Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-28 06:23:00

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ชวี วทิ ยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบนำ้�เหลือง 89 ผลการเรยี นรู้ 3. อธบิ ายโครงสรา้ งและการท�ำ งานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายโครงสร้างและการทำ�งานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ ทักษะกระบวนการ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเป็นทีม 1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ 1. การสงั เกต และภาวะผ้นู ำ� 2. ความเช่อื มั่นตอ่ หลกั ฐาน 2. การจำ�แนกประเภท เชิงประจักษ์ ผลการเรียนรู้ 4. สงั เกตและอธบิ ายโครงสรา้ งหวั ใจของสตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยน�้ำ นม ทศิ ทางการไหลของเลอื ดผา่ น หวั ใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรปุ การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สงั เกตและอธบิ ายโครงสรา้ งหวั ใจของสตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยน�ำ้ นม ทศิ ทางการไหลของเลอื ดผา่ น หัวใจของมนษุ ย์ และเขียนแผนผงั สรุปการหมนุ เวียนเลอื ดของมนุษย์ ทักษะกระบวนการ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จิตวทิ ยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. ความร่วมมือ การท�ำ งานเปน็ ทีม 1. ความอยากรู้อยากเหน็ 1. การสังเกต และภาวะผูน้ ำ� 2. ความเชอ่ื ม่ันตอ่ หลกั ฐาน 2. การจำ�แนกประเภท เชิงประจักษ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

90 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบน้�ำ เหลอื ง ชวี วทิ ยา เล่ม 4 ผลการเรยี นรู้ 5. สบื คน้ ขอ้ มลู ระบคุ วามแตกตา่ งของเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว เพลตเลต และพลาสมา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู ระบคุ วามแตกตา่ งของเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว เพลตเลต และพลาสมา ทกั ษะกระบวนการ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การสื่อสารสารสนเทศและ 1. ความมุง่ มั่นอดทน 1. การสังเกต การรเู้ ทา่ ทันสือ่ 2. การจ�ำ แนกประเภท 2. ความร่วมมือ การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ� ผลการเรยี นรู้ 6. อธบิ ายหมเู่ ลอื ดและหลกั การใหแ้ ละรบั เลอื ดในหมเู่ ลอื ดระบบ ABO และหมเู่ ลอื ดระบบ Rh จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหมเู่ ลอื ดและหลกั การใหแ้ ละรบั เลอื ดในหมเู่ ลอื ดระบบ ABO และหมเู่ ลอื ดระบบ Rh ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จิตวิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ความรว่ มมอื การทำ�งานเปน็ ทมี 1. ความอยากรู้อยากเห็น 1. การจ�ำ แนกประเภท และภาวะผนู้ �ำ 2. การสรา้ งแบบจ�ำ ลอง 2. การส่อื สารสารสนเทศและการรู้ เท่าทันสื่อ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบน้ำ�เหลอื ง 91 ผลการเรียนรู้ 7. อธบิ าย และสรปุ เกย่ี วกบั สว่ นประกอบและหนา้ ทขี่ องน�้ำ เหลอื ง รวมทง้ั โครงสรา้ งและหนา้ ท่ี ของหลอดน�้ำ เหลือง และตอ่ มนำ�้ เหลือง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ าย และสรปุ เกยี่ วกบั สว่ นประกอบและหนา้ ทข่ี องน�ำ้ เหลอื ง รวมทง้ั โครงสรา้ งและหนา้ ท่ี ของหลอดน�ำ้ เหลอื ง และตอ่ มน้�ำ เหลอื ง ทักษะกระบวนการ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. การสือ่ สารสารสนเทศและการรู้ 1. ความอยากร้อู ยากเหน็ 1. การสังเกต เท่าทนั สอื่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

92 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบน้ำ�เหลอื ง ชีววทิ ยา เลม่ 4 ผงั มโนทัศน์ บทท่ี 15 การลำ�เลยี งสารภายในร่างกาย เกย่ี วข้องกับ ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบน้�ำ เหลอื ง แบง่ เป็น ประกอบด้วย ระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบเปดิ ระบบหมุนเวยี นเลือดแบบปิด น�ำ้ เหลอื ง พบใน หลอดนำ�้ เหลือง พบใน ต่อมน้�ำ เหลอื ง - หอย - ไส้เดอื นดนิ มนุษย์ - แมลง - สตั วม์ กี ระดูกสนั หลัง ประกอบด้วย - กงุ้ หวั ใจ หลอดเลอื ด ได้แก่ หลอดเลอื ดอารเ์ ทอรี หลอดเลอื ดฝอย หลอดเลือดเวน เลอื ด ศึกษา ประกอบด้วย พลาสมา เซลล์เมด็ เลือดแดง หมเู่ ลือดระบบ ABO เซลล์เม็ดเลือดขาวและเพลตเลต หมเู่ ลือดระบบ Rh สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดและระบบน�้ำ เหลอื ง 93 สาระส�ำ คัญ สิ่งมีชีวิตท่ีมีโครงสร้างไม่ซับซ้อนจะมีการแลกเปลี่ยนสารระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมโดยตรง ในขณะที่ส่ิงมีชีวิตท่ีมีโครงสร้างซับซ้อนจะมีระบบหมุนเวียนเลือดทำ�หน้าที่ลำ�เลียงสารไปยังส่วน ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดมี 2 แบบ คอื ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดิ พบในสตั วจ์ �ำ พวก หอย แมลง กงุ้ สว่ นระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ พบในไสเ้ ดอื นดนิ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั รวมทง้ั มนษุ ย์ ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ประกอบด้วย หัวใจ หลอดเลือด และเลือด หัวใจทำ�หน้าที่รับ และสูบฉีดเลือดไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ขณะท่ีกล้ามเนื้อหัวใจหดตัวและคลายตัวทำ�ให้เกิด ความดนั ในหลอดเลอื ดและชพี จร ความดนั เลอื ดและชพี จรมคี วามสมั พนั ธก์ บั ปจั จยั ตา่ ง ๆ เชน่ ปรมิ าณ ไขมันในหลอดเลือด กจิ กรรมของรา่ งกาย อายุ และเพศ หลอดเลอื ด มลี กั ษณะเปน็ ทอ่ ส�ำ หรบั ใหเ้ ลอื ดล�ำ เลยี งสารตา่ ง ๆ แบง่ เปน็ 3 ชนดิ คอื หลอดเลอื ด อาร์เทอรี หลอดเลือดฝอย และหลอดเลือดเวน เลอื ดของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ย พลาสมา เซลลเ์ มด็ เลอื ดและเพลตเลต พลาสมาประกอบดว้ ย น�้ำ โปรตีน สารอาหาร ฮอร์โมน ของเสียและสารอ่ืน ๆ เซลล์เม็ดเลือดประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดง ทำ�หน้าที่ลำ�เลียงแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เซลล์เม็ดเลือดขาวทำ�หน้าที่ทำ�ลาย เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม และสร้างภูมคิ มุ้ กัน ส่วนเพลตเลตท�ำ หน้าท่เี ก่ยี วกบั การแข็งตัวของเลือด เลือดของมนษุ ย์จ�ำ แนกตามหมเู่ ลือดระบบ ABO ได้เป็นเลอื ดหมู่ A B AB และ O และสามารถ จำ�แนกตามระบบ Rh ไดเ้ ปน็ เลอื ดหมู่ Rh+ และ Rh- ตามชนดิ ของแอนตเิ จนท่ผี วิ เซลล์เมด็ เลอื ดแดง หมู่เลือดมีความสำ�คัญต่อการให้และการรับเลือด ผู้ให้และผู้รับเลือดควรมีเลือดหมู่เดียวกันจึงจะ ปลอดภัยท่สี ุด ระบบน�ำ้ เหลอื งประกอบดว้ ยน�้ำ เหลอื ง หลอดน�ำ้ เหลอื ง และตอ่ มน�้ำ เหลอื ง โดยน�้ำ เหลอื งจะถกู ลำ�เลียงผ่านหลอดนำ้�เหลืองฝอยและหลอดนำ้�เหลือง ผ่านต่อมนำ้�เหลืองซ่ึงเป็นบริเวณที่มีการ ตรวจจับส่ิงแปลกปลอมที่มากับน้ำ�เหลือง จึงพบเซลล์เม็ดเลือดขาวจำ�นวนมากในต่อมนำ้�เหลือง จากนั้นน�ำ้ เหลอื งจะถูกลำ�เลยี งกลบั เขา้ สรู่ ะบบหมนุ เวียนเลือด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

94 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบนำ้�เหลอื ง ชีววิทยา เลม่ 4 เวลาทีใ่ ช้ 4 ชว่ั โมง บทนีค้ วรใชเ้ วลาสอนประมาณ 17 ชัว่ โมง 15.1 การลำ�เลยี งสารในร่างกายของสัตว์ 6 ชว่ั โมง 15.2 การลำ�เลยี งสารในรา่ งกายของมนุษย ์ 2 ชัว่ โมง 15.2.1 หวั ใจ 4 ชว่ั โมง 15.2.2 หลอดเลือด 1 ชั่วโมง 15.2.3 เลือด 17 ช่วั โมง 15.3 ระบบน้ำ�เหลือง รวม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลือดและระบบน้�ำ เหลอื ง 95 เฉลยตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน ให้นกั เรยี นใส่เครื่องหมายถกู (√) หรือผดิ (×) หนา้ ขอ้ ความตามความเข้าใจของนักเรยี น 1. หวั ใจของมนุษยแ์ บ่งเป็น 4 หอ้ ง ได้แก่ หวั ใจหอ้ งบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2 ห้อง ระหว่าง หวั ใจห้องซ้ายและหวั ใจห้องขวามีลน้ิ หวั ใจกั้น 2. หัวใจหอ้ งบนซา้ ยจะบบี ตวั ส่งเลอื ดไปยังสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย 3. หลอดเลอื ดแบง่ เปน็ หลอดเลอื ดอารเ์ ทอรี หลอดเลอื ดเวน หลอดเลอื ดฝอย ซงึ่ มโี ครงสรา้ ง ตา่ งกนั 4. เลือดประกอบด้วย เซลล์เมด็ เลือด เกลด็ เลือด และพลาสมา 5. เลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูงจะออกจากหัวใจไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ขณะ เดยี วกนั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากเซลลจ์ ะแพรเ่ ขา้ สหู่ ลอดเลอื ดฝอยและล�ำ เลยี งกลบั เขา้ สู่หวั ใจและล�ำ เลยี งไปแลกเปล่ียนแกส๊ ทป่ี อด 6. ชีพจรบอกอัตราการเต้นของหัวใจ ซึ่งอัตราการเต้นของหัวใจในขณะปกติและหลังจาก ทำ�กิจกรรมตา่ ง ๆ จะแตกต่างกัน 7. อตั ราการเต้นของหัวใจในคนท่ีมีอายุเทา่ กนั และเพศเดียวกนั จะไมแ่ ตกต่างกนั 8. การออกกำ�ลังกาย การเลือกรับประทานอาหาร และการพักผ่อนให้เพียงพอช่วยใน การดูแลรกั ษาระบบหมุนเวยี นเลอื ดให้เปน็ ปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

96 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบน้ำ�เหลือง ชวี วทิ ยา เล่ม 4 แนวการจัดการเรยี นรู้ ครนู ำ�เข้าสบู่ ทเรียน โดยใช้ภาพนำ�บทในหนงั สือเรยี น จากนนั้ ใช้คำ�ถามเพิ่มเตมิ ดงั นี้ เพราะเหตใุ ด เมื่อไปพบแพทย์จึงตอ้ งมกี ารวัดอตั ราการเต้นของหัวใจ ในชีวิตประจ�ำ วันมกี ารวัดอัตราการเตน้ ของหวั ใจในกิจกรรมใดอีกบา้ ง ค�ำ ตอบของนกั เรยี นขน้ึ อยกู่ บั ประสบการณข์ องนกั เรยี น แตน่ กั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ การวดั อตั รา การเต้นของหัวใจช่วยบอกข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการทำ�งานของหัวใจเป็นปกติหรือไม่ การเต้นของ หัวใจเกิดจากการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำ�ให้เลือดไหลเวียนเพื่อลำ�เลียงสารอาหาร แก๊ส และสารอื่น ๆ ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย นอกจากการวัดอัตราการเต้นของหัวใจเม่ือไปพบ แพทย์แลว้ ยังวัดอัตราการเต้นของหัวใจเม่ือมีการออกก�ำ ลงั กายดว้ ย จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ระดมความคดิ วา่ การล�ำ เลยี งสารในสงิ่ มชี วี ติ มคี วามส�ำ คญั ตอ่ การ ด�ำ รงชวี ติ อยา่ งไร สง่ิ มชี วี ติ ทมี่ โี ครงสรา้ งของรา่ งกายตา่ งกนั จะมกี ระบวนการล�ำ เลยี งสารเหมอื น หรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร เพ่ือน�ำ ไปสหู่ ัวขอ้ การลำ�เลยี งสารในรา่ งกายของสตั ว์และมนุษย์ 15.1 การลำ�เลยี งสารในร่างกายของสัตว์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และเปรยี บเทยี บระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดิ และระบบหมนุ เวยี นเลอื ด แบบปดิ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 15.1 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสรปุ ไดว้ า่ การล�ำ เลยี งสารของสงิ่ มชี วี ติ ทม่ี โี ครงสรา้ ง ร่างกายไม่ซับซ้อนจะมีการแพร่ระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมโดยตรง ครูอาจใช้คำ�ถามเพ่ือนำ�ไปสู่การ อภปิ รายดังนี้ สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว เชน่ อะมบี า พารามเี ซยี ม มวี ธิ กี ารล�ำ เลยี งสารอยา่ งไร สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วมกี ารรบั สารทเ่ี ซลลต์ อ้ งการ และก�ำ จดั สารทเ่ี ซลลไ์ มต่ อ้ งการผา่ นเยอ่ื หมุ้ เซลล์ ซง่ึ สมั ผสั กบั สง่ิ แวดลอ้ มโดยตรง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน้�ำ เหลอื ง 97 ฟองนำ�้ และไฮดรามรี ะบบหมนุ เวียนเลอื ดในการล�ำ เลียงสารหรอื ไม่ อยา่ งไร ฟองน้ำ�และไฮดราไม่มีระบบหมุนเวียนเลือดในการลำ�เลียงสาร เน่ืองจากฟองนำ้�ประกอบด้วย เซลลท์ รี่ วมกล่มุ กัน แต่ยงั ไมเ่ ปน็ เน้ือเย่อื อยา่ งแท้จริง ส่วนไฮดรามีเนอื้ เยื่อ 2 ชนั้ โดยสารต่าง ๆ แพรจ่ ากสงิ่ แวดลอ้ มเข้าส่เู ซลลโ์ ดยตรง พลานาเรยี มโี ครงสรา้ งรา่ งกายซบั ซอ้ นกวา่ ไฮดรา แตส่ ามารถด�ำ รงชวี ติ อยไู่ ดท้ งั้ ทมี่ วี ธิ กี ารล�ำ เลยี ง สารเชน่ เดยี วกับไฮดรา เพราะเหตใุ ด เพราะแมว้ า่ พลานาเรยี จะเปน็ สตั วท์ ม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ ไฮดรา แตม่ ลี �ำ ตวั แบนท�ำ ใหม้ พี นื้ ทผี่ วิ สมั ผสั กบั สงิ่ แวดลอ้ มมากพอทจี่ ะสามารถแลกเปลยี่ นสารกบั สงิ่ แวดลอ้ มไดโ้ ดยตรง และมกี ารล�ำ เลยี ง สารระหวา่ งเซลลใ์ นร่างกาย ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั ศกึ ษารปู 15.2 ในหนงั สอื เรยี นเพอื่ ศกึ ษาโครงสรา้ งทใี่ ชใ้ นการล�ำ เลยี งสาร ในรา่ งกายของสัตว์ เชน่ หอย แมลง ไสเ้ ดือนดิน ปลา และหนู จากนนั้ อภิปรายรว่ มกันเพอ่ื สรปุ ได้ว่า สัตว์ท่ีมีโครงสร้างของร่างกายขนาดใหญ่และซับซ้อนจะอาศัยการแลกเปล่ียนสารกับสิ่งแวดล้อมและ การลำ�เลียงสารภายในร่างกายด้วยวิธีการท่ีซับซ้อนกว่าการแพร่โดยตรง เนื่องจากสารต่าง ๆ ของ ร่างกาย เช่น แก๊สออกซิเจนจะต้องใช้เวลานานในการแพร่จากภายนอกไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อยา่ งทว่ั ถงึ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดชว่ ยในการล�ำ เลยี งสารไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายได้ อย่างทว่ั ถงึ และรวดเรว็ จากนนั้ ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เรอ่ื งการล�ำ เลยี งสารของหอย แมลง ไสเ้ ดอื นดนิ ปลา และหนู พรอ้ มทงั้ ใช้รปู 15.2 ประกอบการอธิบายเสรมิ ความร้ใู หน้ ักเรยี น แลว้ ให้นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายและ สรปุ โดยใชต้ วั อย่างคำ�ถามดงั นี้ หอย แมลง ไสเ้ ดือนดนิ ปลา และหนู มีการลำ�เลียงสารเหมอื นหรือแตกตา่ งกัน อย่างไร แตกต่างกัน หอยและแมลง มีการลำ�เลียงสารโดยอาศัยระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด ส่วน ไสเ้ ดอื นดิน ปลา และหนูมกี ารล�ำ เลียงสารโดยอาศยั ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ ระบบหมุนเวยี นเลือดแบบปิดและแบบเปดิ แตกตา่ งกันอยา่ งไร ใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ ราย ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดเลือดจะไหลอยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา การแลกเปลี่ยนสาร ระหวา่ งเลอื ดกบั เนอื้ เยอื่ จะผา่ นทางผนงั หลอดเลอื ดฝอย สว่ นระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดิ ใน บางช่วงเลือดจะไหลออกมาสู่ช่องรับเลือดต่าง ๆ ตามลำ�ตัว เนื่องจากหลอดเลือดไม่ได้ติดต่อ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

