Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-28 06:23:00

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา4,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ชีววทิ ยา เล่ม 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย 189 จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างหรืออวัยวะในการกำ�จัดของเสียที่มีไนโตรเจนเป็น องค์ประกอบ และร่วมกนั อธบิ ายโดยใชค้ ำ�ถาม ดงั นี้ อวัยวะท่ีทำ�หน้าที่ในการกำ�จัดของเสียของสัตว์มีกระดูกสันหลังเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร สัตว์มีกระดูกสันหลังมีการกำ�จัดของเสียท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบในรูปใดบ้าง เพราะเหตใุ ด จากการสืบค้นข้อมูลและการอธิบายนักเรียนควรได้ข้อสรุปว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังมีไตเป็น อวัยวะในระบบขับถ่ายท่ีทำ�หน้าท่ีกำ�จัดของเสียเหมือนกัน แต่อาจมีรูปร่างและขนาดของไตแตกต่าง กนั สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั จะขบั ของเสยี ทมี่ ไี นโตรเจนเปน็ องค์ประกอบออกในรูปของแอมโมเนยี ยเู รยี หรอื กรดยรู ิกข้ึนกับส่ิงแวดล้อมท่อี าศยั จากนัน้ อาจใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามชวนคดิ ในหนงั สือเรียน ชวนคิด สัตว์กลุ่มเดียวกัน เช่น เต่าบกกับเต่าท่ีอาศัยอยู่ในนำ้�จะมีการกำ�จัดของเสียท่ีมีไนโตรเจน เปน็ องคป์ ระกอบในรปู ท่ีเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร แตกต่างกัน เพราะเต่าทั้ง 2 กลุ่มใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในแหล่งที่อยู่อาศัยไม่เหมือนกัน โดยเตา่ บกทอ่ี าศยั บนบกตอ้ งสญู เสยี น�ำ้ ใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ จงึ ตอ้ งก�ำ จดั ของเสยี ในรปู ของกรดยรู กิ สว่ นเตา่ ที่อาศยั อยใู่ นน้�ำ จะขบั ท้งั ยเู รยี และแอมโมเนีย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

190 บทท่ี 17 | ระบบขับถ่าย ชวี วทิ ยา เลม่ 4 แนวการวดั และประเมินผล ด้านความรู้ - กระบวนการขบั ถา่ ยของฟองน�ำ้ ไฮดราพลานาเรยี ไสเ้ ดอื นดนิ แมลงและสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั จากการตอบค�ำ ถาม การอธบิ าย การเปรยี บเทียบ การท�ำ แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ ด้านทักษะ - การจ�ำ แนกประเภท การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ จากการตอบค�ำ ถาม อธบิ าย และการเปรยี บเทยี บ - การสอื่ สารสารสนเทศและการรูเ้ ท่าทนั สอ่ื จากการสบื ค้นขอ้ มูล ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ความมุ่งมน่ั อดทน จากการสบื คน้ ข้อมลู 17.2 การขับถ่ายของมนุษย์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธิบายโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องไต และโครงสร้างทใ่ี ช้ล�ำ เลียงปสั สาวะของมนุษย์ แนวการจัดการเรียนรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู น�ำ บทแลว้ ตง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย เชน่ ปัสสาวะในคนปกตคิ วรมสี ี กลน่ิ ความขนุ่ หรอื ใส อย่างไร ปัสสาวะเกิดขึน้ ได้อย่างไร จากการอภิปรายอาจสรุปได้ว่าปัสสาวะในคนปกติจะมีสีเหลืองอ่อน แต่หากด่ืมนำ้�มากอาจใส มสี จี างหรอื หากดม่ื น�ำ้ นอ้ ยสจี ะเขม้ ขนึ้ ปสั สาวะอาจมกี ลน่ิ แอมโมเนยี จางๆ (ไมร่ วมกรณที ก่ี นิ ยาวติ ามนิ หรืออาหารบางชนิดท่ีอาจทำ�ให้มีสีหรือกล่ินที่แตกต่างออกไป) นอกจากนี้ปัสสาวะไม่ควรขุ่นแต่อาจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย 191 ขุ่นไดเ้ ลก็ น้อยจากการปนเปื้อนสารคดั หล่งั จากอวัยวะเพศ โดยปสั สาวะเกดิ ขึน้ จากการท�ำ งานของไต ในระบบขับถ่ายซ่ึงทำ�หน้าที่กำ�จัดของเสียท่ีเกิดจากเมแทบอลิซึม รักษาดุลยภาพของนำ้�และสาร ตา่ ง ๆ ในร่างกาย และรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลอื ด จากน้ันครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเมแทบอลิซึมของร่างกายมนุษย์ โดยใช้คำ�ถาม ให้นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายดงั นี้ ของเสยี ทเี่ กดิ จากกระบวนการเมแทบอลซิ ึมของร่างกายมีอะไรบ้าง สารใดท่ีร่างกายมีการสะสมไว้ปริมาณมากแล้วจะเกิดอันตราย และร่างกายจะมีวิธีการ จดั การกบั สารดงั กล่าวอยา่ งไร จากการอภปิ รายนกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ กระบวนการเมแทบอลซิ มึ ในรา่ งกายท�ำ ใหเ้ กดิ ของเสยี ตา่ ง ๆ เชน่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และของเสยี ทมี่ ไี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ หากมกี ารสะสมไวใ้ น เซลลจ์ ะท�ำ อนั ตรายตอ่ เซลลไ์ ด้ รา่ งกายจงึ ตอ้ งมวี ธิ กี �ำ จดั ออกนอกรา่ งกาย เชน่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ กำ�จัดออกโดยการหายใจ ของเสียท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบกำ�จัดออกโดยไตในกระบวนการ ขับถา่ ย ครูอาจใช้รูปกระบวนการสลายคาร์โบไฮเดรต ลิพดิ และโปรตนี ในภาวะที่มีออกซเิ จนเพียงพอ (รปู 3.40 ในหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 1) มาประกอบเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเหน็ วา่ การสลาย โปรตนี จะได้ แอมโมเนีย ยเู รยี และกรดยูรกิ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ของเสยี ทร่ี ะบบขบั ถา่ ยตอ้ งก�ำ จดั ออกนอกรา่ งกายมนษุ ย์ โดยระบบ ขับถ่ายของมนุษย์ทำ�หน้าที่กำ�จัดของเสียท่ีเกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึมที่มีไนโตรเจนเป็น องค์ประกอบซึ่งจะถูกขับถ่ายออกไปกับปัสสาวะ ส่วนกากอาหารท่ีเกิดจากการท่ีร่างกายย่อยอาหาร ไมไ่ ดห้ รือย่อยไม่หมดในระบบยอ่ ยอาหารจะถกู ก�ำ จัดออกไปในรปู ของอุจจาระ สำ�หรับของเสียอื่น ๆ เช่น ยูเรียบางส่วนถูกกำ�จัดออกทางผิวหนังในรูปของเหงื่อ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ถกู กำ�จดั ออกโดยระบบหายใจ จากนั้นครูอาจใช้คำ�ถามชวนคิด เพ่ือให้นักเรียนแยกความแตกต่างระหว่างการขับถ่ายกับการ ถ่ายอจุ จาระ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

192 บทที่ 17 | ระบบขับถา่ ย ชวี วิทยา เล่ม 4 ชวนคดิ การถ่ายอจุ จาระ (defaecation) เป็นสว่ นหน่ึงของระบบขบั ถ่ายหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ไม่เป็น เพราะการถ่ายอุจจาระ คือ การกำ�จัดกากอาหารท่ีย่อยไม่ได้หรือย่อยไม่หมด ออกจากรา่ งกายซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั ระบบยอ่ ยอาหาร สว่ นระบบขบั ถา่ ย คอื การก�ำ จดั ของเสยี ทีเ่ กดิ จากกระบวนการเมแทบอลิซึมโดยเฉพาะของเสียทีม่ ีไนโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ ครูเชื่อมโยงถึงการลำ�เลียงสารต่าง ๆ ที่ได้จากกระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกายซึ่งจะถูก ล�ำ เลียงอย่ใู นรูปของของเหลว แลว้ อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับของเหลวในร่างกาย ดงั รูป 17.6 ซงึ่ จะเกดิ การแลกเปลย่ี นสารต่าง ๆ ระหวา่ งของเหลวภายในเซลล์และของเหลวภายนอกเซลล์ตลอดเวลา ทั้งนี้ ของเหลวในร่างกายมนุษย์จะประกอบด้วยนำ้�เป็นส่วนใหญ่ การได้รับและการสูญเสียนำ้�ในแต่ละวัน จึงมีผลต่อปริมาณของเหลวและสารต่าง ๆ ร่างกายจึงต้องมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของนำ้�และ สารต่าง ๆ ไว้ ครใู ชค้ �ำ ถามเพอื่ เชอื่ มโยงกบั ความรทู้ นี่ กั เรยี นไดศ้ กึ ษามาแลว้ เกย่ี วกบั อวยั วะทที่ �ำ หนา้ ทใี่ นการ ก�ำ จดั ของเสยี ของร่างกายมนุษย์และรักษาดลุ ยภาพของน�้ำ และสารตา่ ง ๆ เช่น ไตของมนษุ ยม์ ลี กั ษณะอยา่ งไร และมีหน้าท่สี ำ�คญั อะไรบ้าง นักเรียนควรตอบได้ว่าไตของมนุษย์มีลักษณะคล้ายเมล็ดถ่ัวแดง ทำ�หน้าท่ีกำ�จัดของเสียท่ีเกิด จากกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ในรา่ งกายโดยเฉพาะของเสยี ทมี่ ไี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ และรกั ษา ดุลยภาพของนำ�้ และสารตา่ ง ๆ รักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลือด รวมทง้ั ขบั สารแปลกปลอม เช่น ยาบางชนดิ วัตถุปรงุ แตง่ อาหาร จากนั้นครใู หน้ ักเรยี นท�ำ กิจกรรม 17.1 โครงสรา้ งของไต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 17 | ระบบขับถ่าย 193 กิจกรรม 17.1 โครงสร้างของไต จุดประสงค์ 1. ศกึ ษาโครงสร้างภายนอกและภายในของไตสัตวม์ กี ระดูกสันหลงั 2. ระบุ และอธบิ ายลักษณะโครงสรา้ งภายนอกและภายในของไต เวลาทใี่ ช้ (โดยประมาณ) 1 ช่ัวโมง รายการ ปรมิ าณต่อกลุม่ 1. ไตหมูหรอื ไตวัว 1 อัน 2. เครอ่ื งมือผ่าตดั 1-2 ชุด 3. ถาดผ่าตดั 1 ถาด 4. แว่นขยาย 2 อัน 5. ถุงมือยาง ตามจำ�นวนนักเรยี น การเตรียมล่วงหนา้ 1. ครูควรเตรียมการล่วงหน้าโดยหาซื้อไตหมูหรือไตวัวซึ่งมีขายในตลาด โดยสั่งผู้ขายว่าควร ใหม้ หี ลอดเลอื ดท่เี ข้าและออกจากไตรวมถงึ ทอ่ ไตส่วนต้นด้วย 2. กอ่ นใหน้ กั เรยี นลงมอื ศกึ ษาควรใหน้ กั เรยี นสวมถงุ มอื ยางส�ำ หรบั ผา่ ตดั และลา้ งไตใหส้ ะอาด ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับครู ก่อนการผ่าควรใช้แท่งแก้วสอดเข้าไปทางช่องเปิดของท่อไต เพ่ือหาตำ�แหน่งกรวยไตที่มี ลักษณะเป็นโพรง แนวการจัดกจิ กรรม ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ และท�ำ กจิ กรรมตามขนั้ ตอนในหนงั สอื เรยี น จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นรว่ ม กันระบแุ ละอธบิ ายเกี่ยวกบั โครงสรา้ งของไตตามลกั ษณะที่พบ และตอบคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

194 บทท่ี 17 | ระบบขับถา่ ย ชวี วทิ ยา เล่ม 4 ผลการทำ�กจิ กรรม โครงสร้างภายนอกของไต โครงสร้างภายในของไต เมอื่ ผ่าตามยาว เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม โครงสรา้ งภายนอกและภายในของไตที่สังเกตได้ มลี ักษณะอย่างไร ไตมสี แี ดงหรอื แดงอมชมพู รปู รา่ งคลา้ ยเมลด็ ถวั่ แดง ยาวประมาณ 10-13 เซนตเิ มตร กวา้ ง 6 เซนติเมตร หนา 3 เซนติเมตร เมื่อผ่าไตตามยาวจะเห็นไตแบ่งเป็น 2 บริเวณ คือ ส่วนนอก เรยี กวา่ คอรเ์ ทกซ์ และส่วนใน เรยี กว่า เมดลั ลา นอกจากน้ียงั มีส่วนทเี่ ป็นโพรง ซง่ึ จะแคบลงต่อกับทอ่ ไตเรยี กวา่ กรวยไต เน้อื ไตบริเวณคอร์เทกซ์และเมดัลลาแตกตา่ งกันอย่างไร เน้ือไตบริเวณเมดัลลาท่ีมีลักษณะคล้ายรูปพีระมิดจะมีสีเข้มกว่าเน้ือไตบริเวณคอร์เทกซ์ ดงั รูป คอร์เทกซ์ เมดัลลา กรวยไต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 4 บทที่ 17 | ระบบขบั ถ่าย 195 หลงั จากทน่ี ักเรียนท�ำ กิจกรรม ครคู วรช้แี จงเพมิ่ เติมวา่ โครงสร้างของไตหมูหรอื ไตวัวมีลกั ษณะ คลา้ ยคลงึ กบั โครงสรา้ งของไตมนษุ ย์ แตก่ จิ กรรม 17.1 จะไมเ่ หน็ รายละเอยี ดของเนอื้ เยอื่ ในไตมากนกั ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายเกย่ี วกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องไต รวมทง้ั โครงสรา้ งทที่ �ำ หนา้ ท่ี ลำ�เลียงปัสสาวะออกจากร่างกาย หรืออาจใช้รูป 17.7-17.9 ในหนังสือเรียนประกอบการอธิบาย ซ่ึง นักเรียนควรอธิบายไดว้ า่ อวัยวะในระบบขับถ่ายของมนษุ ยป์ ระกอบด้วย ไต ทอ่ ไต กระเพาะปัสสาวะ และทอ่ ปสั สาวะ ไตทำ�หน้าที่กำ�จัดของเสียที่มไี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ รักษาดุลยภาพของนำ้�และ สารตา่ งๆ รักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสและขบั สารแปลกปลอมบางอย่าง โดยมรี ะบบหมุนเวยี นเลือด นำ�เลือดที่มีสารท่ีมีประโยชน์และของเสียมาที่ไตผ่านรีนัลอาร์เทอรีและน�ำ เลือดที่ผ่านกระบวนการ ต่าง ๆ ออกจากไตผ่านรีนัลเวน และเม่ือพิจารณาโครงสร้างของไตผ่าตามยาวจะพบว่าภายในเน้ือไต ประกอบดว้ ยหนว่ ยไตจ�ำ นวนมาก ซงึ่ แตล่ ะหนว่ ยไตประกอบดว้ ย โกลเมอรลู สั โบวแ์ มนสแ์ คปซลู และ ท่อหน่วยไตซ่ึงส่วนปลายของท่อหน่วยไตจากหลายหน่วยไตจะเปิดออกสู่ท่อรวม ส่วนโครงสร้างที่ใช้ ล�ำ เลยี งปสั สาวะได้แก่ ทอ่ ไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ แนวการวัดและประเมนิ ผล ด้านความรู้ - โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องไต โครงสรา้ งทใี่ ชล้ �ำ เลยี งปสั สาวะออกจากรา่ งกาย จากการสบื คน้ ขอ้ มูล การท�ำ กจิ กรรมและการท�ำ แบบทดสอบ ด้านทักษะ - การสงั เกต การลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการท�ำ กจิ กรรม - การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื จากการสบื คน้ ขอ้ มลู - ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการท�ำ กจิ กรรม ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ จากการตอบคำ�ถามและการท�ำ กิจกรรม - ความเชอื่ มัน่ ต่อหลักฐานเชิงประจกั ษ์ จากการท�ำ กิจกรรม - ความม่งุ มั่นอดทน จากการสบื คน้ ขอ้ มลู และการท�ำ กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

196 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย ชีววิทยา เลม่ 4 17.3 การท�ำ งานของหนว่ ยไต จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สบื ค้นข้อมูล อธิบายและสรุปกลไกการก�ำ จดั ของเสียออกจากรา่ งกายโดยหนว่ ยไต 2. เขยี นแผนผงั สรปุ ข้นั ตอนการกำ�จดั ของเสียออกจากรา่ งกายโดยหน่วยไต แนวการจัดการเรียนรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยทบทวนเกยี่ วกบั หนา้ ทข่ี องอวยั วะและโครงสรา้ งในระบบขบั ถา่ ยของ รา่ งกายมนษุ ย์ ซงึ่ แตล่ ะอวยั วะท�ำ หนา้ ทรี่ ว่ มกนั ในการก�ำ จดั และล�ำ เลยี งของเสยี ออกจากรา่ งกาย ไดแ้ ก่ ไต ทำ�หน้าท่ีกำ�จัดของเสียท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบและควบคุมสมดุลของสารต่าง ๆ ท่อไต ทำ�หน้าที่ลำ�เลียงปัสสาวะไปยังกระเพาะปัสสาวะซ่ึงทำ�หน้าที่เก็บปัสสาวะ และท่อปัสสาวะทำ�หน้าที่ ลำ�เลียงปัสสาวะออกจากร่างกาย ท้ังน้ีไตเป็นอวัยวะที่สำ�คัญโดยภายในเนื้อไตมีโครงสร้างที่เป็น หน่วยการทำ�งานที่เรียกว่า หน่วยไต ซ่ึงมีจำ�นวนมากทำ�หน้าท่ีในการกำ�จัดของเสียที่มีไนโตรเจนเป็น องค์ประกอบและรักษาดุลยภาพของสารตา่ ง ๆ ในเลือดใหส้ มดลุ อยู่เสมอ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับกลไกการกำ�จัดของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ โดยการทำ�งานของหน่วยไต โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี หนว่ ยไตสามารถสร้างปัสสาวะไดอ้ ยา่ งไร ค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจมีไดห้ ลากหลาย ซง่ึ ครจู ะยังไม่สรุป จากนั้นครูให้นักเรียนสบื คน้ ข้อมูล เกี่ยวกับการทำ�งานของหน่วยไต โดยเน้นให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับกระบวนการทำ�งานของหน่วยไต ในการกำ�จัดของเสียท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายและ สรุปโดยครูอาจใช้รูป 17.10 จากหนังสือเรียนในการอธิบายและสรุปกลไกการสร้างปัสสาวะซ่ึง ประกอบด้วยการกรอง การดูดกลับ และการหล่ัง ครูอาจเช่ือมโยงความรู้ระหว่างการดูดกลับ และ การหล่ัง กับวิธีการลำ�เลียงสารเข้าและออกจากเซลล์จากที่นักเรียนได้ศึกษามา เช่น การดูดกลับนำ้� เป็นการลำ�เลียงแบบออสโมซิส การดูดกลับกรดแอมิโน กลูโคส โซเดียมไอออนเป็นการลำ�เลียงแบบ แอกทฟี ทรานสปอร์ต ครูให้นักเรียนศึกษาตาราง 17.1 ในหนังสือเรียน ซ่ึงแสดงปริมาตรของของเหลวและ ความเข้มข้นของสารตา่ ง ๆ ทพ่ี บในพลาสมา ของเหลวทผ่ี า่ นการกรองและปัสสาวะ เพอื่ เปรยี บเทยี บ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถ่าย 197 ความเขม้ ขน้ ของสารแตล่ ะชนดิ ซง่ึ จะท�ำ ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจและสามารถเชอื่ มโยงไปถงึ ผลลพั ธท์ เี่ กดิ จาก กระบวนการทำ�งานของหน่วยไตตามท่ีนักเรียนได้ศึกษา ครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับโมเลกุลของ โปรตีนที่จะผ่านโกลเมอรูลัสได้น้ันต้องเป็นโปรตีนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก แล้วให้ตอบคำ�ถามใน หนังสอื เรยี นซงึ่ มีแนวค�ำ ตอบดังน้ี สารใดทีพ่ บในปสั สาวะมีความเขม้ ขน้ สูงกว่าทพ่ี บในของเหลวทผี่ ่านการกรอง ยูเรยี กรดยูริก ครีเอทนิ ีน คลอไรดไ์ อออน โพแทสเซยี มไอออน ถา้ ผนงั ของโกลเมอรลู สั และโบวแ์ มนสแ์ คปซลู ถกู ท�ำ ลายหรอื ฉกี ขาดจะพบสารใดในปสั สาวะซง่ึ ปกติไม่ควรพบ พบโปรตนี ทมี่ โี มเลกลุ ขนาดใหญ่ ซงึ่ จะผา่ นบรเิ วณทถ่ี กู ท�ำ ลายหรอื ฉกี ขาดของผนงั โกลเมอรลู สั และโบว์แมนส์แคปซูลได้ และท่อหน่วยไตไม่สามารถดูดกลับได้ ปกติโปรตีนท่ีมีโมเลกุล ขนาดใหญ่จะไม่ผา่ นการกรองท่โี กลเมอรูลัสและโบว์แมนสแ์ คปซลู นอกจากนจ้ี ากตาราง 17.1 จะไมพ่ บกลโู คสในปสั สาวะ เพราะทอ่ ขดสว่ นตน้ สามารถดดู กลบั กลโู คสเขา้ หลอดเลอื ดไดห้ มด ยเู รยี และกรดยรู กิ มกี ารดดู กลบั วนั ละกกี่ รมั ถา้ รา่ งกายมขี องเหลวทผี่ า่ นการกรองวนั ละ 180 ลติ ร และขับถ่ายปสั สาวะวันละ 1.5 ลิตร มีการดูดกลบั ยูเรยี วันละ 19.5 กรมั และกรดยรู กิ วนั ละ 4.77 กรมั วธิ ีคำ�นวณ มียูเรยี = 26 mg การคำ�นวณปริมาณยูเรยี ที่ถูกดูดกลบั มียเู รยี = 2 6 × 180,000 mg ของเหลวท่ผี า่ นการกรอง 100 mL mg ของเหลวทีผ่ า่ นการกรอง 180,000 mL มยี ูเรยี 100 mg มียูเรีย mg ปัสสาวะ 100 mL = 46,800 mg ปสั สาวะ 1,500 mL = 1,820 แสดงวา่ รา่ งกายมกี ารดูดกลับยเู รียวันละ 46,800 - 27,300 = 1 ,82 0 × 1,500 100 = 27,300 = 19,500 mg = 19.5 g สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

198 บทท่ี 17 | ระบบขับถา่ ย ชีววทิ ยา เล่ม 4 การคำ�นวณปรมิ าณกรดยรู ิกที่ถูกดดู กลบั ของเหลวที่ผา่ นการกรอง 100 mL มกี รดยรู กิ = 3 mg ของเหลวท่ีผ่านการกรอง 180,000 mL มกี รดยรู ิก = 3 × 180,000 mg 100 = 5,400 mg ปสั สาวะ 100 mL มีกรดยรู ิก = 42 mg ปัสสาวะ 1,500 mL มีกรดยูรกิ mg = 42 × 1,500 mg 100 = 630 แสดงว่าร่างกายมกี ารดดู กลบั กรดยรู กิ วนั ละ 5,400 - 630 = 4,770 mg = 4.77 g เพราะเหตใุ ดครีเอทินีนทพ่ี บในปัสสาวะมปี รมิ าณมากกวา่ ที่พบในของเหลวท่ผี า่ นการกรอง เพราะบริเวณท่อหน่วยไตมีการหลั่งครีเอทินีนส่วนเกินท่ีอยู่ในของเหลวระหว่างเซลล์เข้าสู่ ของเหลวในทอ่ หนว่ ยไตเพม่ิ ขน้ึ ท�ำ ใหม้ คี วามเขม้ ขน้ ของครเี อทนิ นี ในปสั สาวะเพม่ิ ขน้ึ เนอื่ งจาก มกี ารดูดกลบั น้อยมาก สามารถคำ�นวณหาปริมาณครีเอทินีนได้ดงั น้ี วธิ คี �ำ นวณ การคำ�นวณปริมาณครเี อทนิ ีนทพ่ี บในของเหลวท่ีผา่ นการกรอง ของเหลวท่ผี ่านการกรอง 100 mL มคี รเี อทนิ ีน = 1.1 mg mg ของเหลวทีผ่ ่านการกรอง 180,000 mL มีครีเอทนิ ีน = 1 .1 × 180,000 mg = 100 1,980 การคำ�นวณปรมิ าณครีเอทนิ ีนทพ่ี บในปัสสาวะ ปัสสาวะ 100 mL มีครีเอทนิ นี = 196 mg ปสั สาวะ 1,500 mL mg มีครเี อทินนี = 19 6 × 1,500 mg 100 = 2,940 ดงั น้นั สรปุ ได้วา่ ปรมิ าณครีเอทนิ นี ทพ่ี บในปสั สาวะมมี ากกวา่ ทพ่ี บในของเหลวที่ผา่ นการกรอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถ่าย 199 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่ากลไกการสร้างปัสสาวะประกอบด้วยการกรอง การดูดกลับและ การหล่ัง ทำ�ให้ของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบและสารส่วนใหญ่ในปัสสาวะมีความเข้มข้นสูง กวา่ ในพลาสมา จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมคี วามรคู้ วาม เข้าใจถงึ กลไกในการก�ำ จดั ของเสยี โดยการทำ�งานของระบบขับถ่ายไดด้ ีย่งิ ขนึ้ ตรวจสอบความเขา้ ใจ ปริมาณของเสียในเลือดที่อยู่ในรีนัลอาร์เทอรีต่างจากเลือดท่ีอยู่ในรีนัลเวนอย่างไร เพราะเหตใุ ด ปริมาณของเสียในรีนัลอาร์เทอรีมีมากกว่าในรีนัลเวน เพราะเมื่อเลือดจากรีนัลอาร์เทอรี ไหลเข้าสู่ไตจะผ่านข้นั ตอนการกรอง การดูดกลบั และการหล่งั ท่หี น่วยไตซงึ่ ทำ�ให้ปริมาณ ของเสียลดลงเม่ือมีการล�ำ เลียงออกจากไตเขา้ สรู่ นี ัลเวน ถา้ ไม่มกี ารดูดกลับน�ำ้ และสารตา่ ง ๆ ท่บี ริเวณท่อหน่วยไตจะมีผลตอ่ ร่างกายอย่างไร รา่ งกายจะสญู เสยี น�ำ้ ปรมิ าณมาก รวมถงึ สารตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย เชน่ กลโู คส กรดแอมิโน ไอออนบางชนิดและไม่สามารถรักษาดุลยภาพของความเป็นกรด-เบสของ เลือดได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

200 บทท่ี 17 | ระบบขับถา่ ย ชีววทิ ยา เลม่ 4 จงน�ำ ขอ้ ความทกี่ �ำ หนดใหเ้ ตมิ ลงในชอ่ งวา่ งของแผนผงั สรปุ การท�ำ งานในการก�ำ จดั ของเสยี ในร่างกายโดยระบบขบั ถ่าย ท่อไต หลอดเลอื ดเวน หัวใจ หลอดเลือดอาร์เทอรี ไต ทอ่ ปสั สาวะ หน่วยไต ทอ่ หน่วยไต หลอดเลือดนำ�เลือดออก หลอดเลือดนำ�เลือดเข้า ยเู รยี ไอออน นำ�้ โกลเมอรลู ัส กรอง โบวแ์ มนส์แคปซูล กลโู คส กรดแอมิโน คงอยู่ กรอง ไอออน น�ำ้ กลูโคส กรดแอมิโน กลูโคส กรดแอมโิ น กลูโคส ยเู รีย ไอออน น�ำ้ ยูเรีย ไอออน นำ้� กรดแอมิโน เซลลเ์ ม็ดเลือด ยเู รยี ไอออน น้ำ� โปรตีน กลูโคส เขา้ สู่ กรดแอมิโน ยูเรยี ไอออน น�ำ้ ดดู กลบั ท่อหนว่ ยไต เซลล์เม็ดเลือด มี โปรตีน กลโู คส กรดแอมิโน ยูเรีย ไอออน นำ�้ ไอออน นำ้� เข้าสู่ ทอ่ ไต เข้าสู่ กระเพาะปสั สาวะ เขา้ สู่ ท่อปสั สาวะ ขับเปน็ ปัสสาวะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 4 บทที่ 17 | ระบบขับถ่าย 201 ความรูเ้ พิ่มเตมิ ส�ำ หรบั ครู Osmolarity เป็นความเข้มข้นทั้งหมดของตัวละลายในสารละลาย ตามปกติความเข้มข้น ของเลือดมนุษย์มีค่าประมาณ 300 mOsm/L (milliosmole/liter) ขณะท่ีเราด่ืมนำ้�มากหรือ นอ้ ย ไตสามารถปรบั ปรมิ าตรและความเขม้ ขน้ ของปสั สาวะได้ ซงึ่ ไตมนษุ ยส์ ามารถขบั ปสั สาวะ ที่มีความเข้มข้นมากกว่าเลือดได้สูงสุดประมาณ 4 เท่า คือ 1,200 mOsm/L ซึ่งกลไกท่ีทำ�ให้ ปัสสาวะมีความเข้มข้นน้ี เรียกว่า countercurrent multiplier system ท่ีทำ�ให้เกิดความ แตกตา่ งของความเขม้ ขน้ ของของเหลวระหวา่ งเซลลใ์ นชนั้ เมดลั ลากบั ของเหลวในทอ่ หนว่ ยไต บริเวณหว่ งเฮนเลและท่อรวมทอ่ี ยู่ในชั้นเมดัลลา เมอ่ื ของเหลวไหลเขา้ สหู่ ว่ งเฮนเล เซลลบ์ ผุ วิ ทหี่ ว่ งเฮนเลขาลงยอมใหน้ �้ำ ผา่ นออก สว่ นเซลลบ์ ผุ วิ ท่ีห่วงเฮนเลขาขึ้นยอมให้โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออนผ่านออกอย่างเดียว นอกจากน้ี ทิศทางการไหลท่ีสวนทางกันของของเหลวในท่อขาลงกับของเหลวในท่อขาขึ้น จะทำ�ให้ ของเหลวในท่อขาลงมีความเข้มข้นเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ ถ้าห่วงเฮนเลยาวขึ้น ของเหลวย่ิงมีความ เข้มขน้ มากข้ึน การทค่ี วามเขม้ ขน้ ของของเหลวบรเิ วณเมดลั ลาในสว่ นตา่ ง ๆ ยงั คงสงู อยู่ (มากกวา่ 300 mOsm/L) เน่ืองจากการไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอยรอบห่วงเฮนเลจะไหลสวนทางกับของเหลวใน ห่วงเฮนเล โดยขณะท่ีเลือดในหลอดเลือดฝอยรอบห่วงเฮนเลขาลงนำ�เลือดสู่บริเวณคอร์เทกซ์ น้ำ�จะออสโมซิสจากห่วงเฮนเลขาลงเข้าสู่หลอดเลือดฝอย และเกิดเหตุการณ์ตรงข้ามกันท่ี ห่วงเฮนเลขาขน้ึ โดยโซเดยี มไอออนและคลอไรดไ์ อออนจะถูกดดู กลับเข้าสูห่ ลอดเลอื ดฝอย ส่วนความเขม้ ขน้ ของของเหลวในท่อรวมควบคมุ โดย ADH ถา้ เลอื ดมคี วามเข้มขน้ สูงกวา่ ปกติ จะกระตุ้นการหล่ัง ADH ทำ�ให้มีการดูดกลับน้ำ�มากข้ึนบริเวณท่อรวม ทำ�ให้ปัสสาวะมีความ เข้มข้นขึ้นและมีปริมาณนอ้ ยลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

202 บทที่ 17 | ระบบขบั ถา่ ย ชีววิทยา เล่ม 4 ตัวเลขแสดงความเข้มข้นของของเหลวมหี นว่ ยเปน็ mOsm/L ของเหลวท่ผี า่ น ท่อขด การไหลของเลอื ด การกรอง ส่วนตน้ ท่อขด ส่วนปลาย 300 300 300 300 100 300 คอรเ์ ทกซ์ หว่ งเฮนเลขาลง 600 Na+ เมดัลลา หลอดเลอื ดฝอยรอบห่วงเฮนเล 600 Cl- 600 ทอ่ รวม 600 สัญลกั ษณ์ 600 Na+ 600 H2O 900 Cl- 1,200 900 900 900 900 1,200 สารละลาย H2O 1,200 การแพร่ของสารละลาย 1,200 ออสโมซีส ห่วงเฮนเลขาขนึ้ แอกทฟี ทรานสปอรต์ ของ Na+ และ Cl- ทิศทางการไหลของของเหลวในทอ่ หนว่ ยไต และของเหลวในหลอดเลือด countercurrent multiplier system สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 4 บทที่ 17 | ระบบขบั ถ่าย 203 แนวการวดั และประเมินผล ดา้ นความรู้ - กลไกการกำ�จัดของเสียออกจากร่างกายโดยการทำ�งานของหน่วยไต จากการอธิบายลง ขอ้ สรุปและการทำ�แบบทดสอบ ด้านทักษะ - การจำ�แนกประเภท การลงความเห็นจากข้อมูล การใช้จำ�นวน การจัดกระทำ�และส่ือ ความหมายข้อมูล การตีความหมายและลงข้อสรุป จากการอธิบาย การเขียนแผนผังและ ลงข้อสรปุ และการท�ำ แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ - การส่ือสารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทันส่ือ จากการสบื ค้นขอ้ มูล ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ - ความมุ่งมั่นอดทน จากการสบื ค้นข้อมูล 17.4 ไตกับการรกั ษาดุลยภาพของนำ�้ และสารตา่ ง ๆ ในร่างกาย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธิบาย และสรุปกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ�และสารต่าง ๆ ดุลยภาพของกรด-เบส ในเลอื ดโดยหนว่ ยไต แนวการจัดการเรยี นรู้ 17.4.1 การรักษาดลุ ยภาพของน้ำ� ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียน และให้นักเรียนร่วมกัน อภปิ ราย เพอ่ื เชื่อมโยงไปถงึ การรกั ษาดลุ ยภาพของน้ำ�ในรา่ งกาย ดังน้ี รา่ งกายรบั รไู้ ด้อย่างไรวา่ ตอ้ งการน้�ำ และตอ้ งขับปัสสาวะออกจากรา่ งกาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

204 บทที่ 17 | ระบบขับถา่ ย ชีววิทยา เลม่ 4 จากการอภปิ รายอาจสรปุ ไดว้ า่ ในแตล่ ะวนั รา่ งกายตอ้ งมกี ารขบั ถา่ ยของเสยี ไปกบั ปสั สาวะ แต่ ถ้านำ้�ในร่างกายลดลง ร่างกายก็จะต้องมีการด่ืมนำ้�เพ่ือเข้าไปทดแทนหรือถ้ามีปริมาณน้ำ�ในร่างกาย มากเกินความต้องการจะต้องมีการขับถ่ายปัสสาวะมากข้ึนหรือนักเรียนอาจสรุปว่าเป็นผลจากการ ท�ำ งานของระบบประสาททท่ี �ำ หนา้ ทค่ี วบคมุ การท�ำ งานของอวยั วะในระบบขบั ถา่ ย ซงึ่ ครจู ะยงั ไมส่ รปุ ผลการอภิปราย ครใู ชร้ ปู 17.11 ในหนงั สอื เรยี นร่วมกนั อภปิ ราย และสรปุ เกยี่ วกบั กลไกการรกั ษาดุลยภาพของ น�ำ้ ในรา่ งกาย แลว้ ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ และท�ำ กจิ กรรม 17.2 ในหนงั สอื เรยี น ตรวจสอบความเขา้ ใจ ถ้าปริมาณนำ�้ ในเลอื ดมาก ร่างกายจะมกี ลไกรักษาดุลยภาพของน้�ำ อยา่ งไร เมื่อปริมาณนำ้�ในเลือดมาก ความเข้มข้นของเลือดจะลดลงทำ�ให้มีแรงดันออสโมติกต่ำ� สมองสว่ นไฮโพทาลามสั จะลดการกระตนุ้ ตอ่ มใตส้ มองสว่ นหลงั ท�ำ ใหต้ อ่ มใตส้ มองสว่ นหลงั ลดการหลั่ง ADH ส่งผลให้ท่อขดส่วนปลายและท่อรวมลดการดูดกลับน้ำ�เข้าหลอดเลือด ท�ำ ให้ขับถา่ ยปัสสาวะปรมิ าณมากขึน้ และมีสอี ่อน การออกก�ำ ลังกายในสภาพอากาศท่รี ้อน ไตจะมีการรกั ษาดุลยภาพของน�้ำ อย่างไรบา้ ง เม่ือออกกำ�ลังกายในสภาพอากาศที่ร้อน ร่างกายจะสูญเสียเหงื่อมากทำ�ให้ปริมาณนำ้�ใน เลอื ดลดลง ความเขม้ ขน้ ของเลอื ดเพม่ิ ขน้ึ มแี รงดนั ออสโมตกิ สงู ซง่ึ จะไปกระตนุ้ ไฮโพทาลามัส ให้เพิ่มการกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หล่ัง ADH มากขึ้นซ่ึงจะไปเพ่ิมการดูดกลับนำ้� ทท่ี อ่ ขดสว่ นปลายและทอ่ รวมเพอื่ เขา้ สหู่ ลอดเลอื ด ท�ำ ใหข้ บั ถา่ ยปสั สาวะออกปรมิ าณนอ้ ย และมีสีเข้มขึ้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 4 บทที่ 17 | ระบบขับถ่าย 205 กจิ กรรม 17.2 การรกั ษาดุลยภาพของของเหลวในร่างกาย จดุ ประสงค์ อธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของของเหลวในร่างกายและแปลผลการทดลอง เวลาทีใ่ ช้ (โดยประมาณ) 30 นาที แนวการทำ�กจิ กรรม ให้นักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปัสสาวะกับเวลาหลังจากด่ืมนำ้� จากนนั้ ใหว้ เิ คราะหแ์ ละอธบิ ายกราฟ เพอ่ื เชอื่ มโยงไปถงึ กลไกการรกั ษาดลุ ยภาพของของเหลว ในรา่ งกาย พร้อมทั้งตอบคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม ตัวอย่างผลการท�ำ กิจกรรม เขียนกราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าณปัสสาวะกับเวลาหลังจากด่ืมน้ำ� กราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างปริมาณปัสสาวะกับเวลาหลังจากดม่ื น้ำ�เขยี นไดด้ ังน้ี ปริมาณ ัปสสาวะ (mL) 200 175 150 125 100 75 50 25 0 30 60 90 120 150 180 210 เวลาหลังจากดืม่ น้ำ� (นาที) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

206 บทที่ 17 | ระบบขับถ่าย ชวี วทิ ยา เล่ม 4 เฉลยค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม จากกราฟที่ได้นักเรียนจะอธิบายเช่ือมโยงเก่ียวกับการรักษาดุลยภาพของของเหลวใน ร่างกายอย่างไร โดยให้กล่าวถึงบทบาทของหน่วยไต ADH และไฮโพทาลามัส จากการด่ืมนำ้�ทำ�ให้ร่างกายมีปริมาณน้ำ�ในเลือดเพ่ิมข้ึน ความเข้มข้นของเลือดจะลดลง ส่งผลให้แรงดันออสโมติกลดลง ทำ�ให้ลดการกระตุ้นสมองส่วนไฮโพทาลามัสซ่ึงควบคุม สมดุลของเหลวในร่างกายส่งผลให้ต่อมใตส้ มองสว่ นหลังหลั่ง ADH น้อยลง เซลลท์ ท่ี อ่ ขด สว่ นปลายของหนว่ ยไตและทอ่ รวมจงึ ลดการดดู กลบั น�้ำ เขา้ สหู่ ลอดเลอื ด รา่ งกายจะขบั ถา่ ย ปสั สาวะปรมิ าณมากและเจอื จางในนาทที ่ี 60 และ 90 และเมอื่ เวลาผา่ นไปปรมิ าณปสั สาวะ จะลดลงจนมปี รมิ าณคอ่ นขา้ งคงที่ เนอื่ งจากรา่ งกายรกั ษาดลุ ยภาพของของเหลวในรา่ งกาย ไดเ้ ป็นปกติ ชวนคดิ เพราะเหตใุ ดจงึ ไม่ควรดืม่ นำ�้ ทะเล เพราะนำ้�ทะเลมีปริมาณโซเดียมค่อนข้างสูง เม่ือด่ืมนำ้�ทะเลเข้าไปจะทำ�ให้แรงดัน ออสโมติกของเลือดสูงขึ้น ซ่ึงจะไปกระตุ้นสมองส่วนไฮโพทาลามัสทำ�ให้เกิดการกระหาย น�้ำ มากกวา่ ปกติ และท�ำ ใหห้ นว่ ยไตตอ้ งท�ำ งานหนกั ขน้ึ เพอื่ ก�ำ จดั เกลอื ทมี่ ากเกนิ ไปออกจาก เลือด จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพของนำ้�โดยไตว่าควบคุมโดย สมองส่วนไฮโพทาลามัสท่ีรับการเปล่ียนแรงดันออสโมติกในเลือด และต่อมใต้สมองส่วนหลังในการ หลัง่ ADH เพอ่ื ลดหรือเพ่ิมการดดู กลับน�้ำ ทท่ี ่อหน่วยไตและทอ่ รวม 17.4.2 การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลอื ด ครทู บทวนกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ของรา่ งกายวา่ นอกจากจะไดข้ องเสยี ทม่ี ไี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบแลว้ ยงั เกดิ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ เมอ่ื แกส๊ นล้ี ะลายในเลอื ดจะท�ำ ใหไ้ ดไ้ ฮโดรเจนไอออน และไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออนดงั สมการ ซง่ึ ไฮโดรเจนไอออนทเ่ี กดิ ขนึ้ นท้ี �ำ ใหค้ า่ ความเปน็ กรด-เบส ของเลือดเปลีย่ นแปลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถ่าย 207 CO2 + H2O H2CO3 H+ + HCO น้ำ� กรดคารบ์ อนกิ แก๊สคารบ์ อน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไดออกไซด์ ไอออน คาร์บอเนต ไอออน ครูใช้คำ�ถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงความเป็นกรด-เบสของ เลือด ดังน้ี ถ้ารา่ งกายมไี ฮโดรเจนไอออนสูงกว่าปกติ จะมีผลอยา่ งไรกับกระบวนการเมแทบอลซิ มึ จากการอภปิ รายนกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ ถา้ รา่ งกายมไี ฮโดรเจนไอออนสงู กวา่ ปกตจิ ะท�ำ ใหเ้ ลอื ด มีภาวะเป็นกรด สง่ ผลใหเ้ อนไซมท์ ีท่ �ำ หนา้ ท่เี ร่งอตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าในกระบวนการเมแทบอลิซึมไม่ สามารถทำ�งานได้ โดยปกติเลือดจะมี pH อยู่ระหว่าง 7.35-7.45 ซึ่งเป็นภาวะท่ีเอนไซม์ส่วนใหญ่ ท�ำ งานได้ ครใู ห้นกั เรียนสบื คน้ อธิบายและและสรปุ เกยี่ วกับกลไกท่คี วบคมุ การรักษาดลุ ยภาพความเป็น กรด-เบสของเลือดโดยไต ครูอาจใช้รปู 17.10 ในหนังสือเรยี นเพือ่ สรุปว่าเมอื่ เลือดมคี วามเปน็ กรด ไต จะเพมิ่ การหลัง่ ไฮโดรเจนไอออนและมกี ารหลัง่ แอมโมเนียมไอออนจากเลอื ดเข้าสู่ทอ่ หนว่ ยไตบรเิ วณ ท่อขดส่วนต้นและท่อขดส่วนปลาย และเพ่ิมการดูดกลับสารที่มีสมบัติเป็นเบส เช่น ไฮโดรเจน คาร์บอเนตไอออนเขา้ สูห่ ลอดเลอื ด ทำ�ใหค้ วามเปน็ กรด-เบสของเลอื ดเขา้ ส่ภู าวะสมดุล ครอู าจเชอื่ มโยงถงึ ระบบหายใจซง่ึ มปี อดท�ำ หนา้ ทใ่ี นการรกั ษาดลุ ยภาพความเปน็ กรด-เบสของ เลอื ดดว้ ย โดยการหายใจน�ำ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากร่างกาย จากนนั้ ให้นกั เรียนตอบคำ�ถามในหนังสอื เรียนซง่ึ มแี นวคำ�ตอบดังนี้ ถา้ ไตเสยี หายหรอื ไมส่ ามารถทำ�งานได้จะมีผลต่อรา่ งกายอยา่ งไร รา่ งกายจะสะสมของเสยี ทเ่ี กดิ จากกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ไวเ้ ปน็ จ�ำ นวนมาก และไมส่ ามารถ รักษาดลุ ยภาพของน�ำ้ และสารตา่ ง ๆ รวมทง้ั ความเป็นกรด-เบสในเลอื ดได้ อาจทำ�ให้เสียชีวิต ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เขยี นแผนผงั สรปุ กระบวนการท�ำ งานของหนว่ ยไตในการรกั ษาดลุ ยภาพ ของสารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึง่ อาจเขยี นแผนผงั ไดด้ ังตวั อยา่ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

208 บทท่ี 17 | ระบบขับถา่ ย ชวี วทิ ยา เล่ม 4 การรักษาดุลยภาพ ของกรด-เบสในเลอื ด ข้นึ กบั ปรมิ าณ H+ ในเลอื ด ถา้ สูง ต�่ำ กระต้นุ ลดการกระตนุ้ ท่อหน่วยไต ทอ่ หนว่ ยไต ให้ ให้ เพ่ิมการหลัง่ H+ ลดการหล่ัง H+ และ NH เพ่มิ การดดู กลับ HCO ลดการดูดกลับ HCO เขา้ สู่หลอดเลือดฝอย เข้าสหู่ ลอดเลอื ดฝอย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย 209 ไต โดย หนว่ ยไต ทำ�หน้าทใ่ี น การรกั ษาดุลยภาพของสารในรา่ งกาย ไดแ้ ก่ การรกั ษาดลุ ยภาพ การรกั ษาดุลยภาพ ของนำ�้ ของสารอ่ืน ๆ ขึน้ กับ เชน่ แรงดันออสโมติกของเลือด Na+ ถา้ เก่ยี วกบั แอลโดสเทอโรน สงู ตำ่� กระตุ้น ลดการกระตนุ้ ไฮโพทาลามสั ไฮโพทาลามัส ส่งผลให้ กระหายนำ้� สง่ ผลให้ ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลัง ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลงั เพิ่มการหลั่ง ADH ลดการหลัง่ ADH สง่ ผลให้ ส่งผลให้ ทอ่ ขดสว่ นปลายและท่อรวม ท่อขดสว่ นปลายและท่อรวม เพิ่มการดูดกลับน�ำ้ เข้าสู่ ลดการดดู กลบั นำ�้ เขา้ สู่ หลอดเลอื ดฝอย หลอดเลอื ดฝอย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

210 บทที่ 17 | ระบบขับถา่ ย ชวี วทิ ยา เล่ม 4 ความรู้เพิม่ เตมิ ส�ำ หรบั ครู การรักษาดุลยภาพของกรด-เบส ของเลือดนอกจากการทำ�งานของไตและระบบหายใจแล้ว ยงั มอี กี กลไกหนง่ึ คอื ระบบบฟั เฟอร์ (buffer system) ทรี่ ักษาค่า pH ของเลอื ดใหเ้ ปล่ยี นแปลง นอ้ ยเม่ือมีกรดหรือเบสเพิ่มขึ้น บัฟเฟอร์ คือ สารละลายกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน หรือเบสอ่อนกับเกลือของเบสอ่อน เป็นสารละลายท่ีรักษาสภาพ pH ของสารละลาย แม้จะมีการเติมกรดหรือเบสเข้าไปใน สารละลาย โดยระบบบัฟเฟอรท์ ี่ส�ำ คัญของร่างกาย เช่น - ระบบบฟั เฟอรไ์ บคารบ์ อเนต (bicarbonate buffer system) บฟั เฟอร์ คือ กรดคาร์บอนกิ (H2CO3) กับ ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน (HCO ) - ระบบบฟั เฟอร์ฟอสเฟต (phosphate buffer system) บฟั เฟอร์ คือ H2PO กบั HPO - ระบบบฟั เฟอร์โปรตนี (protein buffer system) บฟั เฟอรท์ เี่ กดิ จากหมคู่ ารบ์ อกซลิ (-COOH) และหมแู่ อมโิ น (-NH2) ของหมู่ R (side group) บนสายโปรตีน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทท่ี 17 | ระบบขับถ่าย 211 แนวการวัดและประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ - การรกั ษาดลุ ยภาพของน�ำ้ และสารตา่ ง ๆ ดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลอื ด และการก�ำ จดั ของเสยี จากการอภปิ ราย การสบื คน้ ขอ้ มลู การท�ำ กจิ กรรมและการท�ำ แบบฝกึ หดั หรอื แบบทดสอบ ด้านทักษะ - การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การจดั กระท�ำ และสอื่ ความหมายขอ้ มลู การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป จากการอธิบาย อภิปราย การเขียนแผนผังและการทำ�กิจรรม จากการ สรุปการทำ�งานของหน่วยไต และการท�ำ แบบฝกึ หัดหรือแบบทดสอบ - การส่อื สารสารสนเทศและการรู้เท่าทนั สอื่ จากการสบื คน้ ข้อมลู และการทำ�กจิ กรรม - การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและการแก้ปญั หา จากการอภปิ ราย และการท�ำ กจิ กรรม ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ - การใช้วิจารณญาณ จากการสบื คน้ ขอ้ มูล และการท�ำ กจิ กรรม - ความมุ่งม่นั อดทน จากการสืบค้นข้อมลู ร1ักษ7า.5ดลุ คยภวาาพมขผอิดงนป�ำ้ กแลตะิขสอารงตรา่ ะงบ ๆบรวขมับทถั้งคา่ วยามเปน็ กรด- เบสในเลอื ดได้ อาจทำ�ให้เสียชวี ติ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สบื คน้ ขอ้ มลู ยกตวั อยา่ งและอธบิ าย สาเหตุ แนวทางปอ้ งกนั หรอื รกั ษาโรคทเี่ กย่ี วกบั ไตและโรค ทเ่ี กี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยอาจใช้ส่ือวีดิทัศน์เก่ียวกับการรักษาผู้ป่วยโรคไต หรือเชิญบุคลากร ทางการแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญเกยี่ วกบั ระบบขบั ถา่ ยมาใหค้ วามรกู้ บั นกั เรยี น หรอื อาจใชก้ ราฟแสดงจ�ำ นวน ผปู้ ว่ ยโรคไตทเ่ี ขา้ รบั การฟอกเลอื ด จากรายงานประจ�ำ ปขี องสมาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทย ซงึ่ สามารถ สืบค้นได้ท่ี www.nephrothai.org/th หรือแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เพ่ือแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยที่เข้ารับ การรักษาโรคไตมีแนวโนม้ เพม่ิ มากขึน้ ทกุ ปี ดังรปู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

212 บทท่ี 17 | ระบบขับถา่ ย ชวี วิทยา เล่ม 4 จ�ำ นวนผูป้ ว่ ย (cases) 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 0-4 5-9 10-14 15-19 20-24 25-34 35-44 45-54 55-64 65-74 ≥75 กลุม่ อายุ (ป)ี 2015 2013 2011 2009 2014 2012 2010 กราฟแสดงจ�ำ นวนผปู้ ่วยโรคไตทเี่ ข้ารับการฟอกเลอื ด แยกตามกล่มุ อายุ ตงั้ แต่ปี ค.ศ. 2009-2015 ทีม่ า: Annual Report Thailand Renal Replacement Therapy 2015 (th) หน้า 45 จากนนั้ ครอู าจตง้ั ค�ำ ถามใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั สาเหตทุ ที่ �ำ ใหป้ ระชากรไทยมแี นว โน้มทจี่ ะป่วยเปน็ โรคไตมากขึน้ ดังนี้ สาเหตุใดบ้างทท่ี ำ�ใหม้ ีโอกาสปว่ ยเปน็ โรคไต นกั เรยี นจะปฏบิ ัติตนอย่างไรเพ่อื ไม่ใหม้ ีความเสี่ยงกับการเป็นโรคไต นักเรียนอาจตอบได้ว่า สาเหตุท่ีอาจทำ�ให้เป็นโรคไตเกิดจากการรับประทานอาหารที่มีรสเค็ม การเป็นโรคบางอย่างที่ส่งผลต่อการทำ�งานของไต เช่น ความดันเลือดสูง เบาหวาน โรคน่ิว หรือการ ติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินปัสสาวะ ส่วนวิธีการป้องกันโรคไต คือ ควบคุมความดันเลือด ลดการรับ ประทานอาหารทม่ี รี สเคม็ จดั หลกี เล่ยี งอาหารท่ีมสี ารออกซาเลตสูงท่ีเป็นสาเหตใุ ห้เกดิ น่ิว จากน้ันให้ นกั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 17.3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 4 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย 213 กิจกรรม 17.3 โรคไตและโรคทีเ่ กยี่ วกับทางเดินปสั สาวะ จุดประสงค์ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายสาเหตุ อาการ แนวทางการปอ้ งกนั หรอื รกั ษาโรคไตและโรคทเ่ี กย่ี วกบั ทางเดินปัสสาวะ 2. นำ�ความรู้ที่ศึกษามาปฏิบัติและแนะนำ�ผู้อื่นในการหลีกเลี่ยงการเป็นโรคไตและโรคท่ีเก่ียว กบั ทางเดนิ ปสั สาวะ เวลาที่ใช้ (โดยประมาณ) 45 นาที แนวการจดั กจิ กรรม ครูอาจให้นักเรียนจับคู่ หรือแบ่งกลุ่มให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล เก่ียวกับสาเหตุ อาการ รวมทงั้ วธิ รี กั ษาและการปฏบิ ตั ติ นเพอื่ ปอ้ งกนั โรคไตและโรคทเ่ี กย่ี วกบั ทางเดนิ ปสั สาวะ และให้ นกั เรยี นนำ�เสนอในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ แผ่นพับ infographic ป้ายนเิ ทศ ครขู ยายความรโู้ ดยการเชอ่ื มโยงเกยี่ วกบั การตรวจสขุ ภาพประจ�ำ ปขี องนกั เรยี นหรอื จากตวั อยา่ ง ผลการตรวจสุขภาพประจำ�ปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561 เพื่อตรวจคัดกรองความผิดปกติของ การท�ำ งานของไต เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นตระหนกั ถงึ สขุ ภาพของตนเอง โดยเนน้ ย�ำ้ วา่ การตรวจนม้ี วี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ปอ้ งกนั โรคหรอื ตรวจหาความเสยี่ งในการเกดิ โรค ซงึ่ สถานพยาบาลสว่ นใหญจ่ ะมกี ารตรวจปสั สาวะ รวมอยใู่ นการตรวจสขุ ภาพประจ�ำ ปดี ว้ ย การตรวจปัสสาวะน้ีทำ�ให้ทราบการทำ�งานของไตว่ายังเป็นปกติอยู่หรือไม่ โดยจะตรวจหาค่า ความเปน็ กรด-เบส ความถ่วงจ�ำ เพาะ โปรตนี และกลูโคส รวมทัง้ ตรวจตะกอนในปัสสาวะ เพื่อตรวจ หาเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว เยอื่ บผุ วิ แบคทเี รยี และผลกึ แคลเซยี มออกซาเลต นอกจากน้ี การตรวจเลือดก็สามารถบอกภาวะการทำ�งานของไตได้เช่นกัน โดยตรวจค่ายูเรียไนโตรเจนในเลือด (Blood Urea Nitrogen : BUN) และการตรวจหาสารที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของเซลลก์ ล้ามเนือ้ หรอื ทีเ่ รียกวา่ ครเี อทนิ ีน (creatinine) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

214 บทท่ี 17 | ระบบขับถา่ ย ชวี วทิ ยา เลม่ 4 ตัวอย่าง ผลการตรวจสุขภาพประจำ�ปี พ.ศ. 2560 และ ปีพ.ศ. 2561 เพื่อตรวจคัดกรอง ความผดิ ปกตขิ องการทำ�งานของไต ตรวจการทำ�งานของไตจากการตรวจปัสสาวะ - ตรวจทางเคมี การตรวจ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ค่าอา้ งอิง ความเปน็ กรด-เบส (pH) 6.5 5.5 4.5-8.5 ความถ่วงจำ�เพาะ (specific gravity) 1.003-1.030 โปรตีน (protein) 1.015 1.010 negative น�้ำ ตาล (glucose) trace negative negative negative negative - ตรวจตะกอนจากกลอ้ งจลุ ทรรศน์ (Microscopic examination (cells/hpf) ) การตรวจ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ค่าอา้ งองิ - 0-5 เมด็ เลือดขาว (WBC) 10-20 - 0-5 - 0-5 เมด็ เลือดแดง (RBC) 10-20 - 0-5 เย่อื บผุ วิ ชนดิ squamous epithelium 10-20 negative negative - - เยอื่ บผุ ิวชนดิ transitional epithelium - แบคทเี รยี (bacteria) moderate ผลึก (crystal) Calcium oxalate 30-50 หมายเหต ุ hpf = high power field - คอื ไม่ไดต้ รวจในรายการนนั้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 บทที่ 17 | ระบบขับถา่ ย 215 - ตรวจการท�ำ งานของไตจากการตรวจ BUN และ creatinine ในเลอื ด (mg/dL) การตรวจ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 คา่ อ้างองิ BUN 12 10 Creatinine 0.7 0.69 7-20 ชาย 0.67-1.17 หญิง 0.51-0.95 หมายเหตุ BUN ; Blood Urea Nitrogen คอื ค่ายเู รยี ไนโตรเจนในเลือด แนวการวดั และประเมินผล ด้านความรู้ - สาเหตุ แนวทางปอ้ งกนั หรอื รกั ษาโรคทเ่ี กย่ี วกบั ไตและโรคทเ่ี กย่ี วกบั ทางเดนิ ปสั สาวะ จากการ ตอบค�ำ ถาม การสบื คน้ ขอ้ มลู การอภปิ ราย การอธบิ าย และการท�ำ กจิ กรรม ดา้ นทักษะ - การจดั กระท�ำ และสอ่ื ความหมายขอ้ มลู การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ จากการ ท�ำ กิจกรรม และการน�ำ เสนอข้อมูล ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ความม่งุ มัน่ อดทน จากการสบื คน้ ข้อมูล และการทำ�กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

216 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย ชีววิทยา เล่ม 4 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 17 1. จงน�ำ ตวั อกั ษรจากรปู ทกี่ �ำ หนดใหม้ าเตมิ ในชอ่ งวา่ งของแตล่ ะขอ้ ใหถ้ กู ตอ้ ง (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำ�ตอบและตอบซ้ำ�ได้) รูป ก. รูป ข. อินฟเี รียเวนาคาวา เอออรต์ า ก ขค ง ข ค ก จ ง ซ ฉ จ ช ฉ 1.1 รปู ก. ������ข��������1. นำ�เลือดทีผ่ า่ นการกรองทไ่ี ตออกไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ������ค��������2. น�ำ เลือดที่มีของเสียซง่ึ เปน็ สารประกอบไนโตรเจนเข้าไต ������จ��������3. เกบ็ ปัสสาวะก่อนขับออก ������ก��������4. มหี น้าท่กี �ำ จดั ของเสยี ทม่ี ีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ������ง��������5. ลำ�เลียงปัสสาวะออกจากไต 1.2 รูป ข. ������ค��������1. บริเวณที่มีแรงดนั ในหลอดเลือดฝอยสงู กว่าหลอดเลือดฝอยบรเิ วณอื่น จ ���แ��ล��ะ����ซ���2. ADH มีผลตอ่ การทำ�งานของเซลล์ในบริเวณนี้ ข ���แ��ล���ะ���ค���3. อลั บมู นิ ทต่ี รวจพบในปสั สาวะมกั เปน็ ผลมาจากการท�ำ งานทผี่ ดิ ปกตขิ อง ส่วนน้ี ง���แ��ล��ะ����จ���4. ส่วนที่หลั่งสารท่ีมีองค์ประกอบของ H+ เพ่ือช่วยรักษาดุลยภาพของ กรด-เบสในเลือด ������ง��������5. สว่ นทด่ี ูดกลับกรดแอมโิ นและกลโู คสเข้าสหู่ ลอดเลือดฝอย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 4 บทที่ 17 | ระบบขบั ถา่ ย 217 2. จงใส่เครื่องหมายถูก (√) หน้าข้อความท่ีถูกต้อง ใส่เคร่ืองหมายผิด (×) หน้าข้อความท่ี ไมถ่ กู ตอ้ ง และขดี เสน้ ใตเ้ ฉพาะค�ำ หรอื สว่ นของขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง และแกไ้ ขโดยตดั ออก หรอื เตมิ คำ�หรือข้อความท่ีถกู ต้องลงในชอ่ งว่าง �������2.1 เมทาเนฟริเดียมของไส้เดือนดินแตกต่างจากโพรโทเนฟริเดียมของพลานาเรีย คอื มีการดูดกลับสารท่มี ีประโยชนเ์ ขา้ สู่ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด �������2.2 มนษุ ยม์ ไี ตท�ำ หนา้ ทกี่ �ำ จดั ของเสยี ทเ่ี กดิ จากกระบวนการเมแทบอลซิ มึ โดยเฉพาะ ของเสียทมี่ ีไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ �������2.3 สารทเ่ี กนิ ความตอ้ งการของรา่ งกายและของเสยี ทม่ี ไี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ ไหลไปตามท่อไต จากนน้ั เข้าสทู่ ่อหน่วยไตและไปยังกระเพาะปัสสาวะ แกไ้ ขเปน็ ท่อหนว่ ยไต ทอ่ ไต �������2.4 สารบางชนิดในของเหลวที่ถูกกรองเข้าสู่ท่อหน่วยไต เช่น กรดแอมิโน กลูโคส ไอออนต่าง ๆ และนำ้�จะถูกดูดกลับโดยผนังของท่อหน่วยไตเพื่อกลับเข้าสู่ หลอดเลือดฝอย �������2.5 ของเหลวท่ีอยู่ในกระเพาะปัสสาวะประกอบด้วย ยูเรีย โซเดียมไอออน กรดแอมโิ น และเซลลเ์ ม็ดเลอื ด กรณที ่ี 1 ของเหลวทอี่ ยใู่ นกระเพาะปสั สาวะประกอบดว้ ย ยเู รยี โซเดยี มไอออน กรดแอมโิ น และเซลล์เมด็ เลือด แก้ไขเปน็ โกลเมอรูลัส กรณที ี่ 2 ของเหลวทอี่ ยใู่ นกระเพาะปสั สาวะประกอบดว้ ย ยเู รยี โซเดยี มไอออน กรดแอมโิ น และเซลลเ์ มด็ เลอื ด แก้ไขเป็น ตดั กรดแอมโิ น และเซลลเ์ ม็ดเลือด ออก กรณที ่ี 3 ของเหลวทอ่ี ยใู่ นกระเพาะปสั สาวะประกอบดว้ ย ยเู รยี โซเดยี มไอออน กรดแอมิโน และเซลล์เมด็ เลือด แกไ้ ขเป็น กรดยูริก คลอไรดไ์ อออน เปน็ ต้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

218 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถา่ ย ชวี วิทยา เล่ม 4 �������2.6 ความดนั เลือดมผี ลต่ออัตราการกรองทโ่ี กลเมอรลู สั �������2.7 การทำ�งานของระบบขับถ่ายและระบบหายใจเก่ียวข้องกับการรักษาดุลยภาพ ของกรด-เบสในเลือด �������2.8 ความเขม้ ขน้ ของยูเรียในโบวแ์ มนส์แคปซลู สงู กว่าในท่อรวม กรณีที่ 1 ความเขม้ ข้นของยูเรียในโบว์แมนสแ์ คปซูลสงู กวา่ ในทอ่ รวม แกไ้ ขเปน็ ต่ำ�กว่า กรณีที่ 2 ความเข้มข้นของยเู รียในโบวแ์ มนส์แคปซูลสูงกวา่ ในทอ่ รวม แก้ไขเป็น ท่อรวม โบว์แมนส์แคปซูล ������� 2.9 ถ้าเลือดเป็นกรด ไตจะรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือดโดยหล่งั ไฮโดรเจน คาร์บอเนตไอออนออกจากหลอดเลือดและดูดกลับไฮโดรเจนไอออนเข้าสู่ หลอดเลอื ด แกไ้ ขเป็น ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน �������2.10 เม่ือดื่มน้ำ�ปริมาณมากและต่อเนื่อง สมองส่วนไฮโพทาลามัสจะกระตุ้นต่อมใต้ สมองส่วนหลังให้ลดการหลั่ง ADH ทำ�ให้เซลล์ที่ท่อขดส่วนปลายและท่อรวม ลดการดูดกลับน�้ำ 3. บุคคลทมี่ ีไตทำ�งานปกตเิ พียงขา้ งเดยี วจะดำ�รงชวี ิตอยา่ งคนปกติไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร ได้ เพราะไตเพยี งขา้ งเดยี วทท่ี �ำ งานปกตสิ ามารถท�ำ หนา้ ทข่ี บั ถา่ ยของเสยี ทม่ี ไี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบและรกั ษาดลุ ยภาพของน�้ำ และสารตา่ ง ๆ ในรา่ งกายได้ โดยตอ้ งมกี ารควบคมุ อาหาร เชน่ ไม่รับประทานอาหารทม่ี รี สเคม็ จัด อาหารทีม่ ีโปรตนี สงู เพ่อื ให้ไตทีเ่ หลอื อยูไ่ ม่ ทำ�งานมากเกินไป และรกั ษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ 4. ถ้าไตไม่ตอบสนองต่อ ADH จะเกดิ ผลอย่างไรกับการรกั ษาดุลยภาพของน้�ำ ในร่างกาย ไตไม่สามารถดูดกลับน้ำ�เข้าสู่หลอดเลือดได้ ปัสสาวะมีปริมาณมากและเจือจาง ทำ�ให้ สญู เสยี น้ำ�ออกจากรา่ งกายมากกวา่ ปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 4 บทที่ 17 | ระบบขับถา่ ย 219 ต5.า ราตงาแรสาดงแงสผดลงกผาลรตกราวรตจสรวาจรใสนาเรลใือนดเลเพอื ดอ่ื เตพรอื่วตจสรวอจบสปอรบะปสรทิ ะธสิภทิ าธพิภกาาพรทกาำ�รงาทนำ�ขงาอนงขไตองไต การทดสอบ คา่ ปกติ นาย ก. นาย ข. BUN 7-20 mg/dL A B WBC 5,000-10,000/μL C pH 7.2 7,500/μL 7.4 D BUN ; Blood Urea Nitrogen คอื ค่ายเู รยี ไนโตรเจนในเลอื ด WBC ; White Blood Cell คอื จำ�นวนเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว จงใสเ่ ครอ่ื งหมายถกู (√) หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู ตอ้ ง ใสเ่ ครอ่ื งหมายผดิ (×) หนา้ ขอ้ ความทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง และขีดเส้นใต้เฉพาะคำ� หรือส่วนของข้อความท่ีไม่ถูกต้อง และแก้ไขโดยตัดออกหรือ เติมค�ำ หรือข้อความทถี่ กู ตอ้ งลงในช่องว่าง �������5.1 นาย ก. มีภาวะไตวายเฉยี บพลัน คา่ A ท่ไี ดจ้ ะมีแนวโน้มต่�ำ กว่าค่าปกติ แก้ไขเป็น สูง อธิบาย เพราะไตไม่สามารถกำ�จัดสารทีม่ ีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบออกจาก เลือดได้ ทำ�ให้เกิดการสะสมอย่ใู นเลอื ด �������5.2 นาย ข. มีคา่ B เท่ากบั 15 mg/dL แสดงว่าไตของนาย ข. ท�ำ งานได้เปน็ ปกติ �������5.3 ถา้ นาย ก. เปน็ โรคไตจากการตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี คา่ C จะมแี นวโนม้ สงู กวา่ คา่ ปกติ �������5.4 ถา้ นาย ข. มภี าวะหายใจมากกวา่ ปกตหิ รอื ภาวะหายใจเกนิ (hyperventilation) คา่ D จะต�่ำ กวา่ ค่าปกติ แก้ไขเป็น สงู อธิบาย เพราะภาวะหายใจเกินเป็นการขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจาก ร่างกายอย่างรวดเรว็ สง่ ผลให้ปรมิ าณไฮโดรเจนไอออนในเลอื ดลดลง เลอื ดจงึ มี ค่า pH สงู กว่าคา่ ปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

220 บทท่ี 17 | ระบบขบั ถ่าย ชีววิทยา เลม่ 4 6. การรบั ประทานอาหารที่มีรสเค็มจัดเปน็ ประจำ�จะส่งผลต่อร่างกายอย่างไร อาหารที่มีรสเค็มจัดมีส่วนประกอบของโซเดียมคลอไรด์มาก เมื่อโซเดียมคลอไรด์เข้าสู่ รา่ งกายจะแตกตัวเปน็ ไอออน ไดแ้ ก่ Na+ และ Cl- ซงึ่ ปกตใิ นรา่ งกายจะมีปริมาณ Na+ และ Cl- สมดุลอยู่แล้ว แต่ถ้าได้รับมากเกินไปจะทำ�ให้ความเข้มข้นของ Na+ และ Cl- ในเลือด เพม่ิ ขน้ึ ไตตอ้ งรกั ษาสมดลุ โดยการดดู กลบั น�้ำ จากของเหลวในทอ่ หนว่ ยไตเขา้ สหู่ ลอดเลอื ด เพมิ่ มากข้นึ เพื่อลดความเข้มขน้ ของ Na+ ในเลือด ปรมิ าณเลอื ดจึงเพม่ิ ขน้ึ สง่ ผลใหห้ ัวใจ ตอ้ งสบู ฉดี เลอื ดไปทวั่ รา่ งกายเรว็ ขน้ึ ความดนั เลอื ดจงึ สงู ซง่ึ ความดนั เลอื ดทสี่ งู ขนึ้ นจ้ี ะเพมิ่ แรงดนั ทโ่ี กลเมอรลู สั ทท่ี �ำ หนา้ ทก่ี รองสาร ท�ำ ใหห้ ลอดเลอื ดฝอยอาจเกดิ รอยรวั่ หรอื ฉกี ขาด อาจท�ำ ใหเ้ กดิ การรว่ั ของโปรตนี และเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงออกมากบั ปสั สาวะ ซงึ่ สง่ ผลใหเ้ กดิ โรคไต เชน่ โรคไตเร้ือรัง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

7. จงเปรียบเทียบโครงสร้างหรืออวัยวะในการขับถ่ายและกระบวนการขับถ่ายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสัตว์มีกระดูกสัน หลงั ลงในตารางท่กี ำ�หนดให้ สัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลัง สตั ว์ ชวี วิทยา เลม่ 4 มีกระดกู สันหลัง ฟองน้ำ� ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดนิ แมลง มัลพิเกยี นทวิ บลู เช่น มนษุ ย์ โครงสรา้ ง ไมม่ ี ไม่มี โพรโทเนฟรเิ ดยี ม เมทาเนฟริเดยี ม ไต หรืออวยั วะ ในการขับถ่าย กระบวน การแพร่ การแพร่ ใชซ้ ิเลยี ที่เฟลมเซลล์ ใชเ้ นโฟรสโตมที่ บรเิ วณปลายของมัลพิ การกรองเกดิ ขน้ึ ทห่ี นว่ ยไต การขบั ถา่ ย ผ่านเยอื่ ผ่านเยอ่ื โบกพดั ท�ำ ใหเ้ กดิ แรงดึง เปน็ ปลายเปดิ ของ เกียนทิวบูลจะรบั ของ บรเิ วณโกลเมอรลู สั กบั โบวแ์ มนส์ หุม้ เซลล์ หมุ้ เซลล์ น้�ำ พร้อมของเสียที่ เมทาเนฟรเิ ดียม เสยี จากของเหลว แคปซลู สารที่มีขนาดเลก็ จะถกู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ออกสู่สิ่ง ออกสสู่ ่งิ ละลายอย่เู ข้า รับของเสียท่ลี ะลายอยู่ ภายในช่องล�ำ ตัว แล้ว กรองเข้าสู่ช่องในโบวแ์ มนส์ แวดลอ้ ม แวดล้อม เฟลมเซลลแ์ ล้วล�ำ เลียง ในน�้ำ แลว้ ลำ�เลยี งออก ลำ�เลียงไปยงั ทางเดนิ แคปซลู เขา้ สทู่ อ่ หน่วยไตทม่ี ี สทู่ อ่ รับของเหลว เพื่อ สชู่ อ่ งเปดิ ท่ีผนงั ลำ�ตัว อาหาร ซึง่ จะมีการดูด ลกั ษณะเป็นทอ่ ยาวขดไปมาซง่ึ ไปก�ำ จดั ออกท่ีชอ่ งเปิด น�ำ้ และแรธ่ าตุบางชนิด กลับน�้ำ และสารท่ีมี แตล่ ะบริเวณของทอ่ หนว่ ยไต บทท่ี 17 | ระบบขบั ถ่าย ที่ผนงั ล�ำ ตวั ทมี่ ีประโยชน์จะถูกดูด ประโยชน์กลับเขา้ สู่ จะมีการดดู กลบั สารทม่ี ี กลบั เข้าส่รู ะบบ ระบบหมุนเวยี นเลือด ประโยชน์เข้าระบบหมนุ เวยี น หมนุ เวียนเลือด ของเสียทีเ่ หลือซึ่งมี เลอื ด บางบริเวณเกดิ การหลัง่ ไนโตรเจนเป็นองค์ ไอออนบางชนดิ ท่มี ีมากเกนิ ไป ประกอบจะเปลย่ี น หรอื สารพษิ บางชนดิ จน เป็นกรดยูรกิ ขับออกมา สุดทา้ ยของเสียท่ีได้ส่วนใหญ่ พรอ้ มกากอาหารทาง จะอยู่ในรูปของยเู รยี และก�ำ จดั ทวารหนัก ออกไปกบั ปสั สาวะ 221

222 คณะกรรมการจัดท�ำ หนงั สือเรยี น ชวี วทิ ยา เลม่ 4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก

224 ภาคผนวก ชีววิทยา เล่ม 4 ตัวอยา่ งเครือ่ งมือวดั และประเมินผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะของ แบบทดสอบ รวมทั้งข้อดแี ละข้อจ�ำ กดั ของแบบทดสอบรูปแบบตา่ ง ๆ เพื่อประโยชนใ์ นการสร้างหรอื เลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับส่ิงท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและ ข้อจ�ำ กดั ของแบบทดสอบรปู แบบตา่ ง ๆ เปน็ ดงั นี้ 1) แบบทดสอบแบบที่มีตัวเลอื ก แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจับคู่ รายละเอยี ดของแบบทดสอบแต่ละแบบเปน็ ดงั นี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เป็นแบบทดสอบที่มีการกำ�หนดตัวเลือกให้หลายตัวเลือก โดยมีตัวเลือกที่ถูกเพียงหนึ่ง ตวั เลอื ก องคป์ ระกอบหลกั ของแบบทดสอบแบบเลอื กตอบมี 2 ส่วน คือ คำ�ถามและตวั เลอื ก แต่บางกรณีอาจมีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมข้ึนมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลาย รปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดยี่ ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำ ถาม 2 ชน้ั โครงสรา้ งดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเด่ียวทไ่ี ม่มสี ถานการณ์ ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 ภาคผนวก 225 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเด่ยี วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเปน็ ชดุ สถานการณ์…………………………………………………………….. คำ�ถามท่ี 1 …………………………………………………………….. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามที่ 2 …………………………………………………………….. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

226 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 4 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …(ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามท่ี 1)…… …………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………...... แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุมเนื้อหา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ได้ นอกจากน้นี กั เรียนทีไ่ มม่ คี วามรูส้ ามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผดิ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ กั เรยี นพิจารณาวา่ ถูกหรือผิด ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ ค�ำ ส่ัง ให้พิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปนถ้ี ูกหรือผิด แล้วใสเ่ ครอื่ งหมาย √ หรือ × หน้าข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 2. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 4 ภาคผนวก 227 แบบทดสอบรปู แบบนสี้ ามารถสรา้ งไดง้ า่ ย รวดเรว็ และครอบคลมุ เนอื้ หา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเน้อื หาท�ำ ไดย้ าก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทเี่ ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชดุ ทใี่ หจ้ บั คกู่ นั โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเป็นค�ำ ตอบหรอื ตัวเลือก โดยจำ�นวนขอ้ ความในชุดที่ 2 อาจมมี ากกวา่ ในชุด ที่ 1 ดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจบั คู่ คำ�สง่ั ใหน้ ำ�ตัวอกั ษรหน้าขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเติมในชอ่ งว่างหน้าขอ้ ความในชุดคำ�ถาม ชุดคำ�ถาม ชดุ ค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะส�ำ หรบั วัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียนจับคู่ผิด ไปแลว้ จะทำ�ใหม้ กี ารจับคผู่ ดิ ในคู่อ่ืน ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทวั่ ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างส้ัน และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแต่ละแบบเป็นดังนี้ 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ ค�ำ หรือตอบอย่างส้นั ประกอบด้วยคำ�สั่ง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สงิ่ ท่กี ำ�หนดคำ�ตอบใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

228 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 4 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทน่ี กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางครั้งมี คำ�ตอบถูกต้องหรอื ยอมรบั ได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทตี่ อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามท่สี อดคลอ้ งกัน โดยค�ำ ถามเป็นคำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรูปแบบนี้ให้อิสระแก่นักเรียนในการตอบจึงสามารถใช้วัดความคิดระดับสูงได้ แต่เนื่องจากนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดและเขียนคำ�ตอบมาก ทำ�ให้ถามได้น้อยข้อ จึงอาจทำ�ให้ วัดได้ไม่ครอบคลมุ เน้ือหาทัง้ หมด รวมท้ังตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจให้คะแนนอาจไมต่ รงกนั   แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยที่แสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบตั กิ ารทดลองและการเขยี นรายงานการทดลอง โดยเคร่อื ง มือทใ่ี ชป้ ระเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลอง รายการที่ตอ้ งส�ำ รวจ ผลการสำ�รวจ การวางแผนการทดลอง มี ไมม่ ี การทดลองตามข้ันตอน (ระบุจ�ำ นวนคร้งั ) การสงั เกตการทดลอง การบนั ทึกผล การอภปิ รายผลการทดลอง ก่อนลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 4 ภาคผนวก 229 ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารทดลองทีใ่ ชก้ ารให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทกั ษะปฏิบตั กิ ารทดลอง คะแนน 321 การเลอื กใช้อปุ กรณ/์ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลอื กใชอ้ ุปกรณ/์ เคร่อื งมอื ในการทดลอง เครือ่ งมอื ในการทดลองได้ เครื่องมอื ในการทดลองได้ เครื่องมือในการทดลอง ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน ถกู ตอ้ งแต่ไม่เหมาะสมกบั ไมถ่ กู ตอ้ ง งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ ใช้อปุ กรณ/์ เครื่องมอื ใน ใชอ้ ุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ใน ใชอ้ ปุ กรณ์/เครื่องมือใน เครื่องมือในการทดลอง การทดลองไดอ้ ยา่ ง การทดลองไดถ้ ูกตอ้ งตาม การทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว และถูกต้อง หลักการปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ การทดลองตามแผนที่ ตามหลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคลว่ ก�ำ หนด ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ทดลองตามวธิ กี ารและ ขนั้ ตอนทกี่ �ำ หนดไว้อย่าง ขัน้ ตอนท่กี ำ�หนดไว้ มกี าร ข้ันตอนท่ีกำ�หนดไว้หรอื ถูกตอ้ ง มีการปรับปรุง ปรับปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ดำ�เนินการขา้ มขัน้ ตอนที่ แกไ้ ขเปน็ ระยะ กำ�หนดไว้ ไม่มีการ ปรับปรงุ แก้ไข ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลองทีใ่ ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ 1. วางแผนการทดลองอยา่ งเป็นขั้นตอน 321 2. ป ฏบิ ตั กิ ารทดลองได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว สามารถเลอื กใช้ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 อุปกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม และจดั วางอุปกรณ์เปน็ หมายถึง หมายถึง หมายถึง ระเบียบ สะดวกตอ่ การใช้งาน ปฏบิ ัติได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3. บันทกึ ผลการทดลองได้ถูกตอ้ งและครบถ้วนสมบรู ณ์ 3 ขอ้ 2 ข้อ 1 ขอ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

230 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 4 ตัวอย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 32 1 เขยี นรายงานตามลำ�ดบั ขนั้ ตอน เขียนรายงานการทดลอง เขียนรายงานโดยลำ�ดบั ขน้ั ตอน ผลการทดลองตรงตามสภาพจรงิ ตามล�ำ ดบั แต่ไม่สือ่ ความหมาย ไม่สอดคลอ้ งกัน และส่ือความหมาย และไม่สือ่ ความหมาย แบบประเมนิ คุณลกั ษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทป่ี รากฏให้เห็นในลกั ษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ช้ี ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครื่องมอื ทใี่ ช้ประเมนิ คุณลักษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่างแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ค�ำ ชี้แจง จงทำ�เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องว่างที่ตรงกับคณุ ลักษณะทีน่ กั เรียนแสดงออก โดยจำ�แนกระดับพฤตกิ รรม การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นอย่างสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เป็นครง้ั คราว นอ้ ย หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นักเรียนไมแ่ สดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านนั้ เลย รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ด้านความอยากรู้อยากเห็น มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. น กั เรยี นสอบถามจากผรู้ หู้ รอื ไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ แสดงออก เมอ่ื เกดิ ความสงสัยในเรอื่ งราววิทยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นชอบไปงานนทิ รรศการวิทยาศาสตร์ 3. นกั เรียนนำ�การทดลองที่สนใจไปทดลองตอ่ ท่ีบ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 4 ภาคผนวก 231 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก ดา้ นความซอื่ สัตย์ มาก ปานกลาง น้อย ไมม่ กี าร 1. นักเรยี นรายงานผลการทดลองตามทีท่ ดลองได้จรงิ แสดงออก 2. เมื่อทำ�การทดลองผดิ พลาด นกั เรียนจะลอก ผลการทดลองของเพือ่ นส่งครู 3. เมื่อครมู อบหมายใหท้ �ำ ช้นิ งานออกแบบส่ิงประดิษฐ์ นักเรยี นจะประดิษฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยู่ในหนงั สือ ดา้ นความใจกวา้ ง 1. แ ม้ว่านกั เรยี นจะไมเ่ ห็นด้วยกบั การสรุปผลการทดลอง ในกลุ่ม แตก่ ย็ อมรับผลสรุปของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถ ้าเพือ่ นแย้งวธิ ีการทดลองของนกั เรียนและมเี หตผุ ลท่ี ดกี ว่า นกั เรยี นพรอ้ มท่จี ะน�ำ ขอ้ เสนอแนะของเพื่อนไป ปรับปรงุ งานของตน 3. เมื่องานทีน่ ักเรียนตัง้ ใจและทุ่มเทท�ำ ถูกตำ�หนหิ รอื โต้แย้ง นกั เรียนจะหมดกำ�ลังใจ ด้านความรอบคอบ 1. น กั เรยี นสรุปผลการทดลองทันทเี ม่อื เสร็จสิน้ การทดลอง 2. น ักเรียนท�ำ การทดลองซ้�ำ ๆ ก่อนทีจ่ ะสรปุ ผล การทดลอง 3. น กั เรยี นตรวจสอบความพรอ้ มของอุปกรณ์ก่อนทำ� การทดลอง ด้านความมงุ่ มัน่ อดทน 1. ถ ึงแม้ว่างานคน้ คว้าทีท่ ำ�อยมู่ ีโอกาสส�ำ เร็จได้ยาก นักเรียนจะยงั คน้ ควา้ ต่อไป 2. น ักเรียนลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เม่อื ผลการทดลอง ทีไ่ ดข้ ดั จากท่เี คยไดเ้ รยี นมา 3. เมือ่ ทราบวา่ ชุดการทดลองท่นี กั เรยี นสนใจต้องใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นักเรยี นกเ็ ปลยี่ นไป ศกึ ษาชดุ การทดลองท่ีใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

232 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 4 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก เจตคติทด่ี ีต่อวิทยาศาสตร์ มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. น ักเรียนนำ�ความรูท้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใชแ้ กป้ ญั หาใน แสดงออก ชวี ติ ประจำ�วันอยูเ่ สมอ 2. นักเรียนชอบท�ำ กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั วทิ ยาศาตร์ 3. น ักเรยี นสนใจตดิ ตามขา่ วสารที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ วิธีการตรวจให้คะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตวั เลอื กในชอ่ งตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความที่มคี วามหมายเป็นทางบวก ก�ำ หนดให้คะแนนแต่ละขอ้ ความดงั น้ี ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 สว่ นของขอ้ ความทมี่ คี วามหมายเปน็ ทางลบการก�ำ หนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะขอ้ ความจะ มลี กั ษณะเป็นตรงกันขา้ ม การประเมินการน�ำ เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ด้านการเขยี นโดยใช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดังตัวอย่างต่อไปน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 4 ภาคผนวก 233 ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ เน้อื หาไมถ่ กู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ตอ้ งปรบั ปรุง เน้ือหาถูกต้องแต่ให้สาระสำ�คัญน้อยมาก และ พอใช้ ไมร่ ะบุแหล่งท่มี าของความรู้ เน้ือหาถกู ตอ้ ง มีสาระส�ำ คญั แต่ยงั ไม่ครบถ้วน มี ดี การระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุ ดีมาก แหลง่ ท่มี าของความรู้ชดั เจน ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุด ประสงค์ ขาดการเชื่อมโยงเน้ือหาบางส่วน พอใช้ ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสม และสะกดคำ�ไม่ถูกต้อง ไม่อ้างอิงแหล่งท่ีมาของ ดี ความรู้ เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ ไม่ชัดเจน เน้ือหาถูกต้องแต่มีรายละเอียด ไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียบเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง ใช้ภาษา ถูกตอ้ ง อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของ เร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมาของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็น สำ�คัญทั้งหมด เน้ือหาบางตอนเรียบเรียงไม่ ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหล่งทีม่ าของ ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

234 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 4 รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดมี าก เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความส�ำ คญั และทมี่ าของปญั หา จดุ ประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ 2) การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เป็นการประเมินเพื่อต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใช้พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในสว่ นน้ัน ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มตี ัวอย่างดังน้ี ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการวางแผน ต้องปรับปรุง พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ต่ไม่ ดี ตรงกับประเด็นปัญหาทีต่ ้องการเรียนรู้ ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เปน็ บางสว่ น ออกแบบครอบคลมุ ประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เป็นส่วนใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน ออกแบบไดค้ รอบคลุมทุกประเด็นส�ำ คญั ของ ปญั หาอย่างเป็นขน้ั ตอนทช่ี ดั เจนและตรงตาม จดุ ประสงคท์ ี่ต้องการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 4 ภาคผนวก 235 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการด�ำ เนนิ การ ต้องปรบั ปรงุ ด�ำ เนนิ การไมเ่ ป็นไปตามแผน ใช้อปุ กรณ์และสอ่ื ประกอบถูกตอ้ งแตไ่ มค่ ล่องแคล่ว พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละส่ือ ดี ประกอบถกู ตอ้ งแต่ไม่คล่องแคล่ว ด�ำ เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อปุ กรณ์และสือ่ ดมี าก ประกอบการสาธติ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทันเวลา ผลงานในบางขั้นตอนไม่เป็นไปตามจุด ต้องปรบั ปรุง ประสงค์ พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ุปกรณ์และสื่อ ดี ประกอบไดถ้ ูกต้อง คล่องแคลว่ และเสรจ็ ทัน ดีมาก เวลา ผลงานทกุ ขัน้ ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ ดา้ นการอธบิ าย อธิบายไม่ถกู ต้อง ขัดแยง้ กบั แนวคดิ หลักทาง วิทยาศาสตร์ อธิบายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธบิ ายเปน็ แบบพรรณนาทวั่ ไปซ่ึงไม่ ค�ำ นงึ ถงึ การเช่ือมโยงกบั ปัญหาทำ�ให้เขา้ ใจยาก อธิบายโดยอาศยั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปัญหาแต่ขา้ มไปในบางขัน้ ตอน ใชภ้ าษาได้ถูกตอ้ ง อธบิ ายตามแนวคดิ หลักทางวิทยาศาสตร์ ตรง ตามประเด็นของปญั หาและจุดประสงค์ ใช้ ภาษาได้ถูกต้องเข้าใจงา่ ย ส่อื ความหมายได้ ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

236 บรรณานกุ รม ชีววทิ ยา เลม่ 4 บรรณานกุ รม ผกากรอง วนไพศาล. (2559, 10 สิงหาคม). บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน เร่ือง นำ้�นมแม่ ประโยชนอ์ เนกอนนั ต,์ สบื คน้ เมอ่ื 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2561, จาก http://www.pharmacy.mahidol. ac.th/th/knowledge/article/338/ ไพศาล สิทธิกรกุล. (2548). วิทยาภูมิคุ้มกัน สำ�หรับการเรียนการสอนและการวิจัย. กรุงเทพฯ : ศูนยส์ ื่อเสริม กรงุ เทพ. ภาควชิ าตจวทิ ยา คณะแพทยศ์ ริ ิราชพยาบาล. (2560, 21 สิงหาคม). อยเู่ ปน็ สุขกบั โรคเอส แอล อ,ี สบื คน้ เมอ่ื 17 มกราคม 2561, จาก http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail. asp?id=38 ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศพั ทว์ ทิ ยาศาสตร์ องั กฤษ-ไทย ไทย-องั กฤษ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน (พมิ พ์ครั้งท่ี 5 แกไ้ ขเพม่ิ เติม). กรงุ เทพฯ : หา้ งหุ้นสว่ นจ�ำ กัด อรณุ การพิมพ.์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เล่ม 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 9). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เล่ม 2 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 6). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 4 บรรณานกุ รม 237 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). หนังสือเรียนรู้เพ่ิมเติมเพื่อเสริม ศักยภาพวทิ ยาศาสตรช์ น้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 พืน้ ฐานชวี วทิ ยา แอนตบิ อดี (พมิ พค์ รงั้ ที่ 1). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด. สมาคมโรคตดิ เช้อื ในเด็กแหง่ ประเทศไทย. (2561). ตารางการใหว้ คั ซนี ในเดก็ ไทยปกติ โดยสมาคม โรคตดิ เช้ือในเดก็ แห่งประเทศไทย 2561. สบื คน้ เม่อื 22 มถิ ุนายน 2561, จาก http://www. pidst.net/A626.html Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Reece, J. B. (2018). Biology: A Global Approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Cowan, M. K., Talaro, K. P. (2009). Microbiology A : System Approach (2nd ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Gerard J. T., Berdell R. F., Christine L. C. (2014). Microbiology : An Introduction (11rd ed).: Pearson Education Limited. Mader, S. S., Windelspecht, M. (2016). Biology (12th ed). New York: McGraw-Hill Education. Nester, E. W., Anderson, D. G., Roberts, C. E., Pearsall N. N., Nester M. T. (2001). Microbiology: A Human Perspective (3rd ed). New York: Pearson Education Limited. Peacock, A. J. (1998). ABC of Oxygen : Oxygen at High Altitude. BMJ: 317 (7165), 1063-1066. Saladin, K. S. (2010). Anatomy & Physiology : The Unity of Form and Function (5th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Shier, D., Butler, J., & Lewis, R. (2009). Hole’s essential of Human Anatomy & Physiology (10th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Teresa A., Gerald A. & Bruce E. B. (2008). Biology : Life on Earth with Physiology (8th ed). New York: Pearson Education Limited. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

238 บรรณานกุ รม ชวี วทิ ยา เลม่ 4 VanPutte, C., Regan, J., Russo, A., Seeley, R., Stephen, T., Tate, P. (2017). Seeley’s Anatomy & Physiology (11th ed). New York: McGraw-Hill Education, Inc. Widmaier, E. P., Raff, H., Strang, K. T., & Vander, A. J. (2008). Vander's Human Physiology: The Mechanisms of Body Function. Boston: McGraw-Hill Higher Education. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี