Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสำคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม

การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสำคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-12-25 21:15:42

Description: การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสำคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม


ชื่อเรื่อง การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสำคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ผู้ศึกษาค้นคว้า นางประเจิน ไชยมาลีอุปถัมภ์
หน่วยงาน โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ปีที่รายงาน 2558
บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ
1. เพื่อพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียน
ทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปีการศึกษา 2557 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ปีการศึกษา 2557 จำนวน 22 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย

Keywords: การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสำคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม

Search

Read the Text Version

การพฒั นาความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับเรอ่ื งสาคัญ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ โดยการใชห้ นงั สอื อา่ นเพ่ิมเตมิ นางประเจนิ ไชยมาลีอปุ ถัมภ์ ครู คศ. ๒ โรงเรยี นทุ่งปรือพิทยาคม(รตั นปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต ๒

ก ช่ือเรื่อง การพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เรื่องสาคญั กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม ผ้ศู ึกษาค้นคว้า นางประเจิน ไชยมาลีอุปถมั ภ์ หน่วยงาน โรงเรียนทุ่งปรือพทิ ยาคม(รัตนปัญโญ) อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ปี ทร่ี ายงาน 2558 บทคดั ย่อ การศึกษาคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคค์ ือ 1. เพอ่ื พฒั นาหนงั สืออ่านเพิม่ เติมใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ก่อนและหลังเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรี ยน ทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปี การศึกษา 2557 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ปี การศึกษา 2557 จานวน 22 คน เครื่องมือทใี่ ช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1. หนงั สืออ่านเพิ่มเติมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั ใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดแ้ ก่ คา่ คะแนนเฉลี่ยคา่ ความ เบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และคา่ t - test ผลการศึกษาพบว่า 1. หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมท่ีผูว้ ิจยั สร้างข้ึนมีค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพ เท่ากบั 86.09/85.33 เป็ นไปตาม เกณฑก์ าหนดท่ีต้งั ไว้ 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคะแนนการทดสอบหลังเรียนตาม กระบวนการเรียนรู้โดยใชห้ นงั สืออ่านเพมิ่ เติมสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 สูงกวา่ คะแนนการทดสอบก่อนเรียน มีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01 ผลการศึกษาแสดงวา่ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้นกั เรียนเกิดการเรียนรู้ดว้ ยตนเองมากข้ึน สามารถ ช่วยพฒั นาการเรียนรู้ของนกั เรียนใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงข้ึนดว้ ย

ข กติ ติกรรมประกาศ การพัฒ นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่ องสาคัญกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติมสาเร็จลุล่วงไดด้ ี ดว้ ยความกรุณาช่วยเหลือ แนะนา และให้คาปรึ กษาอย่างดียิ่งจากนายประกอบ มณี โรจน์ ศึกษานิ เทศก์เช่ี ยวชาญ สานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 นางเบญจมาศ นาคหลง ครูชานาญการพิเศษโรงเรียน หาดใหญ่วิทยาลยั 2 นายอฏั ฐชยั ถาวรสุวรรณ อาจารยห์ ลกั สูตรรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ สาขาศึกษาทว่ั ไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั นางขนิษฐา แกว้ สุข ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลยั 2 นางอารีย์ โกไสยสิต ครูชานาญการพเิ ศษโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลยั 2 ท่ีได้ ถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ วิธีการ แนวคิด และตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องด้วยความเอาใจใส่อย่างดีย่ิง ผดู้ าเนินการรู้สึกซาบซ้ึงและเป็นพระคุณอยา่ งยงิ่ จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสน้ี ขอกราบขอบพระคุณ นายณ รงค์ รัตนมาลา ผู้อานวยการชานาญ การพิเศษโรงเรี ยน ทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ท่ีไดก้ รุณาใหแ้ นวคิดและขอ้ แนะนาหลายประการ อีกท้งั ใหค้ วามร่วมมือ และเป็นกาลงั ใจในการดาเนินการในคร้ังน้ี ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือและ ช่วยเหลือในดา้ นต่าง ๆ ดว้ ยดีมาตลอด นกั เรียนทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการดาเนินการ ตลอดจนให้ ข้อมูลต่าง ๆ เป็ นอย่างดี และสุดท้าย ขอขอบพระคุณมารดา ญาติพ่ีน้อง และบุคคลในครอบครัว ทุกคน ตลอดจนผใู้ หค้ วามช่วยเหลืออีกหลายทา่ นซ่ึงไมส่ ามารถกล่าวนามในที่น้ีไดห้ มด นางประเจิน ไชยมาลีอุปถมั ภ์ ครูชานาญการ โรงเรียนทุง่ ปรือพทิ ยาคม (รัตนปัญโญ)

ค สารบัญ หน้า ก เร่ือง ข บทคดั ยอ่ ค กิตติกรรมประกาศ จ สารบญั ช สารบญั ตาราง 1 สารบญั ภาพ 1 บทท่ี 1 บทนา 3 3 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 4 วตั ถุประสงคข์ องการดาเนินการ 4 สมมุติฐานของการดาเนินการ 5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 6 ขอบเขตของการดาเนินการ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 12 13 วทิ ยาศาสตร์ 15 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ 23 25 วทิ ยาศาสตร์ 26 การเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 29 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกบั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 30 เทคนิควธิ ีการสอนวทิ ยาศาสตร์ 37 สื่อการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ 37 หนงั สืออา่ นเพ่ิมเติม 37 การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 38 งานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการศึกษาคน้ ควา้ การกาหนดกลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการศึกษา การกาหนดแบบแผนการทดลอง เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการดาเนินการ

ง หน้า 39 สารบัญ (ต่อ) 44 44 เรื่อง 45 การพฒั นาและการทดลองคุณภาพของเคร่ืองมือ 48 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 51 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 61 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 61 การเผยแพร่นวตั กรรม 62 62 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 63 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 66 67 สมมุติฐานของการดาเนินการ 72 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 73 สรุปผลการดาเนินการ 75 อภิปรายผลการดาเนินการ 77 ขอ้ เสนอแนะ 83 บรรณานุกรม ภาคผนวก 87 ภาคผนวก ก รายช่ือผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ 100 ภาคผนวก ข ทะเบียนรายช่ือผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือ 113 ภาคผนวก ค ดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC) ภาคผนวก ง คา่ ความยากและอานาจจาแนก ภาคผนวก จ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั ใชห้ นงั สือ อ่านเพิม่ เติมช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ ภาคผนวก ฉ ผลการประเมินความเหมาะสมของหนงั สืออ่านเพิม่ เติม ภาคผนวก ช การเผยแพร่นวตั กรรม

จ สารบัญตาราง ตาราง หน้า 36 1 ตารางกรอบแนวคิดในการศึกษา 38 2 ตารางแบบแผนการทดลอง 52 3 ตารางผลการหาประสิทธิภาพของหนงั สืออา่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ 54 วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 (กลุ่มทดลอง) 4 ตารางแสดงคะแนนจากการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการใชห้ นงั สืออา่ นเพมิ่ เติม 55 56 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียน (กลุ่มทดลอง) 58 5 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ 59 วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 (กลุ่มทดลอง) 78 6 ตารางแสดงผลการหาประสิทธิภาพของหนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ 84 วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 (กลุ่มเป้าหมาย) 102 7 ตารางแสดงคะแนนจากการวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการใชห้ นงั สืออ่านเพ่มิ เติม 103 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียน 104 (กลุ่มเป้าหมาย) 8 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 (กลุ่มเป้าหมาย) 9 ตารางแสดงดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หนงั สือเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 10 ตารางแสดงค่าความยากและอานาจจาแนกของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 11 ตารางแสดงสรุปผลการประเมินหนงั สืออา่ นเพ่มิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 5 เล่ม 12 ตารางแสดงผลการประเมินหนงั สืออา่ นเพมิ่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 เล่มที่ 1 เรื่องชีวติ สัมพนั ธ์ (สาหรับผเู้ ช่ียวชาญ ) 13 ตารางแสดงผลรวมการประเมินหนงั สืออา่ นเพ่มิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 เล่มท่ี 1 เร่ืองชีวติ สัมพนั ธ์

ฉ สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า 105 ตาราง 106 14 ตารางแสดงผลการประเมินหนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 107 ช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 3 เล่มที่ 2 เร่ืองทรัพยากรที่รัก (สาหรับผเู้ ชี่ยวชาญ) 108 15 ตารางแสดงผลรวมการประเมินหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 109 110 ช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 เล่มท่ี 2 เร่ืองทรัพยากรท่ีรัก 111 16 ตารางแสดงผลการประเมินหนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 112 ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 เล่มท่ี 3 เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ดีอยา่ งไร (สาหรับผเู้ ช่ียวชาญ) 17 ตารางแสดงผลรวมการประเมินหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 เล่มท่ี 3 เร่ืองแรงและการเคล่ือนท่ีดีอยา่ งไร 18 ตารางแสดงผลการประเมินหนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 เล่มท่ี 4 เร่ืองไฟฟ้าน่ารู้ (สาหรับผเู้ ช่ียวชาญ) 19 ตารางแสดงผลรวมการประเมินหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 เล่มที่ 4 เร่ืองไฟฟ้าน่ารู้ 20 ตารางแสดงผลการประเมินหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 เล่มที่ 5 เรื่องอากาศรอบตวั เรา (สาหรับผเู้ ชี่ยวชาญ) 21 ตารางแสดงผลรวมการประเมินหนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 เล่มท่ี 5 เร่ืองอากาศรอบตวั เรา

ช สารบัญภาพประกอบ รูปภาพประกอบ 114

1 บทท่ี 1 บทนำ ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา ในโลกปัจจุบนั น้ีนบั ไดว้ า่ วิทยาศาสตร์เป็ นวิชาที่มีบทบาทและมีความสาคญั เป็ นอยา่ งย่ิง ซ่ึง มนุษยท์ ุกคนจาเป็นตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์อยูต่ ลอดเวลา วทิ ยาศาสตร์เป็นวิชาที่สร้างสรรคจ์ ิตใจ มนุษยซ์ ่ึงเก่ียวขอ้ งกับความคิด กระบวนการ เหตุผลและฝึ กฝนให้มีทกั ษะต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ ดงั น้นั การศึกษาเกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์จึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นอยา่ งยงิ่ ในการที่จะพฒั นาความรู้ความสามารถ ของมนุษยใ์ นดา้ นต่าง ๆ โลกสมยั ใหม่ถือไดว้ ่าเป็ นยุคแห่งความเจริญกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ ทว่ั โลกมีเทคโนโลยี ท่ีทันสมยั ล้วนเกี่ยวขอ้ งกับวิทยาศาสตร์ท้ังสิ้น การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์โดยการอ่าน เร่ืองราวข่าวสารต่าง ๆ เป็ นเคร่ืองมือและวิธีการสาหรับทุกคนโดยเฉพาะนักเรียนท่ีจะตอ้ งอาศัย เครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ นอกจากน้ีหนังสือดูเหมือนจะเป็ นเครื่องมือ ท่ีสะดวกที่สุดเพราะสามารถหาอ่านไดท้ วั่ ไปและราคาถูกกวา่ ส่ืออ่ืน ๆ แต่อยา่ งไรกด็ ียงั ไม่มีส่ืออ่ืนใด สามารถแทนที่หนงั สือไดห้ มด เพราะการท่ีหนงั สือมีราคาถูกว่า พกพาก็สะดวกในทุก ๆ ท่ีอ่านซ้า แลว้ ซ้าเล่าไดเ้ สมอ และใช้เวลากบั การ “ละเอียด” อ่านไดต้ ามความพอใจเป็ นคุณสมบตั ิสาคญั ที่สื่อ สมยั ใหม่ยงั ไม่อาจทาได้ ดงั น้นั แมด้ ูเหมือนสื่อสมยั ใหม่จะรุกแดนเขา้ มาในอาณาจกั รของหนงั สือ แต่ สาหรับประเทศไทยซ่ึงสื่อเหล่าน้ียงั ต้องเสียค่าใช้จ่ายในราคาที่สูงพอสมควร ความต้องการอ่าน หนงั สือจึงยงั คงมีอยู่เสมอ คนที่มีวยั ต่างกนั มีความสนใจเลือกประเภทหนงั สือที่อ่านแตกต่างกนั โดยที่วยั เด็กอ่านแบบเรียน/ตาราเรียนตามหลกั สูตรสูงสุดร้อยละ 82.00 รองลงมาคือ นวนิยาย/การ์ตูน/ หนงั สืออ่านเล่น (สานกั งานสถิติแห่งชาติ, 2552 : 7) ดงั น้นั การอ่านหนงั สือจะทาให้นกั เรียนเกิดการ เรียนรู้และมีความเขา้ ใจวทิ ยาศาสตร์ อยา่ งมีหลกั เกณฑ์ ไดพ้ ฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีความสามารถมากข้ึน เพ่ือสามารถปรับตวั ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมใน ปัจจุบนั การอ่านเป็ นบ่อเกิดแห่งการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ดังพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยูห่ ัวในพิธีเปิ ดงานปี หนังสือระหว่างชาติ วนั ท่ี 4 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2514 ว่า “หนังสือเป็ น เสมือนคลงั ท่ีรวบรวมเรื่องราว ความรู้ ความคิด วทิ ยาการทุกดา้ น ทุกอยา่ งซ่ึงมนุษยไ์ ดเ้ รียนรู้ ไดค้ ิด อ่านและเพียรพยายาม บนั ทึกรักษาไวด้ ว้ ยลายลกั ษณ์อกั ษร หนงั สือแพร่ไปถึงท่ีใดความรู้ความคิดก็ แพร่ไปถึงที่นน่ั หนงั สือจึงเป็ นสิ่งที่มีค่า และมีประโยชน์ที่จะประมาณค่ามิได้ ในแง่ที่เป็ นบ่อเกิด แห่งการเรียนรู้ของมนุษย์” หนังสือจึงมีความสาคัญเป็ นอย่างย่ิง โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษา จะมองเห็นไดช้ ดั เจนมาก การเรียนการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ไม่วา่ จะระดบั ใดจะขาดหนงั สือเสียไม่ได้ ดงั น้นั ทกั ษะกระบวนการต่างๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งควบคู่ไปกบั การอ่าน เนื่องจากการอ่านจะทาให้

2 เกิดการเขา้ ใจเร่ืองราวเน้ือหาที่มีอยใู่ นหนงั สือหรือการจดั กิจกรรมต่างๆ ตามทกั ษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ เป็ นการศึกษาหาความรู้โดยการปฏิบตั ิจริง มีทกั ษะสาคญั ในการคน้ ควา้ หาความรู้และ สร้างองคค์ วามรู้ต่างๆ ไดต้ ามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มุ่งหวงั ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ที่เนน้ การเช่ือมโยงความรู้กบั กระบวนการ และผูเ้ รียนสามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม ย่ิงผูเ้ รียนไดม้ ีการอ่านหนงั สือมากก็เท่ากบั ไดม้ ีความรู้ มาก ดังท่ีหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (2553 : 14 - 16) ไดก้ าหนดจุดหมายซ่ึงถือวา่ เป็ นมาตรฐานการเรียนรู้วา่ “การท่ีจะให้ นกั เรียนเกิดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ครูและผปู้ กครองจึงตอ้ งปลูกฝังให้นกั เรียนมีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม และสนบั สนุนให้นกั เรียนสนใจอ่านหนงั สือ เพื่อให้นกั เรียนไดม้ ีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน รักการคน้ ควา้ หาความรู้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหา การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ขอ้ มูล และการอภิปรายเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้มีความสามารถใน การตดั สินใจ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและ ค่านิยมท่ีเหมาะสม” ดงั ที่สถาบนั พฒั นาคุณภาพวิชาการ ( 2554 : 39 ) ไดก้ ล่าวว่า “การอ่านจากส่ือ สิ่งพิมพ์ และส่ือประเภทต่างๆ ท่ีให้ความเพลิดเพลิน ให้ความรู้ ให้ประสบการณ์ มีประเด็นให้คิด และเขียนบรรยายถ่ายทอดประเด็นท่ีคิดดว้ ยภาษาที่ถูกตอ้ งเหมาะสม นาไปสู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์ การแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบได้” ซ่ึงได้มีความสอดคล้องกบั ความ คิดเห็นของสมาน จนั ทะดี (2552 : 153) ท่ีวา่ “การอ่านเป็ นเคร่ืองมือแสวงหาความรู้ การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ การจดั ลาดบั การเปรียบเทียบขอ้ มูล การสรุปความ และสื่อที่ดีคือหนงั สือส่งเสริมการอา่ น” ซ่ึงการอ่านนาไปสู่การเรียนรู้ตามทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ผูเ้ รียน มีความรู้ความเขา้ ใจไดม้ าจากการอ่านแลว้ ปฏิบตั ิการตามทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท้งั น้ี ทางโรงเรียนควรจดั หนงั สือเสริมประสบการณ์ไวใ้ นห้องสมุดให้มีจานวนเพียงพอ เพื่อให้ผูเ้ รียนได้ ศึกษาค้นควา้ หาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองตามความเหมาะสมของวยั และเป็ นไปตามทกั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ นอกจากน้ีจะใชส้ ื่อหนงั สือแบบเรียนเพียงเล่มเดียวน้นั ยอ่ มไมเ่ พยี งพอ ครูผสู้ อนควรแนะนาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมให้แก่นกั เรียน เป็ นการเสริมให้ผูเ้ รียนแสวงหาความรู้ดว้ ย ตนเอง ซ่ึงหนงั สือที่นอกเหนือจากหนงั สือเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ หมายถึง หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่ม สาระวิทยาศาสตร์ เพ่ือใช้ในการเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือท่ีทาง กระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่าหนังสือไม่บงั คบั ใช้นนั่ เอง หนงั สือประเภทน้ีหมายถึง หนังสือท่ีช่วย ส่งเสริมการเรียนการสอนของผูเ้ รียน แต่ไม่จาเป็ นตอ้ งให้ผูเ้ รียนมีไวใ้ ช้ประจาตวั และโรงเรียนจะ บงั คบั ให้ผูเ้ รียนซ้ือไม่ได้ แต่ควรจดั หาไวใ้ นห้องสมุด หรือมุมหนังสือตามห้องเรียนเพื่อเป็ นการ บริการครู ผู้สอนและผู้เรียน ดังที่ สมาน จันทะดี ( 2552 : 161) กล่าวว่า “การเขียนหนังสื อ วิทยาศาสตร์ ควรเลือกเน้ือหาท่ีง่าย ๆ และมีภาพประกอบชดั เจน” จะเห็นไดว้ า่ การท่ีจะให้นกั เรียน