98 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบน�ำ้ เหลอื ง ชีววิทยา เล่ม 4 กนั ตลอด การแลกเปลยี่ นสารระหวา่ งเลอื ดกบั เนอ้ื เยอ่ื จะแลกเปลยี่ นโดยไมต่ อ้ งผา่ นผนงั หลอด เลอื ดฝอย เนอ่ื งจากเลือดสัมผสั กบั เน้ือเยอื่ โดยตรง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างสัตว์ที่มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบ หมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ มาอยา่ งละ 1 ตวั อย่าง พร้อมท้งั เขียนแผนภาพประกอบ ตวั อยา่ งสตั วท์ มี่ รี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดิ คอื กงุ้ และระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ คอื สนุ ขั ระบบหมุนเวียนเลอื ดของกุ้ง ระบบหมนุ เวียนเลือดของสนุ ขั เนื้อเยอ่ื เหงือก หัวใจ ปอด แผนภาพระบบหมุนเวียนเลอื ดแบบเปิด หวั ใจ เนื้อเย่อื ของกงุ้ แผนภาพระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบปดิ ของสนุ ัข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบน�ำ้ เหลอื ง 99 จากนนั้ ครูให้นักเรียนตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวการตอบค�ำ ถาม ดังนี้ แมลงจ�ำ เป็นต้องใช้ระบบหมนุ เวียนเลอื ดเพือ่ ล�ำ เลียงแก๊สออกซเิ จนหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ไมจ่ �ำ เปน็ เพราะแมลงมกี ารล�ำ เลยี งแกส๊ ออกซเิ จนผา่ นระบบทอ่ ลมซง่ึ แตกแขนงเปน็ ทอ่ ลมฝอย นำ�แก๊สออกซิเจนไปยงั เซลลโ์ ดยตรง แนวการวัดและประเมนิ ผล ด้านความรู้ - ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด จากการเขียนแผนภาพ และการทำ�แบบทดสอบ ด้านทักษะ - การสื่อสารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ จากการสืบค้นข้อมลู และการนำ�เสนอ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - การใชว้ ิจารณญาณ จากการอภิปรายร่วมกัน 15.2 การลำ�เลียงสารในรา่ งกายของมนุษย์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สงั เกตและอธบิ ายทศิ ทางการไหลของเลอื ดและการเคลอ่ื นทข่ี องเซลลเ์ มด็ เลอื ดในหางปลา 2. สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชนดิ และขนาดของหลอดเลอื ดกบั ความเรว็ ในการไหลของเลอื ด 3. อธบิ ายโครงสรา้ งและการท�ำ งานของหวั ใจและหลอดเลอื ดในมนษุ ย์ 4. สงั เกตและอธบิ ายโครงสรา้ งหวั ใจของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยน�ำ้ นม ทศิ ทางการไหลของเลอื ดผา่ นหวั ใจ ของมนษุ ย์ และเขยี นแผนผงั สรปุ การหมนุ เวยี นเลอื ดของมนษุ ย์ 5. สบื คน้ ขอ้ มลู ระบคุ วามแตกตา่ งของเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว เพลตเลต และ พลาสมา 6. อธบิ ายหมเู่ ลอื ดและหลกั การใหแ้ ละรบั เลอื ดในหมเู่ ลอื ดระบบ ABO และหมเู่ ลอื ดระบบ Rh สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

100 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบนำ้�เหลือง ชวี วิทยา เลม่ 4 แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเร่ืองการลำ�เลียงสารในร่างกายของมนุษย์ โดยใช้คำ�ถามเพ่ิมเติม ซึ่ง ค�ำ ตอบของนกั เรียนอาจมีได้หลากหลาย ดงั น้ี มนษุ ยม์ รี ะบบหมนุ เวียนเลือดแตกตา่ งจากสัตวอ์ ื่น ๆ หรือไม่ จากนนั้ ทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดของมนษุ ย์ โดยใชค้ �ำ ถาม เพิม่ เติม ดังน้ี มีอวัยวะอะไรบา้ งทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การล�ำ เลยี งสารไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อวยั วะเหล่าน้มี ีรปู ร่างลกั ษณะและหน้าทีก่ ารท�ำ งานอยา่ งไร นักเรียนอาจตอบได้ว่า อวัยวะท่ีเกี่ยวข้องกับการลำ�เลียงสารไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ หวั ใจ หลอดเลอื ด ซ่งึ เชอ่ื มต่อกันเปน็ วงจร จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 15.3 และ 15.4 เพอ่ื สรปุ ใหไ้ ดว้ า่ หวั ใจอยภู่ ายในถงุ เยอ่ื หมุ้ หวั ใจ แทรกอยู่ระหว่างปอดทั้งสองข้างค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจทำ�หน้าท่ีสูบฉีดเลือดแล้วล�ำ เลียงผ่าน หลอดเลือด โดยเลือดทำ�หน้าท่ีลำ�เลียงสารต่าง ๆ เช่น สารอาหาร แก๊ส ของเสีย และสารอื่น ๆ ไปยังปอดและสว่ นตา่ ง ๆ ทัว่ รา่ งกาย จากนน้ั ให้นักเรยี นตอบคำ�ถามในหนังสอื เรยี น ซึ่งมแี นวการตอบดังนี้ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดของมนษุ ยเ์ ปน็ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดิ หรอื แบบปดิ เพราะเหตใุ ด ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์เป็นแบบปิด เพราะเลือดไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดตลอด เวลา 15.2.1 หัวใจ ครูใหน้ ักเรยี นทำ�กจิ กรรม 15.1 เพื่อศึกษาโครงสรา้ งของหัวใจสัตวเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนำ�้ นม พร้อม ทั้งสืบค้นข้อมูลและบอกความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับหน้าท่ีของหัวใจแต่ละห้อง ลิ้นหัวใจ รวมทง้ั หลอดเลอื ดทเ่ี ชอ่ื มตอ่ กบั หวั ใจ ครชู แ้ี จงเพมิ่ เตมิ วา่ หวั ใจหมหู รอื หวั ใจววั นน้ั มโี ครงสรา้ งใกลเ้ คยี ง กบั หวั ใจของมนษุ ย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน�ำ้ เหลือง 101 กิจกรรม 15.1 โครงสรา้ งของหวั ใจสตั วเ์ ลย้ี งลกู ด้วยนำ้�นม จดุ ประสงค์ 1. ศึกษาและสรุปโครงสร้างหัวใจของสตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยน้ำ�นม 2. สบื คน้ ขอ้ มลู และบอกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งกบั หนา้ ทข่ี องหวั ใจแตล่ ะหอ้ ง ลนิ้ หวั ใจ รวมทั้งหลอดเลือดทเ่ี ช่ือมต่อกับหัวใจ 3. สรปุ ทศิ ทางการไหลของเลอื ดผา่ นหัวใจ เวลาท่ีใช้ (โดยประมาณ) 2 ช่ัวโมง วัสดุและอปุ กรณ์ ปรมิ าณตอ่ กลุม่ รายการ 1 อนั 1 ชดุ 1. หวั ใจหมู หรอื หัวใจววั 1 ถาด 2. เครื่องมือผา่ ตัด ตามจ�ำ นวนนักเรยี น 3. ถาดผ่าตดั 2 อนั 4. ถงุ มอื ยาง 1 อัน 5. แท่งแก้วคนสาร 1 ใบ 6. หลอดฉดี ยา ขนาด 20 mL 7. บกี เกอร์ ขนาด 100 mL 8. น้ำ� ขอ้ ควรระวัง 1. ระมัดระวงั ในการใชเ้ คร่ืองมือผา่ ตัด 2. สวมถงุ มือยางระหวา่ งการทำ�กจิ กรรม 3. หลงั การท�ำ กิจกรรมควรทำ�ความสะอาดอปุ กรณ์ และลา้ งมือให้สะอาด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

102 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบนำ�้ เหลือง ชีววทิ ยา เล่ม 4 การเตรยี มตัวลว่ งหน้าส�ำ หรับครู 1. ครูเตรียมหัวใจหมูหรือหัวใจวัวที่มีหลอดเลือดและสภาพหัวใจสมบูรณ์ โดยมีหลอดเลือด ครบทกุ หลอดเลอื ดและหัวใจครบทกุ ห้อง ดังรปู ดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั 2. ให้นักเรียนศึกษาลักษณะภายนอกของหัวใจว่าด้านใดเป็นด้านหน้า ด้านใดเป็นด้านหลัง โดยมีจดุ สงั เกตทหี่ ัวใจซกี ซ้ายจะมขี นาดใหญ่กวา่ หัวใจซกี ขวา 3. ใหถ้ อื หวั ใจโดยใหห้ วั ใจซกี ซา้ ยอยทู่ างดา้ นขวามอื ของผถู้ อื ซง่ึ ดา้ นทเี่ หน็ อยตู่ รงขา้ งหนา้ จะ เป็นดา้ นหนา้ ของหวั ใจ 4. ให้นกั เรยี นสงั เกตหลอดเลือดโคโรนารีอาร์เทอรที ่อี ย่บู รเิ วณรอบนอกของหวั ใจเพม่ิ เติม 5. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาโครงสรา้ งของหวั ใจจากของจรงิ เปรยี บเทยี บกบั ภาพ 15.5 ในหนงั สอื เรยี น ซงึ่ เป็นแผนภาพแสดงโครงสรา้ งภายนอกและภายในของหวั ใจมนุษย์ ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรบั ครู ถ้าต้องการเก็บหัวใจไว้ศึกษาต่อในภายหลัง ควรดองด้วยเอทิลแอลกอฮอล์ 80% หรือ ฟอร์มาลิน 10% ตัวอย่างผลการท�ำ กจิ กรรม 1. จากการสังเกตโครงสร้างภายนอกของหัวใจ พบว่า จะมีหลอดเลือดติดอยู่บริเวณผิว ด้านนอกของหัวใจ คือ โคโรนารีอาร์เทอรี และยังมีหลอดเลือดต่าง ๆ ติดกับหัวใจซ่ึง บางครงั้ หลอดเลอื ดเหลา่ นอี้ าจมอี ยไู่ มค่ รบเพราะถกู ตดั สนั้ เกนิ ไป คงเหน็ เพยี งชอ่ งเปดิ โดย ด้านบนของหัวใจมีหลอดเลือด 2 หลอด หลอดที่มีผนังหนาท่ีสุดและมีช่องติดต่อกับ เวนทรเิ คลิ ซา้ ยคอื เอออรต์ า สว่ นอกี หลอดหนง่ึ มขี นาดเลก็ กวา่ น�ำ เลอื ดออกจากเวนทรเิ คลิ ขวา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดและระบบน้ำ�เหลือง 103 คือ พัลโมนารีอาร์เทอรี ซีกซ้ายของหัวใจมีหลอดเลือด 2 คู่เป็นหลอดเลือดพัลโมนารีเวน ซงึ่ รบั เลอื ดจากปอด 2 ขา้ งมาสง่ ใหเ้ อเทรยี มซา้ ย สว่ นทางซกี ขวาของหวั ใจจะมหี ลอดเลอื ด 2 หลอด คือ เวนาคาวาซึ่งรับเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่เอเทรียมขวา โดยครู อาจใชห้ ลอดกาแฟสตี ่าง ๆ สอดไปในหลอดเลอื ดเพอื่ ให้เหน็ ชดั เจนขนึ้ ดงั รูป เอออรต์ า พลั โมนารอี ารเ์ ทอรี เอออร์ตา พัลโมนารีอารเ์ ทอรี พัลโมนารีเวน เอเทรยี มขวา ซุพีเรยี เวนาคาวา เวนทริเคิลขวา เอเทรยี มซา้ ย อินฟีเรียเวนาคาวา โคโรนารีอารเ์ ทอรี เวนทรเิ คลิ ซา้ ย ด้านหน้า ดา้ นหลงั 2. สงั เกตลกั ษณะภายนอกของหวั ใจเพอื่ ระบวุ า่ ดา้ นใดเปน็ ดา้ นซา้ ยหรอื ดา้ นขวา โดยใชม้ อื บบี จะพบวา่ ดา้ นทแ่ี ขง็ กวา่ เปน็ หวั ใจดา้ นซา้ ย เนอื่ งจากผนงั หวั ใจดา้ นซา้ ยจะหนากวา่ ดา้ นขวา 3. สังเกตความหนาของผนังหลอดเลือดท่ีเชื่อมต่อกับหัวใจ แล้วใช้แท่งแก้วปลายด้านทู่หรือ น้วิ มอื สอดลงไปตามหลอดเลอื ดทีพ่ บ เพ่ือตรวจสอบวา่ หลอดเลือดต่ออย่กู บั หวั ใจห้องใด หลอดเลือดท่ีมีผนังหนาที่สุดจะเป็นเอออร์ตา หลอดเลือดอีกหลอดหนึ่งท่ีอยู่ใกล้ ๆ เอออรต์ า และหลอดเลอื ดทมี่ ผี นงั บางคอื พลั โมนารอี ารเ์ ทอรี ใหส้ งั เกตลนิ้ ทโ่ี คนหลอดเลอื ด นจ้ี ะมลี ักษณะเปน็ ครง่ึ วงกลม 3 ชน้ิ วางชนกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

