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จำนวน 5 เล่ม และแบบบนั ทึกกิจกรรม จำนวน 1 เล่ม ใชเ้ วลำท้งั หมด 24 ชว่ั โมง ภำคเรียนที่ 1 ปี กำรศึกษำ 2557 3. หลงั กำรทดลอง ผูด้ ำเนินกำรไดใ้ ห้กลุ่มเป้ำหมำยทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียน วชิ ำวทิ ยำศำสตร์ โดยใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 จำนวน 30 ขอ้ ที่ผดู้ ำเนินกำรไดพ้ ฒั นำข้ึน แลว้ เก็บขอ้ มูลท่ีไดจ้ ำกกำรทำแบบทดสอบ นำไปวเิ ครำะห์ ขอ้ มูลต่อไป 4. ผูด้ ำเนินกำรนำคะแนนที่จำกกำรสอบไดท้ ้งั หมด มำวิเครำะห์ขอ้ มูลดว้ ยวิธีกำรทำงสถิติ เพอ่ื ทดสอบสมมุติฐำนและสรุปผลกำรศึกษำคน้ ควำ้ กำรวเิ ครำะห์ข้อมูล ผดู้ ำเนินกำรไดด้ ำเนินกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล โดยใชข้ อ้ มูลท่ีไดจ้ ดั เก็บไวท้ ้งั หมดนำมำวเิ ครำะห์ 1.ห ำป ระสิ ท ธิ ภ ำพ ของห นังสื ออ่ำน เพ่ิ มเติ มก ลุ่ มส ำระก ำรเรี ยน รู้วิท ยำศำส ตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 โดยหำค่ำเฉลี่ยร้อยละของคะแนนท่ีไดจ้ ำกกำรทำแบบฝึ กหัดหรือกิจกรรม
44 จำกกำรใช้หนังสืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำปี ท่ี 3 ชุด โลกมหัศจรรย์ แต่ละเล่ม จำนวน 5 เล่ม (E1 ) และหำค่ำเฉล่ียร้อยละของคะแนนที่ได้จำกกำรทำ แบบทดสอบหลงั เรียนหนงั สืออ่ำนเพิ่มเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ แตล่ ะเล่ม จำนวน 5 เล่ม (E2 ) 2. เปรียบเทียบคะแนนวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนจำกกำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่มสำระ กำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียน โดยกำรทดสอบ t – test สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการศึกษาคน้ ควา้ ผดู้ าเนินการใชส้ ถิติในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี 7.1 สถิตทิ ใี่ ช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 7.1.1 ค่ าดัช นี ค ว าม ส อ ด ค ล้อ ง (Index of item Objective Congruence : IOC) คานวณไดจ้ ากสูตร (สมาน จนั ทะดี. 2552 : 413) IOC R N เมื่อ IOC แทน ดชั นีความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงค์ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ N แทน จานวนผเู้ ช่ียวชาญ 7.1.2 ค่ำระดับควำมยำก (Difficulty) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิหลังกำรใช้ หนงั สืออ่ำนเพม่ิ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ คำนวณไดจ้ ำกสูตร (สมำน จนั ทะดี. 2552 : 414) P = 100 Rh + R1 nh + n1 เมื่อ P แทน ระดบั ควำมยำก nh แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่ำซ่ึงเท่ำกนั Rh แทน จำนวนคนกลุ่มสูงที่ตอบถูก R1 แทน จำนวนคนกลุ่มต่ำที่ตอบถูก
44 7.1.3 คำ่ อำนำจจำแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิหลงั กำรใช้ หนงั สืออ่ำนเพมิ่ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ คำนวณไดจ้ ำกสูตร (สมำน จนั ทะดี. 2552 : 414) r = Rh –nhR1 เม่ือ r แทน ค่ำอำนำจจำแนก nh แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่ำซ่ึงเท่ำกนั Rh แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงท่ีตอบถูก R1 แทน จำนวนคนกลุ่มต่ำที่ตอบถูก 7.1.4 ค่ำควำมเช่ือมน่ั (Reliability) ของแบบทดสอบฝึ กทกั ษะกำรอ่ำนหนังสือ เพ่ิมเติมและแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนวิชำวิทยำศำสตร์ คำนวณไดจ้ ำกสูตร K.R. 20 คูเดอร์ - ริชำร์ดสนั (Kuder Richardson) (สมำน จนั ทะดี. 2552 : 413) สูตร K.R. 20 r n n11 pq n s2 i เมื่อ n หมำยถึง จำนวนขอ้ p หมำยถึง สัดส่วนของคนท่ีทำถูกแต่ละขอ้ q หมำยถึง สดั ส่วนของคนที่ทำผดิ ในแต่ละขอ้ = 1 – p S2i หมำยถึง ควำมแปรปรวนของคะแนนท้งั ฉบบั 7.2 สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 7.2.1 การหาคา่ ตวั กลางเลขคณิตของกลุ่มประชากร ใชส้ ูตรในการคานวณ ดงั น้ี (ชูศรี วงศร์ ัตนะ. 2537 : 41) สูตร = x N เม่ือ µ แทน ตวั กลางเลขคณิตของกลุ่มประชากร X แทน ผลรวมท้งั หมดของคะแนน N แทน จานวนคะแนนท้งั หมดของกลุ่มประชากร
44 7.2.2 ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลุ่มประชากร () ใชส้ ูตรในการคานวณ ดงั น้ี (ชูศรี วงศร์ ัตนะ. 2537 : 72) N (Xi )2 สูตร = i 1 N เม่ือ แทน ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลุ่มประชากร µ แทน ตวั กลางเลขคณิตของกลุ่มประชากร N แทน จานวนขอ้ มูลท้งั หมดของกลุ่มประชากร 7.2.3 การหาประสิทธิภาพของหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 80/80 ใชส้ ูตร E1/E2 ดงั น้ี (ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ 2556 : 10) X N Ε1 A 100 และ F N Ε2 B 100 เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ X แทน คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมหรืองานท่ีทา ระหวา่ งเรียนท้งั ที่เป็นกิจกรรมในหอ้ งเรียน นอกห้องเรียน F แทน คะแนนรวมของผลลพั ธ์ของการประเมินหลงั เรียน A แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝึกปฏิบตั ิทุกชิ้นรวมกนั B แทน คะแนนเตม็ ของการประเมินสุดทา้ ยของแตล่ ะหน่วย ประกอบดว้ ยผลการสอนหลงั เรียนและคะแนนจากการ ประเมินงานสุดทา้ ย N แทน จานวนผเู้ รียน
44 7.2.4 การเปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลงั เรียน หนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยใชส้ ูตร t – test (สมาน จนั ทะดี. 2552 : 414) สูตร t = D N D2 D2 N 1 เมื่อ t แทน คา่ สถิติที่ใชเ้ ปรียบเทียบกบั คา่ วกิ ฤตเพือ่ ทราบความ มีนยั สาคญั N แทน จานวนกลุ่มเป้าหมาย D แทน ค่าผลต่างระหวา่ งคู่คะแนน การเผยแพร่นวตั กรรม การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเร่ื องสาคัญกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพมิ่ เติม ผดู้ าเนินการไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ อยา่ งต่อเน่ืองจาก การทากิจกรรมดังกล่าว และผูด้ าเนินการพบว่ามีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 หลงั จากการใชห้ นงั สืออา่ นเพิม่ เติมนกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน จากการพฒั นา นวตั กรรมการเรียนการสอนในคร้ังน้ี เป็ นท่ีน่าสนใจเป็ นอย่างมากของครูผูส้ อนวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ในโรงเรียนต่างๆ เป็ นอย่างยิ่ง และหน่วยงานบางหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ เก่ียวกบั นวตั กรรมของการเรียนการสอนทาให้นวตั กรรมหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม ชุดน้ีไดเ้ ผยแพร่ออกไป อน่ึง การเผยแพร่นวตั กรรมไดด้ าเนินการ ดงั น้ี 1. เผยแพร่นวตั กรรมหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม ในรายการทางโทรทศั น์บริษทั ทรู ท้งั ในประเทศและนอก ประเทศ รายการเปิ ดโลกทศั น์แห่งการเรียนรู้สู่โรงเรียนทว่ั ประเทศ โดยทางบริษทั ทรู ไดด้ าเนินการ ถ่ายทาสปอตโทรทศั น์เก่ียวกบั การเรียนการสอนโดยใช้นวตั กรรมดงั กล่าว วนั ที่ 15 – 16 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2557 ทางบริษทั ทรู ได้เผยแพร่สปอตทรูปลูกปัญญาเป็ นเวลา 3 นาที จานวน 2 เดือน โดยเริ่มต้งั แต่วนั ท่ี 11 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 ถึงวนั ท่ี 11 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2558 และ ไดร้ ับการตอบรับเป็ นอยา่ งดี ทางบริษทั ทรู ไดข้ ยายเวลาในการเผยแพร่สปอต ออกไปอีกจานวน 4 เดือน ถึงวนั ท่ี 11 มิถุนายน พ.ศ. 2558 รวมการเผยแพร่สปอตท้งั หมด จานวน 6 เดือน
44 2. เผยแพร่เอกสารทางวิชาการไปยงั ครูใน 3 จงั หวดั ภาคใต้ โดยผูป้ ระสานงานท่ีไดต้ ิดต่อ มาคือ นายบลยา ไหรเจริญ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นยอื ลาแป ซ่ึงดารงตาแหน่งประธานเครือข่าย การศึกษากลุ่มสามคั คี – สาวอ ตาบลรือเสาะ อาเภอรือเสาะ จงั หวดั นราธิวาส ไดข้ อให้ผดู้ าเนินการ นานวตั กรรมหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ชุดโลก มหัศจรรย์ ให้นาหนงั สือชุดน้ีไปเผยแพร่เพราะมีความสนใจในผลงานชุดน้ี เน่ืองจากการที่บริษทั ทรู ไดป้ ระกาศรับสมคั รประกวดผลงานโครงการประกวดผลงานครูประจาปี 2556 หวั ขอ้ “สื่อทรู ปลูกปัญญาสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้สู่ Student Centric” ซ่ึงผดู้ าเนินการไดท้ าการส่งผลงาน “ส่ือทรูปลูก ปัญญาสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้สู่ Student Centric ชุดของขวญั จากกอ้ นดิน” ทาให้ผลงานท่ีจดั ส่งของ ผูด้ าเนินการไดร้ ับรางวลั ที่ 1 รางวลั ผลงานยอดเยี่ยมของทรูปลูกปัญญาระดบั ประเทศ ประจาปี 2556 ซ่ึงทางบริษทั ทรู ไดม้ ีการจดั ไปศึกษาดูงานดา้ น ICT $ SCIENCE ณ ประเทศเกาหลี ระหวา่ ง วนั ที่ 13–18 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 แต่ทางบริษทั ทรู ไดม้ ีเง่ือนไขวา่ หนงั สือ ท่ีส่งเขา้ ประกวด ตอ้ งเป็ นลิขสิทธ์ิของบริษทั รวมท้งั หนังสือเล่มท่ีได้ไปศึกษาดูงานแล้วทางบริษทั ให้กลับมาแต่ง หนงั สือใหม่อีกหน่ึงเล่มเป็ นการต่อยอดความรู้ท่ีไดร้ ับ เรื่อง “รางวลั ทรูปลูกปัญญาศึกษาดูงานดา้ น ICT $ SCIENCE ณ ประเทศเกาหลี สู่ Student ชุดพลงั งานแสง” หนงั สือท้งั สองเล่มน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิ ของบริษทั ทรู ผดู้ าเนินการไม่สามารถนามาเผยแพร่ดว้ ยตนเองได้ ผดู้ าเนินการไดร้ วบรวมความรู้ที่มี อยูแ่ ละไดร้ ับจากการศึกษาดูงาน ณ ประเทศเกาหลีแต่งหนงั สืออีกเล่มคือ “คร้ังหน่ึงในชีวิตเจินกบั รางวลั ทรูปลูกปัญญาศึกษาดูงานดา้ น ICT $ SCIENCE ณ ประเทศเกาหลี” หนงั สือเล่มน้ีไดร้ ับการ ตอบรับเป็ นอย่างดีใน 3 ภาคใต้และโรงเรียนใกล้เคียง เป็ นแรงดลใจให้ผูด้ าเนินการได้พัฒนา นวตั กรรมการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน นน่ั คือ ผูด้ าเนินการไดจ้ ดั ทาหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม ชุดน้ีไดเ้ ผยแพร่ออกไป ใหก้ บั โรงเรียนใน 3 จงั หวดั ภาคใต้ และไดร้ ับการตอบรับเป็นอยา่ งดีอีก 3. เผยแพร่นวตั กรรมหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม ไปยงั บุคลากรครูท่ีสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 และสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาที่ใกลเ้ คียง 4. เผยแพร่นวตั กรรมหนงั สืออา่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม โดยผูป้ ระสานงานได้ติดต่อมา คือ นายพลชยั รัตนพนั ธ์ ครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนบ้านด่าน หมู่ท่ี 8 ตาบลควนพงั อาเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 ได้รับ ทราบข่าวสารจากการเผยแพร่สปอต รายการเปิ ดโลกทศั น์แห่งการเรียนรู้สู่โรงเรียนทวั่ ประเทศ
44 ทางโทรทศั น์ทรูปลูกปัญญาของบริษทั ทรู ไดป้ ระสานขอนาผลงานไปเผยแพร่ยงั บุคลากรครูที่สอน วทิ ยาศาสตร์ในโรงเรียน เพื่อใชเ้ ป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน 5. เผยแพร่นวตั กรรมหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม จงั หวดั ปัตตานี โดยผูป้ ระสานงานไดต้ ิดต่อมา คือ นายอบั ดุล เลาะห์ สุหลง ผชู้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 5 ตาบลบ่อทอง อาเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี ไดท้ ราบข่าวสาร จากการเผยแพร่สปอต รายการเปิ ดโลกทศั น์แห่งการเรียนรู้สู่โรงเรียนทว่ั ประเทศ ทางโทรทศั น์ทรูป ลูกปัญญาของบริษทั ทรู ไดป้ ระสานขอนาผลงานไปเผยแพร่ยงั บุคลากรครูที่สอนวิทยาศาสตร์ใน โรงเรียนสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 6. เผยแพร่นวตั กรรมหนงั สืออา่ นเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม ไปยงั ทาง YouTube คือhttp://youtu.be/Hzc9HnTX3CM ของทรูปลูก ปัญญา รายการเปิ ดโลกทศั น์แห่งการเรียนรู้สู่โรงเรียนทวั่ ประเทศโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม จงั หวดั สงขลา TruePlookPanya C SR โดยบริษทั ทรู เริ่มเผยแพร่ เม่ือวนั ท่ี 11 เดือนธนั วาคม ค.ศ. 2014 7. เผยแพร่นวตั กรรมหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม ไปยงั ทาง https://www.facebook.com/ ประเจิน ไชยมาลี อุปถมั ภ์ เร่ิมเผยแพร่ เมื่อวนั ท่ี 24 เดือนธนั วาคม ค.ศ. 2014 8. เผยแพร่นวตั กรรมหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม ไปยงั ทาง https://www.facebook.com/ ศิษย์เก่าโรงเรียน ทุ่งปรือพทิ ยาคม(รัตนปัญโญ) เริ่มเผยแพร่ เมื่อวนั ที่ 12 เดือนธนั วาคม ค.ศ. 2014 9. เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ โดยการนานวตั กรรมหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม จดั นิทรรศการแสดงผล งานในงานวิชาการปี การศึกษา 2557 ของโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) และร่วมงาน วฒั นธรรมไทยสายใยชุมชนตนพะตง คร้ังที่ 4 ขององคก์ ารบริหารส่วนตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
51 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการรายงานเร่ื องการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเร่ื องสาคัญกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม ผูด้ าเนินการไดเ้ สนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูลมีรายละเอียดตามลาดบั ดงั น้ี 1. สัญลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 2. การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล สัญลกั ษณ์ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลคร้ังน้ี ผูด้ าเนินการใชส้ ญั ลกั ษณ์สาหรับการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี N แทน จานวนขอ้ มูล (นกั เรียน) μ แทน คะแนนเฉล่ีย ������ แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มประชากร E1 แทน ประสิทธิภาพจากการใชห้ นงั สืออา่ นเพมิ่ เติม E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์จากการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม t แทน ค่าสถิติท่ีใชเ้ ปรียบเทียบกบั ค่าวกิ ฤตเพ่อื ทราบความมีนยั สาคญั การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผดู้ าเนินการไดน้ าเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนท่ี 1. การพฒั นาหนงั สืออ่านเพ่มิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ตอนท่ี 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียน (Pretest) และ หลงั เรียน (Posttest) จากการใชห้ นงั สืออ่านเพม่ิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การดาเนินงานกลุ่มทดลอง ได้ดาเนินการพฒั นาความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั เร่ืองสาคญั กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพมิ่ เติม ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนทุ่งปรือพทิ ยาคม(รัตนปัญโญ) นักเรียนจานวน 28 คน ได้ผลดังนี้
59 ตอนท่ี 1. การพฒั นาหนังสืออ่านเพมิ่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 จากการวเิ คราะห์ประมวลผลของการทาแบบฝึกและแบบทดสอบหลงั เรียนของนกั เรียน จากการ ใชห้ นงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 เพอื่ ที่จะหาประสิทธิภาพ ของหนงั สืออา่ นเพ่ิมเติมตามเกณฑ์ 80/80 มีผลวเิ คราะห์ดงั น้ี ตารางที่ 3 ผลการหาประสิทธิภาพของหนงั สืออ่านเพมิ่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 (กลุ่มทดลอง) ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ (E1) ประสิทธิภาพของ ผลลพั ธ์ (E2) เลขท่ี เล่มท่ี 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4 เล่มท่ี 5 คะแนนจาก แบบทดสอบ 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 75 คะแนน 1. 9 9 8 9 9 61 2. 8 8 8 9 8 60 3. 7 7 8 8 8 58 4. 9 8 7 8 8 60 5. 8 8 7 8 8 59 6. 8 8 8 9 9 63 7. 9 8 8 8 9 60 8. 8 8 7 8 8 58 9. 8 8 8 8 8 62 10. 8 8 9 8 8 63 11. 6 7 7 6 7 60 12. 7 8 8 8 8 58 13. 8 9 8 8 8 62 14. 6 7 7 7 8 61 15. 9 9 9 9 9 68 16. 9 9 9 9 9 62 17. 8 8 9 9 8 60 18. 8 8 8 7 8 58
59 ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพมิ่ เติม (E1) ประสิทธิภาพของ เลขท่ี เล่มท่ี 1 เล่มท่ี 2 เล่มท่ี 3 เล่มที่ 4 เล่มท่ี 5 ผลลพั ธ์ (E2) 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน คะแนนจาก 19. 8 9 8 9 9 แบบทดสอบ 20. 9 9 9 9 9 75 คะแนน 21. 8 9 9 9 8 22. 9 8 9 9 9 63 23. 9 9 8 9 9 70 24. 9 8 9 9 8 62 25. 9 9 9 9 9 66 26. 8 9 8 9 9 64 27. 8 8 8 8 9 65 28. 7 8 8 7 8 70 รวม 227 231 228 233 235 60 เฉลี่ย 8.10 8.25 8.14 8.32 8.39 59 ร้อยละ 81.07 58 เฉล่ีย 82.50 81.42 83.21 83.92 1,730 ร้อยละ 61.78 82.42 82.38 82.38 จากตารางที่ 3 เป็ นผลการวิเคราะห์ของหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ท่ีได้จากการวดั การเรียนรู้จากการทาแบบฝึ กของหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 แลว้ นามาคานวณหาค่าคะแนนรวมเฉลี่ยร้อยละของหนงั สือ อ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ท้งั 5 เล่ม ซ่ึงมีค่าเท่ากบั 82.42 และคา่ เฉลี่ยร้อยละของคะแนน แบบทดสอบหลังจากการใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีค่าเท่ากบั 82.38 แสดงวา่ หนงั สืออ่านเพ่มิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ มีประสิทธิภาพ 82.42/82.38 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 ท่ีกาหนดไว้ จึงถือไดว้ า่ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 มีประสิทธิภาพ และสอดคลอ้ งสมมติฐานของการวจิ ยั ที่ไดก้ าหนดไว้
59 ตอนที่ 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest) จากการใช้หนังสืออ่านเพมิ่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 จากการวเิ คราะห์ประมวลผลการวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดย การทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2556 จานวน 28 คน มีผลการวเิ คราะห์ ดงั น้ี ตารางที่ 4 คะแนนจากการวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการใชห้ นงั สืออา่ นเพม่ิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียน (กลุ่มการทดลอง) เลขที่ คะแนนก่อนเรียน 30 คะแนน คะแนนหลงั เรียน 30 คะแนน 1. 13 26 2. 10 24 3. 11 23 4. 10 25 5. 7 23 6. 9 25 7. 15 26 8. 8 24 9. 9 23 10. 15 25 11. 13 20 12. 11 24 13. 11 22 14. 8 21 15. 9 28 16. 12 27 17. 9 25 18. 12 23 19. 11 24 20. 10 28 21. 11 26 22. 9 27 23. 11 26
59 เลขที่ คะแนนก่อนเรียน 30 คะแนน คะแนนหลังเรียน 30 คะแนน 24. 11 24 25. 12 28 26. 10 27 27. 9 25 28. 13 24 10.67 24.75 1.98 2.04 ร้อยละ 35.59 82.50 จากตารางที่ 4 แสดงผลคะแนนจากการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 จะเห็นไดว้ ่า ผลคะแนนจากแบบทดสอบวดั ผลก่อนเรียนมีค่าเฉล่ียเท่ากบั 10.67 ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากบั 1.98 และมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 35.59 และผลคะแนนจากแบบทดสอบวดั ผลหลงั เรียนมีคา่ เฉลี่ย เทา่ กบั 24.75 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.04 และมีคา่ เฉลี่ยร้อยละ 82.50 ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและ หลงั เรียนโดยใชห้ นังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 (กลุ่มทดลอง) ประเภทคะแนน N ค่าเฉลย่ี ร้อยละ t ทดสอบก่อนเรียน 28 35.59 10.67 1.98 27.09 ทดสอบหลงั เรียน 28 82.50 24.75 2.04 มีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 จากตารางท่ี 5 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อน เรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 จะเห็นไดว้ า่ คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 35.59 และคะแนนทดสอบหลงั เรียนมีค่าเฉลี่ย ร้อย ละ 82.50 เมื่อทาการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนปรากฏวา่ ค่าท่ีไดจ้ ากการเปรียบเทียบมีค่า t เท่ากบั 27.09 แสดงวา่ คะแนนการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียนของนกั เรียนท้งั หมดที่เรียน โดยใชห้ นงั สือ
59 อ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 สูงกว่าคะแนนการทดสอบก่อนเรียน อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 และสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานของการวจิ ยั ที่กาหนดไว้ การดาเนินงานกลุ่มเป้าหมาย ได้ดาเนินการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั เร่ืองสาคัญกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติม ปี การศึกษา 2557 โรงเรียน ท่งุ ปรือพทิ ยาคม (รัตนปัญโญ) นักเรียนจานวน 22 คน ได้ผลดงั นี้ ตอนท่ี 1. ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 จากการวิเคราะห์ประมวลผลการทาแบบฝึ กและแบบทดสอบหลงั เรียนของนกั เรียน จากการใช้ หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 เพื่อหาประสิทธิภาพของ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมตามเกณฑ์ 80/80 มีผลวเิ คราะห์ดงั น้ี ตารางที่ 6 ผลการหาประสิทธิภาพของหนงั สืออ่านเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 (กลุ่มเป้าหมาย) ประสิทธิภาพจากการใช้หนังสืออ่านเพมิ่ เตมิ (E1) ประสิทธิภาพของ เลขที่ เล่มท่ี 1 เล่มท่ี 2 เล่มท่ี 3 เล่มที่ 4 เล่มที่ 5 ผลลพั ธ์ (E2) 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน คะแนนจาก 1. 9 9 9 9 10 แบบทดสอบ 2. 9 9 9 8 9 75 คะแนน 70 3. 10 9 9 9 9 64 69 4. 10 8 8 9 8 68 68 5. 9 9 10 8 9 55 68 6. 7 8 8 9 8 64 67 7. 9 9 8 9 9 60 61 8. 10 9 8 9 9 66 70 9. 9 8 9 9 9 10. 9 7 9 8 9 11. 9 8 8 8 8 12. 9 8 9 10 9 13. 9 10 9 9 9
59 ประสิทธิภาพจากการใช้หนังสืออ่านเพมิ่ เติม (E1) ประสิทธิภาพของ เลขท่ี เล่มท่ี 1 เล่มท่ี 2 เล่มท่ี 3 เล่มที่ 4 เล่มท่ี 5 ผลลพั ธ์ (E2) 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน คะแนนจาก 14. 8 7 8 9 8 แบบทดสอบ 15. 10 8 9 9 9 75 คะแนน 16. 9 9 9 10 9 17. 9 9 9 9 10 61 18. 8 7 8 7 8 69 19. 9 8 9 10 9 67 20. 7 8 8 8 8 69 21. 8 7 8 8 7 56 22. 8 7 8 8 8 66 รวม 194 181 189 192 191 57 เฉลี่ย 8.81 8.22 8.59 8.72 8.68 55 ร้อยละ 88.18 58 เฉลี่ย 82.27 85.90 87.27 86.81 1,408 ร้อยละ 64.00 86.09 85.33 85.33 จากตารางที่ 6 เป็ นผลการวิเคราะห์ของหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ท่ีได้จากการวดั การเรียนรู้จากการทาแบบฝึ กของหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 แล้วนามาคานวณหาค่าคะแนนรวมเฉล่ียร้อยละจากการใช้หนงั สืออ่าน เพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท้งั 5 เล่ม ซ่ึงมีค่าเท่ากบั 86.09 และค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนน แบบทดสอบหลงั จากการใชห้ นงั สืออา่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการอ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีค่าเท่ากับ 85.33 แสดงว่าหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีประสิทธิภาพ 86.09/85.33 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ จึงถือได้ว่าหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 มีประสิทธิภาพและสอดคลอ้ งสมมติฐานของการวจิ ยั ท่ีไดก้ าหนดไว้
59 ตอนท่ี 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest) จากการใช้หนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 จากการวเิ คราะห์ประมวลผลการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โดย การทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 22 คน มีผลการวเิ คราะห์ ดงั นี้ ตารางท่ี 7 คะแนนจากการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียน (กลุ่มเป้าหมาย) เลขที่ คะแนนก่อนเรียน 30 คะแนน คะแนนหลังเรียน 30 คะแนน 1. 14 29 2. 10 24 3. 15 29 4. 9 26 5. 11 28 6. 10 20 7. 11 25 8. 7 27 9. 10 26 10. 10 24 11. 8 23 12. 11 25 13. 6 27 14. 6 22 15. 9 28 16. 8 24 17. 10 27 18. 7 23 19. 10 28 20. 8 20 21. 6 26 22. 7 20
59 เลขที่ คะแนนก่อนเรียน 30 คะแนน คะแนนหลงั เรียน 30 คะแนน 9.22 25.00 2.38 2.82 ร้อยละ 30.75 83.48 จากตารางที่ 7 แสดงผลคะแนนจากการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 จะเห็นได้วา่ คะแนนจากการวดั ผลแบบทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 9.22 ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากบั 2.38 และมีค่าเฉล่ียร้อยละ 30.75 และคะแนนจากการวดั ผลแบบทดสอบหลงั เรียนมีค่าเฉล่ีย เท่ากบั 25.00 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.82 และมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 83.48 ตารางที่ 8 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนเรียนและ หลงั เรียนโดยใชห้ นังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 (กลุ่มเป้าหมาย) ประเภทคะแนน N ค่าเฉลย่ี ร้อยละ t ทดสอบก่อนเรียน 22 30.75 9.22 2.38 27.33 ทดสอบหลงั เรียน 22 83.48 25.00 2.82 มีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 จากตารางท่ี 8 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 จะเห็นไดว้ า่ คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีคา่ เฉล่ียร้อยละ 30.75 และคะแนนทดสอบหลงั เรียนมีค่าเฉล่ียร้อยละ 83.48 เม่ือทาการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนปรากฏวา่ ค่าท่ีไดจ้ ากการเปรียบเทียบมีค่า t เท่ากบั 27.33 แสดงว่าคะแนนการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนของนักเรียนท้งั หมดที่เรียน โดยใช้ หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ สูงกว่า คะแนนการทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 และสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานของการ วจิ ยั ท่ีกาหนดไว้
59 จากการทดลองดงั กล่าว จะเห็นไดว้ า่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม มีค่าพฒั นาทางการเรียนที่สูงข้ึนตามลาดบั จากกลุ่มทดลอง มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเท่ากบั 27.09 และกลุ่มเป้าหมาย มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเท่ากบั 27.33 จากการจดั การเรียนการสอนผดู้ าเนินการไดใ้ ชก้ ารจดั การเรียนการสอนที่เนน้ การสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาสาสตร์ จากการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ น้ีทาให้ ผเู้ รียนมีการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และพฒั นาความสามารถในการคิดและแสดงออกดว้ ยวิธีการ ท่ีเช่ือมโยงความรู้กับการสื บเสาะหาความรู้ ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง มีการต้ังคาถาม การวางแผน ดาเนินการสืบเสาะหาความรู้ การรวบรวมขอ้ มูล การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มีการเรียนที่ร่วมกนั ทากิจกรรมตา่ งๆ และเป็นการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ไปดว้ ย จากการทากิจกรรมนกั เรียน มีความเขา้ ใจในเน้ือหา มีความสนุกสนานในการเรียนและการทากิจกรรมต่าง ๆ ทาให้ผลการเรียนของ นกั เรียนสูงข้ึน จากกลุ่มทดลอง ปี การศึกษา 2556 นวตั กรรมน้ีนามาใช้กบั ผูเ้ รียนไดผ้ ลดี และผูด้ าเนินการ ไดน้ านวตั กรรมน้ีมาใชก้ ลุ่มเป้าหมาย ปี การศึกษา 2557 ปรากฏวา่ นวตั กรรมน้ีนามาใชไ้ ดผ้ ลดีอีก ส่งผลให้ การเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3หลังเรียนโดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน
61 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล ข้อเสนอแนะ จากการท่ี ได้ดาเนิ นการพ ัฒนาความรู้ ความ เข้าใจเกี่ ยวกับ เรื่ องส าคัญก ลุ่ มส าระการเรี ยนรู้ วทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอ หาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ปี การศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 1 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม คือเรื่องชีวิตสัมพนั ธ์ ทรัพยากรท่ีรัก แรงและการเคล่ือนท่ีดี อยา่ งไร ไฟฟ้าน่ารู้ และอากาศรอบตวั เรา ผดู้ าเนินการมีข้นั ตอนการนาเสนอดงั น้ี วตั ถุประสงค์ของการดาเนินการ 1. เพอ่ื พฒั นาหนงั สืออา่ นเพ่ิมเติมใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ก่อนและหลงั เรียน โดยใชห้ นงั สืออ่านเพม่ิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สมมติฐานของการดาเนินการ 1. หนงั สืออ่านเพ่มิ เติมมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เม่ือไดม้ ีการพฒั นาข้ึน 2. นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) มีผลสมั ฤทธ์ิกลุ่ม สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ท่ีสูงข้ึน เม่ือเรียนรู้โดยใชก้ ารอ่านหนงั สือเพิ่มเติม ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการดาเนินการคร้ังน้ี คือผูเ้ รียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2557 โรงเรียน ทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีจานวน 1 ห้องเรียน มีนกั เรียนท้งั หมดจานวน 22 คน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใชใ้ นการดาเนินการคร้ังน้ี ประกอบดว้ ย 1. หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องชีวิตสัมพนั ธ์ ทรัพยากรท่ีรัก แรงและการเคล่ือนท่ีดีอย่างไร ไฟฟ้าน่ารู้ และอากาศรอบตวั เรา ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 จานวน 30 ขอ้ มีลกั ษณะเป็นแบบทดสอบปรนยั ชนิด 4 ตวั เลือก
66 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การศึกษาคร้ังน้ีผูด้ าเนินการได้เก็บรวบรวมขอ้ มูลการพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ เรื่องสาคัญกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้หนังสื ออ่านเพ่ิมเติม ชุดโลกมหัศจรรย์ กับกลุ่มประชากรท้ังหมด เนื่องจากนักเรี ยนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรี ยน ทุ่งปรื อพิทยาคม(รัตนปั ญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีนักเรี ยนจานวน 1 ห้ องเรี ยน จาน วน 22 คน ต้ังแต่วัน พ ฤ หัส บ ดี ท่ี 22 เดื อน พ ฤ ษ ภาคม พ .ศ. 2557 ถึ งวัน ศุ กร์ ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557 จานวน 24 ชวั่ โมง ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 ซ่ึงไดเ้ ลือกใชแ้ บบการศึกษา กลุ่มเดียว วดั ก่อนเรียนและหลงั เรียน (One – Group Pretest – Posttest Design) โดยมีข้นั ตอนดงั น้ี 1. ก่อนการทดลองผูด้ าเนินการได้ให้นักเรียนกลุ่มประชากรทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ก่อนการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม จานวน 30 ขอ้ ที่ผูด้ าเนินการ ไดพ้ ฒั นาข้ึน แลว้ เก็บขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการทาแบบทดสอบท้งั หมด เพ่ือใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่อไป 2. ระหวา่ งการทดลอง ผดู้ าเนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้กบั นกั เรียนกลุ่มประชากร โดยใช้ หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 5 เล่ม ใช้เวลาท้งั สิ้น 24 ชว่ั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2557 3. หลังการทดลอง ผู้ดาเนินการให้นักเรียนที่เป็ นกลุ่มประชากรทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หลงั การใชห้ นงั สืออา่ นเพิ่มเติม จานวน 30 ขอ้ 4. ผดู้ าเนินการนาคะแนนท่ีไดท้ ้งั หมด มาวเิ คราะห์ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการทางสถิติ เพ่ือทดสอบสมมุติฐาน และสรุปผลการศึกษาคน้ ควา้ สรุปผลการดาเนินการ จากการดาเนินการการพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เร่ืองสาคญั กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการใชห้ นงั สืออา่ นเพิ่มเติม มีผลสรุปไดด้ งั น้ี 1. ผลการพฒั นาและหาประสิทธิภาพของหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 5 เล่ม ประกอบดว้ ย เล่มท่ี 1 เร่ืองชีวติ สัมพนั ธ์ เล่มที่ 2 เรื่องทรัพยากร ท่ีรัก เล่มท่ี 3 เรื่องแรงและการเคล่ือนที่ดีอยา่ งไร เล่มท่ี 4 เรื่องไฟฟ้าน่ารู้ และเล่มท่ี 5 เร่ืองอากาศรอบตวั เรา พบว่า จากการดาเนินการระยะท่ีหน่ึงของการจัดกิจกรรมโดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมที่พัฒนาข้ึนมี ประสิทธิภาพ 82.42/82.38 และระยะท่ีสองหนังสืออ่านเพ่ิมเติมท่ีพฒั นาข้ึนมีประสิทธิภาพ 86.09/85.33 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานของการศึกษาที่กาหนดไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ช้นั ประถมศึกษา 3 ก่อนและหลงั การใช้หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียน ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 5 เล่ม ได้พบว่า ท้งั สองระยะการดาเนินการผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นกั เรียนหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สูงกวา่ ก่อนเรียนสอดคลอ้ ง กบั สมมติฐานของการศึกษาที่กาหนดไว้
66 อภปิ รายผลการดาเนินการ จากการดาเนินการการพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เร่ืองสาคญั กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติม ผูด้ าเนินการนาประเด็นท่ีไดค้ น้ พบมาอภิปรายตาม วตั ถุประสงคข์ องการดาเนินการ ดงั น้ี 1. หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ ท่ีผูด้ าเนินการไดพ้ ฒั นาข้ึนระยะที่หน่ึงมีประสิทธิภาพ 82.42/82.38 หมายความวา่ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2556 จานวน 28 คน ไดค้ ะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบฝึ กของหนงั สือท้งั 5 เล่ม คิดเป็ น คา่ เฉลี่ยร้อยละ 82.42 และคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลงั จากการใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติม คิดเป็ นร้อยละ 82.38 แสดงว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ท่ีผู้ดาเนินการพัฒนาข้ึนมีประสิ ทธิภาพสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ได้ต้ังไว้ ระยะท่ีสองมีประสิ ทธิภาพ 86.09/85.33 หมายความวา่ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ปี การศึกษา 2557 จานวน 22 คน ไดค้ ะแนนเฉลี่ย จากการทาแบบฝึ กของหนงั สือท้งั 5 เล่ม คิดเป็ นค่าเฉล่ียร้อยละ 86.09 และคะแนนจากการทาแบบทดสอบ หลงั จากการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม คิดเป็ นร้อยละ 85.33 แสดงวา่ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ท่ีผูด้ าเนินการได้พฒั นาข้ึนมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ไดต้ ้งั ไว้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ผลงานวิจยั ของจนั ทร์จิรา โกษาแสง (2554 : บทคดั ยอ่ ) ท่ีไดท้ าการวิจยั หนังสืออ่านเพิ่มเติม วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การดารงชีวิตของพืช สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 5 พบวา่ มีประสิทธิภาพ 80/80 ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีต้งั ไว้ นอกจากน้ียงั มี เรวดี ศิลาโชติ (2554 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เร่ือง เก่ียวกบั การใชท้ รัพยากรในทอ้ งถ่ิน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 พบวา่ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ มีประสิทธิภาพเท่ากบั 81.43/81.83 สูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไวค้ ือ 80/80 ได้สอดคลอ้ งกบั นุชณีภรณ์ วงษ์กลม (2555 : 127-128) ไดพ้ ฒั นา หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชุดวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นตานาน พ้ืนเมือง เรื่อง ฮีตสิบสอง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 พบวา่ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม มีประสิทธิภาพ 82.60/83.04 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 ที่ต้งั ไว้ ปาณิศา ร่วมจิตร (2555 : บทคดั ย่อ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพิ่มเติม ชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเท่ียวเมืองสุรินทร์ นกั เรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 พบวา่ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติม ชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเที่ยวเมืองสุรินทร์ มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 จากหนงั สือทุกเล่ม อทิยา รักษารักษ์ (2555 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สือ อ่านเพ่ิมเติมวชิ าวิทยาศาสตร์เรื่องรู้รักษโ์ ลก ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 พบวา่ มีประสิทธิภาพ 81.96/81.36 ซ่ึงมี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ท่ีได้ต้งั ไว้ สุธารักษ์ พนั ธ์รักษ์ (2556 : บทคดั ย่อ)ได้พฒั นาหนังสืออ่าน เพิ่มเติมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 พบว่ามีประสิทธิภาพเท่ากบั 85.10/89.39 ตาม เกณฑ์ 80/80 เป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้งั ไว้ 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน หลังจากการ จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้หนังสื ออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยน
66 ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ ซ่ึงพบวา่ ระยะท่ีหน่ึงก่อนใชน้ กั เรียนมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 35.59 หลังใช้นักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 82.50 ระยะท่ีสองก่อนใช้นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 30.75 หลงั ใชน้ กั เรียนมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 83.48 จะเห็นไดว้ า่ นกั เรียนมีคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน โดยใช้หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ซ่ึงเป็ นไปตามสมมติฐานท่ีต้งั ไว้ สอดคล้อง กบั งานวจิ ยั ของจนั ทร์จิรา โกษาแสง (2554 : 102-103) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมวชิ าวิทยาศาสตร์ เร่ือง การดารงชีวิตของพืช ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 5 พบว่าอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 มีความพึงพอใจ ตอ่ การเรียนรู้ดว้ ยหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม เร่ือง การดารงชีวติ ของพืชอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด เช่นเดียวกบั งานวจิ ยั ของ ธีรศกั ด์ิ เสือจุย้ ( 2554 : บทคดั ย่อ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เรื่อง ทอ้ งถิ่นลาลูกกา ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 พบวา่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 และ ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่องท้องถิ่นลาลูกกาอยู่ในระดบั มากท่ีสุด ประทีป ศรีวุ่น (2554 : บทคดั ย่อ ) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องท่องแดนปากพะยูนช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 พบวา่ อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 และนกั เรียนมีความคิดเห็นว่าหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมเรื่องท่องแดน ปากพะยูนมีความเหมาะสมมากท่ีสุด เรวดี ศิลาโชติ (2554 : บทคดั ย่อ) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพ่ิมเติม วชิ าวิทยาศาสตร์ เรื่อง เกี่ยวกบั การใชท้ รัพยากรในทอ้ งถิ่น ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 พบวา่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทาง สถิติท่ีระดบั .01 ภาพรวมอยู่ในระดบั ดีมาก และรายขอ้ อยู่ในระดบั ดีถึงดีมาก โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.59 นุชณีภรณ์ วงษ์กลม (2555 : 127-128) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชุดวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นตานานพ้ืนเมือง เร่ือง ฮีตสิบสอง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 พบวา่ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 ปาณิศา ร่วมจิตร (2555 : บทคดั ย่อ) ไดพ้ ฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเที่ยวเมืองสุรินทร์ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 พบวา่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 ซ่ึงได้ใกล้เคียงกับผลงานวิจยั ของวรางคณา บุญการ (2555 : บทคดั ย่อ) ได้พฒั นา หนงั สืออา่ นเพิ่มเติม ชุดระบบนิเวศเขาคอหงส์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 พบวา่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 อทิยา รักษารักษ์ (2555 : บทคดั ย่อ) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติมวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องรู้รักษ์โลก ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 พบวา่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 และยงั สอดคลอ้ งกบั ผลงานวจิ ยั ของสุธา รักษ์ พนั ธ์วงศ์รักษ์ (2556 : บทคดั ย่อ) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา เร่ือง ครอบครัวสุขสันต์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 พบว่าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เป็ นไปตาม สมมติฐานท่ีไดต้ ้งั ไว้ 3. จากการดาเนินการการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเรื่องสาคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม ชุดโลกมหศั จรรย์ ยงั ไดส้ อดคลอ้ งกบั ผลงานวิจยั ของต่างประเทศของแบล็กวูด (Blackwood. 1969 : 50 - 56) ถึงปัจจยั ที่มีผลต่อการสอนพบว่า การสอนวิทยาศาสตร์จะได้ผลดีข้ึนอยู่กับปัจจยั ขนาดของห้อง จานวนช่ัวโมงที่ครูสอนต่อ 1 สัปดาห์ การจดั หลกั สูตรวิทยาศาสตร์ท่ีมีเน้ือหาเป็นระบบต่อเน่ือง การจดั หาหนงั สือแบบเรียน หนงั สืออ่านประกอบ และเคร่ืองมือใหพ้ อกบั ความตอ้ งการ ซ่ึงผดู้ าเนินงานไดจ้ ดั สอน 2 ชวั่ โมงต่อ 1 สัปดาห์ และเป็ นหนงั สืออ่าน
66 เพิ่มเติมชุดน้ีเป็ นนวตั กรรมในการจดั เรียนการสอนเป็ นหนงั สืออ่านเสริมเพิ่มเติมจากหนงั สือเรียนตามท่ีได้ กาหนดในหลักสูตร อัลแมน (Altman. 1974 : 284 - 287) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติมเพ่ือพัฒนาและ เสริมสร้างความภูมิใจในตนเองของนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาที่มีคะแนนทดสอบวดั ความภูมิใจในตนเองผล การทดลองพบวา่ นกั เรียนกลุ่มที่ไดร้ ับคาแนะนามีพฒั นาการความภูมิใจในตนเองสูงกว่านกั เรียนกลุ่มอื่นๆ ซ่ึงเป็ นไปตามการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ครูตอ้ งมีการ กระตุ้น เร้าใจ ผูเ้ รียนไม่ว่าจะเป็ นคาถาม รูปภาพท่ีน่าสนใจ การทารูปเล่ม หรือครูผูส้ อนเป็ นผูเ้ ตรียม กิจกรรมใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงจะทาใหผ้ เู้ รียนมีความภูมิใจในการศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง นอกจากน้ียงั ไดส้ อดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั เอนนวั ร์ (Anuar. 1979 : 17 - 19) พบวา่ หนงั สือ สาหรับเด็กที่ดีควรสามารถให้เด็กบอกลักษณะนิสัยตัวละคร สถานที่ และฉากของเรื่ องได้ ทาให้ เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ส่งเสริมจินตนาการ เหมาะสมกบั ความสนใจของเด็ก เป็ นไปตามที่ผูด้ าเนินงาน ได้พัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมชุดน้ี ท่ีได้สร้างสรรค์รูปภาพประกอบเน้ือหาท่ีน่าสนใจ ชวนให้ผูเ้ รียน ไดอ้ ่านศึกษาหาความรู้ และมีการจินตนาการตามกระบวนการทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ มีการต่อยอดความรู้ ต่างๆ ตามจินตนาการของผูเ้ รียนไดเ้ ป็ นอย่างดี ทาให้ผูเ้ รียนมีความเขา้ ใจไดง้ ่าย หนงั สือเหมาะสมกบั วยั ผเู้ รียน ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 แบงส์ (Bangs. 1988 : 10 - 14) ไดก้ ล่าวถึงการนาหนงั สือการ์ตูนประกอบการ เรียนการสอนวา่ นกั เรียนที่เรียนภาษาต่างประเทศ สามารถใช้การ์ตูนฝึ กการฟัง การพูด การเรียนรู้คาศพั ท์ ใหม่เพิ่มข้ึน นอกจากน้นั ยงั ใช้การ์ตูนพฒั นาความรู้เก่ียวกบั ประโยคไวยากรณ์และความหมายของภาษา การสรุปความเขา้ ใจและเรื่องราวเก่ียวกบั ภาพได้ ตรงตามหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมท่ีผูด้ าเนินการไดพ้ ฒั นาข้ึน นั่นคือได้ใช้รูปภาพการ์ตูนมาประกอบกับเน้ือหาในหนังสื ออ่านเพิ่มเติม ชุดโลกมหัศจรรย์เล่มน้ี โรเจอส์ (Rogers. 1990 : abstract) แห่งมหาวิทยาลัยรัฐเวนย์ (Wayne State University) ได้ศึกษาวิจยั เร่ือง อิทธิพลของหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม เร่ือง พิค อิน อะ วิค (PIC IN A WIG) ซ่ึงช่วยให้นกั เรียนเกิดความจาท่ีดี เย่ยี มในเรื่องคาศพั ทแ์ ละความสนใจอา่ นหนงั สือเพียงใด ซ่ึงเขียนเป็ นภาษาธรรมชาติ มีเพลงสาหรับเด็กและ กิจกรรมร้องประกอบเพลงมีการคดั เลือกวสั ดุอุปกรณ์อยา่ งรอบคอบตามความยากของการเรียนแต่ละระดบั ส่วนกลุ่มควบคุมดาเนินกิจกรรมตามโครงการสอนคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ผลการวิจยั ปรากฏว่า กลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม มีผลความจาเหนือกว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองที่สอนโดยการอ่านหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง พคิ อิน อะ วคี ไดร้ ับผลอยา่ งมากในการอา่ นคาศพั ทส์ นใจหนงั สือและเกิดความชอบในการอ่านหนงั สืออยา่ ง เป็นอิสระมากข้ึน มีความสนุกสนานกบั การอ่าน พอ่ แม่ไดร้ ่วมกิจกรรม การอ่านของลูกมากข้ึนโดยลูกมาเล่า เรื่อง พิค อิน อะ วคี ท่ีอ่านมาจากโรงเรียนให้ฟังทาให้เกิดความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพ่อแม่และลูก จากหนงั สือ อ่านเพ่ิมเติมชุดน้ีเช่นกนั ผดู้ าเนินการไดใ้ ชภ้ าษาท่ีเขา้ ใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน รวมท้งั ไดจ้ ดั กิจกรรมการเรียนการ สอนท่ีทาใหผ้ เู้ รียนมีความสุขในการศึกษาหาความรู้ต่างๆ สอดแทรกเน้ือหาท่ีใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิตามอยา่ ง สนุกสนาน โดยเฉพาะเล่มท่ี 1 เรื่องชีวิตสัมพนั ธ์ ได้ยกตวั อย่าง พ่อ แม่ ลูกอย่างชัดเจนพร้อมมีรูปภาพ ประกอบความเขา้ ใจ สื่อถึงความสัมพนั ธ์ท่ีดีระหวา่ งครอบครัว นอกจากน้ียงั สอดคลอ้ งกบั ผลงานวิจยั ของ รูเบ็นเทียน (Rubenstein. 1994 : abstract) วิจยั เร่ือง แม็กซิโก บาปที่ช่ัวร้ายผลการศึกษาพบว่า หนังสือ การ์ตูนน้ีสามารถช่วยสะท้อนถึงหลักการของศีลธรรม และเป็ นตัวช้ีแนวทางในการดาเนินชีวิตให้กับ
66 ชาวแม็กซิกัน เป็ นไปตามหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ ไดส้ อดแทรกเน้ือหาคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวิตไวใ้ นเน้ือหาที่ผูเ้ รียนสามารถ นาไปปฏิบตั ิใหเ้ กิดผลดีได้ ข้อเสนอแนะ 1. การนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลก มหศั จรรยไ์ ปใชใ้ นการเรียนการสอน ครูผสู้ อนควรศึกษาตวั ช้ีวดั เน้ือหา กิจกรรมตา่ ง ๆ ใหเ้ ขา้ ใจก่อนแลว้ จึง ช้ีแนะนกั เรียนใหป้ ฏิบตั ิข้ึนตอนของการอา่ นหนงั สือเพ่ิมเติมอยา่ งถูกตอ้ ง 2. ครูผูส้ อนควรจดั กิจกรรมให้นกั เรียนลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง เพื่อให้ผูเ้ รียนเกิดความสนุกสนาน และมีความสนใจที่จะเรียน 3. ควรนาหนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลก มหศั จรรย์ ส่งเสริมใหใ้ ชว้ ธิ ีการสอนอา่ นหนงั สือควบคูไ่ ปกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ ต่อไป
67 บรรณานุกรม
68 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรมวชิ าการ. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ.์ กิดานนั ท์ มลิทอง. (ม.ป.ป.). ส่ือการสอนและการฝึ กอบรม : จากสื่อพืน้ ฐานถงึ สื่อดิจิทลั . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . โกวทิ ประวาลพฤกษ,์ กมล ภูป่ ระเสริฐ และสงบ ลกั ษณะ. (ม.ป.ป.). การพฒั นาผลงานทางวชิ าการ. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพศ์ ูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ. จินตนา ใบกาซูย.ี (ม.ป.ป.). หลกั เกณฑ์ในการจัดทาหนังสืออ่านเพม่ิ เติมในเอกสารประกอบการ ประชุมการ จัดทาหนังสืออ่านเพมิ่ เตมิ . กรุงเทพฯ : ศูนยพ์ ฒั นาหนงั สือกรมวชิ าการ. จนั ทร์จิรา โกษาแสง. (2554) . การพฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เร่ือง การดารงชีวติ ของพืช กลุ่ม สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 . วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต. บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สกลนคร. ชูศรี วงศร์ ัตนะ. (2537). เทคนิคการใช้สถติ ิเพ่ือการวจิ ัย. มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ชยั วฒั น์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็ นสาคญั . กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชนั่ . ชยั ยงค์ พรหมวงค.์ (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วจิ ยั ปี ที่ 5. ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน : องคค์ วามรู้เพ่ือการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ทุ่งปรือพิทยาคม,โรงเรียน. (2553). หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนท่งุ ปรือพิทยาคม กล่มุ สาระ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3. ธีรศกั ด์ิ เสือจุย้ . (2554). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออ่านเพม่ิ เติม เร่ืองท้องถิ่นลาลกู กา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมท่มี ตี ่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และความพงึ พอใจต่อของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนวดั พืชอดุ มจังหวดั ปทมุ ธานี. วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาหลกั สูตรและการสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
69 นุชณีภรณ์ วงษก์ ลม. (2555). การพฒั นาหนังสืออ่านเพมิ่ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ชุดวฒั นธรรมพืน้ บ้านตานานพืน้ เมืองเรื่อง ฮีตสิบสอง ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 6. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการพฒั นาหลกั สูตรและการเรียนการสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อุบลราชธานี. บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวจิ ัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวรี ิยาสาส์น. ประทีป ศรีวนุ่ . (2554 ). การสร้างหนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ เรื่อง ท่องแดนปากพะยนู สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 จังหวดั พทั ลงุ . วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาหลกั สูตร และการสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. ปาณิศา ร่วมจิตร. (2555). หนังสืออ่านเพม่ิ เติมชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเทยี่ วเมือง สุรินทร์. สุรินทร์ : ม.ป.ท. ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกลู . (2543). การออกแบบการวจิ ัย. กรุงเทพฯ : บริษทั ประชาชน จากดั . พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย.์ (2549). ทฤษฎจี ิตวทิ ยาพฒั นาการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . เรวดี ศิลาโชติ. (2554). การพฒั นาหนังสืออ่านเพมิ่ เติมเกี่ยวกบั การใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2. วรางคณา บุญการ. (2555). การสร้างหนังสืออ่านเพมิ่ เตมิ ชุดระบบนิเวศเขาคอหงส์สาหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ในอาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา. วทิ ยานิพนธ์คณะการจดั การ ส่ิงแวดลอ้ มมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ. (2554). เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารแนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : บริษทั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ จากดั . สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2553). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3. กรุงเทพฯ : สกสค. _______. (2555). หนังสือเรียนวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค. _______. (2556). คู่มือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3. กรุงเทพฯ : สกสค. สนิท สตั โยภาส. (2551). การเขยี นรายงานการวจิ ัยทางการศึกษาฉบบั สมบูรณ์. กรุงเทพฯ : บริษทั 21 เซ็นจูรี่ จากดั . สมาน จนั ทะดี. (2552). การสร้างและการเขยี นรายงานผลงานทางวชิ าการ. กรุงเทพฯ : บริษทั เอส.พี.เอ็น. การพิมพ์ จากดั . _______. (2552). การเตรียมผลงานวชิ าการครูสู่ความสาเร็จตามหลกั เกณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ : บริษทั เอส.พี.เอน็ . การพิมพ์ จากดั .
70 สุธารักษ์ พนั ธ์วงศร์ ัตน.์ (2556). การพฒั นาหนังสืออ่านเพม่ิ เติมชุด ครอบครัวสุขสันต์กลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนบ้านต้นปรง จังหวดั ตรัง. สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2. สุรางค์ โคว้ ตระกลู . (2533). จิตวทิ ยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . _______. (2537). จิตวทิ ยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สุวทิ ย์ มูลคา. (2550). กลยุทธ์การสอนการคดิ วเิ คราะห์. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์ สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2546). การจัดการเรียนรู้สู่ความเป็ นเลศิ ด้านวทิ ยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา. สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน). (2549). พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟิ ค จากดั . สานกั งานสถิติแห่งชาติ. (2552). การสารวจการอ่านหนังสือของประชากร พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : บริษทั ธนาเพรส จากดั . สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). การประชุมทางวชิ าการการวจิ ัยทางการศึกษา คร้ังที่ 11. กรุงเทพฯ : เลขาธิการสภาการศึกษา สานกั งานฯ. อทิยา รักษารักษ.์ (2555). การพฒั นาหนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ วชิ าวทิ ยาศาสตร์เร่ือง รู้รักษ์โลก ช้ัน ประถมศึกษาปี ที่ 3 กลุ่มโรงเรียนบ้านหาดเลา จังหวดั ตรัง. สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาตรัง เขต 1. Altman,H. and B. Nielsen. (1974). Book and Empathy Help Troubled Children. Library Journal. 31 : 284-287. Anuar, H. (1979). “Children’s Information Services in Southeast Asia.” The School Librarian. 27 (March, 1979) : 11-13. Bangs,Christopher. (1988). “The Use of Cartoons in the Learning of a Second Language” Journal of the Austrian Modern Language Teacher Association” 23,7(December 1988) : 10 – 14 Blackwood. (1969). ปัจจยั ที่มีผลต่อการสอนวทิ ยาศาสตร์. http://krukittipong.blogspot.com/2010/06/2.html.
71 Rogers,Dorothy. (1990). “The Influence of the “PIG IN A WIG” Supplementary Reading Program on Primary Reading Achievement at Grade One Level” (CD-ROM) Doctoral Dissertation, Wayne State University. Rubenstein,A.G, (1994). Mexico‘sin’ vicios : Conservativea,Comic books, Consorship and the Mexican State, 1934-1976. New Brunwick : Rutgers the State University of New Jersey
72 ภาคผนวก
73 ภาคผนวก ก รายชื่อผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือ
74 รายช่ือผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือ 1. นายประกอบ มณีโรจน์ ศึกษานิเทศกเ์ ช่ียวชาญ 2.นางเบญจมาศ นาคหลง สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษา สงขลา เขต 2 3. นายอฏั ฐชยั ถาวรสุวรรณ วฒุ ิการศึกษา การศึกษามหาบณั ฑิต เอกการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหาดใหญว่ ทิ ยาลยั 2 สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16 วฒุ ิการศึกษา วทิ ยาศาสตร์มหาบณั ฑิต เอกวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี อาจารยห์ ลกั สูตรรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ สาขาศึกษาทว่ั ไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั วฒุ ิการศึกษา การศึกษาบณั ฑิต (วทิ ยาศาสตร์ฟิ สิกส์) มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ วฒุ ิการศึกษา วทิ ยาศาสตร์มหาบณั ฑิต(ฟิ สิกส์) มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ 4. นางสาวขนิษฐา แกว้ สุข ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลยั 2 5.นางอารีย์ โกไสยสิต สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16 วฒุ ิการศึกษา การศึกษามหาบณั ฑิต เอกวดั ผลการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหาดใหญว่ ทิ ยาลยั 2 สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16 วฒุ ิการศึกษา เอกภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช วฒุ ิการศึกษา การศึกษามหาบณั ฑิต เอกการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ
75 ภาคผนวก ข ทะเบียนลายมือชื่อผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือ
76 เรียนคุณระเบียบ หนา้ น้ีไม่ตอ้ งปริ้นค่ะ ใส่ที่เซ็นช่ือท่ีเจิน เอาไปใหเ้ มื่อวานค่ะ จานวน 5 คนคะ่
77 ภาคผนวก ค ดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC)
78 ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ความเท่ียงตรงของเน้ือหา ไดจ้ ากการที่ผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน ทาการตรวจสอบเพื่อให้ คะแนนความสอดคลอ้ งระหวา่ งแบบทดสอบกบั จุดประสงค์ที่ไดก้ าหนดไวข้ องแบบทดสอบที่ใช้วดั ทกั ษะ ทางการเรียนหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม และ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิหลงั การเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติม ชุดโลกมหัศจรรย์ จานวน 1 ฉบบั โดยแยกเป็ นรายขอ้ ของแบบทดสอบและนาคะแนนท้งั หมดที่ได้มา คานวณหาค่าเฉล่ียก็จะได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item Objective Congruence : IOC) ของ แต่ละขอ้ ของแบบทดสอบดงั กล่าว ขอ้ ใดท่ีมีค่า IOC ต่าสุด ก็จะถูกพิจารณาคดั ออกให้ไดจ้ านวนขอ้ เท่าที่ ตอ้ งการตอ่ ไป ตารางท่ี 9 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบวัดทักษะทางการเรียนหนังสื อเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 35 ขอ้ ข้อที่ คนท่ี 1 คะแนนของผ้เู ช่ียวชาญ คนที่ 5 1 +1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 +1 2 +1 +1 3 –1 +1 +1 +1 –1 4 +1 +1 +1 +1 +1 5 +1 +1 0 – 1 +1 6 +1 +1 +1 +1 +1 7 +1 +1 +1 +1 +1 8 +1 +1 +1 +1 +1 9 +1 +1 +1 +1 +1 10 +1 +1 +1 +1 +1 11 +1 +1 +1 +1 +1 12 +1 +1 +1 +1 +1 13 +1 +1 +1 +1 +1 14 +1 – 1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1
79 ข้อท่ี คนท่ี 1 คะแนนของผู้เชี่ยวชาญ คนท่ี 5 15 +1 คนท่ี 2 คนที่ 3 คนท่ี 4 +1 16 +1 +1 17 +1 +1 +1 +1 +1 18 +1 +1 +1 +1 +1 19 +1 +1 +1 +1 +1 20 +1 +1 +1 +1 +1 21 +1 +1 +1 +1 +1 22 +1 +1 +1 +1 +1 23 +1 0 +1 +1 +1 24 +1 +1 +1 +1 +1 25 +1 +1 +1 +1 +1 26 +1 +1 +1 +1 +1 27 +1 +1 +1 +1 +1 28 +1 +1 +1 +1 +1 29 +1 +1 +1 +1 +1 30 +1 +1 +1 +1 +1 31 +1 +1 +1 +1 +1 32 +1 +1 +1 +1 +1 33 +1 +1 +1 +1 +1 34 +1 +1 +1 +1 +1 35 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1
80 ข้อท่ี IOC ผลการพจิ ารณา 1 1.00 คดั เลือกไว้ 2 1.00 คดั เลือกไว้ 3 0.50 คดั ออก 4 1.00 คดั เลือกไว้ 5 1.00 คดั เลือกไว้ 6 1.00 คดั เลือกไว้ 7 1.00 คดั เลือกไว้ 8 1.00 คดั เลือกไว้ 9 1.00 คดั เลือกไว้ 10 0.87 คดั เลือกไว้ 11 1.00 คดั เลือกไว้ 12 0.80 คดั เลือกไว้ 13 1.00 คดั เลือกไว้ 14 1.00 คดั เลือกไว้ 15 1.00 คดั เลือกไว้ 16 1.00 คดั เลือกไว้ 17 1.00 คดั เลือกไว้
81 ข้อที่ IOC ผลการพจิ ารณา 18 1.00 คดั เลือกไว้ 19 1.00 คดั เลือกไว้ 20 1.00 คดั เลือกไว้ 21 0.80 คดั เลือกไว้ 22 1.00 คดั เลือกไว้ 23 1.00 คดั เลือกไว้ 24 1.00 คดั เลือกไว้ 25 1.00 คดั เลือกไว้ 26 1.00 คดั เลือกไว้ 27 1.00 คดั เลือกไว้ 28 1.00 คดั เลือกไว้ 29 1.00 คดั เลือกไว้ 30 1.00 คดั เลือกไว้ 31 1.00 คดั เลือกไว้ 32 1.00 คดั เลือกไว้ 33 1.00 คดั เลือกไว้ 34 0.80 คดั เลือกไว้
82 ข้อที่ IOC ผลการพจิ ารณา 35 1.00 คดั เลือกไว้
83 ภาคผนวก ง คา่ ความยากและอานาจจาแนก
84 ค่าความยากและอานาจจาแนก การคานวณหาค่าความยาก (p) และอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม จานวน 1 ฉบบั โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ ขอ้ สอบอยา่ งง่าย และคดั เลือกขอ้ สอบที่ดี เฉพาะขอ้ ท่ีมีค่าความยากต้งั แต่ 0.20 ถึง 0.80 และอานาจจาแนก ต้งั แต่ 0.20 ข้ึนไป ปรากฏผลดงั แสดงในตารางที่ 9 ตารางที่ 10 ค่าความยากและอานาจจาแนกของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั การใช้ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 35 ขอ้ ข้อที่ ค่าความยาก (p) อานาจจาแนก(r) ผลการพจิ ารณา 1 0.72 0.36 คดั เลือกไว้ 2 0.77 0.27 คดั เลือกไว้ 3 0.95 0.09 คดั ออก 4 0.77 0.63 คดั เลือกไว้ 5 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 6 0.68 0.45 คดั เลือกไว้ 7 0.77 0.63 คดั เลือกไว้ 8 0.77 0.63 คดั เลือกไว้ 9 0.63 0.36 คดั เลือกไว้ 10 0.72 0.36 คดั เลือกไว้ 11 0.77 0.45 คดั เลือกไว้
85 ข้อที่ ค่าความยาก (p) อานาจจาแนก(r) ผลการพจิ ารณา 12 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 13 0.90 0.00 คดั ออก 14 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 15 0.63 0.54 คดั เลือกไว้ 16 0.72 0.36 คดั เลือกไว้ 17 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 18 0.63 0.36 คดั เลือกไว้ 19 0.86 0.09 คดั ออก 20 0.72 0.54 คดั เลือกไว้ 21 0.68 0.27 คดั ออก 22 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 23 0.68 0.45 คดั เลือกไว้ 24 0.72 0.36 คดั เลือกไว้ 25 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 26 0.63 0.36 คดั เลือกไว้ 27 0.59 0.45 คดั เลือกไว้ 28 0.77 0.45 คดั เลือกไว้ 29 0.63 0.36 คดั เลือกไว้
86 ข้อท่ี ค่าความยาก (p) อานาจจาแนก(r) ผลการพจิ ารณา 30 0.68 0.27 คดั ออก 31 0.72 0.36 คดั เลือกไว้ 32 0.72 0.54 คดั เลือกไว้ 33 0.59 0.45 คดั เลือกไว้ 34 0.77 0.63 คดั เลือกไว้ 35 0.68 0.45 คดั เลือกไว้
87 ภาคผนวก จ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั ใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์
88 ข้อสอบวดั ผลสัมฤทธ์กิ ่อนเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช่วงช้ันท่ี 1 ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนท่งุ ปรือพทิ ยาคม(รัตนปัญโญ) สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ข้อสอบมที ้งั หมด 30 ข้อ 30 คะแนน เวลา 60 นาที .................................................................................................................................................................. คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย X ข้อทถี่ ูกต้องทส่ี ุดลงในกระดาษคาตอบ 1. นกั เรียนควรมีรูปร่างเหมือนใครมากท่ีสุด 6. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ท่ีตอ้ งอาศยั ก. ป่ ูยา่ ข. ตายาย ท่ีตอ้ งอาศยั อยรู่ ่วมกนั ไม่สามารถแยกจาก ค. พ่อแม่ ง. พี่นอ้ ง กนั ได้ และตา่ งฝ่ ายต่างไดร้ ับประโยชนจ์ าก 2. ลกั ยมิ้ เป็นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีปรากฏที่ การอยรู่ ่วมกนั เป็นความสมั พนั ธ์ของอะไร ส่วนใดของร่ายกายเรา ก. กบกบั งู ข. รากบั สาหร่าย ก. ตา ข. หู ค. เหากบั หวั คน ง. นกเอ้ียงกบั ควาย ค. จมูก ง. แกม้ 7. ขอ้ ใดคือทรัพยากรธรรมชาติ 3. สัตวท์ ่ีอาศยั อยบู่ นบกส่วนใหญ่ มีลกั ษณะใด ก. เกา้ อ้ี ข. น้า ท่ีเหมาะสมกบั การเคล่ือนท่ี ค. ถนน ง. โรงเรียน ก. มีขา 8. สาเหตุสาคญั ท่ีทาใหส้ ัตวป์ ่ าลดลงอยา่ ง ข. มีขน รวดเร็ว คือการกระทาใด ค. มีปี กใชส้ าหรับบิน ก. ป่ าไมถ้ ูกทาลาย ง. มีโครงสร้างลาตวั ท่ีสูง ข. น้าท่วมบริเวณกวา้ ง 4. สัตวใ์ นขอ้ ใดมีการปรับเปล่ียนสีตาม ค. คนฆ่าเพอ่ื เอาอวยั วะไปขาย สภาพแวดลอ้ มท่ีอาศยั อยู่ ง. สภาพอากาศเปล่ียนแปลงบ่อย ก. มด ข. ดว้ ง 9. อากาศเป็นพษิ เกิดจากสาเหตุขอ้ ใด ค. จิ้งจก ง. ควาย ก. การเผานาขา้ ว 5. เพราะเหตุใดผกั บุง้ จึงลอยน้าได้ ข. ควนั จากท่อไอเสียรถยนต์ ก. มีการปรับตวั ค. การทาอาหารในแต่ละวนั ข. ป้องกนั ลาตน้ เน่าเปื่ อย ง. การหายใจของคนและสตั ว์ ค. ลาตน้ มีการเล้ือยไปไดไ้ กลๆ ง. ทาใหส้ ามารถแตกยอดไดส้ ะดวก
89 10. ยางรถยนตเ์ ก่านามาประดิษฐส์ ่ิงใด 15. นกั เรียนนงั่ ชิงชา้ แลว้ ออกแรงแกวง่ ชิงชา้ เหมาะสมท่ีสุด จะเป็นอยา่ งไร ก. จาน ข. ถงั ขยะ ก. หยดุ อยกู่ บั ที่ ค. ถาดใส่ผลไม้ ง. กระติกน้าดื่ม ข. ไปทางซา้ ยมือตลอด ค. ชิงชา้ กระดอนสูงข้นึ เร่ือยๆ 11. นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 ในช่วงวยั น้ี ง. ชิงชา้ จะเคลื่อนท่ีตามแรงแกวง่ สามารถช่วยอนุรักษป์ ่ าไมไ้ ดอ้ ยา่ งไร ก. ช่วยกนั ปลูกตน้ ไมท้ ดแทน 16. ผคู้ น้ พบแรงดึงดูดของโลกคือใคร ข. ร่วมกนั เดินทางสารวจป่ าไม้ ก. ตระกลู ไรท์ ค. ประกาศเป็นพ้ืนท่ีเขตป่ าสงวน ข. จอห์น ดอลตนั ง. ร่วมดว้ ยช่วยกนั นามีดพร้าไปถางป่ า ค. เซอร์ ไอแซค นิวตนั ง. อลั เบิร์ต ไอน์ สไตน์ 12. วธิ ีท่ีดีที่สุดในการแกป้ ัญหาการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติท่ียงั่ ยนื 17. ดวงจนั ทร์มีแรงดึงดูดมากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ ก. ร่วมกนั ปลูกตน้ ไมท้ ดแทน โลก เท่าไร ข. เขา้ ร่วมโครงการของหน่วยงานต่างๆ ก. นอ้ ยกวา่ โลก 6 เท่า ค. รณรงคเ์ ก่ียวกบั การอนุรักษ์ ข. นอ้ ยกวา่ โลก 7 เท่า ทรัพยากรธรรมชาติ ค. มากกวา่ โลก 6 เท่า ง. สร้างจิตสานึกของมนุษยใ์ หม้ ีความรัก ง. มากกวา่ โลก 7 เท่า และห่วงใยทรัพยากรธรรมชาติ 18. ขอ้ ใดเป็นการนากฎแรงดึงดูดของโลกมาใช้ 13. วตั ถุในขอ้ ใดหยดุ นิ่ง ก. ขวา้ งจรวด ก. โยนเหรียญ ข. เล่นเรือใบ ข. ทุเรียนหล่นจากตน้ ค. น้าประปาภูเขา ค. ลูกฟุตบอลโดนแตะ ง. เกบ็ ผลไมท้ ี่หล่นจากจากตน้ ง. เขียวกบั ดาเล่นรับห่วงยาง 19. ไฟฟ้าท่ีใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั ส่วนใหญ่มี 14. ถา้ ลูกบอลหยดุ น่ิง แลว้ มีแรงมากระทา แหล่งกาเนิดไฟฟ้าจากท่ีใด ลูกบอลจะเคล่ือนที่ในทิศทางใด ก. แบตเตอร่ี ข. ไดนาโม ก. เล้ียวขวา ค. ถ่านไฟฉาย ง. เซลลส์ ุริยะ ข. ต้งั ฉากกบั แรง ค. ทิศเดียวกบั แรง ง. ตรงกนั ขา้ มกบั แรง
90 20. ในประเทศไทยส่วนใหญ่ใชแ้ หล่งพลงั งาน ก. รุ้งกินน้า ข. ลมพดั ใดผลิตกระแสไฟฟ้า ค. หิมะ ง. เมฆ ก. พลงั งานลม 26. ก๊าซชนิดใดในอากาศท่ีเป็นส่ิงจาเป็นต่อ ข. พลงั งานน้า การหายใจของสิ่งมีชีวติ ค. พลงั งานจากถ่านหิน ก. กา๊ ซไนโตรเจน ง. พลงั งานกา๊ ซธรรมชาติในชีวติ ประจาวนั ข. กา๊ ซไฮโดรเจน 21. เครื่องใชไ้ ฟฟ้าในขอ้ ใดตอ้ งเสียบปลก๊ั ไว้ ค. กา๊ ซออกซิเจน ตลอดเวลา ง. ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ก. ตูเ้ ยน็ ข. วทิ ยุ 27. นกั เรียนคิดวา่ บริเวณใดที่มกั จะพบกา๊ ซ ค. โทรทศั น์ ง. เคร่ืองซกั ผา้ ออกซิเจนมากท่ีสุด 22. ภาคใตม้ ีโรงไฟฟ้าพลงั งานลมต้งั อยทู่ ่ี ก. น้าตก จงั หวดั ใด ข. ตลาด ก. ภูเกต็ ข. พงั งา ค. โรงไฟฟ้า ค. กระบ่ี ง. ตรัง ง. โรงงานอุตสาหกรรม 23. เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าใดเปล่ียนพลงั งานไฟฟ้าเป็น 28. นกั เรียนรู้ไดอ้ ยา่ งไรว่าอุณหภูมิในอากาศ พลงั งานเสียง เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด ก. ตูเ้ ยน็ ข. เตารีด ก. สังเกตจากปริมาณเหงื่อที่ตวั เองออก ค. พดั ลม ง. โทรทศั น์ ข. สังเกตจากแสงของดวงอาทิตย์ 24. เหตุการณ์ใดที่ทาใหเ้ กิดอนั ตรายจากไฟฟ้า ค. อ่านจากเทอร์มอมิเตอร์ ซ๊อต ง. ดูปริมาณฝนตก ก. ปารวหี ุงขา้ วใส่น้าเยอะ 29. วธิ ีที่ดีที่สุดท่ีช่วยลดควนั พษิ จากรถยนต์ ข. สุทธิดาใชท้ ่ีฉีดพรมน้าก่อนรีดผา้ ควรทาอยา่ งไร ค. โชคดีเอากาแฟดาใส่ในแกว้ แลว้ นาไป ก. ขบั รถใกลๆ้ แช่ในตูเ้ ยน็ ข. ใชน้ ้ามนั ไร้สารตะกวั่ ง. ธมนวรรณใชป้ ลายชอ้ นสแตนเลสใส่ ค. หยดุ การใชร้ ถทุกชนิด เขา้ ไปในเตา้ รับ ง. ซ้ือรถคนั ใหม่ทุกๆ 3 ปี 25. อากาศแต่ละสถานท่ีมีอุณหภูมิที่แตกต่าง กนั นกั เรียนคิดวา่ อาจทาใหเ้ กิดส่ิงใดได้
91 30. นกั เรียนจะช่วยลดปัญหาอากาศเป็นพษิ ได้ อยา่ งไร ก. ทิ้งขยะลงในคูระบายน้า ข. รณรงคไ์ ม่ใหม้ ีการจดั ต้งั โรงงาน ค. ใชผ้ ลิตภณั ฑโ์ ฟมใส่อาหารแทนกระป๋ อง ง. ทาการคดั แยกประเภทของขยะก่อนท่ีจะ ทิ้งลงถงั ขยะ
92 เฉลยคำตอบแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธกิ์ ่อนเรียน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127