3 มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์แตกฉานย่ิงข้ึนน้ัน จะต้องให้นักเรี ยนได้อ่านหนังสื ออื่น ๆ นอกเหนือจากหนังสือเรียนมาก ๆ น่ันคือหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึง หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็ นหนงั สือเสริมประสบการณ์อยา่ งหน่ึง ท่ีมี ประโยชน์และความสาคญั อยา่ งย่ิง ในการน้ีจาเป็ นที่ครูผูส้ อนหรือทางโรงเรียนตอ้ งจดั หามาบริการ ใหแ้ ก่นกั เรียน จากการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ไดส้ ังเกตพบนกั เรียนส่วนมากยงั ไม่ประสบ ความสาเร็จในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เท่าที่ควร ดงั ที่ผลการสอบการประเมินคุณภาพการศึกษา ข้นั พ้ืนฐานเพื่อการประกนั คุณภาพผูเ้ รียน ( NT : National Test) (ปี 2555 ได้ร้อยละ 33.33 และปี 2556 ได้ร้อยละ 40.19) ซ่ึงอาจมีผลสืบเนื่องมาจากการที่เป็ นนกั เรียนพกพร่องทางการเรียนรู้ร้อยละ 14.28 เป็ นนักเรียนมาจากประเทศพม่า ประเทศลาว และชาวกะเหร่ียง ร้อยละ 10.71 และนักเรียนมี การย้ายเข้าย้ายออกบ่อยทาให้มีความรู้ไม่ต่อเนื่อง นอกจากน้ีนักเรี ยนแต่ละคนน้ันมีความรู้ ความสามารถในพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ท่ีแตกต่างกนั และนกั เรียนไม่สนใจในการอ่าน การคน้ ควา้ หาความรู้เพ่ิมเติม ทาให้นกั เรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้กบั กระบวนการต่าง ๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ ได้ เพ่ือแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าวจึงไดพ้ ฒั นาผูเ้ รียนในการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ โดยให้ผูเ้ รียนศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้จากหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึงจะเป็ นทางหน่ึงท่ีจะ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรี ยนให้เป็ นไปในทางที่ดีงาม อีกท้ังยังเป็ นการสร้างนิ สัย รักการอ่านของผเู้ รียน จากการไดอ้ าศยั หนงั สืออา่ นเพ่ิมเติมเป็ นสื่อในกระบวนการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ อีกดว้ ย วตั ถุประสงค์ของการดาเนินการ 1. เพ่อื พฒั นาหนงั สืออา่ นเพ่มิ เติมใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ก่อนและหลงั เรียน โดยใชห้ นงั สืออา่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สมมุตฐิ านของการดาเนินการ 1. หนงั สืออา่ นเพิ่มเติมมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เมื่อไดม้ ีการพฒั นาข้ึน 2.นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนทุ่งปรือพทิ ยาคม (รัตนปัญโญ) มีผลสัมฤทธ์ิกลุ่ม สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ที่สูงข้ึน เม่ือเรียนรู้โดยใชก้ ารอา่ นหนงั สือเพิ่มเติม

4 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 มีผลสัมฤทธ์ิกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์สูงข้ึน 2. ได้นวตั กรรมทักษะการอ่านในการค้นควา้ หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ขอบเขตของกำรดำเนินกำร 1. ขอบเขตของการดาเนินการ 1.1 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี เป็ นนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียน ทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา สานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปี การศึกษา 2557 ซ่ึงมีจานวน 1 ห้องเรียน จานวน 22 คน การศึกษาคร้ังน้ีไดท้ าการ ศึกษากบั กลุ่มเป้าหมายท้งั หมด 1.2 ระยะเวลา ระยะเวลาในการทดลองใช้หนงั สืออ่านเพิ่มเติมน้ีเวลา 12 สัปดาห์ ซ่ึงเป็ นเวลาใน ชวั่ โมงวา่ งจากตารางเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ผูด้ าเนินการไดใ้ ชเ้ วลาจากชว่ั โมงว่าง ดงั กล่าวมาจดั กิจกรรมการเรียนการสอนเสริมวชิ าวิทยาศาสตร์ สัปดาห์ละ 2 ชวั่ โมง ทุกวนั พฤหสั บดี เวลา 12.50 น.-13.50 น. และวนั ศุกร์ เวลา 13.50 น.-14.50 น. ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2557 1.3 เนื้อหา ขอบเขตของเน้ือหา ประกอบด้วยหนังสื ออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทิ ยาศาสตร์ จานวน 5 เล่ม ดงั น้ี 1.3.1 ชีวติ สัมพนั ธ์ 1.3.2 ทรัพยากรที่รัก 1.3.3 แรงและการเคลื่อนที่ดีอยา่ งไร 1.3.4 ไฟฟ้าน่ารู้ 1.3.5 อากาศรอบตวั เรา 1.4 ตัวแปร 1.4.1 ตัวแปรต้น คือ กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชห้ นงั สืออา่ นเพิ่มเติม 1.4.2 ตวั แปรตาม คือ ผลสัมฤทธ์ิกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียน

5 นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบที่ใชว้ ดั สมรรถภาพ ทางสมอง หรือความสามารถดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงเป็ นความรู้ที่ไดเ้ รียนรู้จากหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ เป็ นแบบทดสอบท่ีใช้วดั หลงั จาก ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ไปแลว้ เพ่อื ตรวจดูวา่ มีผลสมั ฤทธ์ิสูง ต่าเพยี งใด ถึงเกณฑท์ ่ีกาหนดไวห้ รือไม่ 2. เร่ืองสาคญั หมายถึง เรื่องที่มีเน้ือหาจากการสอบขอ้ สอบการประเมินคุณภาพการศึกษา ข้นั พ้ืนฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพผูเ้ รียน ( NT : National Test) ฉบบั ด้านเหตุผล ช้ันประถมศึกษา ปี ท่ี 3 ทุกปี ประกอบดว้ ยเร่ืองชีวิตสัมพนั ธ์ ทรัพยากรที่รัก แรงและการเคลื่อนที่ดีอยา่ งไร ไฟฟ้าน่ารู้ และอากาศรอบตวั เรา 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติม หมายถึง หนงั สือท่ีมีสาระอิงหลกั สูตร สาหรับให้นกั เรียนอ่านเพ่ือ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเองตามความเหมาะสมของวยั และความสามารถในการอ่านของ แต่ละบุคคล 4. ประสิ ทธิภาพของหนังสื ออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถของหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ที่ช่วยใหน้ กั เรียนใชเ้ รียนและ ทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน ไดผ้ า่ นเกณฑ์ 80/80 เกณฑ์ 80/80 หมายถึง เกณฑ์ท่ีผู้ดาเนินการใช้เป็ นมาตรฐานในการพิจารณาหา ประสิทธิภาพของหนงั สืออา่ นเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดย 80 ตวั แรก หมายถึง ค่าร้อยละ 80 ของคะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมดในกลุ่ม ประชากรท่ีได้จากการทาแบบฝึ กหัดระหว่างเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ 80 ตวั หลงั หมายถึง ค่าร้อยละ 80 ของคะแนนเฉลี่ยของนกั เรียนท้งั หมดในกลุ่มประชากร ที่ไดจ้ ากการทาแบบทดสอบวดั ผลทางการเรียนหลงั เรียนดว้ ยหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ 5. นกั เรียน หมายถึง นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ปี การศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 1 ห้องเรียน มีนกั เรียนท้งั หมดจานวน 22 คน โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) หมู่ที่ 7 ตาบล พะตง อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2

6 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้อง การศึกษาดาเนินการคร้ังน้ี ผูด้ าเนินการได้ทาการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง กบั การพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับเร่ืองสาคญั ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียน ทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา โดยใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติม กลุ่มสาระ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ มีประเด็นสาคญั ดงั ต่อไปน้ี 1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 2. หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. การเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 4. ทฤษฎีที่เกี่ยวกบั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 5. เทคนิควธิ ีการสอนวทิ ยาศาสตร์ 6. ส่ือการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ 7. หนงั สืออ่านเพม่ิ เติม 8. การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 9. งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (สานกั งานคณะกรรมการการการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 92 - 95) สรุปไดด้ งั น้ี 1. ความสาคัญของวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคญั ยิ่งในสังคมโลกปัจจุบนั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์ เก่ียวขอ้ งกับทุกคนท้งั ในชีวิตประจาวนั และการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องใชแ้ ละผลผลิตต่าง ๆ ท่ีมนุษยไ์ ดใ้ ชเ้ พื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่าน้ีลว้ น เป็ นผลของความรู้วทิ ยาศาสตร์ ผสมผสานกบั ความคิดสร้างสรรคแ์ ละศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วย ให้มนุษยไ์ ด้พฒั นาวิธีคิด ท้งั ความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทกั ษะ สาคญั ในการคน้ ควา้ หาความรู้ มีความสามารถในการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็ นระบบ สามารถตดั สินใจโดย สิ่งมีชีวิตกบั กระบวนการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานใช้ขอ้ มูลท่ีหลากหลายและมีประจกั ษ์ พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็ นวฒั นธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ึงเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge - based society) ดงั น้ันทุกคนจึงจาเป็ นตอ้ งได้รับการพฒั นาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อท่ีจะมี

7 ความรู้ความเขา้ ใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยส์ ร้างสรรคข์ ้ึน สามารถนาความรู้ไปใชอ้ ยา่ งมี เหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม 2. ขอบข่ายเนื้อหาวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวงั ให้ผูเ้ รียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการ เช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแกป้ ัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ทุกข้นั ตอน มีการทากิจกรรมดว้ ยการลงมือปฏิบตั ิจริงอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ช้นั โดยไดก้ าหนดสาระสาคญั ไวด้ งั น้ี ของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการ ดารงชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม การทางานของระบบต่าง ๆ ของ ส่ิงมีชีวติ ววิ ฒั นาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ และเทคโนโลยชี ีวภาพ 2.1 ชีวติ กับส่ิงแวดล้อม ส่ิงมีชีวิตท่ีหลากหลายรอบตวั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติการ ใชแ้ ละจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ในระดบั ทอ้ งถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจยั ที่มีผลต่อการอยูร่ อดของ ส่ิงมีชีวติ ในสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ 2.2 สารและสมบัติของสาร สมบตั ิของวสั ดุและสาร แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค การ เปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยก 2.3 แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหลก็ ไฟฟ้า แรงโนม้ ถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ ออกแรงกระทาต่อวตั ถุ การเคล่ือนที่ของวตั ถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน ชีวติ ประจาวนั 2.4 พลังงาน พลงั งานกบั การดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลงั งาน สมบตั ิและปรากฏการณ์ ของแสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ ส่ิงแวดลอ้ ม 2.5 กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโลก โครงสร้างและองคป์ ระกอบของโลก ทรัพยากรทาง ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้า อากาศ สมบตั ิของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจยั ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ 2.6 ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวฒั นาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพนั ธ์และ ผลต่อสิ่งมีชีวติ บนโลก ความสัมพนั ธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และโลก ความสาคญั ของเทคโนโลยี อวกาศ

8 2.7 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ หาความรู้ การแกป้ ัญหา และจิตวทิ ยาศาสตร์ 3. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 1 สิ่งมชี ีวติ กบั กระบวนการดารงชีวติ มาตรฐาน ว 1. 1 เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของส่ิ งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหนา้ ท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสิ่งมีชีวติ ท่ีทางาน สัมพนั ธ์กนั มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งท่ี เรี ยนรู ้ และนาความรู ้ ไปใช้ในการดารงชี วิตของตนเองและ ดูแลสิ่งมีชีวติ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะ ทางพนั ธุกรรม วิวฒั นาการของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพ การใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์ และส่ิ งแวดล้อม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสาร ส่ิงท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 2 ชีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถ่ิน ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงแวดลอ้ มกบั สิ่งมีชีวติ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ส่ิงมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์สื่ อสารสิ่ งท่ีเรี ยนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความ ส าคัญ ข องท รัพ ยาก รธ รรม ชาติ ก ารใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดบั ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนา ความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่นอยา่ งยงั่ ยนื สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบตั ิของสาร กับ โครงส ร้างแล ะแรงยึดเห น่ี ยวระห ว่างอนุ ภาค มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์สื่อสารสิ่ง ท่ีเรียนรู้นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

9 มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจหลกั การและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของ สาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี 4 แรงและการเคล่ือนที่ มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโนม้ ถ่วง และแรง นิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่ เรี ยน รู้ แล ะน าค วาม รู้ ไป ใช้ป ระโย ช น์อย่างถู ก ต้องแล ะ มี คุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจลกั ษณะการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวตั ถุในธรรมชาติ มี กระบวนการสื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ 5 พลงั งาน มาตรฐาน ว 5.1 เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพลงั งานกบั การดารงชีวิต การ เปลี่ยนรูปพลงั งาน ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งสารและพลงั งาน ผล ของการใชพ้ ลงั งานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 6 กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 เขา้ ใจกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนบนผวิ โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆที่ มีผลต่อการ เปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เขา้ ใจวิวฒั นาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการ ปฏิสัมพนั ธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อส่ิงมีชีวิตบนโลก มี กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เขา้ ใจความสาคญั ของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการ สารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและ

10 การส่ือสารมีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ อยา่ งมีคุณธรรมตอ่ ชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการ สื บเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติที่เกิดข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเครื่องมือท่ีมีอยใู่ น ช่วงเวลาน้ัน ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสังคม และ ส่ิงแวดลอ้ มมีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั สรุปไดว้ า่ เรื่องท่ีสาคญั ท่ีมีการออกขอ้ สอบการสอบการประเมินคุณภาพการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพผเู้ รียน ( NT : National Test) NT ดา้ นเหตุผล ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ทุกปี คือ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระท่ี 1 สิ่งมีชีวิตกบั กระบวนการดารงชีวิต สาระที่ 2 ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอ้ ม สาระท่ี 4 แรงและการเคล่ือนที่ สาระที่ 5 พลงั งานและสาระท่ี 6 กระบวนการ เปล่ียนแปลงของโลก ผดู้ าเนินการจึงนาเร่ืองที่สาคญั ท้งั 5 สาระน้ีมาทาการสอนเสริมในคาบท่ีวา่ งโดย ใชห้ นงั สืออ่านเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ 4. คุณภาพผ้เู รียน 4.1 คุณภาพของผู้เรียนทจ่ี บช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 4.1.1 เขา้ ใจลกั ษณะทว่ั ไปของส่ิงมีชีวิต และการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวติ ที่หลากหลาย ในส่ิงแวดลอ้ มทอ้ งถิ่น 4.1.2 เขา้ ใจลกั ษณะท่ีปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวสั ดุรอบตวั แรงในธรรมชาติ รูปของพลงั งาน 4.1.3 เขา้ ใจสมบตั ิทางกายภาพของดิน หิน น้า อากาศ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว 4.1.4 ต้งั คาถามเก่ียวกับสิ่งมีชีวิต วสั ดุและสิ่งของ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตวั สังเกต สารวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมืออยา่ งง่าย และสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ดว้ ยการเล่าเร่ือง เขียน หรือ วาดภาพ 4.1.5 ใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดารงชีวิตการศึกษาหาความรู้ เพ่มิ เติม ทาโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กาหนดให้ หรือตามความสนใจ 4.1.6 แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ และแสดงความซาบซ้ึงต่อส่ิงแวดลอ้ ม รอบตวั แสดงถึงความมีเมตตา ความระมดั ระวงั ตอ่ สิ่งมีชีวติ อ่ืน

11 4.1.7 ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายดว้ ยความมุ่งมนั่ รอบคอบ ประหยดั ซ่ือสัตย์ จนเป็ น ผลสาเร็จ และทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งมีความสุข 4.2 คุณภาพของผู้เรียนทจ่ี บช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6 4.2.1 เขา้ ใจโครงสร้างและการทางานของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวติ และความสัมพนั ธ์ ของสิ่งมีชีวติ ท่ีหลากหลายในสิ่งแวดลอ้ มท่ีแตกตา่ งกนั 4.2.2 เขา้ ใจสมบตั ิและการจาแนกกลุ่มของวสั ดุ สถานะของสาร สมบตั ิของสารและ การทาใหส้ ารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวติ ประจาวนั การแยกสารอยา่ งง่าย 4.2.3 เขา้ ใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทากบั วตั ถุ ความดนั หลกั การเบ้ืองตน้ ของแรง ลอยตวั สมบตั ิและปรากฏการณ์เบ้ืองตน้ ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า 4.2.4 เขา้ ใจลกั ษณะ องค์ประกอบ สมบตั ิของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพนั ธ์ ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์ท่ีมีผลตอ่ การเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ 4.2.5 ต้งั คาถามเก่ียวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผนและ สารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ขอ้ มูล และสื่อสารความรู้จากผลการสารวจ ตรวจสอบ 4.2.6 ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต และการศึกษา ความรู้เพ่มิ เติม ทาโครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกาหนดใหห้ รือตามความสนใจ 4.2.6 แสดงถึงความสนใจ มุ่งมน่ั รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยใ์ นการสืบเสาะหา ความรู้ 4.2.7 ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยก ยอ่ ง และเคารพสิทธิในผลงานของผคู้ ิดคน้ 4.2.8 แสดงถึงความซาบซ้ึงห่วงใยแสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งรู้คุณคา่ 4.2.9 ทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผอู้ ่ืน ในการสร้างและพฒั นาชุดกิจกรรมส่งเริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เนน้ ทกั ษะการสืบคน้ ทาง วิทยาศาสตร์ทีผูว้ ิจยั ได้สร้างข้ึนสาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ได้ยึดหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ในขอบขา่ ยเน้ือหา ธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสื บเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ และสาระการเรียนรู้สอดคล้องกับ สาระท่ี 8 ธรรมชาติของ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

12 มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการ สื บเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ เกิดข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ อธิบายและ 8 ตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยู่ ในช่วงเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อม มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน และคุณภาพของ ผเู้รียนที่จบช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ท่ีมุ่งเนน้ ใหเ้ กิดข้ึนจากการทา กิจกรรมใน ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเนน้ ทกั ษะการสืบคน้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ต้งั คาถามเกี่ยวกบั สิ่งท่ีจะเรียนรู้ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผนและสารวจ ตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมือ อุปกรณ์ วเิ คราะห์ขอ้ มูล และส่ือสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบ 2. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต และการศึกษาความรู้ เพมิ่ เติม ทาโครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกาหนดใหห้ รือตามความสนใจ 3. แสดงถึงความสนใจ มุง่ มนั่ รับผดิ ชอบ รอบคอบและซ่ือสัตยใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ 4. ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกยอ่ ง และ เคารพสิทธิในผลงานของผคู้ ิดคน้ 5. แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้การดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งรู้คุณค่า 6. ทางานร่วมกบั ผูอ้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ คิดเห็นของผอู้ ื่น หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งปรือพทิ ยาคม (รัตนปัญโญ) กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตวั ช้ีวดั ท่ีสาคญั ที่เกี่ยวข้องในการทาหนังสืออ่านเพิ่มเติมช้ันประถมศึกษา ปี ที่ 3 (หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม (รัตนปัญโญ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนทุ่งปรือพทิ ยาคม (รัตนปัญโญ), 2553 : 7 - 12) สรุปไดด้ งั น้ี 1. สาระที่ 1 ส่ิงมีชีวติ กบั กระบวนการดารงชีวติ 1.1 สารวจ สงั เกตและอธิบายลกั ษณะตา่ ง ๆ ของตวั เองที่เหมือนพอ่ และเหมือนแม่ 1.2 สารวจ อภิปราย และอธิบายได้ว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อและแม่สู่ ลูกหลาน

13 1.3 สืบคน้ ขอ้ มูล อภิปราย และอธิบายเก่ียวกบั สิ่งมีชีวติ หลายชนิดที่เคยมีอยู่ และสูญพนั ธุ์ ไปแลว้ 1.4 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเก่ียวกับส่ิงมีชีวิตบางชนิดดารงพนั ธุ์มาจนถึง ปัจจุบนั ได้ เน่ืองจากมีลกั ษณะเหมาะสมตอ่ สภาพแวดลอ้ ม รวมท้งั นาความรู้ที่ไดไ้ ปใช้ 1.5 สารวจ สงั เกตอธิบายความสัมพนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม 1.6 สารวจ สังเกตและนาเสนอขอ้ มูลแสดงความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ที่อาศยั อยู่ ร่วมกนั ในส่ิงแวดลอ้ ม 2. สาระท่ี 2 ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม 2.1 สารวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปรายการใชท้ รัพยากรธรรมชาติในทอ้ งถ่ิน 2.2 สืบคน้ ขอ้ มูลอภิปรายและวเิ คราะห์ปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทอ้ งถิ่น 2.3 อภิปรายและนาเสนอวธิ ีการตา่ ง ๆ ในการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งประหยดั คุม้ ค่า 2.4 ร่วมกนั ปฏิบตั ิเก่ียวกบั การใชส้ ิ่งต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวนั อยา่ งประหยดั และคุม้ คา่ 3. สาระท่ี 4 แรงและการเคล่ือนที่ 3.1 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวตั ถุเม่ือถูกแรงกระทา 3.2 ทดลองและอธิบายแรงดึงดูดของโลกทาให้วตั ถุตกลงสู่พ้ืนโลกและทาให้วตั ถุมี น้าหนกั 4. สาระท่ี 5 พลงั งาน 4.1 อธิบายแหล่งพลงั งานจากธรรมชาติท่ีใชผ้ ลิตไฟฟ้า 4.2 อธิบายแหล่งพลงั งานท่ีมีจากดั และแหล่งพลงั งานหมุนเวยี น 4.3 บอกวธิ ีการประหยดั ไฟฟ้าและการใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งปลอดภยั 5. สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 5.1 อธิบายและแสดงใหเ้ ห็นวา่ อากาศมีอยรู่ อบตวั 5.2 อธิบายเก่ียวกบั สมบตั ิของอากาศ 5.3 เขียนแผนภาพนาเสนอส่วนประกอบของอากาศและอธิบายความสาคญั ของอากาศ 5.4 วดั และเปรียบเทียบอุณหภูมิของอากาศในสถานที่และเวลาต่างๆ 5.5 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกบั การเคล่ือนท่ีของอากาศ การเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ หลกั การในการจดั การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ (สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 10 – 14) สรุปไดด้ งั น้ี 1. ความสาคญั ของวทิ ยาศาสตร์ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์เป็ นการเรียนรู้ตลอดชีวติ เน่ืองจาก ความรู้วิทยาศาสตร์เป็ นเรื่องราวเก่ียวกับโลกธรรมชาติ (Natural world) ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลง

14 อยตู่ ลอดเวลา ทุกคนจึงตอ้ งเรียนรู้เพื่อนาผลการเรียนรู้ไปใชใ้ นชีวิตและการประกอบอาชีพ เม่ือผเู้ รียน ไดเ้ รียนวิทยาศาสตร์โดยไดร้ ับการกระตุน้ ให้เกิดความต่ืนเตน้ ทา้ ทายกบั การเผชิญสถานการณ์หรือ ปัญหา มีการร่วมกนั คิด ลงมือปฏิบตั ิจริง ก็จะเขา้ ใจและเห็นความเช่ือมโยงของวทิ ยาศาสตร์กบั วชิ าอื่น ๆ ทาใหส้ ามารถอธิบาย ทานาย คาดการณ์ส่ิงต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล การประสบความสาเร็จในการ เรียนวทิ ยาศาสตร์จะเป็ นแรงกระตุน้ ให้ผเู้ รียนมีความสนใจมุ่งมนั่ ท่ีจะสังเกต สารวจตรวจสอบ สืบคน้ ความรู้ท่ีมีคุณค่าเพ่ิมข้ึนอยา่ งไม่หยุดย้งั การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนจึงตอ้ งสอดคลอ้ งกบั สภาพ จริงในชีวติ โดยใชส้ ื่อเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และคานึงถึงผเู้ รียนที่มีวธิ ีการเรียนรู้ ความสนใจและความ ถนดั ที่แตกตา่ งกนั 2. กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เน้นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ จะเป็ นการ พฒั นาให้ผูเ้ รียนได้รับความรู้และทักษะกระบานการทางวิทยาศาสตร์ ปลูกฝังให้ผูเ้ รียนรู้จักใช้ ความคิดของตนเอง สามารถเสาะหาความรู้หรือวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process) ประกอบดว้ ยข้นั ตอนที่สาคญั ดงั น้ี 2.1 ข้นั สร้างความสนใจ (engagement) 2.2 ข้นั สารวจและคน้ หา (exploration) 2.3 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation) 2.4 ข้นั ขยายความรู้ (elaboration) 2.5 ข้นั ประเมิน (evaluation) 3. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็ นทกั ษะการคิดของนกั วิทยาศาสตร์ที่นามาใชใ้ น การศึกษาคน้ ควา้ สืบเสาะหาความรู้ และแกป้ ัญหาต่าง ๆ ซ่ึงทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ แบง่ ออกเป็น 13 ทกั ษะ ดงั น้ี 3.1 การสังเกต (observation) 3.2 การวดั (measurement) 3.3 การจาแนกประเภท (classification) 3.4 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปช และสเปชกับเวลา(space/space relationships and space/time relationships ) 3.5 การคานวณ (using numbers) 3.6 การจดั กระทา และการสื่อความหมายขอ้ มูล (organizing data and communication) 3.7 การลงความเห็นจากขอ้ มูล (inferring) 3.8 การพยากรณ์ (prediction) 3.9 การต้งั สมมติฐาน (formulating hypotheses) 3.10 การกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ (defining operationally) 3.11 การกาหนดและควบคุมตวั แปร (identifying and controlling variables)

15 3.12 การทดลอง (experimenting) 3.13 การตีความหมายขอ้ มูลและการลงขอ้ สรุป (interpreting data conclusion) ทฤษฎที ่ีเกย่ี วกบั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนตามจุดประสงค์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพื่อให้บรรลุ จุดประสงค์ ดังกล่าวหวงั ที่จะให้ผูเ้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ นและสามารถแก้ปัญหาเป็ น และท่ีสาคญั สามารถดารงชีวิตในประจาวนั ได้ สิ่งสาคญั ที่ควรคานึงถึงคือ หลกั จิตวิทยาที่จะนามาใช้ในการ เรียนการสอน ซ่ึงมีอยหู่ ลายทฤษฎี ดงั น้ี 1. ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญาของฌงั เพยี เจต์ (Jean Piaget) สุรางค์ โคว้ ตระกูล (2537 : 35 – 44) ไดก้ ล่าวถึง ทฤษฎีของ Piaget ในเรื่อง ของพฒั นาการทางสติปัญญา ซ่ึงเพียเจต์ ไดแ้ บ่งข้นั พฒั นาการทางสติปัญญาออกเป็ น 4 ข้นั คือ 1.1 ข้นั sensori motor (แรกเกิด – 2 ขวบ) เป็ นข้นั ของการพฒั นาการทาง สติปัญญาความคิดก่อนระยะเวลาท่ีเด็กอ่อนจะพูดและใชภ้ าษาได้ สติปัญญาของเด็กวยั น้ีแสดงออก โดยการกระทา เดก็ สามารถแกป้ ัญหาไดแ้ มว้ า่ จะไม่สามารถที่จะอธิบายได้ 1.2 ข้นั preoperational (18 เดือน – 7 ขวบ) ความคิดของเด็กวยั น้ีข้ึนอยู่ กบั การรับรู้เป็ นส่วนใหญ่ ไม่สามารถใชเ้ หตุผลไดอ้ ยา่ งลึกซ้ึงยึดตวั เองเป็ นศูนยก์ ลาง ไม่สามารถท่ี จะเขา้ ใจความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 1.3 ข้ัน concrete operations (อายุ 7 – 11 ปี ) พฒั นาการของเด็กเป็ นได้ อย่างรวดเร็วสามารถอ้างอิงเหตุผล เข้าใจในสิ่งที่เป็ นรูปธรรม มีความสามารถคิดยอ้ นกลับได้ 1.4 ข้ัน formal operations (อายุ11 – 15 ปี ) เด็กสามารถคิดในสิ่งหรือ เร่ืองที่เป็นนามธรรมสร้างสมมุติฐานและทฤษฎีได้ คิดหาเหตุผลนอกเหนือจากขอ้ มูลท่ีมีอยู่ ทฤษฎีของ Piaget เป็ นปัจจยั ที่สาคญั ในการพฒั นาดา้ นสติปัญญาและความคิด คือ การที่คนเรามีปะทะสัมพนั ธ์กบั ส่ิงแวดล้อมต้งั แต่แรกเกิด และการปะทะสัมพนั ธ์กนั อยา่ งต่อเน่ือง ระหวา่ งบุคคลกบั สิ่งแวดลอ้ ม มีผลทาให้ระดบั สติปัญญาและความคิดมีการพฒั นาข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง อยู่ตลอดเวลา ทาให้เกิดความคิดเกี่ยวกบั สิ่งต่างๆ ที่เป็ นรูปธรรม และมีพฒั นาการต่อไปเร่ือยๆ จนในที่สุดสามารถคิดเป็ นนามธรรมได้ โดยมีกระบวนการท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2 กระบวนการ คือ การ ปรับตวั และการจดั ระบบโครงสร้างเพียเจต์ได้แบ่งข้นั พฒั นาการทางสติปัญญาออกเป็ นข้นั ๆ เริ่ม ต้งั แต่แรกเกิดจนถึงวยั เจริญเติบโตเต็มที่ การพฒั นาทางสติปัญญาจะพฒั นาไปตามลาดบั ก่อนหลงั 4 ข้นั ใหญ่ ๆ คือข้นั ประสาทสัมผสั และการเคลื่อนไหว ข้นั ก่อนปฏิบตั ิการ ข้นั ปฏิบตั ิการรูปธรรม และข้นั ปฏิบตั ิการนามธรรม

16 ชัยวฒั น์ สุทธิรัตน์ (2552 : 25 – 26) ได้กล่าวถึง ทฤษฎีของ Piaget เป็ นทฤษฎี พฒั นาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ เพียเจต์ (Piaget) เป็ นผูค้ ิดข้ึน มีทฤษฎีการเรียนรู้ และการ ประยกุ ตใ์ ช้ คือ 1. พฒั นาทางการสติปัญญาของบุคคลเป็ นไปตามวยั ซ่ึงแบ่งได้ 4 วยั ดงั น้ี ข้นั รับรู้ดว้ ยประสาทสัมผสั (Sensorimotor period) มีอายอุ ยู่ในช่วง 0 - 2 ปี ข้นั ก่อนปฏิบตั ิการการคิด (Preoperational period) มีอายุอยูใ่ นช่วง 2 – 7 ปี 2 ข้นั น้ีจะมีการรับรู้และการกระทา ส่วนข้นั การคิด แบบรูปธรรม (Concrete operational period) มีอายุอยู่ในช่วง 7 - 11 ปี ข้ันน้ีนอกจากเรียนรู้แบบ รูปธรรมได้ ยงั สามารถเรียนรู้และใช้สัญลกั ษณ์ไดด้ ว้ ย ข้นั สุดทา้ ยเป็ นข้นั การคิดแบบนามธรรม (Formal operational period)มีอายุอยู่ในช่วง11-15 ปี ข้ันน้ีคิดเป็ นนามธรรม,ต้ังสมมติฐานและใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ได้ 2. ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผใู้ หญ่ 3. กระบวนการทางสติปัญญา มีลกั ษณะการซึมซบั หรือการดูดซึม (assimilation) และการปรับและการจดั ระบบ(accommodation) การซึมซับหรือดูดซับ เป็ นกระบวนการทางสมอง ในการรับประสบการณ์ เร่ืองราว และขอ้ มูลตา่ งๆ เขา้ มาสะสมเกบ็ ไวเ้ พือ่ ใชป้ ระโยชน์ต่อไป การปรับและการจดั ระบบ เป็ นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนจากข้นั ของการปรับ หากการปรับเป็ นไปอยา่ งผสมผสาน กลมกลืน จะก่อให้เกิดสภาพท่ีมีความสมดุลข้ึน หากบุคคลไม่ สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เขา้ กนั ได้ ก็จะเกิดภาวะความไม่สมดุลข้ึน ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดความขดั แยง้ ทางปัญญาข้ึนในตวั บุคคล สรุปได้วา่ ข้นั ตอนในการพฒั นาสติปัญญาของเพียเจต์ ครูผูส้ อนวิชาวิทยาศาสตร์ จะต้องตระหนักว่าถึงวยั ของผูเ้ รียน เพื่อใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ให้เหมาะสมกับวัย ต้องคานึงถึงการพัฒนาการของเด็กวยั ประถมศึกษาอยู่ในข้ันพัฒนาการ ท่ี 3 (อายุ 7 – 11 ปี ) จะมีการเรียนรู้แบบรูปธรรม เพราะฉะน้ันครูผูส้ อนจึงมีความจาเป็ นอยา่ งย่ิงที่ จะต้องเข้าใจข้นั ตอนในการพฒั นาด้านสติปัญญาทุกข้นั ของผูเ้ รียนในระดับน้ีไม่ว่าการรับรู้ การ ปฏิบตั ิจริง การหาเหตุผล การเชื่อมโยงความรู้ตามทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในแบบ รูปธรรมหรือใช้สัญลกั ษณ์ เพื่อให้นาไปใช้กบั ผูเ้ รียนได้ตรงตามวยั ของผูเ้ รียน ดังที่เพียเจต์เช่ือว่า คนเราต้องมีปฏิสัมพนั ธ์กับสิ่งแวดล้อมและจะตอ้ งมีการปรับตวั ให้เขา้ กับสิ่งแวดล้อมและความ เปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการค้นพบ (Discovery learning) ของบรูเนอร์ (Bruner) พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ (2549 : 50 – 52) ได้กล่าวถึง ทฤษฎีของบรู เนอร์ (Bruner) ซ่ึงสนใจในเร่ืองพัฒนาการของเด็กและธรรมชาติของกระบวนการศึกษาของบรูเนอร์ (Bruner) กล่าววา่ ไม่ว่าวิชาใดก็ตามเราสามารถนามาสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ถา้ เราไดจ้ ดั แบบ การสอนที่เหมาะสมกบั สติปัญญา การพฒั นาการทางสติปัญญาจาเป็นจะตอ้ งสร้างมโนทศั น์เขาเสนอ

17 ความคิดว่าความรู้เป็ นเหตุเป็ นผล ซ่ึงได้จากประสบการณ์แบบจาลองมีข้ันตอนในการสร้าง 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี 2.1 ข้นั การเรียนรู้จากการกระทา ข้ันของการเรียนรู้จากการใช้ประสาท สมั ผสั รับรู้ส่ิงต่าง ๆ การลงมือกระทาช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้ไดด้ ี การเรียนรู้เกิดจากการกระทา 2.2 ข้นั การเรียนรู้จากความคิด เป็ นข้นั ท่ีเด็กไดส้ ร้างภาพในจินตนาการของ ตนเอง โดยพฒั นามาจากประสบการณ์เดิมท่ีมีอยู่ ภาพในจิตนาการจะช่วยให้เด็กเขา้ ใจมโนทัศน์ ไดง้ ่าย แต่ยงั ไม่สามารถอธิบายได้ 2.3 ข้นั การเรียนรู้สัญลกั ษณ์และนามธรรม เด็กจะพฒั นาความสามารถที่จะ หาตวั เลือกอ่ืนๆ ไดเ้ ดก็ สามารถอธิบายมโนทศั นเ์ ป็นคาพูดแทนการสร้างภาพในจินตนาการ ดงั น้นั การสร้างหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม จึงควรจดั เรียบเรียงให้สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการเรียนรู้ของบรูเนอร์ (Bruner) กล่าว คือ กระบวนการเรียนรู้ เป็ นกระบวนการเชิงปฏิบตั ิ จึงจาเป็ นตอ้ งกระตุน้ ใหน้ กั เรียนทางานดว้ ยตนเอง ใหเ้ กิดความรู้ใหม่ท่ีมีมากกวา่ ขอ้ มูลท่ีไดร้ ับ และ ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการสนทนากบั ครูผสู้ อน การเรียนรู้เกิดจากการท่ีผเู้ รียนเช่ือมโยงขอ้ มูลต่างๆ ท่ีไดร้ ับใหม่กบั กรอบความรู้เดิมท่ีมีอยู่ อนั จะทาให้ผูเ้ รียนสามารถคิดไปไดไ้ กลกว่าขอ้ มูลท่ีไดร้ ับ ตามแนวคิดของบรูเนอร์ (Bruner) หลกั สูตรและครูจะมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนน้ัน ท้งั หลกั สูตรและครูจะตอ้ งใชเ้ ทคนิคและวธิ ีต่างๆ ในการกระตุน้ และจูงใจเดก็ ใหอ้ ยากรู้ อยากเห็น มีการ ลาดบั เน้ือหาแบบต่าง ๆ และมีการยดื หยุน่ สาหรับเด็กบางคนจะมีการขา้ มบางข้นั ตอนในขณะที่เด็ก คนอ่ืน ๆ ตอ้ งทาโดยตลอดท้งั หมด ครูผสู้ อนตอ้ งมีวิธีการหลาย ๆ อยา่ งที่จะนาผเู้ รียนไปสู่จุดหมาย เดียวกนั ชัยวฒั น์ สุทธิรัตน์. (2552 : 27 – 28) ได้กล่าวถึงทฤษฎีของบรูเนอร์ (Bruner) เป็ น ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญา บรูเนอร์ไดพ้ ฒั นาทฤษฎีของ เพียเจต์ โดยบรูเนอร์ เชื่อวา่ มนุษยเ์ ลือก จะรับรู้สิ่งท่ีตนเองสนใจ และการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการคน้ พบดว้ ยตนเอง (discovery learning) แนวคิด/ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกบั การเรียนรู้ และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียน คือ 1. การจดั โครงสร้างของความรู้ใหม้ ีความสมั พนั ธ์และสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสติปัญญาของเด็กมีผลต่อการจดั การเรียนรู้ของเดก็ 2. การจดั หลกั สูตรและการเรียนการสอน ใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั ความพร้อม ของผเู้ รียนและสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสติปัญญาของผเู้ รียนจะช่วยใหก้ ารเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ 3. การคิดแบบหยง่ั รู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอยา่ งอิสระที่สามารถ ช่วยพฒั นาความคิดริเร่ิมสร้างสรรคไ์ ด้ 4. แรงจูงใจภายในเป็ นปัจจยั สาคญั ที่จะช่วยใหผ้ เู้ รียนประสบผลสาเร็จใน การเรียนรู้ 5. ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญาของมนุษยแ์ บง่ เป็ น 3 ข้นั ใหญ่ๆ

18 - ข้นั การเรียนรู้จากการกระทา (Enactive stage) คือ ข้นั ของการ เรียนรู้จากการใชป้ ระสาทสัมผสั รับรู้สิ่งตา่ งๆ การลงมือกระทาช่วยใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรู้ไดด้ ี - ข้นั การเรียนรู้จากการคิด (Iconic stage) เป็นข้นั ท่ีเด็กสามารถ สร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้ - ข้นั การเรียนรู้สญั ลกั ษณ์และนามธรรม (Symbolic stage) เป็น ข้นั การเรียนรู้สิ่งที่ซบั ซอ้ น และเป็นนามธรรมได้ 6. การเรียนรู้เกิดข้ึนไดจ้ ากการท่ีคนเราสามารถสร้างความคิดรวบยอด หรือ สามารถจดั ประเภทของส่ิงต่างๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 7. การเรียนรู้ได้ผลดีที่สุด คือ การให้ผูเ้ รียนคน้ พบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง สรุปได้ว่า เป็ นทฤษฎีการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการคน้ พบด้วยตนเอง แนวคิด ของบรูเนอร์ (Bruner) มีส่วนคล้ายกับทฤษฎีพฒั นาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ แต่บรูเนอร์ (Bruner) เนน้ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มกบั พฒั นาการทางสติปัญญา บรูเนอร์ถือวา่ พฒั นาการ ทางความรู้ความเขา้ ใจจะทาไดโ้ ดยผา่ นข้นั ตอน 3 ข้นั คือ การกระทา การเกิดภาพในใจ และการใช้ สัญลกั ษณ์ ซ่ึงข้นั น้ีเปรียบไดก้ บั ข้นั ปฏิบตั ิการแบบรูปธรรมของเพียเจตใ์ นการสอนแบบคน้ พบดว้ ย ตนเองของบรูเนอร์ (Bruner) สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 เป็ นวยั ท่ีเรียนรู้จากการกระทาใน แบบรูปธรรม ซ่ึงครูผูส้ อนสามารถนามาใช้กบั ผูเ้ รียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามลาดบั ให้ผูเ้ รียนแก้ปัญหาด้วยตนเอง พร้อมท้ังมีการเสริมแรงไปในตวั ด้วย ครูผูส้ อนต้องกาหนดวสั ดุ อุปกรณ์มาใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิ ใหผ้ เู้ รียนแสดงผลการแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง สรุปผลที่ไดม้ าจากการ แกป้ ัญหา เพราะฉะน้นั ก่อนที่จะทาการเรียนการสอน ครูผสู้ อนวชิ าวิทยาศาสตร์จะตอ้ งเตรียมตวั ให้ พร้อม เมื่อถึงเวลาเรียนตอ้ งกระตุน้ ผูเ้ รียนให้พร้อมที่จะเรียนก่อน โดยมีการนาเขา้ สู่บทเรียนอย่าง หลากหลาย ในขณะที่ทากิจกรรมต่างๆ มีการมอบหมายงาน ใบทากิจกรรม แบบฝึ กหดั ใบงาน ให้ปฏิบตั ิตามทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และมีการเสริมแรงให้กบั ผูเ้ รียนในวยั น้ี เพื่อให้ บรรลุตามหลกั สูตรที่วา่ ให้ผเู้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น แกป้ ัญหาเป็ น และสามารถดารงชีวิตอยใู่ นสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสุข 3. ทฤษฎีการเรียนรู้จากการปฏิบตั ิ (Learning by doing) ของจอห์น ดิวอ้ี (John Dewey) รายงานการประชุมทางวิชาการวิจยั ทางการศึกษา (2548 : 161 – 162) ไดก้ ล่าวถึง ทฤษฎีของจอห์น ดิวอ้ี (John Dewey) ว่าการจดั การเรียนการสอนโดยยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง คืออะไร แนวคิดน้ีมีท่ีมาจากแนวคิดทางการศึกษาของ จอห์น ดิวอ้ี ซ่ึงไดเ้ ป็ นตน้ คิดในเรื่องของ “การเรียนรู้โดยการกระทา” หรือ “Learning by Doing” (Dewey ,1963) นับได้ว่าเป็ นแนวคิดท่ี แพร่หลายและได้รับการยอมรับทว่ั โลกมานานแล้ว สาหรับจอห์น ดิวอ้ี (John Dewey) ได้เสนอ แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้ Learning by doing ท่ีเช่ือว่าผูเ้ รียนต้องเรียนรู้ควบคู่ไปกับการ กระทา และผูเ้ รียนตอ้ งมีการทาความเขา้ ใจความรู้ใหม่โดยอาศยั ประสบการณ์เดิมที่ส่ังสมมาเป็ น

19 พ้ืนฐานการเรียนรู้ อนั เป็ นความพยายามเชิงสังคม ก่อให้เกิดรูปแบบการเรียนการสอนที่เรียกว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือ ที่เน้นความสาคญั ของการสร้างความรู้โดยกลุ่มคนในสังคมการจดั การเรียน การสอน วิทยาศาสตร์โดยใหผ้ เู้ รียนเป็นผลู้ งมือปฏิบตั ิจดั กระทาน้ีนบั วา่ เป็นการเปล่ียนบทบาทในการ เรียนรู้ของผูเ้ รียนจากการเป็ น “ผูร้ ับ” มาเป็ น “ผูเ้ รียน” และเปล่ียนบทบาทของครูจาก “ผูส้ อน” หรือ “ผถู้ ่ายทอดขอ้ มูลความรู้” มาเป็ น “ผจู้ ดั ประสบการณ์การเรียนรู้” ใหผ้ เู้ รียน ซ่ึงการเปลี่ยนแปลง บทบาทน้ีเท่ากบั เป็นการวา่ เปล่ียนจุดเนน้ ของการเรียนรู้วา่ อยูท่ ่ีผเู้ รียนมากกวา่ อยทู่ ่ีผสู้ อน ดงั น้นั ผเู้ รียน จึงกลายเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนการสอนท้งั หมด เพราะบทบาทในการเรียนรู้ส่วนใหญ่ไมว่ า่ การทา กิจกรรม การสร้างความรู้จะอยทู่ ่ีตวั ผเู้ รียนเป็นสาคญั การจดั การเรียนรู้เพื่อฝึ กการแก้ปัญหายึดหลกั ทฤษฎีการเรียนรู้ของ John Dewey (1940 – 1960 อา้ งถึงใน สุรางค์ โคว้ ตระกูล, 2533) ท่ีถือวา่ การเรียนรู้เกิดข้ึนไดก้ ็ต่อเมื่อผูเ้ รียนไดล้ ง มือกระทาเอง “ Learning by Doing” วธิ ีสอนจึงใชว้ ธิ ีการแกป้ ัญหา 5 ข้นั ดงั น้ี 1) มีประสบการณ์ด้วยตนเองว่าตนกาลงั เผชิญกบั ปัญหาท่ีตอ้ งแก้ และมี ความตอ้ งการท่ีจะแกป้ ัญหาท่ีกาลงั เผชิญอยู่ 2) พยายามหาทางท่ีจะทราบให้แน่นอนวา่ ปัญหาท่ีกาลงั เผชิญอยู่คืออะไร หรือเรียกวา่ ใหค้ าจากดั ความของปัญหา 3) คิดต้งั สมมุติฐานหาทางแกป้ ัญหา 4) พิสูจน์สมมุติฐานที่คิดต้งั ข้ึนถูกหรือไม่ โดยการสังเกตและเก็บขอ้ มูล 5) วิเคราะห์การแกป้ ัญหา สรุปเป็ นหลกั การและกฎเกณฑใ์ นการแกป้ ัญหา คร้ังต่อไป สรุปไดว้ า่ แนวคิดของจอห์น ดิวอ้ี เป็ นทฤษฎียดึ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลางครูผสู้ อนวชิ า วิทยาศาสตร์เป็ นผูจ้ ดั กิจกรรมการเรียนการสอน จดั เตรียมสถานการณ์ให้ผูเ้ รียนปฏิบตั ิตามทกั ษะ กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ไดป้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเอง ในการจดั กิจกรรมตอ้ งคานึงถึงวยั ของผเู้ รียน การรับรู้ ในกิจกรรมต่างๆ รวมท้งั ส่ือตอ้ งจดั ให้เหมาะสมกบั วยั ของผูเ้ รียน เน้นให้ผูเ้ รียนเป็ นผูล้ งมือกระทา ศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง และทางานเป็ นกลุ่มในการปฏิบตั ิตามข้นั ตอนทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ นอกจากน้ีครูผูส้ อนวิชาวิทยาศาสตร์ตอ้ งมีการจดั กิจกรรมต่างๆ เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคญั ควบคูก่ ารสร้างความรู้และนาความรู้ที่ไดไ้ ปต่อยอดความรู้ของตนเองดว้ ย 4. การเรียนรู้อยา่ งมีความหมายของออซูเบล (Asubel) รายงานการประชุมทางวิชาการวิจยั ทางการศึกษา (2548 : 163 – 164) ไดก้ ล่าวถึง ทฤษฎีของออซูเบล (Asubel) วา่ การเรียนรู้จะเกิดข้ึนไดถ้ า้ ในการเรียนรู้สิ่งใหมน่ ้นั เช่ือวา่ การเรียนรู้ จะเกิดข้ึนไดเ้ ม่ือผเู้ รียนมีความรู้พ้ืนฐานที่สามารถเช่ือมโยงความรู้ใหม่ไดก้ บั โครงสร้างความรู้เดิมท่ีมี อยู่ นามาจดั เป็ นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย แต่ถ้าผูเ้ รียนไม่สามารถนาสิ่งใหม่ไปสัมพนั ธ์กบั ความรู้เดิมได้ เรียกวา่ เป็ นการเรียนรู้ที่ไม่มีความหมาย หรือเรียนแบบทอ่ งจา ออซูเบลไดก้ าหนดการ

20 เรียนรู้เป็ น 2 มิติ คือ มิติท่ี 1 วิธีการเรียนรู้มี 2 แบบ คือการเรียนรู้แบบรับรู้ไว้ ผูส้ อนบอกให้ ท้ังหมด ผูเ้ รียนไม่ต้องค้นคว้า และการเรียนรู้แบบค้นพบด้วยตนเองน้ี ผูเ้ รียนต้องค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ มิติที่ 2 กระบวนการเรียนรู้ภายในของผเู้ รียนมี 2 แบบ คือ การเรียนรู้แบบท่องจา เม่ือเรียนรู้แลว้ ท่องจาไวเ้ พ่ือเป็ นประสบการณ์ของตนเองกบั การเรียนรู้อยา่ งมีความหมาย เมื่อเรียนรู้ แล้วสามารถเช่ือมโยงความรู้ใหม่ให้สัมพนั ธ์กบั ความรู้เดิมการสอนโดยใช้หลกั การเรียนรู้อย่างมี ความหมายของออซูเบล มี 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี 4.1 ก่อนจะสอนส่ิงใดใหม่ ตอ้ งสารวจความรู้ความเขา้ ใจของเด็กเสียก่อนวา่ มีพอท่ีจะทาความเขา้ ใจเรื่องที่จะเรียนใหม่หรือไม่ ถา้ ไม่มีจะตอ้ งจดั ให้ 4.2 ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนจาสิ่งที่เรียนไปแลว้ ไดโ้ ดยวธิ ีช่วยใหผ้ ูเ้ รียนมองเห็นความ เหมือนและความแตกตา่ งของความรู้ใหม่และความรู้เดิม ตอ้ งให้ผเู้ รียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ใหม่ เขา้ กบั ความรู้เดิมได้ เพ่ือช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้และการจาถึงแมว้ า่ ออซูเบลจะสนบั สนุนแบบอธิบาย ใหห้ มด แต่ก็ยงั สนบั สนุนการเรียนการสอนแบบคน้ พบดว้ ย โดยมีความเห็นวา่ การเรียนแบบคน้ พบ เหมาะสาหรับเด็กท่ีมีอายุระหว่าง 7–12 ปี ซ่ึงยงั อยู่ในวยั ที่สามารถคิดแก้ปัญหาหรือเหตุผลได้ กบั สิ่งที่เป็ นรูปธรรม ส่วนการสอนแบบอธิบายหมดน้นั เหมาะกบั เด็กท่ีมีอายเุ กินกวา่ 12 ปี ข้ึนไป ซ่ึ งเป็ นวัยท่ีสามารถท่ีจะคิดหาเหตุผลในการแก้ปั ญ หาต่างๆ ได้กับสิ่ งที่เป็ นนามธรรม ชัยวฒั น์ สุทธิรัตน์ (2552 : 28 – 29) ได้กล่าวถึง ทฤษฎีของออซูเบล (Asubel) ว่า ทฤษฎีน้ีอธิบายการเรียนรู้ที่เรียกวา่ “Meaningful verbal learning” คือ 1. ทฤษฎีของ ออซูเบล เน้นความสาคญั ของการเรียนรู้อยา่ งมีความเขา้ ใจ และมีความหมาย การเรียนรู้เกิดข้ึนเมื่อผูเ้ รียนไดเ้ รียนรวมหรือเชื่อมโยง (subsume) สิ่งที่เรียนรู้ใหม่ หรือขอ้ มูลใหม่ ซ่ึงอาจจะเป็ นความคิดรวบยอด (concept) หรือความรู้ที่ไดร้ ับใหม่ ในโครงสร้าง สติปัญญากบั ความรู้เดิมที่อยใู่ นสมองของผเู้ รียนอยแู่ ลว้ 2. ออซู เบล ให้ความหมายการเรี ยนรู้อย่างมีความหมาย (meaningful learning) วา่ เป็ นการเรียนที่ผูเ้ รียนได้รับมาจากการท่ีผูส้ อน อธิบายสิ่งท่ีจะตอ้ งเรียนรู้ให้ทราบ และ ผเู้ รียนรับฟังดว้ ยความเขา้ ใจ โดยผูเ้ รียนเห็นความสัมพนั ธ์ของส่ิงที่เรียนรู้กบั โครงสร้างพุทธิปัญญาที่ ไดเ้ กบ็ ไวใ้ นความทรงจาและจะสามารถนามาใชใ้ นอนาคต 3. ออซูเบล ไดเ้ สนอแนะเก่ียวกบั Advance organizer เป็ นเทคนิคท่ีช่วยให้ ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้อยา่ งมีความหมายจากการสอนหรือบรรยายของผูส้ อน โดยการสร้างความเช่ือมโยง ระหวา่ งความรู้ท่ีมีมาก่อนกบั ขอ้ มูลใหม่หรือความคิดรวบยอดใหม่ท่ีจะตอ้ งเรียน จะช่วยให้ผเู้ รียนเกิด การเรียนรู้อยา่ งมีความหมายท่ีไม่ตอ้ งท่องจา สรุปได้ว่า แนวคิดของออซูเบล เป็ นทฤษฎีที่ผูเ้ รียนมีความรู้พ้ืนฐานท่ีสามารถ เชื่อมโยงความรู้ใหม่ได้กับโครงสร้างความรู้เดิมท่ีมีอยู่ ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์สามารถ จดั กระบวนการเรียนการสอนใหต้ รงตามวยั โดยเฉพาะช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 มีอายุ 8 - 9 ปี เป็ น

21 วยั ท่ีตอ้ งใช้ความรู้ท้งั อธิบายให้ฟัง และความรู้ที่ผูเ้ รียนตอ้ งคิดคน้ ศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองจาก ความรู้ใหม่ๆ แลว้ นามาเชื่อมโยงกบั ความรู้เดิม โดยเฉพาะความรู้ที่สามารถไดจ้ ากกระทาจบั ตอ้ งได้ ผูเ้ รียนจะมีความเขา้ ใจเป็ นอย่างดี และผูเ้ รียนในวยั น้ีเป็ นวยั ท่ีสามารถคิดแกป้ ัญหาไดด้ ีกบั สิ่งที่จบั ตอ้ งได้ คิดคน้ หาความรู้กบั สิ่งท่ีเป็ นวตั ถุ รูปภาพ การจดั กิจกรรมการปฏิบตั ิจากทกั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ไดด้ ี 5. ทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองของวกี อ็ ทสก้ี (Vygotsky) ชยั วฒั น์ สุทธิรัตน์ (2552 : 37 – 39) ไดก้ ล่าวถึงทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง ของวีก็อทสก้ี (Vygotsky) ว่า Vygotsky ให้ความสาคญั กบั วฒั นธรรมและสังคมมาก โดยสถาบนั สังคมต่างๆ เริ่มต้งั แต่สถาบนั ครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อพฒั นาการทางเชาวป์ ัญญาของแต่ละบุคคล ส่วนภาษาน้นั เป็นเคร่ืองมือสาคญั ของการคิด และการพฒั นาเชาวป์ ัญญาข้นั สูง พฒั นาการทางภาษา และทางความคิดของเด็กเริ่มด้วยการพฒั นาท่ีแยกจากกนั แต่เม่ืออายุมากข้ึนพฒั นาการท้งั 2 ด้าน จะเป็ นไปร่วมกัน วีก็อทสก้ี เน้นความสาคญั ของความแตกต่างระหว่างบุคคลและการให้ความ ช่วยเหลือผเู้ รียนเพื่อให้กา้ วหนา้ จากระดบั พฒั นาการท่ีเป็ นอยูไ่ ปถึงระดบั พฒั นาการท่ีเด็กมีศกั ยภาพ จะไปถึงได้ แนวคิดเก่ียวกับ “Zone of proximal development’’ หรือ “Zone of proximal growth’’ ที่วกี ็อทสก้ีเสนอส่งผลใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเก่ียวกบั การสอน ซ่ึงเคยมีลกั ษณะเป็นเส้นตรง (linear) หรืออยู่ในแนวเดียวกนั เปลี่ยนแปลงไปเป็ นอยู่ในลกั ษณะท่ีเหล่ือมกนั โดยการสอนจะตอ้ ง นาหน้าระดบั พฒั นาการเสมอ นอกจากน้ีวีก็อทสก้ี ยงั มีความเชื่อว่าการให้ความช่วยเหลือช้ีแนะ ให้แก่เด็ก ซ่ึ งอยู่ในลักษ ณ ะของ “assisted learning’’ ห รื อ “scaffolding’’ เป็ นส่ิ งส าคัญ มาก เพราะสามารถช่วยพฒั นาเด็กให้ไปถึงระดบั ที่อยู่ในศกั ยภาพของเด็กได้ การประยุกต์ใช้ในการจดั การเรียนรู้ ทาไดด้ งั น้ี 5.1 ผูส้ อนจะตอ้ งเป็ นตวั อยา่ งและฝึ กฝนกระบวนการเรียนรู้ให้ผูเ้ รียนเห็น ผเู้ รียนจะตอ้ งฝึกฝนการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง 5.2 การเรียนรู้ทกั ษะตา่ งๆ จะตอ้ งมีประสิทธิภาพถึงข้นั ทาไดแ้ ละแกป้ ัญหา ไดจ้ ริง 5.3 ในการเรียนการสอน ผเู้ รียนจะเป็นผมู้ ีบทบาทในการเรียนรู้อยา่ งต่ืนตวั (active) ผเู้ รียนจะตอ้ งเป็ นผจู้ ดั กระทากบั ขอ้ มูลหรือประสบการณ์ต่างๆ และจะตอ้ งสร้างความหมาย ให้กบั ส่ิงน้นั ดว้ ยตนเอง โดยการใหผ้ เู้ รียนไดอ้ ยใู่ นบริบทจริง การจดั กิจกรรมท่ีเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียน มีปฏิสัมพนั ธ์กบั ส่ือ วสั ดุอุปกรณ์ส่ิงของหรือขอ้ มูลต่างๆ ที่เป็ นของจริงและมีความสอดคลอ้ งกบั ความสนใจของผเู้ รียน โดยผเู้ รียนสามารถจดั กระทาศึกษา สารวจ วิเคราะห์ ทดลอง ลองผดิ ลองถูก กบั สิ่งน้นั ๆ จนเกิดเป็นความรู้ความเขา้ ใจข้ึน

22 5.4 ในการจดั การเรียนรู้ผูส้ อนจะตอ้ งพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรม (socio moral) ให้เกิดข้ึน โดยผูเ้ รียนจะต้องมีโอกาสเรียนรู้ในบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการ ปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม ซ่ึงทางสงั คมถือวา่ เป็นปัจจยั สาคญั ของการสร้างความรู้ 5.5 ในการเรียนการสอน ผเู้ รียนควรมีบทบาทในการเรียนรู้อยา่ งเตม็ ที่ โดย ผเู้ รียนจะนาตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้ 5.6 ในการจดั เรียนการสอนแบบสร้างความรู้ผูส้ อนจะมีบทบาทเป็ นผูใ้ ห้ ความร่วมมือ อานวยความสะดวก และช่วยเหลือผเู้ รียนในการเรียนรู้ คือ การเรียนการสอนจะตอ้ ง เปลี่ยนจาก “การให้ความรู้” (instruction) ไปเป็ น “การให้ผูเ้ รียนสร้างความรู้” (construction) ตอ้ ง ทาหน้าท่ีช่วยสร้างแรงจูงใจภายในใหเ้ กิดแก่ผูเ้ รียน และจดั เตรียมกิจกรรมการเรียนรู้ที่ตรงกบั ความ สนใจของผูเ้ รียน ดาเนินกิจกรรมให้เป็ นไปในทางที่ส่งเสริมพฒั นาการของผูเ้ รียน ให้คาปรึกษา แนะนาท้งั ทางด้านวิชาการและด้านสังคมแก่ผูเ้ รียน ดูแลให้ความช่วยเหลือผูเ้ รียนที่มีปัญหาและ ประเมินการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ผูส้ อนตอ้ งมีความเป็ นประชาธิปไตยและมีเหตุผลในการสัมพนั ธ์ กบั ผเู้ รียนดว้ ย 5.7 การประเมินผล ควรมีลกั ษณะท่ียดื หยนุ่ ในแต่ละบุคคล โดยใชว้ ิธีการ หลากหลาย ซ่ึงอาจเป็ นการประเมินจากเพื่อน แฟ้มผลงาน (portfolio) รวมท้งั การประเมินตนเอง ดว้ ย การวดั ผลตอ้ งอาศยั บริบทจริงที่มีความซับซอ้ นเช่นเดียวกบั การจดั การเรียนรู้ที่ตอ้ งอาศยั บริบท กิจกรรม และงานที่เป็ นจริง การวดั ผลจะตอ้ งใช้กิจกรรมหรืองานในบริบทจริงด้วย ซ่ึงในกรณี ท่ีจาเป็ นตอ้ งจาลองของจริงก็สามารถทาไดแ้ ตเ่ กณฑท์ ี่ใชค้ วรเป็ นเกณฑ์ท่ีใชใ้ นโลกของความเป็ นจริง (real world criteria) ดว้ ย ทิศนา แขมมณี. (2554 : 90 - 96) ได้กล่าวว่า ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของวีก็อทสก้ี เป็ นรากฐานสาคัญของทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) การ ประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีในการจดั การเรียนการสอน มีดงั น้ี ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ ผลของการเรียนรู้ มุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้ (Process of Knowledge Construction) และการตระหนักรู้ ในกระบวนการน้ัน เป้าหมายของการสอนจะเปลี่ยนแปลงจากการถ่ายทอดให้ผูเ้ รียนไดร้ ับสาระ ความรู้ที่แน่นอนตายตวั ไปสู่การสาธิตกระบวนการและการสร้างความหมายที่หลากหลาย ในการ เรียนการสอน ผูเ้ รียนจะเป็ นผูม้ ีบทบาทในการเรียนรู้อย่างต่ืนตวั ผูเ้ รียนจะตอ้ งเป็ นผูจ้ ดั กระทากับ ขอ้ มูลหรือประสบการณ์ต่าง ๆ และจะตอ้ งสร้างความหมายให้กับส่ิงน้ันด้วยตนเอง ครูจะตอ้ ง พยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรมให้เกิดข้ึน กล่าวคือ ผูเ้ รียนจะตอ้ งมีโอกาสเรียนรู้ใน บรรยากาศที่เอ้ือต่อการปฏิสัมพนั ธ์ทางสังคม ผูเ้ รียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยผูเ้ รียน จะนาตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้ เช่น ผูเ้ รียนได้เป็ นผูท้ ี่เลือกส่ิงท่ีต้องการเรียนเอง ต้งั กฎระเบียบเอง แก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนเอง เป็ นต้น ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ครูมี

23 บทบาทแตกต่างไปจากเดิม คือ จากการเป็ นผูถ้ ่ายทอดความรู้และควบคุมการเรียนรู้ เปลี่ยนไปเป็ น การให้ความร่วมมือ อานวยความสะดวก และช่วยเหลือผูเ้ รียนในการเรียนรู้ คือ การเรียนการสอน จะตอ้ งเปล่ียนจาก “Instruction” ไปเป็ น “Construction” คือเปลี่ยนจาก “การให้ความรู้” ไปเป็ น “การให้ผูเ้ รียนสร้างความรู้” บทบาทของครูก็คือ จะตอ้ งทาหนา้ ท่ีช่วยสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิด แก่ผูเ้ รียน จดั เตรียมกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีตรงกบั ความสนใจของผูเ้ รียนและในด้านการประเมินผล การเรียนการสอนเนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองน้ี ข้ึนกบั ความสนใจและ การสร้างความหมายท่ีแตกต่างกนั ของบุคคล สรุปไดว้ า่ แนวคิดของทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองของวีก็อทสก้ี (Vygotsky) ครูผูส้ อนวิชาวิทยาศาสตร์เปล่ียนบทบาทตนเองจากครูผูส้ อนมาเป็ นบทบาทผูอ้ านวยความสะดวก ให้กบั ผูเ้ รียน จดั กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ให้ผูเ้ รียนเกิดการคิด ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้ ดว้ ยตนเองจากการทากิจกรรมต่างๆ ท่ีครูผูส้ อนจดั บริบทไวใ้ ห้ ครูผูส้ อนจะมีการกระตุน้ ให้ผูเ้ รียน มีการตื่นตวั ในสร้างความรู้ตามทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พร้อมท้งั ให้การเสริมแรงไป ในตวั ดว้ ย ซ่ึงความรู้ท่ีผูเ้ รียนไดเ้ ป็ นความรู้ท่ีคงทนทาให้ผูเ้ รียนไม่ลืมง่าย ผูเ้ รียนมีโอกาสไดส้ ร้าง ความคิดและนาความคิดของตนเองไปต่อยอดให้กบั คนอื่นๆ ได้ดี เป็ นความรู้ท่ีถาวร ท้งั น้ีท้งั น้ัน ข้ึนอยกู่ บั พ้ืนฐานและความแตกตา่ งของผเู้ รียนดว้ ย เทคนิควธิ ีการสอนวทิ ยาศาสตร์ 1. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ (Inquiry method) (สถาบนั ส่งเสริมการ สอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2554 : 13-18) สรุป การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง วิธีการท่ีนกั วิทยาศาสตร์ใชเ้ พื่อศึกษาส่ิง ตา่ งๆ รอบตวั เราอยา่ งเป็นระบบ และเสนอคาอธิบายเก่ียวกบั สิ่งที่ศึกษาดว้ ยขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการทางาน ทางวทิ ยาศาสตร์ มีวธิ ีการอยหู่ ลากหลาย เช่น การสารวจ การสืบคน้ การทดลอง การสร้างแบบจาลอง เป็ นตน้ การจดั การเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ เป็ นการจดั การเรียนการสอน ที่ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการทานาย จดั กระทาและตีความหมายขอ้ มูล วธิ ีน้ีมีศกั ยภาพสูง ในการจูงใจผเู้ รียนและทาให้ผเู้ รียนตื่นตวั เป็ นการกระตุน้ ความอยากรู้อยากเห็นและเป็ นการพฒั นา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ควบคู่ไปดว้ ย เป็ นวิธีสอนวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับวา่ มี ความเหมาะสมกบั ธรรมชาติของวิชา เป็ นการสอนที่เน้นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่จะช่วยให้ นักเรียนได้ค้นพบความจริงต่าง ๆ ด้วยตนเอง บทบาทหน้าที่ของครูในการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ คือเป็ นผูส้ ร้างสถานการณ์ที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรียนไดม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ดว้ ยตวั นกั เรียนเอง เป็ นผูจ้ ดั หาวสั ดุ อุปกรณ์เพ่ืออานวยความสะดวกในการศึกษาคน้ ควา้ เป็ นผูถ้ ามคาถาม

24 ต่าง ๆ ท่ีจะช่วยนาทางให้นักเรียนได้รู้จกั ศึกษาคน้ หาความรู้ต่าง ๆ เทคนิคการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้มี 3 แนวทาง คือแนวทางการใช้เหตุผล แนวทางการใชก้ ารคน้ พบ และแนวทางการใชก้ าร ทดลอง การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใชแ้ นวทางการใชเ้ หตุผล ครูตอ้ งช้ีนานกั เรียนใหส้ รุปเป็ น หลักการทั่วไปได้โดยการใช้เหตุผล ซ่ึงครูต้องใช้คาถามที่เหมาะสม และต้องเลือกแรงจูงใจท่ี เหมาะสม 2. การสอนแบบคน้ พบ (Discovery method) การคน้ พบ และการสืบเสาะหาความรู้ ว่านักการศึกษาจานวนมากใช้คาสองคาน้ีใน ความหมายเดียวกัน คารินและซันด์ ได้ให้ความหมายของการค้นพบว่า การค้นพบจะเกิดข้ึน กต็ ่อเม่ือบุคคลไดใ้ ชก้ ระบวนการคิดอยา่ งมากกระบวนการท่ีใชค้ วามรู้ความคิดในการคน้ พบ เช่น การ สังเกต การจาแนกประเภท การวดั การพยากรณ์การอธิบาย การลงความคิดเห็น เป็ นต้น ใน การสอนแบบคน้ พบเป็ นการสอนที่เน้นกระบวนการตอบสนองของนกั เรียนต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง บทบาทของครูเป็ นผูช้ ่วยเหลือ และเป็ นท่ีปรึกษาของนักเรียน ทกั ษะและความชานาญ ในการจดั กิจกรรมการสอนของครูเป็นสิ่งที่ช่วยใหก้ ารสอนแบบคน้ พบประสบความสาเร็จ 3. การสอนแบบสาธิต (Demonstration) การสาธิตว่าเป็ นการจดั แสดงประสบการณ์การกระทาอยา่ งใดอย่างหน่ึงหน้าช้นั โดยครู นกั เรียนคนใดคนหน่ึงหรือกลุ่มนกั เรียนก็ได้ เป็ นการทดลองซ่ึงให้ผลการทดลองท่ีไม่ทราบมาก่อน หรือเป็ นการทดสอบเพื่อยนื ยนั ส่ิงท่ีทราบมาแลว้ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือแสดงการทดลองเทคนิควิธีการ แลกระบวนการต่าง ๆ ให้นกั เรียนเกิดความเขา้ ใจในเน้ือหาวิชาและกระบวนการไปพร้อม ๆ กนั ใน การสอนครูตอ้ งพิจารณาว่าจะสอนแบบสาธิตแบบบอกความรู้ ที่ครูพยายามแนะนาบอกความรู้ให้ นกั เรียน หรือสอนแบบสาธิตแบบการคน้ พบ ที่ครูพยายามใหน้ กั เรียนคน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง 4. การสอนแบบทดลอง (Experimental method) การทดลองกบั การปฏิบตั ิงานในห้องปฏิบตั ิการวา่ มีความหมายใกลเ้ คียงกนั การทดลอง ส่วนใหญ่ท่ีนกั เรียนทาเป็ นส่วนหน่ึงของการปฏิบตั ิงาน และการปฏิบตั ิงานส่วนใหญ่เกี่ยวขอ้ งกบั การ ทดลองน้ัน เป็ นการจดั ประสบการณ์ในการทางานให้นักเรียนตามข้นั ตอนของกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ระกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอน คือข้นั กาหนดปัญหา ข้นั ต้งั สมมติฐาน ข้นั ทดลองและสังเกตและ ข้นั สรุปผลการทดลอง 5. การสอนแบบบรรยาย (Lecture method) การสอนแบบบรรยายวา่ เป็ นวิธีสอนท่ีครูถ่ายทอดความรู้จานวนมากแก่นกั เรียนโดยตรง เป็นวธิ ีการหน่ึงที่นาเสนอความรู้วทิ ยาศาสตร์ในลกั ษณะองคค์ วามรู้ท่ีเลือกสรรและจดั ลาดบั ไวอ้ ยา่ งดี การดาเนินการอาจแบ่งไดเ้ ป็ น 4 ตอน คือ การกล่าวนา ตวั เน้ือเรื่อง การสรุปยอ่ ระหวา่ งนาเสนอ และ การสรุปการบรรยาย

25 6. การสอนแบบอภิปราย (Discussion method) การสอนแบบอภิปรายว่า เป็ นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน เก่ียวกับ เน้ือหาวิชาความรู้จากความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ ของนกั เรียนอาจเป็ นการอภิปรายระหวา่ งนกั เรียน ด้วยกัน หรือการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนทุกคนมีอิสระท่ีจะแสดงความคิดเห็น ของตน ซ่ึงนกั เรียนจะตอ้ งมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั เรื่องน้นั ก่อนโดยครูทาหน้าท่ีเป็ นผูน้ าอภิปราย ตอ้ งไม่ส่ังหรือครอบงาความคิดเห็นของนกั เรียน การอภิปรายตอ้ งมีความชดั เจน เขา้ ใจง่าย เนน้ หรือ ขยายความรู้ที่ไดเ้ รียนมาแล้วให้กวา้ งขวางออกไป ดงั น้ันการอภิปรายจึงเป็ นสิ่งจาเป็ นในการสอน วิทยาศาสตร์เป็ นการกระตุน้ ให้นกั เรียนตอ้ งคิดแกป้ ัญหาหรือหาขอ้ ยุติ การอภิปรายอาจสอดแทรก อยู่ในวิธีการสอนอ่ืน ๆ ได้ เช่น การสอนแบบบรรยายการสอนแบบสาธิต การสอนแบบทดลอง การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และการสอนแบบคน้ พบ 7. การสอนแบบพดู ถามตอบ (Recitation method) การสอนแบบพูดถามตอบ เป็ นการสอนที่ใช้คาถามคาตอบ โดยครูเป็ นผูถ้ ามคาถามและ นักเรียนเป็ นผูต้ อบคาถามตามพ้ืนฐานความรู้ท่ีนักเรียนได้อ่านจากหนงั สือเรียน หรือหนังสืออ่ืนท่ี ไดร้ ับมอบหมายใหอ้ า่ น หรือส่ิงที่ครูไดน้ าเสนอในระหวา่ งการบรรยาย การสาธิต หรือกิจกรรมอ่ืนใน การสอนแบบพูดถามตอบ ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนแบบน้ี วา่ เป็ นการใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั แก่ครู ซ่ึงครูจะไดใ้ ชข้ อ้ มูลเหล่าน้ีในการขยายความและอธิบายเพ่ิมเติม แก่นกั เรียน สิ่งท่ีสาคญั ที่สุดในการสอนแบบพูดถามตอบเพ่ือให้ไดผ้ ลดีท่ีควรคานึงถึงคือชนิดของ คาถาม โครงสร้างของคาถาม และข้นั ตอนที่จะถามในระหวา่ งการสอน ในการจดั การเรียนการสอนครูผูส้ อนวิทยาศาสตร์ควรเลือกวิธีสอน หรือกิจกรรมท่ีเน้นให้ นักเรียนมีประสบการณ์ด้วยตนเองมากที่สุด อาจเลือกใช้วิธีสอนใดวิธีหน่ึง หรือนาหลายวิธีมา ผสมผสานกนั เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหาและสภาพการณ์โดยทว่ั ไปในช้นั เรียน สื่อการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ (กิดานนั ท์ มลิทอง, ม.ป.ป. : 3 – 6) สรุปไดด้ งั น้ี 1. อีลาย (Ely) ไดจ้ าแนกส่ือการสอนตามทรัพยากรการเรียนรู้ (Learning Resources) เป็ น 5 รูปแบบ โดยแบ่งได้เป็ นสื่อท่ีออกแบบข้ึนเพื่อจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (by design) และส่ือท่ีมีอยู่ ทว่ั ไปแลว้ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอน (by utilization) ไดแ้ ก่ 1.1 คน (People) ในทางการศึกษาโดยตรงน้นั หมายความถึง บุคลากรที่อยูใ่ นระบบของ โรงเรียน ไดแ้ ก่ ครู ผบู้ ริหาร หรือผทู้ ่ีอานวยความสะดวกดา้ นตา่ งๆ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ 1.2 วสั ดุ (Materials) วสั ดุในการศึกษาโดยตรงจะเป็ นประเภทท่ีบรรจุเน้ือหาบทเรียน โดย รูปแบบของวสั ดุมิใช่ส่ิงสาคญั ท่ีจะตอ้ งคานึงถึง เช่น หนงั สือ สไลด์ แผนที่ ฯลฯ

26 1.3 อาคารสถานที่ (Settings) สถานที่สาคญั ในการศึกษา ไดแ้ ก่ อาคารเรียน และสถานท่ี อ่ืน ๆ ท่ีออกแบบมาเพ่ือจดั การเรียนการสอนโดยส่วนรวม เช่น ห้องสมุด หอประชุม สนามเด็กเล่น ฯลฯ 1.4 เครื่องมือและอุปกรณ์ (Tools and Equipment) เป็นทรัพยากรทางการเรียนรู้เพ่ือช่วยใน การผลิตหรือใช้ร่วมกบั ทรัพยากรอ่ืน ส่วนมากมกั เป็ นเครื่องมือด้านโสตทศั นูปกรณ์ หรือเครื่องมือ เครื่องใชต้ า่ ง ๆ เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ 1.5 กิจกรรม (Activities) โดยทวั่ ไปแลว้ กิจกรรมที่กล่าวถึง มกั เป็ นการดาเนินงานที่จดั ข้ึน เพื่อกระทาร่วมกบั ทรัพยากรอ่ืน ๆ หรือเป็ นเทคนิคพิเศษเพื่อการเรียนการสอน เช่น การสอนแบบ โปรแกรม เกมส์และการจาลอง การจดั ทศั นศึกษา เป็นตน้ 2. กระทรวงศึกษาธิการ แยกประเภทส่ือวทิ ยาศาสตร์ไวด้ งั น้ี 2.1 สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง หนงั สือหรือเอกสารสิ่งพิมพต์ ่าง ๆ ซ่ึงไดแ้ สดงหรือจาแนกหรือ เรียบเรียงสาระความรู้ต่าง ๆ โดยใชต้ วั หนงั สือ ท่ีเป็ นตวั เขียนหรือตวั พมิ พ์ ส่ือส่ิงพิมพม์ ีหลายประเภท ไดแ้ ก่ เอกสาร หนงั สือ ตารา หนงั สือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร จุลสาร จดหมาย จดหมายเหตุ บนั ทึก รายงาน วทิ ยานิพนธ์ เป็นตน้ 2.2 ส่ื อเทคโนโลยี หมายถึง สื่ อการสอนท่ีได้ผลิตข้ึนเพ่ือใช้ควบคู่กับเคร่ื องมือ โสตทศั นวสั ดุ หรือเคร่ืองมือท่ีเป็ นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส่ือการเรียนรู้ดังกล่าว เช่น แถบบนั ทึกภาพ พร้อมเสียง แถบบนั ทึกเสียง สไลด์ ส่ือคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน 2.3 ส่ืออ่ืน ๆ เป็ นส่ือท่ีส่งเสริมการเรียนการสอน สามารถอานวยประโยชน์แก่ทอ้ งถิ่นที่ ขาดแคลนสื่อส่ิงพิมพแ์ ละส่ือเทคโนโลยี เช่น ส่ือบุคคล สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม สื่อกิจกรรม/ กระบวนการ และสื่อวสั ดุ/เครื่องมือและอุปกรณ์ หนังสืออ่านเพมิ่ เติม 1. ความหมายของหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม สุวิทย์ มูลคา (2550 : 73) กล่าวว่า หนงั สืออ่านเพิ่มเติม หมายถึง หนงั สือที่มีเน้ือหาสาระ อิงหลกั สูตร เพ่ือช่วยให้การเรียนการสอนเป็ นไปตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร นอกจากน้นั ยงั ช่วย ให้ผูเ้ รียนสามารถศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองตามความเหมาะสมกบั วยั และความสามารถ ในการอา่ น เพ่ือการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล จินตนา ใบกาซูยี (ม.ป.ป. : 132) กล่าววา่ หนงั สืออ่านเพมิ่ เติมเป็นหนงั สือท่ีมีเน้ือหาสาระ อิงหลกั สูตร สาหรับใหน้ กั เรียนอ่านเพื่อศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมดว้ ยตนเองตามความเหมาะสมของวยั และความสนใจ ในการอ่านของแต่ละบุคคล จินตนา ใบกาซูยี (ม.ป.ป. : 134) ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ หนงั สืออ่านเพม่ิ เติม หมายถึง หนงั สือ ที่บรรจุความรู้ ซ่ึงอาจเป็ นความรู้ ส่วนใดส่วนหน่ึงจากหลกั สูตร หรือความรู้ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ซ่ึง

27 เป็นประโยชนเ์ สริม ประสบการณ์ให้แก่ผเู้ รียน ซ่ึงเป็ นนกั เรียนวยั ต่างๆ มีลกั ษณะแนวการเขียนท้งั ใน แง่ให้สาระประโยชน์โดยตรง ในลกั ษณะการเขียนแบบสารคดี และให้ความสนุกในลกั ษณะการ เขี ยน แบ บ บัน เทิ งคดี ป ะป น อยู่ด้วย แต่เน้น ห นัก ไป ใน แง่ให้ ส าระป ระโยชน์ ความ รู้ จะเป็นจุดประสงคส์ าคญั ของการเขียนหนงั สืออา่ นเพิม่ เติม สรุปได้ว่า หนังสืออ่านเพ่ิมเติมเป็ นหนังสือท่ีมีเน้ือหาอ้างอิงหลักสูตร ไม่ใช่หนังสือ แบบเรียน เป็ นหนังสือนอกเหนือแบบเรียนจัดทาเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง นอกเหนือจากเวลาในชวั่ โมงที่เรียน การจดั ทาหนงั สืออา่ นเพม่ิ เติมจะตอ้ งคานึงตามความเหมาะสมกบั วยั มีภาพประกอบเพ่ือใช้เป็ นสื่อดึงดูดความสนใจ แฝงความบนั เทิงในเน้ือหา และตอ้ งคานึงถึง ความสามารถในการอ่านของแตล่ ะคนดว้ ย 2. ลกั ษณะทว่ั ไปของหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม 2.1 มีภาพประกอบ หนังสือจะต้องมีภาพประกอบเน้ือหาโดยเฉพาะถ้าเป็ น หนังสือ สาหรับเด็กเลก็ จะมีภาพทุกหนา้ สีและขนาดของภาพจะตอ้ งเหมาะสมกบั วยั และจิตวทิ ยาของเดก็ 2.2 การเขียนตวั อกั ษรตอ้ งเป็นไปตามรูปแบบท่ีถูกตอ้ งและอ่านง่าย ขนาด และสีเหมาะสม กบั วยั 2.3 ความยาวของเร่ืองที่นิยมเขียนกนั ทวั่ ไปคือ 16-24 หน้า แต่ละหน้าไม่ควรมีขอ้ ความ มากนกั เพราะความสนใจของเด็กจะมีในระยะส้นั ๆ ถา้ ยาวเกินไปเดก็ จะเบื่อ 3. คุณค่าของหนงั สืออ่านเพ่มิ เติม 3.1 ช่วยใหเ้ ดก็ เกิดความพร้อมในการอ่าน 3.2 ช่วยลบั สมองและส่งเสริมเชาวป์ รีชา 3.3 ช่วยสนองความตอ้ งการและความสนใจของเด็ก 3.4 ช่วยใหเ้ ด็กอา่ นหนงั สือไดค้ ล่องและแตกฉาน 3.5 ช่วยใหเ้ ดก็ ไดร้ ับความบนั เทิงเพลิดเพลินใจดว้ ยการอ่าน 3.6 ช่วยใหเ้ ดก็ เกิดโลกทศั นก์ วา้ งไกล มีความสามารถรู้ทนั โลกเหตุการณ์ 3.7 ช่วยใหเ้ ด็กเขา้ ใจตนเอง เขา้ ใจผอู้ ื่น เขา้ ใจส่ิงแวดลอ้ ม และส่ิงท่ีผา่ นมา 3.8 ช่วยเสริมทกั ษะการอ่านซ่ึงเป็ นสื่อนาไปสู่การแสวงหาความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ อยา่ งสะดวก 3.9 ช่วยเสริมสร้างให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน อ่านหนังสือเป็ น และใช้เวลาว่างให้เป็ น ประโยชนด์ ว้ ยการอ่านหนงั สือ 3.10 ช่วยเสริมสร้างบุคลิกลักษณะ นิสัย ค่านิยม ทัศนคติคุณธรรมจริยธรรม และ วฒั นธรรมอนั ดีงามใหก้ บั เด็ก

28 4. แนวทางการสร้างหนงั สืออา่ นเพม่ิ เติม 4.1 วเิ คราะห์วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 4.2 ออกแบบ และสร้างหนงั สืออ่านเพมิ่ เติมจากวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 4.3 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความสมบูรณ์ของเน้ือหา โดยผเู้ ช่ียวชาญ 4.4 นาหนงั สืออ่านเพิม่ เติมมาทดลองใชก้ บั กลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มยอ่ ย) 4.5 หาประสิทธิภาพของหนงั สืออา่ นเพ่มิ เติมดว้ ยเกณฑ์ …/… (E1/E2) โดยคิดจากคะแนน เฉลี่ยร้อยละที่ไดจ้ ากการทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ 4.6 ปรับปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของหนงั สือ 4.7 นาหนงั สืออ่านเพมิ่ เติมไปใชจ้ ริง สรุปไดว้ า่ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมเป็ นหนงั สือไม่ใช่แบบเรียนแต่เป็ นหนงั สือที่จดั ทาข้ึน อา้ งอิงหลกั สูตร ใชเ้ รียนนอกเหนือจากคาบเรียนหรือชวั่ โมงวา่ ง การจดั ทาตอ้ งคานึงถึงวยั ของผูอ้ ่าน และตอ้ งมีภาพประกอบ ภาษาท่ีเขา้ ใจง่าย ตวั อกั ษรท่ีชวนอ่าน มีความยาวไม่มาก ช่ือเร่ืองดึงดูด ความสนใจในการอ่านยง่ิ ข้ึน การใชห้ นงั สืออา่ นเพ่ิมเติมเป็นส่ือท่ีมีคุณค่า และสามารถพฒั นาผเู้ รียน ได้อย่างหลากหลายท้ังตามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึ กการอ่าน ฝึ กการเขียน ฝึ ก ความคิดวเิ คราะห์ คุณธรรมจริยธรรม สติปัญญา และอารมณ์ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมมุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รียน มีนิสัยรักการอ่าน หากผูเ้ รียนรักการอ่าน สามารถอ่านได้อยา่ งแตกฉานก็จะเป็ นพ้ืนฐานในการ เรียนรู้อื่น รวมท้ังเกิดความชานาญในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ช่วยเสริม ประสบการณ์และเขา้ ใจเน้ือหาอยา่ งกวา้ งขวางลึกซ้ึง หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมตอ้ งสร้างตามแนวทางการ สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เร่ิมต้ังแต่วิเคราะห์วตั ถุประสงค์ ออกแบบ ตรวจสอบความถูกต้อง ทดลองใช้ หาประสิทธิภาพ มีการปรับปรุงก่อนนาหนงั สือไปใชจ้ ริง 5. ส่วนประกอบของหนงั สืออา่ นเพ่มิ เติม 5.1 คานา 5.2 สารบญั 5.3 ตวั ช้ีวดั 5.4 คาช้ีแจง 5.5 แบบทดสอบก่อนเรียน 5.6 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 5.7 สาระสาคญั 5.8 บทท่ี 5.9 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 5.10 แบบทดสอบหลงั เรียน 5.11 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

29 5.12 บรรณานุกรม 5.13 ประวตั ิผเู้ ขียน 6. เอกสารเกี่ยวกบั การหาประสิทธิภาพของหนงั สืออา่ นเพมิ่ เติม หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมจดั เป็ นนวตั กรรมประเภทหน่ึงท่ีใช้ในการศึกษาหาความรู้ไดด้ ี โกวิท ประวาลพฤกษ์และคณะ (ม.ป.ป. : 65) ไดก้ ล่าวถึงการพิสูจน์ประสิทธิภาพ ของนวตั กรรมไว้ ดงั น้ี 6.1 ประสิ ทธิภาพของนวตั กรรมอยู่ที่คุณภาพของกระบวนการที่กาหนดโดย นวตั กรรมน้ันท่ีทาให้ผูท้ ี่ปฏิบัติหรือผูใ้ ช้สามารถประสบความสาเร็จตรงตามวตั ถุประสงค์ของ นวตั กรรม แนวทางพิสูจน์ประสิทธิภาพน้นั อาจทาไดห้ ลายทาง เช่น บรรยายเปรียบเทียบสภาพก่อน และหลงั ใชน้ วตั กรรมจากการทดลองใชก้ บั กลุ่มเลก็ ๆ 6.2 นิยามตวั บ่งช้ีที่แสดงผลลพั ธ์ท่ีตอ้ งการแลว้ เปรียบเทียบขอ้ มูล ก่อนใชก้ บั หลงั ใช้ นวตั กรรมคานวณค่าร้อยละของนกั เรียน (P1) ที่สอบผ่านแบบทดสอบอิงเกณฑท์ ี่กาหนด จุดผา่ นไว้ P 2% ของคะแนนเตม็ เช่น P1 : P2 = 80 : 80 หรือ 80 : 60 ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2556 : 9) กล่าววา่ ประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนจะ กาหนดเป็นเกณฑท์ ี่ผสู้ อนคาดหมายวา่ ผเู้ รียนจะเปล่ียนพฤติกรรมเป็นที่พึงพอใจ โดยกาหนดใหข้ อง ผลเฉล่ียของคะแนนการทางานและการประกอบกิจกรรมของผูเ้ รียนท้งั หมด ต่อร้อยละของผลการ ประเมินหลงั เรียนท้งั หมด นน่ั คือ E1/E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ ตวั อย่าง 80/80 หมายความว่า เมื่อเรียนจากส่ือหรือชุดการสอนแลว้ ผูเ้ รียนจะสามารถทาแบบฝึ ก ปฏิบตั ิ หรืองานไดผ้ ลเฉล่ียร้อยละ 80 และประเมินหลงั เรียนและงานสุดทา้ ยไดผ้ ลเฉล่ียร้อยละ 80 การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ทาให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ เพียงใด จาเป็ นตอ้ งมีการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ของผูเ้ รียน (สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 16 - 17) สรุปไดด้ งั น้ี 1. แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ 1.1 ตอ้ งวดั และประเมินผลท้งั ความรู้ ความคิด ความสารถ ทกั ษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในวทิ ยาศาสตร์ รวมท้งั โอกาสในการเรียนรู้ของผเู้ รียน 1.2 วธิ ีการวดั และประเมินผลตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ 1.3 ตอ้ งเก็บขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการวดั และประเมินผลอยา่ งตรงไปตรงมาและตอ้ งประเมินผล ภายใตข้ อ้ มูลที่มีอยู่

30 1.4 ผลการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผูเ้ รียนตอ้ งนาไปสู่การแปลผลและลงขอ้ สรุป ท่ีสมเหตุสมผล 1.5 การวดั และประเมินผลตอ้ งมีความเท่ียงตรงและเป็ นธรรม ท้งั ในดา้ นของวิธีการวดั โอกาสของการประเมิน 2. จุดมง่ หมายของการวดั ผลและประเมินผล 2.1 เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถ ทกั ษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมของผเู้ รียน 2.2 เพอื่ ใหเ้ ป็นขอ้ มูลป้อนกลบั ใหแ้ ก่ผเู้ รียนเองวา่ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้เพยี งใด 2.3 เพื่อใช้ขอ้ มูลในการสรุปผลการเรียนรู้ และเปรียบเทียบถึงระดบั พฒั นาการของการ เรียนรู้ การวดั ผลและประเมินผลมีความสาคญั เป็ นอยา่ งยง่ิ ต่อกระบวนการเรียนการสอน วธิ ีการ วดั และประเมินผลท่ีสามารถสะทอ้ นผลการเรียนรู้อยา่ งแทจ้ ริงของผูเ้ รียนและครอบคลุมกระบวนการ เรียนรู้และผลการเรียนรู้ท้งั 3 ดา้ นเป็นสิ่งสาคญั ในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 3. กระบวนการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (2554 : 32) ไดก้ ล่าววา่ กระบวนการวดั และประเมินผลการ เรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูผสู้ อนมีหนา้ ที่โดยตรงในการวดั และประเมินผล โดย ควรวดั และประเมินผลการเรียนรู้เป็น 3 ระยะ ดงั น้ี 3.1 การประเมินวเิ คราะห์ผเู้ รียนก่อนเรียน 3.2 การประเมินความกา้ วหนา้ ระหวา่ งเรียน 3.3 การประเมินความสาเร็จหลงั เรียน งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง 1. งานวจิ ยั ภายในประเทศ มีนกั วิชาการศึกษาและนกั วิจยั หลายท่านไดศ้ ึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวกบั หนงั สืออ่านเพิ่มเติมซ่ึง พอสรุปได้ ดงั น้ี จนั ทร์จิรา โกษาแสง (2554 : 102 - 103) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพิ่มเติมวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การดารงชีวิตของพืช ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 5 โรงเรียนชุมชนนางัว จงั หวดั นครพนม ผล การศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง การดารงชีวิตของ พืช สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากบั 83.21/87.98 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ต้งั ไว้ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ดว้ ยหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม เรื่อง การดารงชีวติ ของพชื อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด

31 ธีรศกั ด์ิ เสือจุย้ (2554 : 44) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เรื่อง ท้องถ่ินลาลูกกา ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนวดั พืชอุดม จงั หวดั ปทุมธานี ผลการวิจยั พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั จากการใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง ทอ้ งถิ่น ลาลูกกาของนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 สูงกว่าผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ ระดบั .05 และความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีต่อหนงั สืออ่านเพิ่มเติมเร่ืองทอ้ งถ่ินลาลูกกาอยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด ประทีป ศรีวุ่น (2554 : 58) ได้พฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เร่ือง ท่องแดนปากพะยูน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 จงั หวดั พทั ลุง ผลการวิจยั พบว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมเร่ืองท่องแดนปากพะยูน มีคุณภาพเหมาะสมมากท่ีสุด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนที่เรียนดว้ ยหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม ท่องแดนปากพะยูนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 และนกั เรียนมี ความคิดเห็นวา่ หนงั สืออา่ นเพิ่มเติมเร่ืองท่องแดนปากพะยนู มีความเหมาะสมมากที่สุด เรวดี ศิลาโชติ (2554 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง เก่ียวกบั การใชท้ รัพยากรในทอ้ งถ่ิน ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบา้ นหนองคลา้ พงษท์ อง จงั หวดั กาแพงเพชร จานวนนกั เรียน 30 คน ผลการศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องเกี่ยวกบั การใชท้ รัพยากรในทอ้ งถิ่น สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากบั 81.43/81.83 สูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไวค้ ือ 80/80 อยา่ งมีนยั สาคญั ทาง สถิติท่ีระดับ .01 ภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก และรายข้ออยู่ในระดับดีถึงดีมาก โดยมีค่าเฉลี่ย เทา่ กบั 4.59 นุชณีภรณ์ วงษ์กลม (2555 : 127 - 128) ได้พัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชุดวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นตานานพ้ืนเมือง เร่ือง ฮีตสิบสอง ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 ผลการวิจยั พบว่า หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชุดวฒั นธรรมพ้ืนบ้านตานานพ้ืนเมือง เรื่อง ฮีตสิบสอง ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 6 มีประสิทธิภาพ 82.60/83.04 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 ท่ีต้งั ไว้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 หลงั เรียนดว้ ยหนังสืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ชุด วฒั นธรรมพ้ืนบา้ นตานานพ้ืนเมือง เรื่อง ฮีตสิบสอง หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอย่าง มีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 ปาณิศา ร่วมจิตร (2555 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพมิ่ เติม ชุดอ่านเขียนเรียนรู้บท ร้อยกรองท่องเที่ยวเมืองสุรินทร์ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนบา้ นตะตึงไถง จงั หวดั สุรินทร์ ผลการศึกษาค้นควา้ หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเท่ียวเมืองสุรินทร์ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 จากหนงั สือทุกเล่มดงั น้ี เล่มท่ี 1 E1/ E2 = 81.35 / 81.54 เล่มท่ี 2 E1/ E2 = 81.74 / 81.92 เล่มท่ี 3 E1/ E2 = 83.88 / 84.24 เล่มท่ี 4 E1/ E2 = 81.54 / 81.92 เล่มที่ 5 E1/ E2 = 81.35 / 82.96 เล่มที่ 6 E1/ E2 = 82.69 / 83.35 เล่มท่ี7 E1/ E2 =

32 82.31 / 83.46 และเล่มท่ี 8 E1/ E2 = 81.92 / 83.46 ผา่ นเกณฑท์ ี่กาหนด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นกั เรียนหลงั เรียนโดยใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเที่ยวเมืองสุรินทร์ อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 ความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการเรียน โดยใช้หนงั สืออ่าน เพ่ิมเติมชุดอ่านเขียนเรียนรู้บทร้อยกรองท่องเท่ียวเมืองสุรินทร์ พบวา่ โดยรวมมีความพึงพอใจอยใู่ น ระดบั มาก (= 4.22 , S.D. = 0.33) วรางคณา บุญการ (2555 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติม ชุดระบบนิเวศเขาคอหงส์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 โรงเรียนทุ่งใหญ่และโรงเรียนทุง่ งาย (วรรณกาลราษฎร์อุทิศ) จงั หวดั สงขลา ผล การศึกษาค้นคว้า พบว่าหนังสื ออ่านเพ่ิมเติม ชุดระบบนิเวศเขาคอหงส์ สาหรับนักเรี ยนช้ัน ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ผลความรู้ความเขา้ ใจของนกั เรียนคะแนนหลงั การอา่ นหนงั สืออ่านเพมิ่ เติมสูงกวา่ คะแนนก่อนอ่านหนงั สืออา่ นเพมิ่ เติม อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 อทิยา รักษารักษ์ (2555 : บทคดั ย่อ) ได้พฒั นาหนังสื ออ่านเพ่ิมเติมวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง รู้รักษโ์ ลก ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 กลุ่มโรงเรียนบา้ นหาดเลา จงั หวดั ตรัง จานวนนกั เรียน 27 คน ผลการศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ืองรู้รักษโ์ ลก สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 มีประสิทธิภาพ 81.96/81.36 ซ่ึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลสัมฤท ธ์ ิ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนหลังเรี ยนโดยใช้หนังสื ออ่านเพ่ิ มเติ มกลุ่ มส าระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ชุดรู้รักษ์โลก สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดบั .01 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดรู้รักษ์โลก อยู่ในระดับมากที่สุ ดโดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากบั 4.75 สุ ธารักษ์ พันธ์วงศ์รักษ์ (2556 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาหนังสื ออ่านเพ่ิมเติมวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 โรงเรียนบา้ นตน้ ปรง จงั หวดั ตรัง จานวนนกั เรียน 38 คน ผลการศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ หนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เร่ือง ครอบครัวสุขสันต์ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ผลการวิจยั พบว่า 1) ประสิทธิภาพของ หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา 6 ตามเกณฑ์ 80/80 มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 85.10/89.39 เป็ นไปตามสมมติฐาน 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้ หนงั สืออ่านเพ่ิมเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 หลงั เรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 เป็ นไปตามสมมติฐาน 3) นกั เรียนมีความพึงพอใจต่อ หนงั สืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ ในระดบั มากที่สุด คือ 4.63 เมื่อพิจารณาเป็ นรายขอ้ พบว่า นกั เรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุดในทุกขอ้ ขอ้ ที่นกั เรียนมีความพงึ พอใจมากที่สุด คือรูปเล่ม ประณีต สวยงาม คือ 4.87 และท่ีนกั เรียนมีความพึงพอใจนอ้ ยท่ีสุดคือภาพช่วยขยายเน้ือหาให้เขา้ ใจง่ายแตก่ ็อยู่ ความพึงพอใจมากที่สุดเช่น กนั คือ 4.52 เป็นไปตามสมมติฐาน

33 2. งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ แบล็กวดู (Blackwood. 1969 : 50 - 56) ไดศ้ ึกษาถึงปัจจยั ที่มีผลตอ่ การสอนพบวา่ การสอน วิทยาศาสตร์จะไดผ้ ลดีข้ึนอยู่กบั ปัจจยั ต่อไปน้ี ขนาดของห้อง จานวนชว่ั โมงที่ครูสอนต่อ 1 สัปดาห์ การจดั หลักสูตรวิทยาศาสตร์ท่ีมีเน้ือหาเป็ นระบบต่อเน่ือง การจดั หาหนังสือแบบเรียน หนังสือ อ่านประกอบ และเคร่ืองมือใหพ้ อกบั ความตอ้ งการ มีผใู้ หค้ วามช่วยเหลือเม่ือครูวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งการ อลั แมน (Altman. 1974 : 284-287) ได้พฒั นาหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมเพ่ือพฒั นาและเสริมสร้าง ความภูมิใจในตนเองของนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาที่มีคะแนนทดสอบวดั ความภูมิใจในตนเองต่าสุด 18 คน เป็ นกลุ่มทดลอง แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกได้รับคาแนะนาในการอ่านหนังสือจาก บรรณารักษต์ ลอดเวลา กลุ่มท่ี 2 ไดร้ ับคาแนะนาและอ่านหนงั สือชุดเดียวกบั กลุ่มแรกคนละ 1 เท่ียว และกลุ่มท่ี 3 ไดร้ ับหนงั สือชุดเดียวกบั กลุ่มแรกและกลุ่มที่สองแต่ไม่ไดร้ ับคาแนะนาใด ๆ เลยผลการ ทดลองพบวา่ นกั เรียนกลุ่มแรกมีพฒั นาการความภูมิใจในตนเองสูงกวา่ นกั เรียนกลุ่มอื่น ๆ เอนนวั ร์ (Anuar. 1979 : 17 - 19) ไดส้ ารวจเด็กสิงคโปร์ พบวา่ หนงั สือสาหรับเด็กท่ีดี ควรสามารถให้เด็กบอกลกั ษณะนิสัยตวั ละคร สถานที่ และฉากของเรื่องได้ ทาให้เด็กมีความคิด สร้างสรรคส์ ่งเสริมจินตนาการ เหมาะสมกบั ความสนใจของเด็ก แบงส์ (Bangs. 1988 : 10-14) ไดก้ ล่าวถึงการนาหนงั สือการ์ตูนประกอบการเรียนการสอน ว่านักเรียนท่ีเรียนภาษาต่างประเทศ สามารถใช้การ์ตูนฝึ กการฟัง การพูด การเรียนรู้คาศพั ท์ใหม่ เพิ่มข้ึน นอกจากน้นั ยงั ใช้การ์ตูนพฒั นาความรู้เกี่ยวกบั ประโยคไวยากรณ์และความหมายของภาษา การสรุปความเขา้ ใจและเรื่องราวเก่ียวกบั ภาพได้ โรเจอส์ (Rogers. 1990 : abstract) แห่งมหาวทิ ยาลยั รัฐเวนย์ (Wayne State University) ได้ ศึกษาวจิ ยั เรื่องอิทธิพลของหนงั สืออ่านเพม่ิ เติม เร่ือง พิค อิน อะ วิค (PIC IN A WIG) ที่มีตอ่ การอา่ น ของนักเรี ยนในระดับ 1 โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาว่าการอ่านหนังสื ออ่านเพิ่มเติม เรื่อง พิค อิน อะ วีค ช่วยให้นักเรียนเกิดความจาท่ีดีเยี่ยมในเรื่องคาศพั ท์และความสนใจอ่านหนังสือ เพียงใดกลุ่มตวั อย่างเป็ นนักเรียนระดบั 1 จานวน 39 คน และเป็ นนักเรียนท่ีมีผลการเรียนต่าใน วชิ าการอา่ นหรือวิชาคณิตศาสตร์ วิธีการวจิ ยั ใชว้ ธิ ีการสังเกตอยา่ งไม่เป็นทางการของการปรับตวั เด็ก ใน 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม ซ่ึงจะใชเ้ วลา15 นาทีของทุกวนั ให้แต่ละกลุ่ม เริ่มเรียนเหมือนกนั โดยใชห้ ลกั การอ่านของเนลสันและคณิตศาสตร์และใชเ้ วลา 45 นาทีของทุกวนั การ จดั การเรียนการสอนแตกต่างกนั โดยกลุ่มทดลองที่ 1 ปฏิบตั ิกิจกรรม การอ่านตามแบบที่ไดเ้ สนอแนะ ไวใ้ นหนงั สือ คู่มือครู กลุ่มทดลองที่ 2 สอนดว้ ยหนงั สือประกอบการเรียนพิค อิน อะ วคิ ซ่ึงเขียนเป็ น ภาษาธรรมชาติ มีเพลงสาหรับเด็กและกิจกรรมร้องประกอบเพลงมีการคดั เลือกวสั ดุอุปกรณ์อย่าง รอบคอบตามความยากของการเรียนแต่ละระดบั ส่วนกลุ่มควบคุมดาเนินกิจกรรมตามโครงการสอน คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม ผลการวิจยั ปรากฏว่า กลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม มีผลความจาเหนือกวา่ กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองที่สอนโดยการอ่านหนงั สืออ่านเพ่ิมเติมเรื่อง พิค อิน อะ วคี ไดร้ ับผลอยา่ งมากในการอ่าน

34 คาศัพท์สนใจหนังสือและเกิดความชอบในการอ่านหนังสืออย่างเป็ นอิสระมากข้ึน มีความ สนุกสนานกบั การอ่าน พ่อแม่ไดร้ ่วมกิจกรรม การอ่านของลูกมากข้ึนโดยลูกมาเล่าเรื่อง พิค อิน อะ วคี ท่ีอ่านมาจากโรงเรียนใหฟ้ ังทาใหเ้ กิดความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพอ่ แม่และลูก รู เบ็นเทียน (Rubenstein. 1994 : abstract) ได้ทาการวิจัยเร่ื อง แม็กซิ โก บาปที่ ช่ัวร้าย หนังสือการ์ตูนแนวอนุรักษ์นิยม การวิจารณ์ของรัฐแมกซิกัน ปี ค.ศ. 1934 - 1976 ซ่ึง ผลการศึกษาพบว่า หนังสือการ์ตูนน้ีสามารถช่วยสะทอ้ นถึงหลกั การของศีลธรรม และเป็ นตวั ช้ี แนวทางในการดาเนินชีวิตให้กบั ชาวแม็กซิกัน ซ่ึงหนังสือการ์ตูนเรื่องแม็กซิโก เร่ือง บาปท่ีชั่วร้าย เป็ นหนังสือท่ีถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสานักวิพากษ์วิจารณ์ หนังสือว่า เป็ นหนังสือการ์ตูนที่ช่วย สนบั สนุนการศึกษาอนุรักษน์ ิยมของแมก็ ซิโก จากการศึกษางานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกับการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมพฒั นาการเรียนรู้ของ นกั เรียนที่กล่าวมาขา้ งต้น ผูด้ าเนินการพบว่า ไดม้ ีการศึกษาเกี่ยวกบั การอ่านหนังสือเพิ่มเติมของ นกั เรียน ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ การอ่านหนงั สือเป็นทกั ษะเร่ิมตน้ ที่ผเู้ รียนทุกคนใชใ้ นการเรียนรู้หรือแสวงหา ความรู้ต่าง ๆ ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ก็เช่นกนั จาเป็ นอย่างมากในการที่ผูเ้ รียนตอ้ งมีการอ่าน เขียน และคิดวเิ คราะห์ตามทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ท้งั น้ีหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นการพฒั นาผูเ้ รียนให้ได้รับความรู้ กระบวนการ มีเจตคติท่ีดี มีความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วจิ ารณ์ โดยการใช้ ทกั ษะการอ่านในการคน้ ควา้ หาความรู้ และนาไปใช้ในการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็ นระบบ ผูเ้ รียนทุกคน ไดร้ ับการกระตุน้ ส่งเสริมให้มีความสนใจและกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จะเรียกไดว้ า่ ทุกคนจึง จาเป็ นตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาใหร้ ู้วิทยาศาสตร์ เพอื่ ท่ีจะมีความรู้ความเขา้ ใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี ท่ีมนุษยส์ ร้างสรรค์ข้ึน สามารถท่ีจะนาความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุมีผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม นอกจากน้ีผดู้ าเนินการยงั พบวา่ แนวทางในการพฒั นาสื่อการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ในการพฒั นา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้มีอยา่ งหลากหลายและแตกต่างกนั ไป สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์การสร้างหนงั สืออ่านเพิ่มเติม สามารถใช้เป็ นส่ือ ประกอบการเรียนการสอนไดด้ ี ท้งั ในระดบั ประถมศึกษาและระดบั มธั ยมศึกษา ซ่ึงช่วยใหเ้ กิดนิสัยรัก การอ่าน รู้จกั แสวงหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ปลูกฝังให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบโดยใชท้ กั ษะกระบวนการต่างๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ไดด้ ี จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หนงั สืออ่านเพิ่มเติมของกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์และกลุ่มสาระอื่น ๆ จะเห็นได้ว่า การใช้หนังสืออ่านเพ่ิมเติมเพื่อฝึ กทักษะ การศึกษาหาความรู้และใชป้ ระกอบเป็ นส่ือการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์ เป็ นเรื่องที่ควรฝึ กผเู้ รียนต้งั แต่ ระดับประถมศึกษา เพื่อใช้เป็ นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ตามทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงจะส่งผลให้ผเู้ รียนมีพ้ืนฐานการอ่านศึกษาหาความรู้ที่ถูกตอ้ ง และสามารถแสวงหา ความรู้ไดอ้ ย่างเป็ นระบบ เหมาะสม ถูกต้องตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถเชื่อมโยง

35 ความรู้ไดห้ ลากหลาย และปี น้ีเป็ นปี ส่งเสริมรักการอ่าน จึงควรมีวิธีการจดั การเรียนรู้ที่แตกต่างไป จากการจดั การเรียนรู้ตามปกติ ส่งผลให้ผูเ้ รียนมีคุณภาพ บรรลุผลการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์อยา่ ง แทจ้ ริงตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ดงั น้ันผูด้ าเนินการจึงเห็นว่าหนังสืออ่านเพ่ิมเติมเป็ น เครื่องมือหรือส่ือท่ีช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกิดทกั ษะการศึกษาหาความรู้ต่างๆ จากการอ่านไดด้ ีมีความชานาญ ในการเรียนวิทยาศาสตร์ตามทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ตรงก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ที่คงทน สามารถนาความรู้ท่ีไดจ้ ากการอ่านหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกบั กลุ่มสาระอ่ืน ๆ ต่อไป อีกท้งั ยงั ไดส้ ่งเสริมและยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ให้สูงข้ึน ผูด้ าเนินการมีความสนใจสร้างและพฒั นาหนังสืออ่านเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ท่ีกาหนด เพื่อนาไปใช้ในการพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เร่ืองสาคญั ทางการเรียนวิชา วทิ ยาศาสตร์ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 กรอบแนวคิด จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หนงั สืออา่ นเพิ่มเติมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ผูด้ าเนินการเห็นวา่ หนังสืออ่านเพ่ิมเติมของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สามารถ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนได้ หากมีการจดั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมและไดส้ ่งเสริมการอ่านหนงั สือ อ่านเพม่ิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใหผ้ เู้ รียนเกิดความชานาญจากการอ่านศึกษาหาความรู้ท่ี ถูกตอ้ ง สามารถทาความเขา้ ใจกบั เน้ือหาตา่ ง ๆ และไดเ้ รียนรู้ตามทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ก็จะส่งผลใหก้ ารเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพมากข้ึนดว้ ย ผูด้ าเนินการจึงไดพ้ ฒั นา ความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เร่ืองสาคญั กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 3 โดยใชห้ นงั สืออ่านเพิม่ เติม สาหรับเคร่ืองมือท่ีผูด้ าเนินการไดใ้ ชใ้ นการพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เร่ืองสาคญั กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ในคร้ังน้ี ประกอบดว้ ยหนังสืออ่าน เพมิ่ เติม ชุดโลกมหศั จรรย์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ซ่ึงมีท้งั หมดจานวน 5 เล่ม คือ ชีวติ สมั พนั ธ์ ทรัพยากร ท่ีรัก แรงและการเคล่ือนท่ีดีอยา่ งไร ไฟฟ้าน่ารู้ อากาศรอบตวั เรา และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนหลงั การใชห้ นงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จานวน 1 ฉบบั โดยผูด้ าเนินการ กาหนดประสิทธิภาพของหนงั สืออ่านเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามเกณฑ์ 80/80 ตาม คะแนนทาแบบฝึ กหดั หรือกิจกรรมจากหนงั สืออา่ นเพิ่มเติมท้งั 5 เล่มกบั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบวดั ผล สัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั การใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดโลก มหศั จรรย์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยกาหนดเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ดงั แสดงในตารางที่ 1

36 ตารางที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา แนวคดิ ทฤษฎพี ืน้ ฐาน 1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระ วทิ ยาศาสตร์ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 2. ทกั ษะกระบวนการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 3. การจดั ทาหนงั สืออ่านเพม่ิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ กระบวนการพฒั นาและหาประสิทธิภาพ หนังสืออ่านเพมิ่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 1. จดั ทาหนงั สืออา่ นเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 2. ดาเนินการใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 3. ปรับปรุงและพฒั นา ผลการการดาเนินการใช้ หนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 1. หนงั สืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ จานวน 5 เล่ม มี ประสิทธิภาพสูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 2. นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิหลงั จากการใชห้ นงั สืออ่านเพม่ิ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ในเร่ืองท่ีสาคญั สูงข้ึน

37 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ ในการศึกษาการพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เร่ืองสาคญั กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยการใชห้ นงั สืออ่านเพ่ิมเติม ผดู้ าเนินการไดด้ าเนินการศึกษา คน้ ควา้ ตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. การกาหนดกลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้ นการศึกษา 2. การกาหนดแบบแผนการทดลอง 3. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการดาเนินการ 4. การพฒั นาและการทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ 5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 7. สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 8. การเผยแพร่นวตั กรรม กำรกำหนดกล่มุ เป้ำหมำยทใี่ ช้ในกำรศึกษำ กำหนดกลุ่มเป้ำหมำยจำกนักเรี ยนช้ันประถมศึกษำปี ท่ี 3 โรงเรียนทุ่งปรื อพิทยำคม (รัตปัญโญ) ตำบลพะตง อำเภอหำดใหญ่ จงั หวดั สงขลำ สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำ สงขลำ เขต 2 ปี กำรศึกษำ 2557 จำนวน 22 คน ซ่ึงเป็นช้นั ที่ผดู้ ำเนินกำรไดร้ ับผิดชอบเป็ นครูประจำช้นั กำรกำหนดแบบแผนกำรทดลอง การศึกษาคร้ังน้ีผูด้ าเนินการได้เก็บรวบรวมข้อมูลการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เร่ืองสาคญั กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยใช้หนงั สืออ่านเพิ่มเติม ชุดโลกมหัศจรรย์ กบั กลุ่มประชากรท้งั หมด เน่ืองจากนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียน ทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) ตาบลพะตง อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา มีนักเรียนจานวน 1 ห้องเรียน จานวน 22 คน ต้งั แต่วนั พฤหัสบดีที่ 22 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ถึงวนั ศุกร์ ท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557 จานวน 24 ชว่ั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2557 ซ่ึงไดเ้ ลือกใชแ้ บบ การศึกษ าก ลุ่มเดี ยว วัดก่อน เรี ยน และห ลังเรี ยน (One – Group Pretest – Posttest Design) (ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกลู , 2543 : 193) ดงั แสดงในตำรำงที่ 2

44 ตำรำงที่ 2 แบบแผนกำรทดลอง สอบขอ้ สอบวดั ผลก่อนกำรใช้ ตวั แปรอิสระ สอบขอ้ สอบวดั ผลหลงั กำรใช้ หนงั สืออำ่ นเพม่ิ เติมจำนวน 5 เร่ือง X หนงั สืออ่ำนเพม่ิ เติมจำนวน 5 เรื่อง O1 O2 เม่ือ O1 คือ กำรวดั ผลทำงกำรเรียนก่อนใชห้ นงั สืออ่ำนเพมิ่ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ X คือ กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้โดยใชห้ นงั สืออำ่ นเพม่ิ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ O2 คือ กำรวดั ผลทำงกำรเรียนหลงั ใชห้ นงั สืออำ่ นเพมิ่ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการดาเนินการ 1. เคร่ืองมือดาเนินการคน้ ควา้ คือ หนงั สืออา่ นเพิม่ เติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ จานวน 5 เล่ม ดงั น้ี เล่มท่ี 1 ชีวติ สมั พนั ธ์ เล่มท่ี 2 ทรัพยำกรที่รัก เล่มท่ี 3 แรงและกำรเคล่ือนท่ีดีอยำ่ งไร เล่มที่ 4 ไฟฟ้ำน่ำรู้ เล่มท่ี 5 อำกำศรอบตวั เรำ 2. เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอ้ มูล คือ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ประกอบด้วยขอ้ คาถามแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 30 ข้อ มีการนาไปทดลองใช้กบั กลุ่มทดลอง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนทุ่งปรือพิทยาคม(รัตนปัญโญ) ปี การศึกษา 2556 จานวน 28 คน ซ่ึงใกลเ้ คียง 30 คน คละ นกั เรียนท้งั เก่งและอ่อน ก่อนนาไปใชก้ บั กลุ่มเป้าหมาย ปี การศึกษา 2557 จานวน 22 คน ผลปรากฏ ว่าหนังสื ออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ มีประสิ ทธิภาพ 82.42/82.38 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนด

44 การพฒั นาและการทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ การพฒั นำควำมรู้ควำมเขำ้ ใจเก่ียวกบั เร่ืองสำคญั กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 โดยกำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพม่ิ เติมคร้ังน้ี มีการพฒั นาและทดสอบคุณภาพของ เครื่องมือที่ใชใ้ นการดาเนินการ โดยมีลาดบั ข้นั ตอนดงั น้ี 1. การพฒั นาหนงั สืออา่ นเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 จานวน 5 เล่ม 1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีพ้นื ฐาน หลกั การที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั ทาหนงั สืออ่าน เพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ จากตารา วารสาร เอกสาร และรายงานผลการวจิ ยั ที่ เก่ียวขอ้ ง 1.2 วเิ ครำะห์หลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำนพุทธศกั รำช 2551 กลุ่ม วทิ ยำศำสตร์ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 และหลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรียนทุง่ ปรือพทิ ยำคม(รัตนปัญโญ) กลุ่มสำระวทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 1.3 ศึกษำรำยละเอียดของเน้ือหำ กำหนดช่ือเร่ืองหนงั สืออ่ำนเพ่มิ เติมกลุ่มสำระ กำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตร โดยเนน้ ทกั ษะกำรอ่ำนในกำรคน้ ควำ้ หำควำมรู้ทำง วิทยำศำสตร์ ซ่ึงไดแ้ ก่ เรื่องชีวติ สัมพนั ธ์ เรื่องทรัพยำกรท่ีรัก เร่ืองแรงและกำรเคล่ือนที่ดีอยำ่ งไร เร่ืองไฟฟ้ำน่ำรู้ และเรื่องอำกำศรอบตวั เรำ 1.4 ศึกษำรวบรวมประสบกำรณ์ของนกั เรียนท่ีไดพ้ บเห็นในชีวติ ประจำวนั เพือ่ นำ มำกำหนดเคำ้ โครงเรื่อง แบบทดสอบ และดำเนินกำรพฒั นำหนงั สืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ จำนวน 5 เล่ม 1.5 นำหนงั สืออำ่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุดโลกมหัศจรรย์ จำนวน 5 เล่ม ท่ีผูด้ ำเนินกำรได้จดั ทำข้ึนไปให้ผูเ้ ช่ียวชำญ จำนวน 5 ท่ำน ตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง ท้งั ด้ำนหลักสูตรแกนกลำง หลักสูตรสถำนศึกษำ โครงสร้ำง ตวั ช้ีวดั เน้ือหำสำระสำคญั ภำษำที่ใช้ รูปภำพประกอบ แบบทดสอบ กำรวดั ผลประเมินผล และนำมำ แกไ้ ขปรับปรุงตำมท่ีผเู้ ช่ียวชำญเสนอแนะ 1.6 เขียนแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ ผดู้ ำเนินกำรไดด้ ำเนินกำรเขียนแผนกำรจดั กำร เรียนรู้ใชป้ ระกอบหนงั สืออ่ำนเพ่มิ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ จำนวน 5 เล่ม และแบบบนั ทึกกิจกรรม จำนวน 1 เล่ม ซ่ึงแผนกำรจดั กำรเรียนรู้มีท้งั หมดจำนวน 14 แผน ใชเ้ วลำในกำรสอน 24 ชวั่ โมง โดยมีข้นั ตอนในกำรจดั ทำดงั น้ี

44 1.6.1. ศึกษำหลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรียนทุ่งปรือพิทยำคม(รัตนปัญโญ) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 จำกมำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ และตวั ช้ีวดั ช้นั ปี 1.6.2. ศึกษำรำยละเอียดเน้ือหำ เพอื่ วเิ ครำะห์หลกั สูตร วเิ ครำะห์คำอธิบำย รำยวชิ ำ ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี และจดั ทำเป็นหน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำนและโครงสร้ำงกำรสอน 1.6.3. ศึกษำแนวกำรสอนของกลุ่มวชิ ำกำร และสถำบนั ส่งเสริมกำรสอน วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี คูม่ ือครู เพอื่ นำกิจกรรมมำพจิ ำรณำเป็ นแนวในกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั 1.6.4. ดำเนินกำรเขียนแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ จำนวน 14 แผน เวลำเรียน 12 สปั ดำห์ 24 ชว่ั โมง โดยกำหนดสำระสำคญั ตวั ช้ีวดั เน้ือหำใหเ้ หมำะสมกบั เวลำ 1.6.5. กำหนดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ส่ือกำรเรียนกำรสอนและกำรวดั ผล ประเมินผลท่ีสอดคลอ้ งกบั ตวั ช้ีวดั โดยใชร้ ูปแบบกำรเขียนแผนแบบเรียงหวั ขอ้ 1.7 นำหนงั สืออ่ำนเพม่ิ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ชุดโลกมหศั จรรย์ จำนวน 5 เล่ม ที่ไดจ้ ดั ทำข้ึนนำไปตรวจสอบหำคุณภำพของหนงั สือ ดงั รำยนำมผเู้ ช่ียวชำญ คือ 1.7.1 นำยประกอบ มณีโรจน์ ศึกษำนิเทศก์เช่ียวชำญ สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ี กำรศึกษำประถมศึกษำ สงขลำ เขต 2 1.7.2 นำงเบญจมำศ นำคหลง ครูชำนำญกำรพิเศษ โรงเรียนหำดใหญ่ วทิ ยำลยั 2 สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำ เขต 16 1.7.3 นำยอัฏฐชัย ถำวรสุวรรณ อำจำรยห์ ลักสูตรรำยวิชำวิทยำศำสตร์ สำขำศึกษำทวั่ ไป คณะศิลปศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลศรีวชิ ยั 1.7.4 นำงสำวขนิษฐำ แก้วสุข ครูชำนำญกำรพิเศษ โรงเรียนหำดใหญ่ วทิ ยำลยั 2 สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำ เขต 16 1.7.5 นำงอำรี ย์ โกไสยสิ ต ครูชำนำญกำรพิเศษ โรงเรียนหำดใหญ่ วทิ ยำลยั 2 สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมธั ยมศึกษำ เขต 16

44 หนงั สืออำ่ นเพิม่ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุด โลกมหศั จรรย์ โดยใหผ้ เู้ ชี่ยวชำญ จำนวน 5 ทำ่ น ตรวจสอบหำคุณภำพโดยใชแ้ บบประเมินควำม เหมำะสมของหนงั สือแตล่ ะเล่ม ที่มีลกั ษณะเป็นแบบมำตรำส่วนประมำณค่ำ 5 ระดบั ซ่ึงกำหนด เกณฑก์ ำรพิจำรณำ ดงั น้ี 5 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมมำก 4 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมค่อนขำ้ งมำก 3 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมปำนกลำง 2 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมคอ่ นขำ้ งนอ้ ย 1 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมนอ้ ย นำผลท่ีไดจ้ ำกกำรประเมินหนงั สืออำ่ นเพิม่ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 โดยนำคะแนนควำมคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชำญท้งั 5 ทำ่ น มำหำค่ำพำรำมิเตอร์ และคำ่ Sigma โดยใชเ้ กณฑข์ องบุญชม ศรีสะอำด (2545 : 103) ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมมำก คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมคอ่ นขำ้ งมำก คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมปำนกลำง คะแนนเฉล่ีย 1.51 – 2.50 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมค่อนขำ้ งนอ้ ย คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.50 หมำยถึง มีควำมเหมำะสมนอ้ ย ผลกำรประเมินหนงั สืออำ่ นเพมิ่ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 ที่ผดู้ ำเนินกำรไดพ้ ฒั นำข้ึน พบวำ่ มีคะแนนเฉล่ียอยรู่ ะหวำ่ ง 4.38 – 4.56 (รำยละเอียด ภำคผนวก ฉ) 1.8 นำหนงั สืออ่ำนเพม่ิ เติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ชุดโลกมหศั จรรย์ มำแกไ้ ขปรับปรุงตำมคำแนะนำของผเู้ ช่ียวชำญ แลว้ นำไปทดลองใชก้ บั นกั เรียน ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 โรงเรียนทุ่งปรือพทิ ยำคม(รัตนปัญโญ) ปี กำรศึกษำ 2556 จำนวน 28 คน ซ่ึงคละนกั เรียนท้งั เก่งและอ่อน แลว้ นำผลที่ไดม้ ำปรับปรุงแกไ้ ข 1.9 จดั ทำหนงั สืออำ่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำ ปี ท่ี 3 ชุดโลกมหศั จรรยฉ์ บบั สมบูรณ์ แลว้ นำไปใชก้ บั กลุ่มเป้ำหมำย

44 1.10 ดำเนินกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนตำมแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ โดยไดม้ ี กำรนำหนงั สืออ่ำนเพิ่มเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ จำนวน 5 เล่ม มำ เป็ นสื่อที่ใชก้ ำรจดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน โดยใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนทำขอ้ สอบแบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ ช้ันประถมศึกษำปี ท่ี 3 จำนวน 30 ขอ้ จำกน้ันดำเนินกำรเรียนวิชำวิทยำศำสตร์ในเรื่องท่ีสำคญั ท่ีออกขอ้ สอบ NT ทุกปี จำกหนงั สือเล่มที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพนั ธ์ ให้ผูเ้ รียนทุกคนทำขอ้ สอบแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 15 ข้อ เป็ นกำรทดสอบควำมรู้ก่อนเรียนเร่ืองชีวิตสัมพนั ธ์ และให้ผูเ้ รียนดำเนินกำรร่วมกนั ทำ กิจกรรมต่ำงๆ ตำมแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ผูด้ ำเนินกำรจดั เตรียมให้ โดยให้ผูเ้ รียนร่วมกนั ศึกษำหำ ควำมรู้ควบคู่กำรทำกิจกรรมต่ำงๆ ไม่วำ่ จะเป็ นแบบฝึ กหัด ใบกิจกรรม และเมื่อผูเ้ รียนได้เรียนจบ เล่มที่ 1 เร่ืองชีวติ สัมพนั ธ์ ให้ผูเ้ รียนทำขอ้ สอบแบบทดสอบหลงั เรียนของเล่มที่ 1 จำนวน 15 ขอ้ จดั กำรเรียนกำรสอนตำมแบบข้นั ตอนเดียวกนั ต่อเล่มท่ี 2 เรื่องทรัพยำกรที่รัก เล่มที่ 3 แรงและกำร เคลื่อนที่ดีอยำ่ งไร เล่มท่ี 4 เร่ืองไฟฟ้ำน่ำรู้ และเร่ืองท่ี 5 เร่ืองอำกำศรอบตวั เมื่อผเู้ รียนดำเนินกำร ทำตำมกิจกรรมหนงั สืออำ่ นเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ท้งั 5 เล่มแลว้ ใหผ้ เู้ รียนทุกคน ทำขอ้ สอบแบบทดสอบหลงั เรียนวดั ผลสัมฤทธ์ิหลงั กำรเรียนเรื่องท่ีสำคญั จำกกำรศึกษำหำควำมรู้ โดยใช้หนังสืออ่ำนเพ่ิมเติมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดโลกมหัศจรรย์ ช้นั ประถมศึกษำ ปี ท่ี 3 จำนวน 30 ขอ้ 2. กำรพฒั นำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลงั กำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพิม่ เติมกลุ่ม สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 จำนวน 30 ขอ้ 2.1 ศึกษำวธิ ีสร้ำงแบบทดสอบจำกเอกสำรท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กำรประเมินผลสมั ฤทธ์ิ ทำงกำรเรียน 2.2 สร้ำงแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลงั กำรใชห้ นงั สืออำ่ นเพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 จำนวน 35 ขอ้ เพ่ือใชท้ ดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน 2.3 นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลงั กำรใชห้ นงั สืออ่ำนเพิ่มเติมกลุ่ม สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ที่ 3 ไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชำญ จำนวน 5 ท่ำน (รำยนำมดงั ภำคผนวก ก) เพื่อตรวจสอบคุณภำพในดำ้ นควำมเท่ียงตรงของเน้ือหำ และควำมสอดคลอ้ งระหวำ่ ง แบบทดสอบกบั จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศึกษำปี ท่ี 3 โดย