104 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน้�ำ เหลือง ชีววทิ ยา เล่ม 4 พลั โมนารีอารเ์ ทอรี เอออร์ตา เมอ่ื ใชห้ ลอดฉดี ยาฉดี น�้ำ เขา้ ไปในเอเทรยี มขวาจะพบวา่ น�ำ้ ไหลไปอยใู่ นพลั โมนารอี ารเ์ ทอรี ในขณะท่ีเมื่อใช้หลอดฉีดยาฉีดนำ้�เข้าไปในเอเทรียมซ้ายจะพบว่านำ้�ไหลไปอยู่ในเอออร์ตา ดงั รูป น้�ำ ในพลั โมนารอี าร์เทอรี น้ำ�ในเอออรต์ า 4. สงั เกตลกั ษณะล้ินหวั ใจทก่ี นั้ ระหวา่ งเอเทรียมและเวนทรเิ คิล กอ่ นการผา่ หวั ใจครคู วรใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 15.5 ในหนงั สอื เรยี นซงึ่ แสดงโครงสรา้ งภายใน ของหวั ใจเพอื่ ใหน้ กั เรยี นรจู้ กั ชอ่ื สว่ นตา่ ง ๆ ของหวั ใจกอ่ น จากนน้ั จงึ เรมิ่ ผา่ หวั ใจ การผา่ เปน็ การ ผ่าครึ่งหัวใจโดยวางหัวใจให้ด้านหน้าอยู่ด้านบนและเวนทริเคิลซ้ายอยู่ด้านขวามือของผู้ผ่า จากนน้ั ใชม้ ดี ผา่ จากปลายของเวนทรเิ คลิ จนถึงรอยต่อกับเอเทรยี ม ลักษณะลน้ิ หัวใจทีก่ ้นั ระหวา่ งเอเทรียมขวาและเวนทริเคลิ ขวา ครูชี้ให้นักเรียนสังเกตลิ้นหัวใจท่ีกั้นระหว่างเอเทรียมขวาและเวนทริเคิลขวา โดยล้ินนี้มี ลกั ษณะเปน็ แผน่ บาง ๆ 3 ชน้ิ เรยี กวา่ ลน้ิ ไตรคสั ปดิ ลกั ษณะของลน้ิ ลลู่ งสหู่ วั ใจหอ้ งเวนทรเิ คลิ ขวา แสดงทิศทางการไหลของเลอื ดจากเอเทรยี มขวาลงสู่เวนทริเคิลขวา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบนำ้�เหลอื ง 105 ลกั ษณะลน้ิ หัวใจทก่ี ั้นระหวา่ งเอเทรียมซ้ายและเวนทริเคิลซา้ ย ครูช้ีให้นักเรียนสังเกตล้ินหัวใจท่ีกั้นระหว่างเอเทรียมซ้ายและเวนทริเคิลซ้าย โดยล้ินน้ีมี ลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ 2 ช้นิ เรยี กว่า ลิ้นไบคัสปิด ลักษณะของลิน้ ล่ลู งส่หู ัวใจห้องเวนทรเิ คิล ซ้าย แสดงทศิ ทางการไหลของเลือดจากเอเทรยี มซ้ายลงสเู่ วนทริเคิลซ้าย ดงั รูป ล้ินไตรคัสปดิ ลนิ้ ไบคสั ปิด 5. สังเกตล้ินท่ีกนั้ ระหว่างหลอดเลอื ดกบั เวนทริเคลิ ลนิ้ ทีก่ ัน้ ระหว่างเวนทริเคิลซา้ ยกับหลอดเลือด ครใู หน้ กั เรยี นใชแ้ ทง่ แกว้ สอดไปตามหลอดเลอื ดทต่ี ดิ ตอ่ กบั เวนทรเิ คลิ ซา้ ย ซงึ่ จะพบวา่ ทะลุ ออกไปตามหลอดเลอื ด เรยี กวา่ เอออรต์ า ใหส้ งั เกตลนิ้ ทโ่ี คนหลอดเลอื ดนจี้ ะมลี กั ษณะเปน็ ครง่ึ วงกลม3 ชน้ิ วางชนกนั ลน้ิ ทก่ี นั้ ระหวา่ งเวนทรเิ คลิ ซา้ ยกบั เอออรต์ าเรยี กวา่ ลน้ิ เอออรต์ กิ เซมลิ นู าร์ ล้ินทก่ี ัน้ ระหวา่ งเวนทรเิ คิลขวากบั หลอดเลือด ครใู หน้ กั เรยี นใชแ้ ทง่ แกว้ สอดไปตามหลอดเลอื ดทต่ี ดิ ตอ่ กบั เวนทรเิ คลิ ขวา ซง่ึ จะพบวา่ ทะลุ ออกไปตามหลอดเลอื ดอกี หลอดหนง่ึ ทอี่ ยใู่ กล ้ ๆ เอออรต์ า หลอดเลอื ดนค้ี อื พลั โมนารอี ารเ์ ทอรี ให้สังเกตล้ินที่โคนหลอดเลือดน้ีจะมีลักษณะเป็นคร่ึงวงกลม 3 ช้ินวางชนกัน เรียกล้ินที่ก้ัน ระหว่างเวนทริเคลิ ขวากับหลอดเลอื ดทอ่ี อกจากหัวใจน้วี า่ ลนิ้ พัลโมนารีเซมิลูนาร์ ดงั รปู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

106 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบน�ำ้ เหลอื ง ชวี วทิ ยา เลม่ 4 ล้นิ พัลโมนารีเซมิลูนาร์ ลิ้นเอออร์ตกิ เซมลิ นู าร์ 6. สงั เกตหลอดเลอื ดทนี่ �ำ เลอื ดมาเลยี้ งกลา้ มเนอื้ หวั ใจ โดยใชเ้ ขม็ เขยี่ ตรงบรเิ วณลนิ้ หวั ใจทอี่ ยู่ บริเวณโคนหลอดเลอื ดเอออร์ตากับเวนทริเคลิ ซ้าย เมื่อใช้กรรไกรผ่าผนังของเอออร์ตาลงมาจนถึงโคนหลอดเลือด จะพบว่า มีช่องอยู่จำ�นวน 2 ชอ่ ง (ลกู ศรสแี ดง) ดังรปู พลั โมนารีอาร์เทอรี เอออร์ตา เมอ่ื ใชแ้ ทง่ แกว้ หรอื เขม็ เขย่ี สอดเขา้ ไปในชอ่ งนจ้ี ะพบวา่ เปน็ ชอ่ งของหลอดเลอื ดทน่ี �ำ เลอื ด มาเลีย้ งกล้ามเนื้อหวั ใจ คอื โคโรนารีอาร์เทอรี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบน�้ำ เหลือง 107 เฉลยค�ำ ถามท้ายกิจกรรม หลอดเลือดบริเวณผวิ รอบนอกของหวั ใจท�ำ หนา้ ทอ่ี ะไร นำ�เลอื ดไปเลยี้ งกลา้ มเนอ้ื หวั ใจ ความหนาของกลา้ มเนอื้ หวั ใจทงั้ 4 หอ้ งแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร ลกั ษณะดงั กลา่ วสมั พนั ธ์ กับการบีบตัวของกลา้ มเน้อื หัวใจอย่างไร แตกต่างกัน โดยเวนทริเคิลจะมีกล้ามเน้ือหนากว่าเอเทรียม และกล้ามเน้ือหัวใจของ เวนทริเคิลซ้ายจะหนากว่าเวนทริเคิลขวา ลักษณะเช่นนี้แสดงว่าเวนทริเคิลซ้ายจะต้อง ออกแรงบบี ตวั มาก เนอ่ื งจากตอ้ งสบู ฉดี เลอื ดไปเลยี้ งทวั่ รา่ งกาย สว่ นเวนทรเิ คลิ ขวามกี ลา้ ม เนื้อบางกวา่ มหี น้าที่สูบฉีดเลอื ดไปยังปอด ส่วนเอเทรยี มขวาและเอเทรยี มซ้ายมกี ลา้ มเนื้อ บางมาก เนอื่ งจากท�ำ หนา้ ทร่ี ับเลอื ดแลว้ บบี ตัวส่งเลอื ดลงไปยังเวนทรเิ คิลเทา่ น้ัน ล้ินที่กั้นระหว่างเอเทรียมและเวนทริเคิลมีลักษณะอย่างไร ลักษณะดังกล่าวบอกทิศทาง การไหลของเลือดอยา่ งไร และถา้ ล้ินเหล่านีผ้ ดิ ปกตจิ ะมีผลตอ่ รา่ งกายอย่างไร ล้นิ ทกี่ ัน้ ระหว่างหอ้ งของหวั ใจ มลี กั ษณะดงั นี้ 1. ลิน้ ทก่ี นั้ ระหว่างเอเทรียมขวากับเวนทรเิ คิลขวา มลี กั ษณะเปน็ แผ่นเยอื่ บาง ๆ 3 แผน่ เรียกว่า ล้ินไตรคัสปิด ล้ินน้ีจะเปิดเม่ือความดันเลือดในเอเทรียมขวาสูงกว่า เวนทริเคิลขวา เลือดจึงไหลจากห้องเอเทรียมขวาลงสู่เวนทริเคิลขวา และจะปิดเมื่อ เลือดในเวนทรเิ คลิ ขวามคี วามดันเลอื ดสูงกวา่ เอเทรยี มขวา 2. ลน้ิ ทก่ี นั้ ระหวา่ งเอเทรยี มซา้ ยกบั เวนทรเิ คลิ ซา้ ยจะมลี กั ษณะเปน็ แผน่ เยอ่ื บาง ๆ 2 แผน่ เรียกว่า ล้ินไบคัสปิด ล้ินนี้จะเปิดเม่ือความดันเลือดในเอเทรียมซ้ายสูงกว่า เวนทรเิ คลิ ซา้ ย เลอื ดจงึ ไหลจากเอเทรยี มซา้ ยลงสเู่ วนทรเิ คลิ ซา้ ย และจะปดิ เมอ่ื เลอื ด ในเวนทรเิ คิลซา้ ยมคี วามดันเลอื ดสูงกวา่ เอเทรียมซ้าย ถา้ ลน้ิ เหลา่ นผี้ ดิ ปกติ เชน่ มรี รู ว่ั จะท�ำ ใหเ้ ลอื ดบางสว่ นจากเวนทรเิ คลิ ไหลยอ้ นกลบั ไป ยังเอเทรียมขวาหรือเอเทรียมซ้ายส่งผลให้เลือดจากเวนทริเคิลขวาไปปอดได้น้อยลง เชน่ เดยี วกับเลอื ดจากห้องเวนทรเิ คลิ ซ้ายไปเลี้ยงรา่ งกายได้น้อยลง ล้ินที่โคนหลอดเลือดท่ีต่อกับเวนทริเคิลซ้ายและเวนทริเคิลขวามีลักษณะอย่างไร ลักษณะ ดงั กลา่ วบอกทศิ ทางการไหลของเลอื ดอยา่ งไร และถา้ ลน้ิ เหลา่ นผ้ี ดิ ปกตจิ ะมผี ลตอ่ รา่ งกาย อยา่ งไร มีลักษณะเป็นแผน่ บาง ๆ รูปครึ่งวงกลม 3 แผ่นวางชนกันเรียกลน้ิ นวี้ า่ ลนิ้ เซมลิ ูนาร์จะพบ 2 บรเิ วณ คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

108 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบนำ�้ เหลอื ง ชีววทิ ยา เลม่ 4 1. ลิ้นท่ีก้ันระหว่างเอออร์ตากับเวนทริเคิลซ้ายเรียกว่า ล้ินเอออร์ติกเซมิลูนาร์ ลิ้นน้ีจะ เปดิ เมอ่ื ความดนั เลอื ดในเวนทรเิ คลิ ซา้ ยสงู กวา่ ในเอออรต์ า และจะปดิ เมอ่ื ความดนั เลอื ด ในเอออรต์ าสงู กวา่ เวนทรเิ คลิ ซา้ ย เลอื ดจงึ ไหลจากเวนทรเิ คลิ ซา้ ยไปตามเอออรต์ าและ ไมไ่ หลยอ้ นกลบั ถา้ ลน้ิ เอออรต์ กิ เซมลิ นู ารร์ ว่ั จะท�ำ ใหม้ เี ลอื ดไปเลย้ี งรา่ งกายไดน้ อ้ ยลง เป็นผลให้รา่ งกายขาดเลือดได้ 2. ลนิ้ ทก่ี น้ั ระหวา่ งหลอดเลอื ดพลั โมนารอี ารเ์ ทอรกี บั เวนทรเิ คลิ ขวา เรยี กวา่ ลน้ิ พลั โมนารี เซมลิ นู าร์ ลน้ิ ทจ่ี ะเปดิ เมอ่ื ความดนั เลอื ดในเวนทรเิ คลิ ขวาสงู กวา่ ในพลั โมนารอี ารเ์ ทอรี เลือดจึงไหลจากห้องเวนทริเคิลขวาไปตามพัลโมนารีอาร์เทอรี และล้ินจะปิดเม่ือ ความดนั เลอื ดในพลั โมนารอี ารเ์ ทอรสี งู กวา่ เวนทรเิ คลิ ขวา ท�ำ ใหเ้ ลอื ดไมไ่ หลยอ้ นกลบั ถา้ ลนิ้ พลั โมนารเี ซมลิ นู ารร์ ว่ั จะท�ำ ใหม้ เี ลอื ดไปแลกเปลย่ี นแกส๊ ทปี่ อดนอ้ ยลงสง่ ผลให้ ออกซเิ จนในเลอื ดลดลง เขยี นแผนผงั แสดงทศิ ทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจ ปอด และเนื้อเย่อื ของรา่ งกาย เลอื ดจากสว่ นตา่ ง ๆ ทว่ั รา่ งกายไหลกลบั เขา้ สเู่ อเทรยี มขวาผา่ นทางหลอดเลอื ดเวนขนาด ใหญ่ 2 หลอดคอื ซพุ เี รยี เวนาคาวาทน่ี �ำ เลอื ดมาจากสว่ นหวั ล�ำ ตวั สว่ นบนและแขน และ อนิ ฟีเรียเวนาคาวา ซง่ึ นำ�เลอื ดมาจากลำ�ตวั สว่ นลา่ งและขาเข้าสู่หวั ใจ เมอ่ื เอเทรยี มขวาบบี ตวั เลอื ดจะไหลเขา้ สเู่ วนทรเิ คลิ ขวา ผา่ นลน้ิ ไตรคสั ปดิ ทกี่ นั้ ระหวา่ ง เอเทรยี มขวาและเวนทรเิ คิลขวา เมอ่ื เวนทรเิ คลิ ขวาบบี ตวั เลอื ดจะไหลผา่ นลนิ้ พลั โมนารเี ซมลิ นู ารเ์ ขา้ สพู่ ลั โมนารอี ารเ์ ทอรี ซง่ึ นำ�เลอื ดไปยังปอดเพือ่ แลกเปลย่ี นแก๊ส จากนั้นเลือดไหลจากปอดกลับเข้าสู่เอเทรียมซ้ายทางพัลโมนารีเวน เม่ือเอเทรียมซ้าย บีบตัว เลอื ดจะไหลผา่ นล้ินไบคัสปดิ เขา้ สู่เวนทริเคิลซา้ ย เมื่อเวนทริเคิลซ้ายบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่เอออร์ตาผ่านล้ินเอออร์ติกเซมิลูนาร์ซึ่งก้ัน ไม่ให้เลอื ดไหลยอ้ นกลบั จากเอออร์ตาจะมหี ลอดเลือดแตกแขนงเพ่ือลำ�เลยี งไปยงั ส่วน ต่าง ๆ ทัว่ รา่ งกาย รวมท้งั หัวใจดว้ ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบน้ำ�เหลือง 109 15.2.2 หลอดเลือด ครนู �ำ นกั เรยี นเขา้ สหู่ วั ขอ้ เรอื่ งหลอดเลอื ดโดยทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี หลอดเลือดในรา่ งกายของมนุษย์มีหลอดเลอื ดอะไรบา้ ง หลอดเลือดแต่ละชนดิ เหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั หลอดเลอื ด หรอื อาจใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 15.7 ใน หนงั สอื เรยี น เพอื่ สรปุ ใหไ้ ดว้ า่ หลอดเลอื ดแตล่ ะชนดิ มโี ครงสรา้ งทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยใชค้ �ำ ถามในหนงั สอื เรียน ซ่ึงมแี นวคำ�ตอบ ดงั น้ี จากรปู 15.7 โครงสรา้ งของหลอดเลอื ดอารเ์ ทอรี หลอดเลอื ดฝอย และหลอดเลอื ดเวน เหมอื น หรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร หลอดเลอื ดอารเ์ ทอรแี ละหลอดเลอื ดเวนมโี ครงสรา้ งเหมอื นกนั คอื ประกอบดว้ ยเนอ้ื เยอ่ื 3 ชน้ั ได้แก่ เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน เนื้อเยื่อกล้ามเน้ือ และเน้ือเย่ือเก่ียวพัน แต่มีความแตกต่างกัน โดยหลอดเลือดอาร์เทอรีมีผนังหนาเน่ืองจากมีชั้นกล้ามเน้ือที่หนากว่าหลอดเลือดเวน ส่วนภายในหลอดเลือดเวนมลี นิ้ กัน้ เป็นระยะ ๆ ด้วย ส�ำ หรบั หลอดเลือดฝอย มีผนงั บาง และ ประกอบด้วยเนือ้ เย่อื บุผวิ เพยี งช้ันเดยี ว เลอื ดในหลอดเลอื ดอารเ์ ทอรสี ว่ นใหญจ่ ะเปน็ เลอื ดทม่ี แี กส๊ ออกซเิ จนมาก และเลอื ดในหลอด เลือดเวนส่วนใหญ่จะเป็นเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนน้อย เลือดในหลอดเลือดใดที่ไม่เป็นไป ตามนี้ เพราะเหตใุ ด เลอื ดในพลั โมนารอี ารเ์ ทอรแี ละพลั โมนารเี วน เพราะพลั โมนารอี ารเ์ ทอรเี ปน็ หลอดเลอื ดทนี่ �ำ เลือดท่มี ีแก๊สออกซิเจนนอ้ ย แต่มแี กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ ากออกจากหวั ใจไปยังปอด ส่วน พลั โมนารเี วนน�ำ เลอื ดทม่ี แี กส๊ ออกซเิ จนมากแตม่ แี กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดน์ อ้ ยออกจากปอด เขา้ สูห่ วั ใจ จากนนั้ ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 15.2 การหมนุ เวยี นเลอื ดของปลา เพอ่ื สรปุ ใหไ้ ดว้ า่ ทศิ ทาง และความเร็วของการไหลของเลือดในหลอดเลอื ดต่างชนิดกนั จะแตกตา่ งกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

110 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบน้�ำ เหลือง ชวี วทิ ยา เลม่ 4 กิจกรรม 15.2 การหมนุ เวียนเลือดของปลา จดุ ประสงค์ 1. สงั เกตและอธบิ ายทศิ ทางการไหลของเลอื ดและการเคลอื่ นทขี่ องเซลลเ์ มด็ เลอื ดในหางปลา 2. สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชนดิ และขนาดของหลอดเลอื ดกบั ความเรว็ ในการไหลของเลอื ด เวลาที่ใช้ (โดยประมาณ) 1 ชว่ั โมง วัสดแุ ละอุปกรณ์ รายการ ปรมิ าณตอ่ กลุ่ม 1. ปลาขนาดเลก็ เชน่ ปลาหางนกยงู เพศเมยี ลกู ปลานลิ หรอื ลกู ออ๊ ด 1 ตัว 2. ส�ำ ลี 2 กอ้ น 3. น้ำ� 50 mL 4. สไลดแ์ ละกระจกปิดสไลด์ 1 ชดุ 5. กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงเชิงประกอบ 1 กลอ้ ง ข้อแนะนำ�สำ�หรับครู 1. ครแู นะน�ำ ใหน้ กั เรยี นน�ำ ปลาขนาดเลก็ และแขง็ แรงมาศกึ ษา เชน่ ปลาหางนกยงู ลกู ปลานลิ และลูกปลากระด่ี เป็นต้น สำ�หรับปลาหางนกยูง ให้นำ�เพศเมียมาศึกษาเพราะบริเวณ หางปลาเพศเมียมเี ม็ดสีนอ้ ย นอกจากนีอ้ าจใช้สตั ว์อื่น ๆ เช่น ลูกออ๊ ด มาศึกษากไ็ ด้ 2. ครคู วรแนะน�ำ นกั เรยี นวา่ ในขณะทวี่ างปลาบนสไลดต์ อ้ งใหค้ วามชมุ่ ชนื้ บรเิ วณหวั และเหงอื ก ตลอดเวลา ด้วยการใช้สำ�ลีชุบนำ้�วางบนส่วนหัว เวลาที่ศึกษาแต่ละคร้ังไม่ควรนานเกิน 3 นาที เพราะปลาอาจจะตาย ควรปล่อยลงน้ำ�สักครู่แล้วจึงนำ�มาศึกษาใหม่ เมื่อศึกษาเสร็จ แล้วนำ�ปลาไปปล่อยในแหล่งน�ำ้ 3. ครคู วรใหน้ กั เรยี นสงั เกตทศิ ทางการไหลของเลอื ด โดยเนน้ วา่ ภาพทศ่ี กึ ษาภาย ใต้กลอ้ งจลุ ทรรศนเ์ ปน็ ภาพเสมือนหัวกลบั ดงั นนั้ ทิศทางการไหลของเลือดท่ี สงั เกตภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนจ์ งึ เปน็ ทศิ ทางตรงขา้ มกบั ของจรงิ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปว่า เลือดในหลอดเลือดอาร์เทอรีจะไหลจากทางด้านโคนหางไปยังด้าน ipst.me/9203 ปลายหาง ส่วนในหลอดเลือดเวนเลือดจะไหลจากด้านปลายหางไปยังด้าน โคนหาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน้ำ�เหลือง 111 4. ครูควรให้นักเรียนสังเกตขนาดของหลอดเลือดอาร์เทอรีท่ีมีขนาดไม่เท่ากัน การไหลของ เลอื ดในหลอดเลือดจะมคี วามเร็วแตกตา่ งกัน เลอื ดในหลอดเลอื ดอารเ์ ทอรไี หลออกจากหวั ใจ ส่วนเลอื ดในหลอดเลอื ดเวนไหลกลับเขา้ สู่ หัวใจ ความเร็วในการเคล่ือนท่ีของเซลล์เม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดอาร์เทอรีเร็วกว่าในหลอด เลอื ดเวน สว่ นในหลอดเลอื ดฝอยจะเหน็ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงไหลเรยี งกนั ทลี ะเซลลอ์ ยา่ งชา้  ๆ ดว้ ย ความเร็วตำ่�สุด ในหลอดเลือดชนิดเดียวกันความเร็วในการเคล่ือนท่ีของเซลล์เม็ดเลือดแดงใน หลอดเลือดทีม่ ขี นาดใหญ่จะเคล่อื นท่ีได้เรว็ กวา่ ในหลอดเลอื ดขนาดเล็ก นอกจากนใี้ หน้ กั เรยี นสงั เกตหลอดเลอื ดทเี่ ชอ่ื มโยงระหวา่ งหลอดเลอื ดแตล่ ะหลอดเลอื ดซงึ่ เป็นหลอดเลอื ดฝอยโดยสังเกตได้จากเซลลเ์ ม็ดเลือดแดงไหลเรยี งกันทีละเซลลอ์ ยา่ งช้า ๆ และ ควรให้นักเรียนบันทึกผลการทดลองด้วยหลังจากท่ีนักเรียนทำ�กิจกรรมเสร็จแล้ว และครูควร สังเกตทักษะการใช้กล้องจุลทรรศน์ในขณะท่ีนักเรียนกำ�ลังศึกษาอยู่น้ัน ต้ังแต่การปรับ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ การหาภาพตลอดจนการเกบ็ กล้องจุลทรรศนเ์ มอ่ื ใช้งานเสรจ็ แล้ว เป็นต้น อภิปรายและสรปุ ผล จากกจิ กรรมจะเหน็ วา่ ความเรว็ ในการเคลอื่ นทข่ี องเซลลเ์ มด็ เลอื ดในหลอดเลอื ดอารเ์ ทอรี เร็วกว่าในหลอดเลือดเวน และความเร็วในการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหลอดเลือดชนิด เดยี วกนั แต่ขนาดต่างกันจะไม่เทา่ กนั โดยเซลล์เมด็ เลอื ดในหลอดเลือดอารเ์ ทอรที ี่มีขนาดใหญ่ จะเคล่อื นทไี่ ด้เร็วกว่าในหลอดเลือดอารเ์ ทอรขี นาดเลก็ เฉลยคำ�ถามท้ายกจิ กรรม ทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดงในหลอดเลอื ดต่าง ๆ เปน็ อย่างไร บางหลอดเลือดเซลล์เม็ดเลือดแดงเคล่ือนท่ีไปทางหัว บางหลอดเลือดเซลล์เม็ดเลือดแดง เคลอื่ นทไ่ี ปทางหาง บางหลอดเลอื ดมกี ารไหลของเลอื ดเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งหลอดเลอื ดทเ่ี ลอื ด ไหลไปทางหางกบั หลอดเลอื ดท่ีเลือดไหลไปทางหัว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

112 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบน�้ำ เหลือง ชีววทิ ยา เล่ม 4 การเคล่ือนที่ของเซลล์เม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดมีความเร็วเท่ากันทุกหลอดเลือดหรือไม่ อยา่ งไร ไมเ่ ทา่ กนั เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงทเ่ี คลอ่ื นไปทางดา้ นหางจะเคลอ่ื นทเี่ รว็ กวา่ ไปทางดา้ นหวั และ เซลลเ์ มด็ เลอื ดทเี่ คลอ่ื นไปในหลอดเลอื ดขนาดใหญจ่ ะเคลอ่ื นทเี่ รว็ กวา่ ในหลอดเลอื ดขนาด เล็ก สังเกตไดอ้ ยา่ งไรวา่ หลอดเลอื ดใดเป็นหลอดเลอื ดอารเ์ ทอรหี รือหลอดเลือดเวน ถ้าเป็นหลอดเลือดอาร์เทอรีเลือดจะไหลจากทางด้านโคนหางไปยังด้านปลายหาง ส่วน หลอดเลือดเวนเลือดจะไหลจากด้านปลายหางไปยังด้านโคนหาง (ภาพภายใต้ กลอ้ งจลุ ทรรศนจ์ ะกลบั ทศิ ทางจากซา้ ยเปน็ ขวา) ตรวจสอบความเขา้ ใจ การไหลของเลือดในหลอดเลอื ดฝอย ขนาดหลอดเลอื ดฝอย และขนาดเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง มีความสัมพันธ์กนั อยา่ งไร เซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีขนาดใกล้เคียงกับเส้นผ่านศูนย์กลางของหลอดเลือดฝอย จึงเห็น เซลล์เมด็ เลอื ดแดงเรยี งเปน็ แถวเดียวขณะท่ไี หลช้า ๆ อยใู่ นหลอดเลอื ดฝอย ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับระบบหมุนเวียนเลือดของปลา ซ่ึงมีหัวใจ 2 ห้อง และให้ นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายโดยใช้ค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ และคำ�ถามในหนงั สอื เรียนดงั นี้ ระบบหมนุ เวียนเลือดของปลาเหมือนหรือแตกตา่ งกับไสเ้ ดือนดินหรอื ไม่ อย่างไร เหมือนกนั คอื เปน็ ระบบหมนุ เวยี นเลือดแบบปดิ แตกต่างกันคือ ปลามีอวัยวะทำ�หน้าท่ีสูบฉีดเลือดท่ีแท้จริงคือหัวใจ ส่วนไส้เดือนดินมี หลอดเลือดใหญ่บริเวณส่วนหัวมีลักษณะเป็นห่วงหลอดเลือดรอบบริเวณหลอดอาหาร ตดิ ตอ่ ระหวา่ งหลอดเลอื ดดา้ นบนและดา้ นลา่ ง ท�ำ หนา้ ทคี่ ลา้ ยกบั หวั ใจ เรยี กวา่ หวั ใจเทยี ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบน�ำ้ เหลือง 113 เลือดท่ีไหลผา่ นหัวใจของปลาเปน็ เลือดที่มแี ก๊สออกซเิ จนมากหรอื น้อย เพราะเหตใุ ด เลือดที่ไหลผ่านหัวใจของปลาเป็นเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนน้อย เนื่องจากเป็นเลือดที่มาจาก ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย จากนนั้ ครชู ใี้ หน้ กั เรยี นเหน็ วา่ โครงสรา้ งของหลอดเลอื ด รวมทง้ั โครงสรา้ งของหวั ใจทงั้ ภายนอก และภายในที่นักเรียนได้ศึกษาจากกิจกรรม 15.1 นั้นจะมีความสัมพันธ์กับการทำ�งานของหัวใจ ทั้งน้ี หัวใจทำ�หน้าท่ีสูบฉีดเลือดไปเล้ียงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยการเต้นของหัวใจที่เกิดจากการหดตัว และคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจเป็นจังหวะ ซึ่งสามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้โดยตรงด้วยการ ฟังท่ีใช้สเตตโตสโคปแนบที่อกบริเวณหัวใจ หรือวัดได้จากการหดและคลายตัวของผนังหลอดเลือด อารเ์ ทอรใี น 1 นาที ซงึ่ เรยี กวา่ ชพี จร จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นทดลองจบั ชพี จรของตนเองบรเิ วณต�ำ แหนง่ ต่าง ๆ ซึ่งการวัดชีพจรสามารถวัดได้หลายบริเวณ เช่น ข้อมือ ข้อพับ และคอ เพราะเป็นบริเวณท่ีมี หลอดเลือดอาร์เทอรีอยู่ใกล้กับผิวหนัง ซึ่งมีวิธีการตรวจวัดโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือข้างหน่ึง วางตรงบรเิ วณที่ต้องการวดั และกดจนรูส้ ึกถึงการเตน้ ของชพี จร ดงั รูป บรเิ วณขอ้ มือ บรเิ วณขอ้ พับ บรเิ วณคอ จากนั้นครูอาจใหน้ ักเรยี นท�ำ กิจกรรมเสนอแนะ การวดั ชพี จร เพ่ือศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มผี ลตอ่ ชพี จร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

114 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบน้�ำ เหลอื ง ชวี วิทยา เลม่ 4 กจิ กรรมเสนอแนะ : การวดั ชพี จร จดุ ประสงค์ 1. วางแผน ออกแบบการทดลอง และทดลองเพอื่ ศึกษาปจั จัยตา่ ง ๆ ทีเ่ กยี่ วข้องกับอัตราการ เตน้ ของหัวใจกับการเปลย่ี นแปลงของชีพจร 2. จดั กระท�ำ ขอ้ มลู วเิ คราะห์ สรุปและนำ�เสนอข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการทดลอง เวลาที่ใช้ (โดยประมาณ) 1 ชัว่ โมง ข้อเสนอแนะส�ำ หรบั ครู การทำ�กิจกรรมนี้ครูอาจจะให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ตามความสนใจ และใหอ้ อกแบบการทดลองโดยกำ�หนดตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคมุ ตอ่ จากนนั้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ด�ำ เนนิ การทดลองตามทอ่ี อกแบบการทดลองไว้ จดั กระท�ำ ขอ้ มลู และน�ำ เสนอขอ้ มลู ในรูปแบบที่น่าสนใจ เปิดโอกาสให้เพ่ือนในช้ันเรียนร่วมอภิปรายถึงความสมำ่�เสมอของอัตรา การเตน้ ของหัวใจ และปจั จยั ท่เี กยี่ วข้องกับอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ อภปิ รายและสรปุ ผล การออกแบบการทดลองอาจเลือกศึกษาปัจจัยได้หลายปัจจัย สำ�หรับตัวอย่างต่อไปนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเต้นของหัวใจของเพศหญิงและเพศชาย ซึ่งอาจออกแบบการ ทดลองไดด้ ังน้ี ตวั อย่าง การศกึ ษาการวัดชีพจรของเพศหญิงและเพศชาย สมมติฐานของการทดลอง 1. ถ้าชีพจรขึ้นอยู่กับเพศ ดังน้ันชีพจรของหัวใจในเพศชายจะมีจำ�นวนคร้ังต่อนาทีสูงกว่าใน เพศหญงิ ตวั แปรตน้ เพศ ตัวแปรตาม ชีพจร ตวั แปรควบคุม อายุ น้ำ�หนกั สุขภาพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลือดและระบบน�้ำ เหลือง 115 2. ถา้ ชพี จรข้นึ อย่กู ับวัย ดงั น้ันชีพจรในวัยเด็กจะมจี �ำ นวนคร้ังต่อนาทสี ูงกวา่ ในวัยผูใ้ หญ่ ตัวแปรต้น อายุ ตัวแปรตาม ชีพจร ตวั แปรควบคุม เพศ น�ำ้ หนกั สุขภาพ วิธกี ารทดลอง วัดชีพจรตามที่ออกแบบไว้ แล้วบันทกึ ขอ้ มูลลงในตาราง ตัวอยา่ งตารางบนั ทกึ ข้อมลู ชีพจร (คร้ัง/นาท)ี อายุ (ปี) เพศหญงิ เพศชาย 1-5 6-10 11-15 16-20 21-25 26-30 มากกวา่ 30 ปขี ้ึนไป หมายเหตุ ตัวแปรควบคุมเร่ืองนำ้�หนักอาจแบ่งเป็นช่วงของนำ้�หนัก ส่วนสุขภาพคือ ไม่มีโรคประจำ�ตัว เช่น โรคความดันเลอื ดสูง โรคหวั ใจ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษากราฟแสดงคลน่ื ไฟฟา้ หวั ใจ ดงั รปู 15.9 ในหนงั สอื เรยี น การตรวจคลน่ื ไฟฟา้ หวั ใจ และกราฟแสดงคลน่ื ไฟฟา้ หวั ใจ ทงั้ นคี้ รชู ใ้ี หน้ กั เรยี นเหน็ วา่ คลนื่ ไฟฟา้ หวั ใจของมนษุ ยส์ ามารถบอกถงึ การท�ำ งานทป่ี กตขิ องหวั ใจได้ ซง่ึ แพทยส์ ามารถน�ำ ขอ้ มลู นไ้ี ปใชใ้ นการตรวจสอบการท�ำ งานของหวั ใจ และวนิ ิจฉยั โรคได้ หลังจากนั้นให้นักเรียนศึกษารูป 15.10 ในหนังสือเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำ�ถามใน หนังสอื เรยี นซึ่งมแี นวการตอบค�ำ ถามดังนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

116 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบน้�ำ เหลือง ชีววทิ ยา เล่ม 4 การวดั ชพี จรสามารถวัดจากหลอดเลอื ดเวนได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ไมไ่ ด้ เนอื่ งจากความดนั เลอื ดในหลอดเลอื ดเวนต�ำ่ มากมผี ลท�ำ ใหก้ ลา้ มเนอ้ื ของหลอดเลอื ดเวน หดตวั และคลายตวั น้อย จึงไมส่ ามารถวดั ชพี จรได้ ถา้ รา่ งกายไดร้ บั อบุ ัตเิ หตุแลว้ เสียเลอื ดมาก การไหลเวยี นของเลือดในรา่ งกายจะเป็นอย่างไร การไหลเวยี นของเลอื ดจะชา้ ลง เนอ่ื งจากเลอื ดทมี่ ีปริมาณนอ้ ยลงส่งผลตอ่ ความดันเลอื ดลดลง จากน้ันครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเร่ือง ความดันเลือด ซ่ึงควรสรุปได้ว่า การท่ีเลือดไหลไปตาม หลอดเลือดได้เพราะมีความดันและให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าความดันเลือดในหลอดเลือดต่าง ๆ เทา่ กนั หรอื ไม่ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความดนั เลอื ดในหลอดเลอื ด การวดั ความดนั เลอื ด และค่าความดันเลือด โดยครูใช้รูปที่แสดงค่าความดันเลือดในหลอดเลือดต่าง ๆ ดังรูป 15.10 ใน หนังสือเรียนและครูอาจสาธิตการวัดความดันเลือดโดยใช้เครื่องมือหรืออาจให้นักเรียนทดลองวัด ความดนั เลอื ดของเพื่อน นอกจากนี้ครอู าจเสริมความรูใ้ หก้ บั นักเรียนดังน้ี ความดันเลือดสามารถวัดได้จากหลอดเลือดอาร์เทอรีท่ีใกล้หัวใจ เช่น บริเวณต้นแขน ความดันเลือดในหลอดเลือดอาร์เทอรีขนาดต่าง ๆ จะแตกต่างกันข้ึนอยู่กับระยะห่างจากหัวใจ ขณะนอนความดันเลือดบริเวณส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต้ังแต่ศีรษะถึงเท้าจะใกล้เคียงกัน แต่ขณะยืน ความดันเลือดบริเวณขาจะสูงมากที่สุด บริเวณศีรษะจะน้อยท่ีสุด เน่ืองจากการไหลของเลือดจะไหล ไปในทิศทางเดยี วกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลกได้ดกี ว่าทศิ ทางตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในรูป 15.11 การวัดความดันเลือดและค่าความดันเลือดของมนุษย์ ท่ีมีอายุและเพศต่างกันและนำ�ข้อมูลความดันซิสโทลิกมาเขียนเป็นกราฟ สุ่มเลือกตัวแทนนำ�กราฟ มาเสนอหน้าช้ันเรียน และใหท้ กุ คนรว่ มกันอภิปราย โดยใช้ค�ำ ถามดงั นี้ คนทมี่ ีอายุมากขนึ้ จะมีความดันเลอื ดเป็นอย่างไร ความดนั เลือดจะสูงขน้ึ เพศหญงิ และเพศชายมคี วามดนั เลอื ดขณะหวั ใจบบี ตัวแตกตา่ งกันหรอื ไม่ อยา่ งไร ตา่ งกนั ในบางชว่ งของอายุ วยั หนมุ่ สาวเพศชายจะมคี วามดนั เลอื ดสงู กวา่ เพศหญงิ และชว่ ง อายุ 45 ปขี นึ้ ไป เพศหญิงจะมีความดนั เลือดสงู กว่าเพศชาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบน้�ำ เหลอื ง 117 ปัจจัยทเี่ กย่ี วขอ้ งกับความดันเลอื ดมีอะไรบ้าง ปจั จยั ท่มี ผี ลทำ�ใหค้ วามดนั เลอื ดสูง ได้แก่ - อายุ เพศ น้�ำ หนัก สภาพร่างกาย และกิจกรรมทท่ี �ำ - ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือด ผู้สูงอายุมักมีความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือด นอ้ ยลงท�ำ ใหม้ แี รงตา้ นทานสูงขึน้ - การสะสมของคอเลสเตอรอลในผนงั หลอดเลอื ด ถา้ มมี ากจะท�ำ ใหช้ อ่ งทางทเ่ี ลอื ดจะไหล ไปไดแ้ คบลง - อารมณ์เครยี ด ตกใจ โกรธ มีผลต่อการเต้นของหวั ใจซง่ึ ส่งผลตอ่ ความดันเลอื ด - สารเคมีตา่ ง ๆ ทีม่ ผี ลตอ่ การกระตุ้นการท�ำ งานของหวั ใจ - ขนาดของรา่ งกาย เชน่ คนทม่ี รี า่ งกายขนาดใหญค่ วามดนั เลอื ดจะสงู กวา่ คนทม่ี รี า่ งกาย ขนาดเล็ก นอกจากครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับความดันเลือด ครูควรให้นักเรียนตระหนักถึง ความส�ำ คญั ของการดแู ลสขุ ภาพของนกั เรยี นและของคนในครอบครวั เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ แนวทางในการ ปฏบิ ตั ติ นในชวี ติ ประจ�ำ วนั ในการหลกี เลย่ี งการมคี วามดนั เลอื ดสงู ทม่ี าจากปจั จยั ตา่ ง ๆ เชน่ การเลอื ก รับประทานอาหาร หลกี เล่ยี งอาหารท่ีมไี ขมนั สงู และอาหารทม่ี รี สเคม็ จดั การควบคมุ อารมณ์ เป็นตน้ ครกู ระตนุ้ ใหน้ ักเรียนอภปิ รายในประเด็น ดังนี้ - การไหลของเลือดในหลอดเลือดเวนไหลต้านกับแรงโน้มถ่วงของโลก และความดันใน หลอดเลือดเวนมีน้อย หลอดเลือดเวนมีโครงสร้างอย่างไร จึงสามารถลำ�เลียงเลือดเข้าสู่ หัวใจได้โดยเลือดไม่ไหลยอ้ นกลับ หลังจากนั้นครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม 15.3 เพื่อศึกษาทิศทางการไหลของเลือดใน หลอดเลอื ดเวน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

118 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดและระบบน�ำ้ เหลอื ง ชีววทิ ยา เล่ม 4 กิจกรรม 15.3 ทิศทางการไหลของเลือดในหลอดเลือดเวน จุดประสงค์ 1. สงั เกตการเปลย่ี นแปลงของหลอดเลอื ดขณะปกตแิ ละขณะถกู กด และแปลความหมายจาก ผลท่สี งั เกต 2. สรปุ ทศิ ทางการไหลของเลอื ดในหลอดเลือดเวน เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับหลอดเลือดอารเ์ ทอรี เวลาทใ่ี ช้ (โดยประมาณ) 1 ช่วั โมง วสั ดุและอุปกรณ์ รายการ ปริมาณตอ่ กลมุ่ ผ้าสำ�หรบั มดั ต้นแขน 1 ผนื แนวการทำ�กจิ กรรม 1. ควรแบ่งกลุ่มในการทำ�กิจกรรมเนื่องจากต้องมีการใช้ผ้ามัดต้นแขน และมีการใช้นิ้วกด หลอดเลอื ด และรว่ มกันสรุปการท�ำ กจิ กรรม 2. การใชผ้ ้ามัดต้นแขนไมค่ วรมัดให้แน่นจนเกนิ ไป 3. อาจไม่ต้องใช้ผ้ามัดต้นแขนก็ได้ แต่ต้องเลือกนักเรียนท่ีสามารถกำ�มือแล้วเห็นหลอดเลือด บรเิ วณข้อพับได้ชัดเจน เฉลยค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม เพราะเหตุใดเมอ่ื ใชผ้ า้ มัดต้นแขนแลว้ หลอดเลอื ดจงึ ปรากฏชัดเจนข้นึ เพราะเลอื ดไหลไปไดน้ อ้ ยลง เลอื ดจงึ คง่ั อยใู่ นหลอดเลอื ดท�ำ ใหห้ ลอดเลอื ดโปง่ เหน็ ชดั เจนขน้ึ การไหลของเลือดในหลอดเลือดท่ีปรากฏน่าจะมีทิศทางจากปลายแขนไปยังต้นแขน หรือ จากตน้ แขนไปยงั ปลายแขน จากปลายแขนไปยังต้นแขนเพราะเม่ือมัดต้นแขนแล้ว ทำ�ให้หลอดเลือดบริเวณต่ำ�กว่า ตน้ แขนลงมาโปง่ ออก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบนำ้�เหลือง 119 ก่อนปล่อยน้วิ ข. ลกั ษณะของหลอดเลือดเปน็ อย่างไร หลอดเลือดไม่โป่ง ไม่มีเลอื ดไหลกลบั เขา้ มาในหลอดเลือด เมอื่ ปลอ่ ยนว้ิ ข. ลักษณะของหลอดเลอื ดเป็นอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด หลอดเลอื ดไม่โปง่ เพราะเลือดถกู ไลไ่ ปทางตน้ แขน ส่วนทางปลายแขนยังคงมนี ้วิ ก. กดอยู่ ท�ำ ใหเ้ ลอื ดไหลมาไมไ่ ด้ เลอื ดทถ่ี กู ไลไ่ ปทางตน้ แขนแลว้ ไหลกลบั มาไมไ่ ด้ เพราะภายในหลอด เลือดมลี ้ินคอยก้นั อยู่ เม่อื ปล่อยน้ิว ก. ลกั ษณะของหลอดเลือดเปน็ อยา่ งไร หลอดเลอื ดจะโปง่ เพราะมเี ลอื ดไหลกลับเขา้ มาในหลอดเลือด ทิศทางการไหลของเลอื ดในหลอดเลอื ดทศ่ี กึ ษาเปน็ อยา่ งไร เลอื ดในหลอดเลอื ดทศ่ี กึ ษามที ศิ ทางการไหลไปทางเดยี วกนั คอื จากปลายแขนไปยงั ตน้ แขน ดงั นัน้ ภายในหลอดเลือดน่าจะมลี น้ิ ท�ำ หนา้ ทก่ี ัน้ ไมใ่ หเ้ ลือดไหลย้อนกลับ ในกรณีที่เลือดไหลไปทางเดียวกันไม่มีการไหลย้อนกลับ โครงสร้างภายในของหลอดเลือด ควรมีลกั ษณะอย่างไร ภายในหลอดเลอื ดควรมลี นิ้ กนั้ การไหลของเลอื ดเปน็ ระยะ ๆ เพอื่ กนั้ ไมใ่ หเ้ ลอื ดไหลยอ้ นกลบั ดงั ในหลอดเลือดเวน ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การไหลของเลอื ดในหลอดเลอื ดเวน โดยครอู าจใชร้ ปู 15.12 ในหนงั สอื เรยี นซงึ่ แสดงการท�ำ งานของลนิ้ ภายในหลอดเลอื ดเวน และกลา้ มเนอื้ รอบ ๆ หลอดเลอื ดเวน แลว้ รว่ มกันอภิปรายโดยครอู าจใช้คำ�ถามเพม่ิ เติม ดงั น้ี ผสู้ ูงอายุ หญิงมคี รรภ์ และผปู้ ระกอบอาชีพท่ตี ้องยืนเปน็ เวลานาน ๆ มกั จะมอี าการหลอด เลอื ดขอดทีข่ า เพราะเหตใุ ด การยืนเป็นเวลานาน ๆ ทำ�ให้เลือดในหลอดเลือดเวนท่ีขาไหลกลับเข้าสู่หัวใจยากขึ้น เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก เม่ือเป็นเช่นน้ีทำ�ให้ล้ินของหลอดเลือดเวนต้องรับน้ำ�หนัก ของเลอื ดเปน็ เวลานานจงึ ท�ำ ใหล้ นิ้ เสอ่ื มสภาพเกดิ การโปง่ ของหลอดเลอื ด เนอื่ งจากมเี ลอื ด คง่ั อยู่บรเิ วณนั้น ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับโรคและความผิดปกติของหัวใจ หลอดเลือด โดยครูอาจให้ นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากวารสาร หนังสือพิมพ์ เอกสารแผ่นพับของโรงพยาบาลต่าง ๆ กรมอนามัย ฯลฯ หรือเชิญวิทยากรภายนอกท่ีเชี่ยวชาญเก่ียวกับเรื่องดังกล่าวมาให้ความรู้แก่นักเรียน อาจใช้สื่อ วีดิทศั นจ์ ากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ มาใช้ประกอบการสอนในหวั ขอ้ นี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

120 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบน้�ำ เหลือง ชวี วิทยา เลม่ 4 15.2.3 เลอื ด ครนู �ำ นกั เรยี นเขา้ สเู่ รอื่ งสว่ นประกอบของเลอื ดโดยการทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น และ ใชค้ ำ�ถามดงั นี้ เลอื ดในรา่ งกายของนักเรียนมปี ริมาณเท่าใด คำ�ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลายขึ้นอยกู่ บั ประสบการณ์เดมิ ของนกั เรยี น ต่อจากน้ันครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับปริมาณเลือดในร่างกายของมนุษย์ และ สว่ นประกอบของเลือดทผี่ ่านการปั่นแยกจากรูป 15.13 ในหนงั สอื เรยี นแสดงส่วนประกอบของเลือด ทผ่ี า่ นการปั่นแยก จากน้ันครูน�ำ เขา้ สู่กจิ กรรม 15.4 ลักษณะเซลล์เมด็ เลอื ดของมนุษย์ โดยทบทวนความรเู้ ดมิ เก่ียวกับเซลล์เม็ดเลือดของมนุษย์ และนำ�ไปสู่การอภิปรายว่า เซลล์เม็ดเลือดของมนุษย์มีโครงสร้าง เหมาะสมต่อการทำ�หน้าทอ่ี ยา่ งไร กจิ กรรม 15.4 ลกั ษณะเซลล์เม็ดเลือดของมนุษย์ จุดประสงค์ สบื คน้ ขอ้ มลู เปรยี บเทยี บรปู รา่ งลกั ษณะและปรมิ าณของเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว และเพลตเลต เวลาท่ีใช้ (โดยประมาณ) 1 ช่วั โมง วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ ปรมิ าณต่อกลุ่ม รายการ 1 แผ่น 1 กลอ้ ง 1. สไลด์ถาวรเซลลเ์ มด็ เลือดของมนษุ ย์ 2. กลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงเชงิ ประกอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน�้ำ เหลอื ง 121 ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรบั ครู 1. ครคู วรน�ำ สไลดถ์ าวรมาศกึ ษาภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ เพอ่ื ตรวจหาชนดิ ของเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว ก่อนลว่ งหนา้ และท�ำ เคร่ืองหมายแสดงต�ำ แหนง่ ทพี่ บ 2. ครไู มค่ วรใหน้ กั เรยี นเจาะเลอื ดเพอ่ื ท�ำ สไลดเ์ ซลลเ์ มด็ เลอื ดดว้ ยตนเอง เนอ่ื งจากอาจตดิ เชอื้ เขา้ สกู่ ระแสเลือดได้ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม เซลลเ์ ม็ดเลือดที่สงั เกตมกี ชี่ นิด แตล่ ะชนดิ มขี นาด รปู ร่างและปริมาณแตกตา่ งกันอยา่ งไร 2 ชนิด คือ เซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาว ซ่ึงเซลล์เม็ดเลือดทั้ง 2 ชนิดจะ แตกตา่ งกนั ดงั นี้ เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว 1. มีขนาดเล็กกว่า 1. ส่วนมากมขี นาดใหญก่ ว่า 2. ไมม่ นี วิ เคลยี ส ตรงกลางบุ๋ม 2. มีนิวเคลียสเป็นพู ๆ หรือก้อนกลมใหญ่ 3. มจี ำ�นวนมากกวา่ เกือบเต็มเซลล์ บางเซลล์จะเห็นแกรนูล ชัดเจน 3. มีจำ�นวนนอ้ ยกวา่ เซลล์เมด็ เลอื ดขาวแต่ละชนิดมโี ครงสร้างภายในเซลล์เหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร เหมอื นกัน คอื มนี วิ เคลยี ส แตกต่างกัน คือ นิวเคลียสแบ่งเป็นพู รูปร่างกลมขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์ หรือเป็นรูปไต และการมีหรือไม่มแี กรนลู เฉพาะ นอกจากเซลลเ์ มด็ เลือดแลว้ สงั เกตเห็นส่วนประกอบอ่นื หรอื ไม่ มลี กั ษณะอยา่ งไร นอกจากเซลล์เม็ดเลือดแล้ว ยังพบเพลตเลตซึ่งมีขนาดเล็กมาก และมีรูปร่างไม่แน่นอน เนื่องจากเป็นชิ้นส่วนของไซโทพลาซึมของเซลล์ชนิดหนึ่งในไขกระดูกท่ีปล่อยออกสู่ กระแสเลือด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

122 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน้�ำ เหลือง ชวี วทิ ยา เลม่ 4 ต่อจากน้ันครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับรูปร่างลักษณะ ปริมาณ และหน้าที่ของ เซลลเ์ ม็ดเลือดแดง และร่วมกนั อภปิ รายโดยใชค้ ำ�ถามในหนังสอื เรยี น ซ่ึงมีแนวการตอบคำ�ถามดังน้ี การที่เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียสและมีลักษณะกลมแบน ตรงกลางบุ๋มน้ันมีความ เหมาะสมต่อหนา้ ทีอ่ ยา่ งไร ลักษณะดังกล่าวทำ�ให้เซลล์เม็ดเลือดแดงสามารถเคล่ือนที่ในหลอดเลือดฝอยได้ง่าย มีแรง เสยี ดทานตอ่ ผนงั หลอดเลอื ดนอ้ ย นอกจากนยี้ งั ท�ำ ใหม้ พี น้ื ทผี่ วิ ในการแลกเปลย่ี นแกส๊ มากและ แก๊สสามารถแพร่เขา้ สกู่ ลางเซลลไ์ ดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง เซลล์เม็ดเลือดแดงที่อยู่ในหลอดเลือดได้รับพลังงานมาจากข้ันตอนใดของกระบวนการหายใจ ระดับเซลล์ เพราะเหตใุ ด เซลล์เม็ดเลือดแดงได้รับพลังงานมาจากไกลโคไลซิสในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ เพราะ เซลล์เมด็ เลอื ดแดงไม่มีไมโทคอนเดรยี ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ชนดิ รปู รา่ งลกั ษณะ และหนา้ ทขี่ องเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวพรอ้ ม ทัง้ ศึกษารปู 15.16 ในหนงั สือเรยี น เพอื่ สรุปใหไ้ ด้วา่ เซลลเ์ มด็ เลือดขาวมหี ลายชนิด และแตล่ ะชนดิ มี รปู ร่างและหน้าทแี่ ตกต่างกนั ครูนำ�เข้าสู่เร่ืองเพลตเลต โดยอภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับการไหลของเลือด เมื่อเกิด บาดแผลว่า โดยทั่วไปใช้เวลานานเท่าไรเลือดจึงหยุดไหล ต่อจากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ เพลตเลตและศึกษารูป 15.17 ในหนังสือเรียน เพื่อสรุปเก่ียวกับการแข็งตัวของเลือด เม่ือร่างกายมี บาดแผลเกิดข้ึน แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำ�ถามในหนังสือเรียนและคำ�ถามเพิ่มเติม ซ่งึ มแี นวการตอบคำ�ถามดงั น้ี ร่างกายได้รับวิตามนิ K จากอาหารชนดิ ใด ผักสีเขียว น้ำ�มันปลา เนอ้ื สตั ว์ ถ้ารับประทานยาปฏิชีวนะติดต่อกันเป็นเวลานาน ทำ�ให้เชื้อแบคทีเรียท่ีสังเคราะห์วิตามิน K ในลำ�ไส้ถูกท�ำ ลาย จะสง่ ผลต่อร่างกายอย่างไร รา่ งกายอาจขาดวิตามิน K ท�ำ ให้เลือดแขง็ ตวั ช้า เม่ือเกดิ บาดแผลอาจทำ�ให้เลือดไหลไม่หยุด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน�้ำ เหลอื ง 123 พลาสมา ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเร่ืองพลาสมา โดยให้ศึกษารูป 15.13 ในหนังสือเรียน และสังเกตส่วน ประกอบของเลอื ดทผ่ี า่ นการปน่ั แยก สว่ นทเ่ี ปน็ ของเหลวมสี เี หลอื งใสซง่ึ เรยี กวา่ พลาสมา และรว่ มกนั อภิปรายถึงส่วนประกอบและหน้าที่ของพลาสมา โดยสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับพลาสมาและซีรัม และให้ นักเรยี นเปรียบเทยี บกับเมื่อมีบาดแผล บางครั้งจะสงั เกตเหน็ วา่ เมอ่ื เลือดแข็งตัวแล้วจะมขี องเหลวใส ออกมาจากบรเิ วณทเ่ี ลอื ดแขง็ ตวั ของเหลวใสนี้ เรยี กวา่ ซรี มั ซงึ่ ไมม่ ไี ฟบรโิ นเจน ตอ่ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น ร่วมกนั อภิปรายเพอื่ ตอบค�ำ ถามในหนังสือเรียน ซึ่งมีแนวคำ�ตอบดังนี้ ซรี ัมและพลาสมามีส่วนประกอบแตกตา่ งกันอยา่ งไร ส่วนประกอบส่วนใหญ่ของซีรัมจะเหมือนกับพลาสมา แต่ซีรัมไม่มีไฟบริโนเจน และสารท่ี เก่ยี วข้องกับการแข็งตวั ของเลือด เช่น วิตามิน K แคลเซยี ม และโพรทรอมบิน ครอู าจใหน้ ักเรียนร่วมกันสรปุ หน้าทีส่ �ำ คญั ของเลือด ดงั นี้ 1. ลำ�เลยี งสารตา่ ง ๆ ผ่านระบบหมนุ เวียนเลือด เชน่ แก๊สออกซิเจน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ สารอาหารและวิตามินต่าง ๆ ยูเรีย และฮอรโ์ มน 2. ท�ำ ลายส่งิ แปลกปลอมท่เี ขา้ สู่รา่ งกายโดยเซลลเ์ มด็ เลือดขาว 3. แลกเปลย่ี นของเหลวและสารตา่ ง ๆ ท่ีบริเวณหลอดเลือดฝอยทว่ั ร่างกาย 4. ช่วยในการแขง็ ตวั ของเลอื ดโดยเพลตเลต หมู่เลือดและการให้เลอื ด ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเรื่องหมู่เลือดและการให้เลือด โดยทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนถึงเรื่อง หมเู่ ลอื ดทน่ี กั เรยี นรจู้ กั ตอ่ จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั หมเู่ ลอื ดระบบ ABO หมเู่ ลอื ดระบบ Rh รวมถึงการใหแ้ ละการรับเลอื ด เพื่อสรปุ ให้ได้ว่าหมเู่ ลอื ดระบบ ABO จำ�แนกไดเ้ ปน็ เลอื ดหมู่ A B AB และ O ตามชนิดของแอนติเจนทผ่ี ิวเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง ดงั ตาราง 15.1 ในหนังสือเรียน จากนั้นครูให้นกั เรียนทำ�กิจกรรม 15.5 แบบจ�ำ ลองโครงสร้างหมู่เลอื ดระบบ ABO สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

124 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบน้�ำ เหลอื ง ชีววิทยา เล่ม 4 กจิ กรรม 15.5 แบบจำ�ลองโครงสรา้ งหมเู่ ลอื ดระบบ ABO จดุ ประสงค์ 1. สรา้ งแบบจำ�ลองของหมู่เลอื ดระบบ ABO 2. ระบชุ นิดแอนตเิ จนและแอนติบอดีของเลอื ดหมู่ A B AB และ O 3. อธิบายหลักการให้และรับเลือดในเลอื ดหมู่ A B AB และ O เวลาทีใ่ ช้ (โดยประมาณ) 1 ช่วั โมง วัสดุและอปุ กรณ์ รายการ เลอื ดหมู่ A เลอื ดหมู่ B เลือดหมู่ AB เลือดหมู่ O 1 ผา้ โปรง่ สแี ดง ขนาด 20x20 cm2 1 1 1 1 (แทนเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง 1 เซลล)์ 2 หนังยาง 1111 3 กระดมุ แป๊ก (แทนส่วนหัวของแอนตเิ จนและแอนตบิ อดี) แบบเหล่ยี ม-มีรตู รงกลาง 10 - - 10 แบบเหลี่ยม-ไม่มรี ตู รงกลาง - 5 5 - แบบกลม-มีรูตรงกลาง - 10 - 10 แบบกลม-ไมม่ ีรูตรงกลาง 5-5- 4 ริบบิน้ ลวด ยาว 3 cm (แทนแขนของแอนตเิ จน) สีเขยี ว 5-5- สีแดง - 55 - 5 ลวดก�ำ มะหย่ี ยาว 10 cm (แทนแขนของแอนติบอด)ี สเี ขียว -5-5 สสี ม้ 5 - - 5 **วสั ดุอปุ กรณ์แต่ละรายการในตารางส�ำ หรับ 1 ชุด ตอ่ เลือด 1 หมู่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบน้ำ�เหลอื ง 125 ตวั อยา่ งการท�ำ กิจกรรม แบบจำ�ลองโครงสรา้ งเลอื ดหมูต่ า่ ง ๆ ควรมีลักษณะดงั นี้ รายการ เลอื ดหมู่ A เลอื ดหมู่ B เลือดหมู่ AB เลอื ดหมู่ O เซลล์เมด็ เลอื ดแดง ผวิ เซลล์ ผิวเซลล์ ผวิ เซลล์ ผวิ เซลล์ เมด็ เลือดแดง เม็ดเลอื ดแดง เม็ดเลอื ดแดงมี เมด็ เลือดแดง มีแอนติเจน A มีแอนตเิ จน B แอนตเิ จน A และ ไมม่ ีแอนตเิ จน แอนติเจน B พลาสมา ไมม่ แี อนติบอดี แอนติบอดี A แอนตบิ อดี B แอนติบอดี A แอนติบอดี B การอภิปรายและสรปุ ผล เม่ือนำ�แบบจำ�ลองโครงสร้างของเลือดแต่ละหมู่มาแสดงบทบาทสมมติเป็นผู้ให้และ ผรู้ บั เลอื ด พบวา่ ถา้ กระดมุ แปก๊ สามารถประกบกนั ไดแ้ สดงวา่ เลอื ดเกดิ การตกตะกอนท�ำ ใหเ้ กดิ อนั ตราย นน่ั คอื ผใู้ ห้เลอื ดและผรู้ ับเลอื ดไม่สามารถให้และรับเลอื ดกันได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

126 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลือดและระบบน้�ำ เหลือง ชวี วทิ ยา เล่ม 4 ข้อสงั เกต กรณีท่ีผูใ้ หม้ ีเลือดหมู่ O พบวา่ สามารถให้เลอื ดกับผ้รู ับไดท้ กุ หมูเ่ ลือด แต่ให้ไดเ้ ฉพาะสว่ น ทเี่ ปน็ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงเทา่ นน้ั จงึ จะไมท่ �ำ ใหเ้ กดิ การประกบกนั ไดข้ องกระดมุ แปก๊ เพราะเลอื ด หมู่ O ไมม่ ีแอนตเิ จนบนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง ดงั รูป ผใู้ ห้มีเลือดหมู่ O ผ้รู บั มเี ลอื ดหมู่ B เฉลยค�ำ ถามทา้ ยกจิ กรรม คนทม่ี เี ลอื ดหมู่ O ใหเ้ ลอื ดแกค่ นทม่ี เี ลอื ดหมู่ A ได้ แตค่ นทมี่ เี ลอื ดหมู่ A ไมส่ ามารถใหเ้ ลอื ด แกค่ นทมี่ เี ลอื ดหมู่ O ได้ เพราะเหตุใด เพราะคนทม่ี เี ลอื ดหมู่ O ไมม่ แี อนตเิ จน A และ แอนตเิ จน B จงึ ไมท่ �ำ ปฏกิ ริ ยิ ากบั แอนตบิ อดี B ของคนทมี่ เี ลอื ดหมู่ A แต่คนที่มีเลือดหมู่ A มแี อนตเิ จน A ซงึ่ ทำ�ปฏิกิรยิ ากับแอนตบิ อดี A ของคนทม่ี ีเลือดหมู่ O เขียนแผนผงั สรุปการให้และรับเลอื ดในหมู่เลือดระบบ ABO ตัวอยา่ งแผนผัง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบน�้ำ เหลอื ง 127 AO BO AB A B O O เลือดหม่ขู องผู้ให้ A B AB O เลือดหม่ขู องผู้รบั A AB B AB AB O A B AB หรอื เลือดหมูผ่ ้ใู ห้ เลอื ดหมู่ผรู้ บั A A B AB O B AB O สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

128 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบนำ้�เหลอื ง ชีววิทยา เลม่ 4 ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกนั สรุปเกย่ี วกับหลกั การใหแ้ ละรบั เลือดในหมู่เลือดระบบ ABO ซึ่งควรสรปุ ไดว้ า่ การใหเ้ ลอื ดและการรบั เลอื ดจะพจิ ารณาเฉพาะแอนตเิ จนเปน็ หลกั โดยแอนตเิ จนของผใู้ หต้ อ้ งไม่ ตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ และการให้และรับเลือดที่เหมาะสมที่สุดคือผู้ให้และผู้รับควรมีเลือดหมู่ เดียวกัน นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั หมเู่ ลอื ดระบบ Rh พรอ้ มทงั้ ศกึ ษารปู 15.18 ในหนงั สอื เรยี น แลว้ รว่ มกันอภิปรายและสรปุ หลกั การของการให้และรับเลือดในหมู่เลอื ดระบบ Rh และกรณีเลอื ดหมู่ Rh ของแมก่ บั ของลกู ในครรภ์ไม่ตรงกัน ซ่งึ ควรสรุปได้ดงั นี้ 1. คนทมี่ ีเลอื ดหมู่ Rh+ สามารถรับเลอื ดได้ทัง้ เลอื ดหมู่ Rh+ และ Rh- 2. คนที่มเี ลอื ดหมู่ Rh- ตอ้ งไดร้ บั เลือดหมู่ Rh- เทา่ นัน้ แต่ถา้ รบั เลือดหมู่ Rh+ ครัง้ แรกอาจไม่ เกิดอันตราย แต่จะเกดิ อันตรายรนุ แรงขน้ึ เร่ือย ๆ เมือ่ รับเลอื ดหมู่ Rh+ ครง้ั ตอ่  ๆ ไป 3. แมม่ เี ลอื ดหมู่ Rh+ ลูกในครรภ์จะมีเลอื ดหมู่ Rh+ หรือ Rh- ลูกก็จะไม่มีอันตรายท่ีเกิดจาก อรี ีโทรบลาสโทซสิ ฟที าลสิ 4. แม่มีเลือดหมู่ Rh- ถ้ามีลูกเลือดหมู่ Rh- จะไม่เป็นอันตราย แต่ถ้าเคยมีลูกที่เป็นเลือดหมู่ Rh+ มากอ่ นแลว้ ลกู คนตอ่ ไปถา้ มเี ลอื ดหมู่ Rh+ จะเปน็ อนั ตรายจากอรี โี ทรบลาสโทซสิ ฟที าลสิ ครูให้นักเรียนศึกษารูป 15.19 เพ่ือสรุปว่า ระบบหมุนเวียนเลือดนอกจากจะมีหน้าที่ลำ�เลียง สารอาหาร แกส๊ และของเสยี แล้ว ยงั เกย่ี วขอ้ งกับการรักษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ใิ นรา่ งกายดว้ ย จากน้นั ให้นักเรียนตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซึง่ มแี นวการตอบดังนี้ เพราะเหตใุ ดเมอ่ื ออกก�ำ ลงั กายอยา่ งหนกั จะมอี าการหนา้ แดง เหงอื่ ออกมากและหายใจแรงและ ถ่ขี ้ึน เม่ือออกกำ�ลังกายอย่างหนักเซลล์ในร่างกายจะต้องใช้พลังงานอย่างมาก จึงเกิดกระบวนการ เมแทบอลซิ มึ เพิม่ ข้นึ ทำ�ใหเ้ กดิ ความรอ้ นในรา่ งกายมากกวา่ ปกติ ศนู ยค์ วบคมุ อณุ หภมู ิทส่ี มอง สว่ นไฮโพทาลามสั จะสง่ สญั ญาณไปกระตนุ้ ใหห้ ลอดเลอื ดฝอยทผี่ วิ หนงั ขยายตวั เลอื ดหมนุ เวยี น ได้ดีข้ึน ทำ�ให้มีอาการหน้าแดง ขณะเดียวกันต่อมเหงื่อมีการขับเหงื่อเพิ่มข้ึนเพ่ือช่วยระบาย ความร้อน และกระบวนการเมแทบอลซิ ึมกท็ �ำ ใหเ้ กดิ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดใ์ นเลอื ด ร่างกาย จึงต้องขับแก๊สน้ีออกโดยการหายใจแรงและถี่ขึ้นเพื่อนำ�แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจาก ร่างกายใหเ้ ร็วที่สดุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดและระบบน�้ำ เหลอื ง 129 มนษุ ย์มีพฤติกรรมใดอีกบ้างเพือ่ ชว่ ยรักษาดุลยภาพของอณุ หภูมใิ นรา่ งกาย คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลายขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของนักเรียน เช่น เม่ืออากาศร้อนควร สวมใส่เส้อื ผ้าที่บาง อาบน�ำ้ บ่อยครัง้ หลีกเลยี่ งแสงแดดโดยอยู่ใต้รม่ ไม้ หรอื อยใู่ นอาคาร อยใู่ น หอ้ งทม่ี เี ครอื่ งปรบั อากาศหรอื พดั ลม เมอื่ อากาศเยน็ ควรสวมใสเ่ สอื้ ผา้ ทห่ี นาขนึ้ กอ่ กองไฟเพอื่ ผงิ ไฟ ออกกำ�ลงั กายเพือ่ เพิม่ ความร้อนใหก้ บั รา่ งกาย แนวการวดั และประเมนิ ผล ด้านความรู้ - โครงสร้างและการทำ�งานของหัวใจ และหลอดเลือดในมนษุ ย์ จากการท�ำ แบบทดสอบ - โครงสรา้ งหัวใจของสตั วเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนำ้�นมจากการท�ำ กิจกรรม - ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ ทศิ ทางการไหลของเลอื ดและการเคลอื่ นทข่ี องเซลลเ์ มด็ เลอื ด ในหลอดเลือดขนาดตา่ ง ๆ และความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วใน การไหลของเลอื ด จากการท�ำ กิจกรรม และแบบทดสอบ - ทศิ ทางการไหลของเลอื ดผา่ นบรเิ วณหวั ใจของมนษุ ย์ และการหมนุ เวยี นของเลอื ดในรา่ งกาย มนุษย์ จากการเขียนแผนผังสรุป และการท�ำ แบบทดสอบ - ความแตกต่างของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมา จากการ ทำ�แบบทดสอบ - หม่เู ลือดและหลกั การให้และรบั เลอื ดในหม่เู ลอื ดระบบ ABO และหมู่เลือดระบบ Rh จาก การท�ำ ตารางสรุปและแบบทดสอบ ด้านทักษะ - การสงั เกต และการจ�ำ แนกประเภท การลงความเหน็ จากขอ้ มลู และความรว่ มมอื การท�ำ งาน เปน็ ทีมและภาวะผูน้ �ำ จากการท�ำ กจิ กรรม - การส่อื สารสารสนเทศและการรู้เทา่ ทนั ส่อื จากการสืบคน้ ขอ้ มลู และการนำ�เสนอ ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ - ความซ่ือสัตย์ ความมุ่งมั่นอดทน ความอยากรู้อยากเห็น และความเชื่อม่ันต่อหลักฐาน เชงิ ประจักษ์ จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทำ�กิจกรรมและการอภิปรายร่วมกัน - ความมุ่งมนั่ อดทน จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

130 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบนำ�้ เหลอื ง ชีววิทยา เลม่ 4 15.3 ระบบนำ้�เหลอื ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าท่ีของน้ำ�เหลือง รวมทั้งโครงสร้างและหน้าที่ ของหลอดนำ้�เหลอื ง และตอ่ มน้ำ�เหลือง แนวการจดั การเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สู่บทเรยี นเกย่ี วกับระบบนำ้�เหลือง โดยการใชค้ �ำ ถาม ดังน้ี น�ำ้ เหลืองคืออะไร น�้ำ เหลืองตา่ งจากพลาสมาและซรี ัมอย่างไร คำ�ตอบของนักเรียนอาจมีหลากหลายขึ้นอยู่กับความรู้และประสบการณ์ของนักเรียน ครู อาจยงั ไมเ่ ฉลยค�ำ ตอบในทนั ที แตจ่ ะใหน้ กั เรยี นไดส้ บื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั น�ำ้ เหลอื ง หลอดน�้ำ เหลอื ง ตอ่ มน�ำ้ เหลอื ง การล�ำ เลยี งน�ำ้ เหลอื งในระบบน�้ำ เหลอื ง โดยครใู ชร้ ปู 15.20 รปู 15.21 และรูป 15.22 ในหนงั สอื เรียน แล้วใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย โดยใช้คำ�ถามเพ่มิ เติมและ คำ�ถามในหนังสือเรียนซง่ึ มแี นวการตอบคำ�ถามดังน้ี ส่วนประกอบของน้�ำ เหลอื งต่างจากเลือดหรือไม่ อยา่ งไร ตา่ งกนั คือ นำ้�เหลืองไมม่ ีเซลลเ์ มด็ เลือดแดง เพลตเลตและมีโปรตีนขนาดใหญ่จำ�นวนนอ้ ย ถ้าไมม่ ีการล�ำ เลยี งน�ำ้ เหลืองผา่ นตอ่ มนำ้�เหลอื งจะส่งผลต่อรา่ งกายอย่างไร เชอ้ื โรคจะไม่ถกู ดกั จับท่ตี ่อมนำ�้ เหลืองจึงเขา้ สรู่ ะบบหมุนเวยี นเลือดได้อย่างรวดเรว็ ถ้าหลอดนำ้�เหลอื งอดุ ตันจะสง่ ผลตอ่ ร่างกายอยา่ งไร ทำ�ให้เกิดการบวมเฉพาะที่ของร่างกาย เช่น แขน และขา เนื่องจากของเหลวระหว่างเซลล์มี ปรมิ าตรเพ่มิ ขนึ้ การไหลเวยี นของน�ำ้ เหลอื งในระบบน�ำ้ เหลอื งกบั การไหลเวยี นของเลอื ดในระบบหมนุ เวยี นเลอื ด เหมือนหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร แตกต่างกัน โดยการไหลเวียนของน้ำ�เหลืองในระบบน้ำ�เหลืองมีทิศทางไหลเข้าสู่หัวใจ ทิศทางเดียว ส่วนการไหลเวียนของเลือดในระบบหมุนเวียนเลือดมีการไหลเข้าและออกจาก หัวใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบนำ้�เหลอื ง 131 น�้ำ เหลอื งมาจากสว่ นใดของร่างกายและเขา้ สหู่ ลอดนำ�้ เหลืองฝอยไดอ้ ยา่ งไร น�้ำ เหลอื งมาจากของเหลวทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งเซลลห์ รอื อยรู่ อบ ๆ เซลลแ์ พรเ่ ขา้ สหู่ ลอดน�้ำ เหลอื งฝอย ซงึ่ มีปลายตนั เมื่อของเหลวระหว่างเซลล์มีปริมาตรเพ่ิมข้ึน แรงดันของของเหลวที่เพ่ิมสูงขึ้นจะส่งผลต่อ ร่างกายอย่างไร ทำ�ให้ร่างกายเกิดอาการบวม เพราะมีการสะสมของของเหลวมากเกินปกติ ซึ่งอาจจะเกิดจาก ยาบางชนดิ หรือไตท�ำ งานผิดปกติ พลาสมา ของเหลวระหว่างเซลล์ และน้ำ�เหลืองมคี วามสมั พันธ์กนั อย่างไร มีความสัมพันธ์กัน คือ ของเหลวระหว่างเซลล์เกิดจากพลาสมาแพร่ออกจากหลอดเลือดฝอย และเมอื่ ของเหลวระหวา่ งเซลลแ์ พรเ่ ขา้ ไปในหลอดน�้ำ เหลอื งฝอยจงึ เรยี กวา่ น�ำ้ เหลอื ง น�ำ้ เหลอื ง มีส่วนประกอบคล้ายพลาสมาแตม่ ีโปรตนี ขนาดใหญ่จำ�นวนน้อยกว่า ตรวจสอบความเขา้ ใจ ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบน�ำ้ เหลอื งเหมือนหรือแตกต่างกันอยา่ งไร ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดและระบบน�้ำ เหลอื งเปน็ ระบบทชี่ ว่ ยในการล�ำ เลยี งสาร หรอื หมนุ เวยี น สารในรา่ งกายเหมือนกนั แตม่ คี วามแตกตา่ งในเร่อื งโครงสร้างและทศิ ทางการล�ำ เลยี งสาร คือ ระบบหมุนเวียนเลือดเลือดจะไหลอยู่ในหลอดเลือดซึ่งติดต่อกัน มีทั้งหลอดเลือดท่ีนำ� เลือดเข้าสู่หัวใจและออกจากหัวใจ ส่วนระบบน้ำ�เหลืองน้ัน ปลายหลอดน้ำ�เหลืองฝอยจะ เปน็ ปลายตัน ทิศทางการไหลของน�ำ้ เหลืองจะเขา้ สหู่ ัวใจทางเดียว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

132 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบน�ำ้ เหลือง ชวี วทิ ยา เลม่ 4 แนวการวัดและประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ - ส่วนประกอบและหน้าท่ีของน้ำ�เหลือง โครงสร้างและหน้าที่ของหลอดน้ำ�เหลือง ตอ่ มนำ้�เหลือง จากการทำ�แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ ด้านทักษะ - การสังเกตจากการศกึ ษาภาพ - การสอ่ื สารสารสนเทศและการรู้เท่าทนั ส่ือ จากการน�ำ เสนอข้อมูล ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ - ความอยากรูอ้ ยากเห็น จากการอภิปรายรว่ มกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลือดและระบบนำ�้ เหลอื ง 133 เฉลยแบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 15 1. จงเตมิ ช่ือโครงสรา้ งในระบบหมุนเวยี นเลือดในร่างกายของมนุษย์ลงในชอ่ งวา่ งให้ถกู ต้อง Pulmonary artery Capillary of lung Pulmonary vein Pulmonary semilunar valve Left atrium Right ventricle Bicuspid valve Tricuspid valve Left ventricle Right atrium Aortic semilunar valve Aorta Artery Arteriole Capillary Venule Vein Vena cava สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

134 บทท่ี 15 | ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบนำ�้ เหลอื ง ชีววทิ ยา เล่ม 4 2. จงน�ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความทอี่ ยดู่ า้ นขวามอื เตมิ ในชอ่ งวา่ งดา้ นซา้ ยมอื ใหม้ คี วามสมั พนั ธก์ นั ��ค��.���2.1 atherosclerosis ก. กราฟท่ีได้จากการบันทึกการเปล่ียนแปลง ทางไฟฟา้ ของกลา้ มเนอื้ หวั ใจ ซงึ่ ตรงกบั จงั หวะ การทำ�งานของหวั ใจส่วนต่าง ๆ ��ข��.���2.2 artificial pacemaker ข. เครื่องท่ีทำ�ให้เกิดสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นให้ กลา้ มเนอ้ื หัวใจทำ�งานได้เป็นปกติ ��จ��.���2.3 blood clotting ค. ภ าวะท่ีหลอดเลือดตีบและแข็งเน่ืองจากการ ��ก��.���2.4 electrocardiogram สะสมของคอเลสเตอรอลทผ่ี นังหลอดเลอื ด ง. ก า ร เ พิ่ ม จำ � น ว น ข อ ง เ ซ ล ล์ เ ม็ ด เ ลื อ ด ข า ว อยา่ งผิดปกติ และไมส่ ามารถท�ำ งานได้ ��ฉ��.���2.5 erythroblastosis fetalis จ. กระบวนการท่ีทำ�ให้เกิดการสานของไฟบริน เปน็ รา่ งแหโปรตนี โดยจะรวมกบั เพลตเลต และ ��ง��.���2.6 leukemia เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดงไปอุดบาดแผล ฉ. ภาวะทีเ่ กิดกับลูกท่ีมีเลือดหมู่ Rh+ ตั้งแตค่ นที่ 2 ข้ึนไป และแม่ที่มีเลือดหมู่ Rh- สร้าง แอนตบิ อดตี อ่ แอนตเิ จน Rh ได้ เนอื่ งจากไดร้ บั แอนตเิ จน Rh จากลกู ทม่ี เี ลอื ดหมู่ Rh+ คนแรก ขณะคลอด 3. จงใส่เคร่ืองหมายถูก (√) หน้าข้อความท่ีถูกต้อง ใส่เคร่ืองหมายผิด (×) หน้าข้อความท่ี ไม่ถูกต้อง และขีดเส้นใต้เฉพาะคำ�หรือส่วนของข้อความท่ีไม่ถูกต้อง และแก้ไขโดย เตมิ ค�ำ หรือข้อความท่ีถกู ต้องลงในชอ่ งวา่ งใต้ขอ้ ความ �������3.1 ถ้าเสน้ ประสาททุกเส้นทไี่ ปยังหวั ใจถกู ท�ำ ลาย พบว่าหวั ใจจะหยดุ ทำ�งานทันที แกไ้ ขเปน็ จะไม่หยุด อธิบาย หวั ใจมี pacemaker ทีก่ ระตนุ้ ให้หัวใจท�ำ งานตลอดเวลา เส้นประสาท เพยี งเปลี่ยนอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ �������3.2 เลือดที่มี O2 ต่ำ�จะเข้าสู่เอเทรียมขวาของหัวใจโดยตรง เน่ืองจากไม่มีล้ินกั้น ระหว่างหลอดเลือดและหวั ใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบนำ้�เหลือง 135 �������3.3 เลอื ดในเวนทรเิ คลิ ขวามคี วามเขม้ ขน้ ของ O2 นอ้ ยกวา่ เลอื ดในพลั โมนารอี ารเ์ ทอรี ขอ้ ความท่ีผดิ กรณีท่ี 1 เลอื ดในเวนทรเิ คลิ ขวามคี วามเขม้ ขน้ ของ O2 นอ้ ยกวา่ เลอื ดในพลั โมนารอี ารเ์ ทอรี แก้ไขเป็น เทา่ กับ ขอ้ ความทีผ่ ิดกรณที ่ี 2 เลอื ดในเวนทรเิ คลิ ขวามคี วามเขม้ ขน้ ของ O2 นอ้ ยกวา่ เลอื ดในพลั โมนารอี ารเ์ ทอรี แก้ไขเป็น พัลโมนารเี วน �������3.4 โคโรนารอี าร์เทอรเี ปน็ หลอดเลือดทีน่ �ำ เลอื ดไปเลยี้ งกล้ามเน้ือหวั ใจ �������3.5 ในคนปกตวิ ดั ความดนั เลอื ดไดป้ ระมาณ 120/80 มลิ ลเิ มตรปรอท ถา้ เวนทรเิ คลิ บบี ตวั แรงขึ้น แต่ยงั คลายตัวปกติ พบวา่ จะท�ำ ใหค้ วามดันซสิ โทลกิ ลดลง แกไ้ ขเป็น เพ่มิ ขึ้น �������3.6 ผนังของอาร์เทอรี หลอดเลือดฝอย และเวน ประกอบด้วยเน้ือเย่ือบุผิวชั้นใน เนอื้ เยือ่ กลา้ มเนื้อ และเน้อื เย่ือเก่ยี วพัน แกไ้ ขโดย ตดั คำ�ว่า หลอดเลอื ดฝอย �������3.7 หลอดเลือดฝอยมีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กแต่มีพื้นที่ผิวรวมมาก เลือดใน หลอดเลอื ดฝอยจงึ ไหลเร็ว แก้ไขเปน็ ชา้ �������3.8 เซลล์เม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดของคนมีรูปร่างกลมแบน ตรงกลางบุ๋ม ไม่มี นวิ เคลยี ส มีไมโทคอนเดรยี มฮี โี มโกลบินซง่ึ สามารถจับ O2 และ CO2 ได้ แก้ไขเป็น ไมม่ ี �������3.9 เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงสามารถเคลอ่ื นผา่ นผนงั หลอดเลอื ดฝอยสเู่ นอื้ เยอื่ ทม่ี เี ชอื้ โรค และเคลื่อนทเ่ี ขา้ หาสารเคมีที่เชอื้ โรคหรือทเ่ี ซลลแ์ ปลกปลอมปล่อยออกมา ขอ้ ความท่ีผิดกรณที ่ี 1 เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง สามารถเคลอ่ื นผา่ นผนงั หลอดเลอื ดฝอยสเู่ นอื้ เยอื่ ทมี่ เี ชอื้ โรค และเคล่ือนท่ีเขา้ หาสารเคมที ่ีเช้ือโรคหรอื ท่ีเซลลแ์ ปลกปลอมปลอ่ ยออกมา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

136 บทท่ี 15 | ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบน้�ำ เหลอื ง ชีววิทยา เลม่ 4 แก้ไขเป็น เซลล์เมด็ เลอื ดขาว ข้อความทีผ่ ดิ กรณที ี่ 2 เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงสามารถเคลอื่ นผา่ นผนงั หลอดเลอื ดฝอยสเู่ นอ้ื เยอื่ ทมี่ เี ชอ้ื โรค และเคลื่อนท่ีเข้าหาสารเคมที ีเ่ ชื้อโรคหรือทเี่ ซลลแ์ ปลกปลอมปล่อยออกมา แกไ้ ขเปน็ ไมส่ ามารถ �������3.10 ในผ้ใู หญ่เซลล์เม็ดเลอื ดแดงทง้ั หมดสรา้ งจากเซลล์ตน้ ก�ำ เนิดในไขกระดูก �������3.11 น้�ำ เหลืองตา่ งจากพลาสมาเพราะมีปริมาณโปรตีนน้อยกว่า �������3.12 หลอดน้ำ�เหลืองมีลิน้ กน้ั ซึง่ คลา้ ยกบั หลอดเลือดเวน 4. Transposition of the great vessels (TGV) เป็นความผิดปกติ ตั้ ง แ ต่ แ ร ก เ กิ ด ท่ี มี ก า ร ส ลั บ ข อ ง หลอดเลือดดังรูป 4.1 จงเขยี นวงจรการไหลของเลอื ดในรา่ งกายของผทู้ ม่ี คี วามผดิ ปกตนิ ้ี โดยระบหุ ลอดเลอื ด และหอ้ งหวั ใจที่เก่ียวขอ้ ง ตอบ วงจรการไหลของเลือดในรา่ งกายมี 2 วงจรดังน้ี วงจรท่ี 1 vena cava right atrium right ventricle aorta body วงจรที่ 2 pulmonary vein left atrium left ventricle pulmonary artery lung สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวยี นเลือดและระบบน้ำ�เหลือง 137 4.2 ผลกระทบและความร้ายแรงของการท่ีหลอดเลือดสลับตำ�แหน่งกันในกรณีน้ีเป็น อยา่ งไร ตอบ ในผู้ท่ีมีความผิดปกตินี้ตำ�แหน่งของเอออร์ตากับพัลโมนารีอาร์เทอรีสลับกัน ดังน้ันเลือดท่ีไหลไปสู่ปอดจะแยกวงจรกับเลือดท่ีไปเล้ียงทั่วร่างกาย โดยเลือดท่ี เอออร์ตาและอาร์เทอรีนำ�ไปเล้ียงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายนั้นจะเป็นเลือดที่มีปริมาณ O2 ตำ่� (deoxygenated blood) เน้ือเย่ือจึงได้รับ O2 ไม่เพียงพอ และการท่ีเลือด แยกไหลเป็นสองวงจรเช่นน้ี จะทำ�ให้เลือดท่ีผ่านการแลกเปล่ียนแก๊สจะไม่ไปยัง สว่ นอ่นื ของร่างกาย ความรนุ แรงของความผดิ ปกติน้ีจงึ ค่อนขา้ งสงู (ผทู้ ม่ี คี วามผดิ ปกตนิ สี้ ว่ นใหญจ่ ะมชี อ่ งเปดิ ระหวา่ ง aortic arch และพลั โมนารอี ารเ์ ทอรที �ำ ใหเ้ ลอื ด จากสองระบบสามารถผสมกนั ไดบ้ า้ ง แตย่ งั คงตอ้ งไดร้ บั การผา่ ตดั เพอื่ แกไ้ ขความผดิ ปกตดิ งั กลา่ ว) 5. Ventricular septal defect (VSD) เปน็ ความผดิ ปกตทิ พี่ บตงั้ แตแ่ รกเกดิ โดยหวั ใจของผปู้ ว่ ย จะมีรูเปิดท่ีผนังระหว่างเวนทริเคิลซ้ายและเวนทริเคิลขวา ผู้ที่เป็นโรคน้ีจะมีอาการ หวั ใจเต้นเร็ว หายใจถ่ี เหนื่อยหอบง่าย สามารถใชค้ วามร้เู กยี่ วกบั โครงสรา้ งและกลไกการ ทำ�งานของหวั ใจอธบิ ายอาการดงั กล่าวไดอ้ ย่างไร ตอบ การท่ีมีรูเปิดท่ีผนังระหว่างเวนทริเคิลซ้ายและเวนทริเคิลขวา จะทำ�ให้เลือดท่ีมี ออกซเิ จนสงู และต�ำ่ มาผสมกนั เลอื ดออกจากหวั ใจไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายจงึ มปี รมิ าณ O2 ต�ำ่ และปริมาณ CO2 สูงกว่าคนปกติ ท�ำ ให้ประสิทธภิ าพการแลกเปลย่ี นแกส๊ ท่ีเน้ือเยอื่ ลดลง เลอื ดจึงมคี วามเข้มขน้ ของ CO2 สงู และความเข้มข้นของ O2 ตำ�่ กว่าทคี่ วร รา่ งกาย จงึ ตอบสนองดว้ ยการหายใจถแ่ี ละหวั ใจเตน้ เรว็ ท�ำ ใหบ้ คุ คลทเี่ ปน็ โรคมอี าการเหนอ่ื ยหอบ ง่ายเมื่อทำ�กิจกรรมต่าง ๆ 6. จากตารางแสดงเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของหลอดเลอื ด หลอดเลอื ด คา่ เฉล่ยี ของเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง คา่ เฉล่ยี ของเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง ภายนอก (µm) ภายใน (µm) A 10 8 B 3,000 1,000 C 3,500 3,000 หลอดเลือดใดเปน็ อาร์เทอรี เวน และหลอดเลอื ดฝอย เพราะเหตุใด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

138 บทที่ 15 | ระบบหมนุ เวียนเลอื ดและระบบนำ้�เหลือง ชวี วทิ ยา เล่ม 4 ตอบ A คือ หลอดเลือดฝอย B คือ อาร์เทอรี C คือ เวน เพราะ A มขี นาดเลก็ และเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกกบั ภายในใกล้เคียงกันแสดงว่ามผี นงั บางมาก B และ C มีขนาดใกล้เคียงกัน แต่เส้นผา่ นศูนยก์ ลางภายในของ B น้อยกวา่ C แสดงวา่ B ผนังหนากวา่ C ดังนน้ั B คือ อารเ์ ทอรี และ C คอื เวน การท่ีอาร์เทอรีมีผนังหนาท่ีสุดน้ันเหมาะสมกับหน้าที่ เนื่องจากเลือดภายในอาร์เทอรีจะมี แรงดันสูง ชั้นกล้ามเนื้อและเน้ือเยื่อเก่ียวพันทำ�ให้อาร์เทอรีมีความยืดหยุ่นมาก สามารถ ขยายตัวรองรับแรงดันเลือดท่ีค่อนข้างสูงจากเวนทริเคิลซ้ายได้ ส่วนเวนมีขนาดใหญ่เช่น เดยี วกนั แต่มีผนงั ท่ีบางกวา่ อาร์เทอรี ซึง่ สอดคลอ้ งกบั การทเี่ วนนำ�เลือดท่มี ีแรงดนั ต่�ำ กลบั เขา้ สหู่ วั ใจ ส�ำ หรบั หลอดเลอื ดฝอยมขี นาดเลก็ และผนงั บางมากเมอ่ื เทยี บกบั อารเ์ ทอรแี ละเวน ซึ่งสอดคล้องกับการที่หลอดเลือดฝอยเป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนสารระหว่าง หลอดเลือดและเน้ือเยื่อ ซึ่งทำ�ให้ระยะทางระหว่างภายในและพื้นผิวของหลอดเลือดนั้น มีคา่ ลดลง การแลกเปลีย่ นสารจงึ เกดิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ 7. ไสเ้ ดอื นดนิ อาศยั ในดนิ ทชี่ นื้ เซลลข์ องรา่ งกายจงึ มโี อกาสสมั ผสั กบั น�ำ้ ตลอดเวลา ท�ำ ใหเ้ ซลล์ สามารถแลกเปลยี่ นแกส๊ กบั สงิ่ แวดลอ้ มไดโ้ ดยตรง เพราะเหตใุ ดไสเ้ ดอื นดนิ จงึ ยงั จ�ำ เปน็ ตอ้ ง มีระบบหมุนเวียนเลือด ขณะที่พลานาเรียหรือกลุ่มหนอนตัวแบนไม่ต้องอาศัยระบบ หมุนเวยี นเลือด ตอบ เพราะไสเ้ ดอื นดินมีขนาดตัวท่ใี หญ่กว่าพลานาเรีย การแลกเปลีย่ นแกส๊ ระหวา่ งเซลล์ กบั สง่ิ แวดลอ้ มสามารถเกดิ ขน้ึ ไดส้ �ำ หรบั เซลลท์ อ่ี ยดู่ า้ นนอก ขณะทเ่ี ซลลด์ า้ นในจ�ำ เปน็ ตอ้ ง อาศัยระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้ท่ัวถึง ส่วนพลานาเรียมี ขนาดเลก็ สามารถแลกเปลย่ี นแก๊สได้ท่ัวถงึ โดยไม่จำ�เปน็ ตอ้ งอาศยั ระบบหมุนเวียนเลอื ด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี