Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 11:21:03

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 10 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม การสำรวจความรกู้ ่อนเรยี น นกั เรียนอาจตอบคำถามถูกหรือผดิ ก็ไดข้ นึ้ อย่กู บั ความรเู้ ดมิ ของนักเรียน แตเ่ มือ่ เรยี นจบบทเรียนแล้ว ให้นักเรยี นกลับมาตรวจสอบคำตอบอีกครั้งและแก้ไขให้ถกู ต้อง ดังตวั อย่าง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

11 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 12 ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเองและใหเ้ หตผุ ลที่สอดคลอ้ งกับคำตอบ เช่น ตาราง หรือแผนภูมิรูปภาพ - ตารางแสดงคา่ ของอุณหภูมิไดช้ ดั เจน ทำให้เข้าใจได้รวดเร็ว - แผนภูมิรปู ภาพน่าสนใจ และสามารถเปรยี บเทียบคา่ อุณหภูมิได้เรว็ ว่าจังหวดั ใดมีอุณหภมู สิ งู ท่สี ุด   สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

13 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงต่าง ๆ รอบตวั 14 นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง พิจารณาจากหลักฐานที่นำมาสนับสนุนคำตอบ เช่น คำตอบของ นักเรียนคนที่ 1 น่าเชื่อถือที่สุด เพราะลิงชอบกินกล้วย และเล็บของลิง ทำให้กล้วยเป็นรู หรือคำตอบของนักเรียนคนที่ 2 น่าเชื่อถือที่สุด เพราะ เห็นรังนกอยู่ใกล้ ๆ ค่ายพักแรม และนกมีปากแหลม จึงทำให้กล้วยเป็นรู หรือคำตอบของนักเรียนคนที่ 3 น่าเชื่อถือที่สุด เพราะ พบรอยเท้าของ กวางในบริเวณนนั้ และเลบ็ ของกวางทำใหก้ ล้วยเป็นรู สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

15 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว เรอ่ื งที่ 1 ทกั ษะการจดั กระทำและสื่อความหมายขอ้ มลู ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการนำข้อมูลที่ เก็บรวบรวมได้มาจัดกระทำใหม่ให้อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือ สื่อความหมายข้อมูลให้เข้าใจได้ง่าย ถูกต้อง และรวดเร็ว ซ่งึ จัดเป็นการใชท้ ักษะการจดั กระทำและสอื่ ความหมายข้อมูล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของการจัดกระทำและสื่อความหมาย ขอ้ มูล 2. ฝกึ ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลเพื่อให้ ผอู้ ืน่ เข้าใจได้ง่าย ถูกต้องและรวดเร็ว เวลา 3 ช่วั โมง วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรับทำกจิ กรรม ใบแจง้ ค่าไฟฟ้า สอ่ื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียน ป.3 เลม่ 1 หนา้ 7-17 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.3 เลม่ 1หนา้ 7-13 ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 16 แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาท)ี ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาท)ี 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการจัดกระทำและสื่อความหมาย ในการตรวจสอบความรู้เดิม ข้อมูล โดยให้นักเรียนบอกชื่อสัตว์ที่ตนเองชอบคนละ 1 ชนิด แล้วครู ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น จดคำตอบของทุกคนบนกระดาน หรือให้นักเรียนเขียนคำตอบของ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ ตนเองบนกระดาน (หรืออาจให้นักเรยี นบอกเกย่ี วกับเร่ืองอืน่ ๆ ที่ชอบ แต่ชักชวนให้หาคำตอบด้วย เชน่ อาหาร ขนม การต์ นู ดอกไม)้ จากนัน้ ครูใช้คำถาม ดังน้ี ตนเองจากการอา่ นเนือ้ เรือ่ ง 1.1 จากคำตอบของนักเรียนมีสัตว์ชนิดใดบ้างท่ีซ้ำกัน (นักเรียนตอบ ตามข้อมลู ท่ปี รากฏบนกระดาน) 1.2 ถ้าต้องการนำข้อมลู สัตวท์ น่ี ักเรียนในห้องชอบไปนำเสนอให้คนอ่ืน เขา้ ใจ เพอื่ ตอบคำถามว่านักเรียนห้องนี้ชอบสัตวช์ นิดใดบ้าง ชนิด ละกี่คน เราต้องจัดกระทำข้อมูลอย่างไรให้คนอื่นเข้าใจได้ง่าย (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ นบั จำนวนคนที่ชอบ สตั ว์แต่ละชนิด จดตวั เลขและนำไปเล่าให้คนอื่นฟัง หรือนำตัวเลข มาจัดกระทำเป็นตารางหรือแผนภาพ แล้วนำตารางหรือแผนภาพ แสดงใหค้ นอ่นื ทราบ) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่อง ทักษะการจัด กระทำและสื่อความหมายข้อมูล โดยใช้คำถามว่าถ้าข้อมูลบางสิ่ง บางอย่างมีจำนวนมาก เราจะสามารถนำข้อมูลนั้นมาทำอย่างไร เพ่ือ ตอบคำถามที่ต้องการและสามารถนำเสนอใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจไดง้ ่ายขน้ึ ข้นั ฝึกทกั ษะจากการอา่ น (40 นาท)ี 3. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 7 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบและนำเสนอ ครูบันทึก คำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบหลังจาก อา่ นเน้ือเร่อื ง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธิบายความหมายของคำสำคัญตามความเขา้ ใจของตนเอง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

17 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 5. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หน้า 7 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครู คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ตรวจสอบความเข้าใจจากการอา่ น โดยใช้คำถามดังน้ี คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.1 ในเรอ่ื งนม้ี ใี ครบา้ ง (ขา้ วตแู ละพ่อ) อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 5.2 ขา้ วตตู อ้ งทำการบา้ นเรอ่ื งอะไร (หาข้อมูลเกย่ี วกบั แหลง่ พลงั งาน และรับฟังแนวความคิดของ ทใี่ ช้ในการผลติ ไฟฟ้า) นักเรยี น 5.3 นักเรียนคิดว่าไฟฟ้ามีประโยชน์ต่อเราหรือไม่ อย่างไร (นักเรียน ตอบจากประสบการณ์ของตนเอง เชน่ มีประโยชน์ ชว่ ยใหเ้ ราใช้ เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ต่าง ๆ ได)้ 5.4 ข้าวตูได้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งผลิตไฟฟ้าอย่างไรบ้าง (ข้าวตูได้ ขอ้ มลู ว่าแหลง่ พลงั งานทใี่ ช้ผลติ ไฟฟ้ามหี ลายแหล่ง และสามารถ ใช้แสงอาทิตยใ์ นการผลติ ไฟฟ้าได้ดว้ ย) 5.5 นักเรียนคิดว่านอกจากไฟฟ้าจะผลิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ แล้วไฟฟ้ายังผลิตจากแหล่งพลังงานอะไรได้อีก (นักเรียนตอบ จากประสบการณข์ องตนเอง เชน่ ผลติ จากนำ้ ลม) 5.6 ข้าวตูค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งพลังงานทีใ่ ชผ้ ลิตไฟฟ้าจากที่ใด (สารคดจี ากอินเทอร์เนต็ ) 5.7 นักเรียนเคยสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือไม่ ถ้าเคย นักเรียนสืบค้นเรื่องอะไรบ้าง (นักเรียนตอบจากประสบการณ์ ของตนเอง) 5.8 การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตของนักเรียนพบปัญหา อะไรบา้ ง (นักเรยี นตอบจากประสบการณข์ องตนเอง) 5.9 เพราะเหตุใดข้าวตูจึงกังวลใจเก่ียวกับข้อมูลที่สืบค้นได้ (เพราะ ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ามีมากมาย ข้าวตูจึงกังวลว่าจะสื่อสารอย่างไรให้ครูและเพื่อนๆ เข้าใจ เกยี่ วกบั แหลง่ พลงั งานต่าง ๆ ทีส่ ามารถนำมาผลติ ไฟฟา้ ) 5.10 ใครแนะนำวิธีแก้ปัญหาในการสื่อสารข้อมูลที่สืบค้นได้แก่ข้าวตู และแนะนำอย่างไร (พ่อเป็นคนแนะนำ โดยให้ข้าวตูนำข้อมูลท่ี สบื ค้นได้ มาจดั กระทำและสือ่ ความหมายขอ้ มลู เสียก่อน) 5.11 คำแนะนำของพ่อน่าจะมีประโยชน์ต่อขา้ วตูอย่างไร (ทำให้ข้าวตู สามารถจัดกระทำข้อมูลที่มีอยู่มากมายนั้น อยู่ในรูปแบบท่ีเป็น ระบบ สามารถสื่อสารความหมายได้ง่าย และชัดเจนว่ามีแหล่ง พลังงานใดบ้างทีส่ ามารถนำมาผลิตไฟฟ้าได้) ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 18 5.12 นักเรียนคิดว่าข้าวตูสามารถนำข้อมูลมาจัดกระทำในรูปแบบใด ไดบ้ ้าง (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ) ขน้ั สรุปจากการอ่าน (10 นาท)ี การเตรียมตัวลว่ งหนา้ สำหรบั ครู เพอ่ื จัดการเรยี นรใู้ นครง้ั ถดั ไป 6. นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่อ่านซึ่งควรสรุปได้ว่า การจัดกระทำและ สื่อความหมายข้อมูลเป็นการนำข้อมูลมาจัดกระทำให้อยู่ในรูปแบบที่ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ เข้าใจง่ายขน้ึ และสามารถใชต้ อบคำถามทอี่ ยากรู้ได้ ก ิ จ ก ร ร ม ท่ี 1 จ ั ด ก ร ะ ท ำ แ ล ะ สื่ อ ความหมายข้อมูลได้อย่างไร โดยครู 7. ครูสามารถให้คำแนะนำการใช้อินเทอร์เน็ตได้ เช่น ใช้สื่ออินเทอร์เน็ต จัดเตรียมอุปกรณ์หรือเตรียมการจัดการ ภายใต้การดูแลและคำแนะนำของผู้ปกครอง ซึ่งข้อมูลที่ได้จากส่ือ เรียนการสอน ดงั น้ี อินเทอรเ์ น็ตตอ้ งผ่านการวเิ คราะห์ไตร่ตรองก่อนนำไปเผยแพร่ เตรียมใบแจ้งค่าไฟฟ้า ซึ่งสามารถ 8. นักเรียนตอบคำถามในรหู้ รอื ยัง ในแบบบันทกึ กิจกรรม หน้า 7 ดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลโดยการสแกน QR 9. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของนกั เรียนใน code ในหนังสือเรียน หน้า 9 เพ่ือให้ นักเรียนใช้สำหรับทำกิจกรรมที่ 1 รู้หรอื ยัง กบั คำตอบที่เคยตอบและบันทึกไว้ในคดิ ก่อนอ่าน ตอนที่ 2 10. ครูให้นักเรียนอ่านคำถามในย่อหน้าสุดท้ายของเรื่องที่อ่าน และ ร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถาม ดังน้ี เราสามารถนำข้อมูลมาจัด กระทำในรูปแบบใดได้บ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กจิ กรรม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

19 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม การจดั กระทำและสอื่ ความหมายข้อมูลมปี ระโยชน์ คอื ช่วยให้ เข้าใจขอ้ มลู งา่ ยขนึ้ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั 20 กิจกรรมท่ี 1 จัดกระทำและส่อื ความหมายข้อมลู ได้อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เปรียบเทียบการจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูลหนึ่ง ๆ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปแบบข้อความ แผนภูมิรูปภาพ และตาราง รวมทั้งฝึก ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลเพื่อให้ผู้อ่ืน เข้าใจได้ง่าย ถกู ต้อง และรวดเรว็ เวลา 2 ชั่วโมง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล ในรูปแบบต่าง ๆ 2. ฝึกทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล เพอ่ื ใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจไดง้ ่าย ถกู ตอ้ ง และรวดเร็ว วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม ส่อื การเรียนรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ ส่งิ ท่คี รูตอ้ งเตรยี ม/กลุ่ม 1. หนังสอื เรียน ป.3 เลม่ 1 หน้า 9-13 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.3 เล่ม 1 หนา้ 8-13 ใบแจ้งค่าไฟฟ้า 1 ชุด ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S6 การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูล S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมือ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

21 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการจัดกระทำและสื่อความหมาย สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ ข้อมลู โดยใชค้ ำถามดังต่อไปนี้ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง 1.1 นักเรียนรู้จักเครื่องใช้ไฟฟ้าอะไรบ้าง (นักเรียนตอบจาก จากการทำกิจกรรม ประสบการณ์ของตนเอง เช่น หลอดไฟฟ้า หม้อหุงข้าว พัดลม คอมพิวเตอร์ ตู้เย็น กระทะไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า โทรทัศน์ เครือ่ งปรับอากาศ) 1.2 ถา้ จะจดั เครือ่ งใช้ไฟฟ้าออกเปน็ กลุ่ม ใช้เกณฑอ์ ะไรได้บ้าง และผล การจัดกลุ่มเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบเกณฑ์และผลการจัดกลุ่ม ตามที่ตนเองเข้าใจ เช่น ใช้เกณฑ์การให้ความร้อน แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน ประกอบด้วย หม้อหุงข้าว กระติกน้ำร้อน กระทะไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ให้ความร้อน ประกอบด้วย หลอดไฟฟ้า พัดลม คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เคร่ืองปรับอากาศ) 1.3 นักเรียนจะนำผลการจัดกลุ่มมาจัดกระทำและนำเสนอข้อมูลได้ อยา่ งไรบ้าง (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ ทำเป็น ตาราง) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1 โดยใช้คำถามว่า นักเรียนรู้หรือไม่ว่า เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดมีค่าไฟฟ้าต่อเดือนเท่าไร และเราสามารถนำค่าไฟฟ้าต่อเดือนของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าแตล่ ะชนิดมาจัด กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มลู เพ่ือใหผ้ ้อู ่นื เข้าใจได้ง่ายไดอ้ ย่างไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกบั จดุ ประสงคใ์ นการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเร่ืองอะไร (ทักษะการจัดกระทำและ สือ่ ความหมายข้อมูล) 3.2 นักเรยี นจะไดเ้ รียนร้เู ร่ืองนีด้ ว้ ยวิธีใด (การฝึกทักษะ) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถจัดกระทำและ สื่อความหมายข้อมูลเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลได้ งา่ ย ถกู ต้อง และรวดเร็ว) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 8 และอ่าน ส่ิงที่ตอ้ งใช้ในการทำกจิ กรรม ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 22 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนที่ 1 ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การอา่ นทเี่ หมาะสมกบั ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบ และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ กจิ กรรม โดยใช้คำถามดงั น้ี นกั เรยี นจะได้ฝกึ จากการทำกจิ กรรม 5.1 นกั เรียนต้องอา่ นขอ้ มูลเกี่ยวกับเรื่องอะไร (ข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือน ตอนท่ี 1 ของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทต่ี ิดฉลากประสิทธภิ าพพลงั งานเบอร์ 5) S8 ลงความเห็นเก่ียวกับรูปแบบ 5.2 นักเรียนรู้จักระดับประสิทธิภาพพลังงานเบอร์ 5 ของ เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบจากประสบการณ์ ก า ร จ ั ด ก ร ะ ท ำ แ ล ะ สื่ อ ของตนเอง เช่น รู้จัก ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีฉลากบอกระดับ ความหมายข้อมูลที่ทำใหเ้ ข้าใจ ประสทิ ธิภาพการประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 ซง่ึ ประหยดั ไดส้ งู สดุ ) งา่ ย ถกู ต้อง และรวดเร็ว 5.3 นักเรียนต้องอ่านข้อมูลกี่รูปแบบ อะไรบ้าง (3 รูปแบบ คือ C4 อภิปรายเปรียบเทียบรูปแบบ รปู แบบข้อความ แผนภูมิรปู ภาพ และตาราง) ก า ร จ ั ด ก ร ะ ท ำ แ ล ะ สื่ อ 5.4 เมื่ออ่านข้อมูลทั้ง 3 รูปแบบแล้วนักเรียนต้องทำอะไรต่อไป ความหมายข้อมูล (อภิปรายและบันทึกว่าการนำเสนอข้อมูลทั้ง 3 รูปแบบ C5 ร่วมมือกนั อภปิ ราย ประกอบด้วยขอ้ มลู อะไรบ้างทเี่ หมือนกัน) 5.5 หลังจากพิจารณาข้อมูลแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อ (ร่วมกัน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อภิปรายและเปรียบเทียบว่าการนำเสนอข้อมูลรูปแบบใดที่ทำให้ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว เข้าใจง่าย ถูกต้อง และรวดเร็ว) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 1 แล้ว ให้ และรับฟังแนวความคิดของ นกั เรียนเรม่ิ ปฏิบัติตามขัน้ ตอนการทำกจิ กรรม นักเรียน 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนวคำถามดังน้ี 7.1 ข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีระดับประสิทธิภาพ พลังงานเบอร์ 5 ทั้งสามรูปแบบ ประกอบด้วยข้อมูลใดบ้าง (ประกอบด้วยชนิดของเครื่องใช้ไฟฟ้า และค่าไฟฟ้าต่อเดือนของ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ แต่ละชนดิ ) 7.2 ถ้าต้องการรู้ว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดมีค่าไฟฟ้าต่อเดือนเท่าไร นักเรียนสามารถใช้ข้อมูลจากการจัดกระทำในรูปแบบใดมาตอบ คำถามน้ไี ดบ้ ้าง เพราะเหตุใด (สามารถใช้ขอ้ มลู จากการจัดกระทำ ข้อมูลทั้งสามรูปแบบมาตอบคำถามนี้ได้ เพราะทั้งสามรูปแบบ บอกคา่ ไฟฟา้ ตอ่ เดอื นของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ แตล่ ะชนดิ ไว้) สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

23 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 7.3 นักเรียนพิจารณาการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลแต่ละ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ รปู แบบในประเดน็ ใดบ้าง (พิจารณา 3 ประเด็น ได้แก่ ความเข้าใจ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ง่าย ความถกู ตอ้ ง และความเข้าใจทีร่ วดเร็ว) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 7.4 การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลรูปแบบใดทีท่ ำให้เข้าใจได้ แ ล ะ ร ั บ ฟั ง แ น ว ค ว า ม ค ิ ด ข อง งา่ ยท่ีสุดว่าเครื่องใช้ไฟฟา้ แตล่ ะชนิดมีค่าไฟฟ้าเท่าไร เพราะเหตุใด นักเรยี น (คำตอบขึ้นอยู่กับเหตุผลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม เช่น รูปแบบ ขอ้ ความทำใหเ้ ขา้ ใจง่าย เพราะสามารถอา่ นทำความเข้าใจได้ทันที รูปแบบแผนภูมิรูปภาพเป็นรูปแบบท่ีเข้าใจได้ง่ายเพราะเห็น จำนวนเหรียญแล้วบอกค่าไฟฟ้าได้ว่ากี่บาทต่อเดือน แบบตาราง เพราะแสดงตัวเลขที่สื่อสารให้เข้าใจได้ทันทีว่าเครื่องใช้ไฟฟ้า แตล่ ะชนิดมคี า่ ไฟฟ้าตอ่ เดือนเปน็ เท่าไร) 7.5 การจดั กระทำและส่ือความหมายขอ้ มูลรูปแบบใดท่ีนำเสนอข้อมูล ไดถ้ กู ตอ้ ง (ถกู ต้องทงั้ สามรูปแบบ) 7.6 การจัดกระทำและนำเสนอข้อมูลรูปแบบใดที่ทำให้เข้าใจได้เร็ว ที่สุดว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดใดมีค่าไฟฟ้าต่อเดือนสูงที่สุด เพราะเหตุใด (คำตอบขึ้นอยู่กับเหตุผลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม เช่น รูปแบบแผนภูมิรูปภาพเพราะสามารถเปรียบเทียบจำนวน เหรียญแล้วบอกได้ว่าเครื่องทำน้ำอุ่นมีค่าไฟฟ้าต่อเดือนสูงที่สุด หรือรูปแบบตารางเพราะแสดงตัวเลขค่าไฟฟ้าต่อเดือนไว้อย่าง ชัดเจน) 7.7 การจัดกระทำและนำเสนอขอ้ มูลแตล่ ะรูปแบบเหมาะกบั การตอบ คำถามที่เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (การจัดกระทำและนำเสนอ ข้อมูลแต่ละรูปแบบเหมาะกับการตอบคำถามที่ไม่เหมือนกัน เช่น ถ้าเราต้องการทราบปริมาณข้อมูลที่สูงที่สุด หรือต่ำที่สุดโดยที่ไม่ ต้องบอกค่าของข้อมูล ข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิรูปภาพจะ เหมาะสมกว่าใชแ้ บบขอ้ ความหรอื ตาราง) 7.8 การจัดกระทำและนำเสนอข้อมูลแต่ละรูปแบบมีลักษณะอย่างไร และเหมาะสมต่อการนำเสนอข้อมูลแบบใด (คำตอบขึ้นอยู่กับ เหตผุ ลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม เช่น ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 24 - รูปแบบข้อความเป็นความเรียง ต้องใช้เวลาในการอ่านทำ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความเข้าใจ เหมาะกับการนำเสนอข้อมูลที่มีจำนวนข้อมูลไม่ และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่ มาก และมีการอธบิ ายความหมายของข้อมูล นกั เรยี นจะได้ฝึกจากการทำกิจกรรม - รูปแบบแผนภูมิรูปภาพเหมาะกับการนำเสนอข้อมูลทีต่ ้องการ ตอนที่ 2 เปรียบเทียบจำนวนหรือปริมาณที่ชัดเจน และใช้เวลาในการ S6 จัดกระทำและสื่อความหมาย เปรยี บเทียบไม่มาก มีความน่าสนใจเพราะมีการใชร้ ปู ภาพหรือ สัญลักษณต์ า่ ง ๆ แทนสิ่งที่ต้องการนำเสนอ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั คา่ ไฟฟา้ ต่อเดือน S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับการจัด - รูปแบบตาราง มีการบอกค่าตัวเลขที่ชัดเจน ถูกต้อง เข้าใจค่า ของข้อมูลไดร้ วดเร็ว) กระทำและสื่อความหมายข้อมูล ในรูปแบบตา่ ง ๆ 8. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนที่ 2 ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการ C1 การออกแบบตารางหรือแผนภูมิ อ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบ รูปภาพ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ C2 การเลือกรูปแบบการจัดกระทำ กิจกรรม โดยใช้คำถามดงั น้ี และสื่อความหมายข้อมูลที่จะ 8.1 นักเรียนต้องทำอะไรเป็นส่ิงแรก (อ่านข้อมูลค่าไฟฟ้าในแต่ละ นำมาใช้ เดอื นจากใบแจ้งค่าไฟฟา้ และบนั ทกึ ข้อมลู ) C4 นำเสนอผลการจัดกระทำและ 8.2 นักเรียนเคยเห็นใบแจ้งค่าไฟฟ้าหรือไม่ (นักเรียนตอบจาก สอ่ื ความหมายขอ้ มลู เกี่ยวกับค่า ประสบการณ์ของตนเอง) ไฟฟ้าต่อเดอื น ครแู จกใบแจ้งคา่ ไฟฟ้าให้นักเรียนแต่ละกล่มุ จากน้นั ใช้คำถามดังนี้ C5 รว่ มมอื กนั จัดกระทำและ 8.3 แตล่ ะกลุ่มไดร้ บั ใบแจ้งคา่ ไฟฟ้ากี่ใบ (6 ใบ) สื่อความหมายข้อมลู คา่ ไฟฟา้ ตอ่ 8.4 ในใบแจ้งค่าไฟฟ้า มีข้อมูลอะไรบ้าง (ในใบแจ้งค่าไฟฟ้ามีข้อมูล เดือน ต่าง ๆ เช่น ชื่อผู้ใช้ไฟฟ้า สถานที่ใช้ไฟฟ้า วันเดือนปีที่จดเลข รายละเอียดค่าไฟฟ้าของเดือนที่จดเลข ประวัติการใช้ไฟฟ้าเดือน ก่อน ๆ) 8.5 ค่าไฟฟ้าของเดือนที่จดเลขอยู่ตรงตำแหน่งใดของใบแจ้งค่าไฟฟ้า (นักเรียนชี้ตำแหน่งของค่าไฟฟ้าของเดือนที่จดเลขในใบแจ้ง คา่ ไฟฟา้ ) 8.6 นักเรียนต้องบันทึกข้อมูลใดในใบแจ้งค่าไฟฟ้าลงในแบบบันทึก กิจกรรม (บันทึกข้อมูลค่าไฟฟ้าของเดือนที่จดเลข ของใบแจ้งค่า ไฟฟา้ ทง้ั 6 ใบ) 8.7 หลังจากบันทึกผลค่าไฟฟ้าแต่ละเดือนแล้วนักเรียนต้องทำอะไร ต่อไป (เลือกรูปแบบการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

25 คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว เกี่ยวกับค่าไฟฟ้าต่อเดือน และจัดกระทำข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ตามรปู แบบทเี่ ลอื ก) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 8.8 นักเรียนจะเลือกรูปแบบในการจัดกระทำและสื่อความหมาย คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด ข้อมลู ของข้อมลู ค่าไฟฟา้ ต่อเดือนอยา่ งไร (จะเลอื กรปู แบบท่ีทำให้ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ผอู้ ื่นเขา้ ใจข้อมลู ค่าไฟฟ้าต่อเดอื นไดง้ ่ายข้ึน) และรับฟังแนวความคิดของ 8.9 เมื่อจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลเกี่ยวกับค่าไฟฟ้าต่อเดือน นกั เรียน แล้วนักเรียนต้องทำอะไรต่อ (นำเสนอผลการจัดกระทำและส่ือ ความหมายข้อมูล) 9. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 2 แล้ว ให้นักเรยี นเริ่มปฏิบัตติ ามข้นั ตอนการทำกิจกรรม 10. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนวคำถามดงั นี้ 10.1 นักเรียนจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนใน รูปแบบใดบ้าง (นักเรียนตอบตามผลการทำกิจกรรม เช่น จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลในรูปแบบตาราง แผนภูมิ รูปภาพ ข้อความบรรยาย หรอื อ่ืน ๆ) 10.2 การจัดกระทำข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนของนักเรียนประกอบด้วย ข้อมลู ใดบา้ ง (เดอื น และคา่ ไฟฟา้ แต่ละเดือน) 10.3 การเลือกรูปแบบเพื่อจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลค่าไฟฟ้า ตอ่ เดอื น นกั เรยี นมเี หตุผลในการตัดสินใจเลือกอย่างไร (เหตุผลใน การเลือกรูปแบบ คือ ต้องดูว่าข้อมูลที่มีอยู่ประกอบด้วยอะไรบา้ ง และเราต้องการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องอะไร เช่น ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจข้อมูลนั้นได้ง่าย สามารถเปรียบเทียบได้ อย่างรวดเร็ว ก็จะเลือกรูปแบบการจัดกระทำที่ทำให้สามารถ เปรียบเทียบขอ้ มลู ได้ง่าย และรวดเรว็ ) 10.4 กลุ่มที่จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลในรูปแบบตาราง คิดว่า ตารางมีความเหมาะสมกับข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนอย่างไร (คำตอบขนึ้ อยู่กบั เหตุผลของนักเรยี น เชน่ ตารางเหมาะสม เพราะ ตอ้ งการนำเสนอขอ้ มลู เพ่ือใหผ้ ู้อน่ื เห็นเป็นตัวเลขค่าไฟฟา้ ต่อเดือน ทีช่ ดั เจน ถกู ตอ้ ง และเขา้ ใจไดง้ า่ ยและรวดเร็ว) ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตัว 26 10.5 กลุ่มที่จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี รูปภาพ คิดว่าแผนภูมิรูปภาพมีความเหมาะสมกับข้อมูลค่าไฟฟ้า แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ต่อเดือนอย่างไร (คำตอบขึ้นอยู่กับเหตุผลของนักเรียน เช่น ทักษะการจัดกระทำและส่ือ แผนภูมิรูปภาพเหมาะสม เพราะต้องการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ ความหมายข้อมูล ให้ร่วมกัน ผอู้ ื่นสามารถเปรยี บเทยี บค่าไฟฟ้าตอ่ เดอื นได้อย่างรวดเรว็ ว่าเดือน อภิปรายจนนักเรียนมีแนวคิดที่ ใดมีค่าไฟฟ้าสูงที่สุด หรือต่ำที่สุด และการใช้รูปภาพทำให้มคี วาม ถกู ตอ้ ง นา่ สนใจ) 10.6กลุ่มที่เลือกจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลในรปู แบบแผนภมู ิ รูปภาพ เลือกใช้รูปอะไรแทนค่าไฟฟ้า เพราะเหตุใด (คำตอบ ขึ้นอยู่กับผลการทำกิจกรรมของนักเรียน เช่น ใช้รูปเหรียญ แทน ค่าไฟฟ้า เพราะเหรียญเป็นสิ่งที่ทุกคนคุ้นเคยว่าเป็นตัวแทนของ เงนิ ) 10.7 นักเรียนกลุ่มที่จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลในรูปแบบอื่น เลือกรูปแบบใด และคิดว่ารูปแบบที่เลือกมีความเหมาะสมกับข้อ มูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนอย่างไร (คำตอบขึ้นอยู่กับผลการทำกิจกรรม และเหตผุ ลของนักเรียน) 10.8 ผลการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนของ นักเรียน ทำให้คนอื่นเข้าใจเกี่ยวกับค่าไฟฟ้าต่อเดือนง่ายข้ึน หรือไม่ อย่างไร (ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น แต่รูปแบบที่นำเสนอบาง รปู แบบไมนา่ สนใจ เช่น ตาราง ซง่ึ รปู แบบแผนภมู ิรปู ภาพน่าสนใจ กว่าเพราะมรี ูป แต่ตอ้ งใชเ้ วลาในการเทยี บจำนวนเหรยี ญ) 10.9นักเรียนพบปัญหาอะไรบ้าง เมื่อนำข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนมา จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (คำตอบขึ้นอยู่กับผลการทำ กิจกรรมของนักเรียน เช่น นักเรียนต้องใช้เวลาเพื่อตัดสินใจเลือก รูปแบบค่อนข้างนาน เนื่องจากไม่มั่นใจว่ารปู แบบท่ีเลอื กมีจุดเดน่ ในการนำเสนอข้อมูลอย่างไร หรือนักเรียนที่เลือกแผนภูมิรูปภาพ อาจเสียเวลากับการวาดเหรียญ และต้องใช้เวลาคิดคำนวณว่าจะ ใช้จำนวนเหรยี ญเท่าไรเพอ่ื แทนจำนวนเงนิ ) 10.10 จากการทำกิจกรรมพบว่าในแต่ละเดือนมีค่าไฟฟ้าไม่เท่ากัน นักเรียนคิดว่าเราสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้หรือไม่ และจะมี วิธีประหยัดไฟฟ้าได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

27 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว ตนเอง เชน่ เราสามารถชว่ ยกันประหยัดค่าไฟฟ้าได้ โดยช่วยกัน ปดิ ไฟดวงทไ่ี ม่ไดใ้ ช้ ถอดปลั๊กเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เมื่อไม่ได้ใช)้ 11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับทักษะ การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล จากนั้นร่วมกันอภิปรายและ ลงข้อสรุปว่าการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลเป็นการนำข้อมูลท่ี ได้จากการรวบรวมมาจัดกระทำใหม่ให้อยู่ในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ ข้อความ แผนภูมิรูปภาพ ตาราง เพื่อสื่อความหมายของข้อมูลให้เข้าใจได้ง่าย ถูกต้อง และรวดเรว็ ซึ่งการเลอื กรูปแบบเพื่อนำเสนอต้องเลือกรูปแบบท่ี สามารถตอบคำถามเก่ยี วกบั ส่ิงท่ีต้องการนำเสนอได้ (S13) 12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพม่ิ เตมิ ในการอภปิ รายเพ่อื ให้ได้แนวคำตอบทถ่ี ูกตอ้ ง 13. นักเรียนอา่ น สิ่งท่ไี ดเ้ รยี นรู้ และเปรยี บเทียบกับข้อสรปุ ของตนเอง 14. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับ คำถามทนี่ ำเสนอ 15. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในข้นั ตอนใด 16. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 14 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่องว่า มีทักษะอะไร อีกบ้างทีจ่ ำเปน็ สำหรบั การเรยี นรู้เพ่ือนำเสนอข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ โดยให้ นักเรียนร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบคำถาม ซึ่งครูควรเน้นให้ นกั เรยี นตอบคำถามพร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบและชักชวนให้นักเรียน ไปหาคำตอบร่วมกนั จากการเรียนเร่อื งตอ่ ไป ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 28 แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม เปรียบเทียบการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลใน รูปแบบต่าง ๆ ชนดิ ของเครื่องใช้ไฟฟ้า คา่ ไฟฟา้ ตอ่ เดอื น นกั เรียนบนั ทึกผลการเปรียบเทยี บของกลมุ่ เช่น      สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

29 คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว คำตอบขึ้นอยกู่ บั ผลการทำกิจกรรมและเหตผุ ลของนักเรียน เชน่ ตาราง คำตอบข้ึนอยู่กับผลการทำกิจกรรมและเหตุผลของนักเรียน เช่น เลือก ตาราง เพราะตารางแสดงคา่ ตวั เลขทส่ี ามารถบอกได้เลยว่าเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า แต่ละชนดิ มคี า่ ไฟฟ้าต่อเดอื นเปน็ เทา่ ไร ฝึกทักษะการจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมลู เพ่ือให้ผู้อื่น เขา้ ใจได้งา่ ย ถกู ต้อง และรวดเรว็ กุมภาพันธ์ 320 มีนาคม 340 เมษายน 400 พฤษภาคม 360 มถิ นุ ายน 300 กรกฎาคม 260 ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 30 ผลการทำกิจกรรมข้ึนอยู่กบั ผลการเลอื กรปู แบบของนกั เรียน เช่น แผนภูมิรปู ภาพ เพราะต้องการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ผู้อื่นสามารถเปรียบเทียบค่าไฟฟ้าต่อ เดือนได้อย่างรวดเร็วว่าเดือนใดมีค่าไฟฟ้าสูงที่สุด หรือต่ำที่สุด และมีความ นา่ สนใจ นักเรียนสามารถเลือกจัดกระทำและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบอื่น ๆ ได้ เช่น ตาราง ข้อความบรรยาย และนกั เรียนควรใหเ้ หตผุ ลในการเลอื กใช้รูแบบนัน้ ๆ ได้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

31 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว รูปแบบการนำเสนอข้อมูลที่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจได้เร็วที่สุด คือ แผนภูมิรูปภาพ เพราะมองเห็นจำนวนเหรียญได้ชัดเจนและเปรียบเทียบได้อย่างรวดเร็วว่า เคร่อื งทำน้ำอ่นุ มีจำนวนเหรยี ญมากท่สี ดุ จงึ มคี ่าไฟฟ้าต่อเดือนมากทสี่ ดุ รูปแบบการนำเสนอข้อมูลที่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่ายที่สุด คือ ตาราง เพราะ แสดงเป็นค่าตัวเลขที่ถูกต้อง และแสดงข้อมูลเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดกับ ค่าไฟฟา้ ตอ่ เดอื นอยา่ งชัดเจน การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนของเครื่องใช้ไฟฟ้า แต่ละชนิด สามารถทำได้ทั้งรูปแบบข้อความ แผนภูมิรูปภาพ และตาราง เพราะสามารถสื่อความหมายให้เข้าใจได้ถูกต้อง ซึ่งแต่ละรูปแบบเหมาะสม กบั การนำมาใช้ในการตอบคำถามที่มลี ักษณะแตกต่างกนั เชน่ การจดั กระทำ และสื่อความหมายข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิรูปภาพช่วยให้เปรยี บเทยี บข้อมูล ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว แบบตารางชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจข้อมลู ได้รวดเรว็ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 32 เราสามารถนำข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อเดือนมาจัดกระทำในรูปแบบข้อความ แผนภูมิรูปภาพ ตาราง และอ่นื ๆ ทำให้ทราบถึงค่าไฟฟ้าที่ใช้ต่อเดือน และเปรียบเทียบได้ว่าเดือนใดมี คา่ ไฟฟา้ สูงทีส่ ดุ และต่ำทสี่ ุด อาจนำมาใชว้ างแผนการใชไ้ ฟฟ้าได้ การเลือกรปู แบบเพื่อจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมูลค่าไฟฟา้ ต่อเดอื น ควรเลือกรูปแบบที่ทำให้เข้าใจได้ง่าย ถูกต้อง และรวดเร็ว ซึ่งสามารถ ทำไดท้ ้งั แผนภูมิรูปภาพ ตาราง และอ่นื ๆ การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูลเป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการ รวบรวมมาจัดกระทำใหม่ให้อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปแบบข้อความ แผนภูมิรูปภาพ ตาราง เพื่อสื่อความหมายข้อมูลให้เข้าใจได้ง่าย ถูกต้อง และรวดเร็ว สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

33 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว คำถามของนักเรียนที่ตง้ั ตามความอยากรูข้ องตนเอง ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว 34 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรู้ของนกั เรยี นทำได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรียน 2. ประเมินการเรียนรจู้ ากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน การประเมนิ จากการทำกจิ กรรมที่ 1 จัดกระทำและสอื่ ความหมายขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งไร รหัส สงิ่ ท่ปี ระเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S6 การจัดกระทำและสือ่ ความหมายข้อมลู S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ รวมคะแนน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

35 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะ เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำ การนำข้อมูลค่าไฟฟ้า สามารถนำข้อมูลค่า สามารถนำข้อมลู ค่า สามารถนำข้อมูลค่า และส่อื จากใบแจ้งค่าไฟฟ้ามา ไฟฟ้าจากใบแจง้ ค่าไฟฟ้า ไฟฟ้าจากใบแจง้ คา่ ไฟฟ้าจากใบแจง้ คา่ ความหมายข้อมูล จัดกระทำโดยสร้างเป็น มาจดั กระทำโดยสร้าง ไฟฟ้ามาจัดกระทำโดย ไฟฟา้ มาจัดกระทำใน ตาราง แผนภูมิรูปภาพ เป็นตาราง แผนภมู ิ สร้างเปน็ ตาราง รูปแบบตา่ ง ๆ ได้ แต่ หรือรูปแบบอื่น ๆ และ รูปภาพ หรือรูปแบบ อ่ืน ๆ และส่อื ใหผ้ ูอ้ น่ื แผนภูมิรปู ภาพ หรือ ไมส่ ามารถส่อื รูปแบบอืน่ ๆ และส่อื ความหมายใหผ้ ู้อืน่ ส ื ่ อ ใ ห้ ผ ู ้ อ ื ่น เ ข้าใจ เขา้ ใจไดช้ ดั เจน ด้วย ใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจได้ชดั เจน เข้าใจได้ แมจ้ ะไดร้ ับ ได้ ตนเอง จากการชแี้ นะของครู การชี้แนะจากครหู รือ หรือผูอ้ ืน่ ผอู้ ืน่ S8 การลง การลงความเหน็ ไดว้ ่า สามารถลงความเหน็ ได้ สามารถลงความเหน็ ลงความเห็นได้ไม่ ความเหน็ จาก การนำข้อมลู มาจดั ถูกต้องด้วยตนเองวา่ การ ได้ถูกตอ้ ง จากการ ชัดเจนว่าการนำขอ้ มลู ข้อมลู กระทำและสื่อ นำขอ้ มูลมาจดั กระทำ ชแ้ี นะของครหู รือผอู้ ่นื มาจดั กระทำและสื่อ ความหมายข้อมูล ใน และสื่อความหมายข้อมูล วา่ การนำขอ้ มูลมาจดั ความหมายในรูปแบบ รปู แบบต่าง ๆ ทำให้ ในรูปแบบต่าง ๆ ทำให้ กระทำและสื่อ ตา่ ง ๆ ทำใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจ ผู้อื่นเข้าใจข้อมูลน้ันได้ ผู้อ่นื เข้าใจขอ้ มลู น้ันได้ ความหมายข้อมลู ใน ขอ้ มูลนนั้ ได้ง่าย ถูกต้อง งา่ ย ถกู ต้อง และ ง่าย ถูกต้อง และรวดเร็ว รปู แบบต่าง ๆ ทำให้ และรวดเรว็ อย่างไร รวดเร็ว ผอู้ ่นื เข้าใจข้อมูลนนั้ ได้ งา่ ย ถูกต้อง และ รวดเรว็ S13 การ การตคี วามหมายข้อมูล สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย ตคี วามหมาย ข้อมูลและลง จากการอภปิ รายและ ข้อมลู จากการอภิปราย ขอ้ มลู จากการอภิปราย ข้อมลู จากการอภปิ ราย ข้อสรุป ฝกึ จัดกระทำและสอ่ื และฝึกจัดกระทำและส่ือ และฝึกจดั กระทำและ และฝกึ จัดกระทำและ ความหมายข้อมูล ความหมายข้อมูล สอ่ื ความหมายขอ้ มลู สอื่ ความหมายขอ้ มลู เก่ยี วกับค่าไฟฟา้ ในแต่ เกยี่ วกบั คา่ ไฟฟ้าในแต่ละ เกย่ี วกับค่าไฟฟา้ ในแต่ เกีย่ วกับค่าไฟฟา้ ในแต่ ละเดือน และลง เดอื น และลงขอ้ สรปุ ได้ ละเดือนและลงข้อสรุป ละเดอื นไดอ้ ย่างถูกต้อง ขอ้ สรุปไดว้ า่ ทักษะการ ดว้ ยตนเองวา่ ทกั ษะการ ได้โดยอาศยั การชี้แนะ เพียงบางส่วนและลง จัดกระทำและส่ือ จดั กระทำและส่ือ ของครหู รอื ผอู้ นื่ วา่ ขอ้ สรุปได้ไม่ครบถ้วน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 36 ทกั ษะ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) วิทยาศาสตร์ ความหมายข้อมลู ใน ความหมายข้อมลู ใน ทักษะการจดั กระทำ สมบรู ณว์ า่ ทกั ษะการ รปู แบบตา่ ง ๆ สามารถ รูปแบบตา่ ง ๆ สามารถ และสอื่ ความหมาย จัดกระทำและสื่อ สือ่ ความหมายของ ส่ือความหมายของข้อมูล ข้อมลู ในรูปแบบต่าง ๆ ความหมายข้อมูลใน ข้อมลู น้นั ให้เข้าใจได้ นัน้ ให้เขา้ ใจไดง้ า่ ย สามารถสื่อความหมาย รปู แบบตา่ ง ๆ สามารถ งา่ ย ถูกต้อง และ ถกู ต้อง และรวดเร็ว ของข้อมูลน้ันให้เขา้ ใจ สอ่ื ความหมายของ รวดเร็ว ไดง้ า่ ย ถูกตอ้ ง และ ขอ้ มูลนนั้ ให้เข้าใจได้ รวดเร็ว ง่าย ถกู ต้อง และ รวดเร็ว ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) เกณฑ์การประเมนิ ควรปรับปรุง (1) ศตวรรษที่ 21 พอใช้ (2) C1 การสร้างสรรค์ การออกแบบตาราง สามารถออกแบบ สามารถออกแบบตาราง สามารถออกแบบตาราง หรือแผนภมู ริ ูปภาพ ตารางหรอื แผนภมู ิ หรอื แผนภมู ิรปู ภาพ หรอื หรอื แผนภมู ิรูปภาพ หรอื หรอื อ่นื ๆ เพ่ือ รปู ภาพ หรอื อ่นื ๆ เพ่อื อ่ืน ๆ เพ่ือนำเสนอข้อมลู อื่น ๆ เพ่ือนำเสนอข้อมลู นำเสนอข้อมลู นำเสนอข้อมลู เกยี่ วกับ เกย่ี วกับค่าไฟฟ้าต่อเดือนได้ เกยี่ วกับคา่ ไฟฟ้าต่อเดือน เก่ียวกบั ค่าไฟฟา้ ต่อ คา่ ไฟฟา้ ตอ่ เดือนได้ โดยตอ้ งอาศยั การชแ้ี นะ ไดบ้ างส่วนแมว้ ่าจะได้ เดือน ดว้ ยตนเอง จากครหู รอื ผู้อื่น รบั คำชแี้ นะจากครหู รอื ผอู้ น่ื C2 การคิดอย่างมี การบอกเหตผุ ลและ สามารถตดั สินใจเลือก สามารถตัดสินใจเลือก สามารถจัดกระทำและสื่อ วจิ ารณญาณ ตดั สินใจเลือก รูปแบบการจัดกระทำ รปู แบบการจัดกระทำและ ความหมายข้อมลู ค่าไฟฟ้า รูปแบบการจดั และส่อื ความหมายข้อ สอ่ื ความหมายขอ้ มลู ค่า แต่ไมส่ ามารถบอกเหตผุ ล กระทำและส่ือ มลู ค่าไฟฟ้าได้อย่าง ไฟฟ้าได้อยา่ งสมเหตุสมผล ในการเลือกรูปแบบได้ ความหมายข้อมูลค่า สมเหตุสมผลดว้ ย โดยต้องอาศัยการช้แี นะจาก แมว้ ่าจะได้รับการชี้แนะ ไฟฟ้า ตนเอง ครหู รือผู้อ่ืน จากครูหรือผู้อ่ืน C4 การส่อื สาร การนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอขอ้ มลู สามารถนำเสนอข้อมูลผล สามารถนำเสนอข้อมลู ผลการจัดกระทำ ผลการจดั กระทำและ การจัดกระทำและส่อื ผลการจัดกระทำและสื่อ และสื่อความหมาย ส่อื ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมลู ข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อ คา่ ไฟฟ้าต่อเดือนให้ คา่ ไฟฟา้ ต่อเดือนให้ผู้อ่ืน คา่ ไฟฟ้าต่อเดือนให้ผู้อ่ืน เดอื นให้ผ้อู ืน่ เข้าใจ เข้าใจได้เพยี งบางสว่ น สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

37 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตัว ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) C5 ความรว่ มมอื ผ้อู ื่นเขา้ ใจไดอ้ ย่าง เข้าใจได้อยา่ งถกู ต้อง จาก แมว้ ่าจะได้รบั การชี้แนะ ถกู ต้อง ด้วยตนเอง การชแ้ี นะของครูหรือผู้อ่นื จากครหู รอื ผู้อนื่ การทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานรว่ มกับผู้อ่นื สามารถทำงานร่วมกบั ผอู้ ืน่ ในการอภิปราย ผ้อู ่นื ในการอภิปราย ในการอภิปราย จัดกระทำ ผู้อน่ื ในการอภิปราย จดั จัดกระทำและส่ือ จดั กระทำและสื่อ และสอื่ ความหมายข้อมูลคา่ กระทำและส่ือ ความหมายข้อมูลคา่ ความหมายข้อมลู ค่า ไฟฟา้ ต่อเดอื น รวมท้งั ความหมายข้อมูลค่า ไฟฟา้ ต่อเดือน ไฟฟ้าต่อเดือน รวมทง้ั ยอมรับความคิดเห็นของ ไฟฟา้ ต่อเดือน รวมท้ัง รวมท้งั ยอมรบั ความ ยอมรับความคดิ เห็น ผูอ้ น่ื ในบางช่วงเวลาท่ที ำ ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของ คิดเหน็ ของผอู้ ื่น ของผู้อ่นื ตัง้ แต่เริ่มตน้ กิจกรรม ผอู้ น่ื บางช่วงเวลาที่ทำ จนสำเรจ็ กจิ กรรม ทง้ั น้ีต้องอาศยั การกระตุ้นจากครูหรอื ผอู้ ่ืน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 38 เรื่องที่ 2 ทักษะการหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ และสเปซกบั เวลา และทักษะการสร้างแบบจำลอง ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการหา ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดหรือพื้นที่ของสิ่งต่าง ๆ กับที่ว่าง ของสิ่งตา่ ง ๆ รวมท้งั ความสมั พันธข์ องขนาดของสิ่งต่าง ๆ เม่ือ เวลาผ่านไปและการสร้างบางสิ่งบางอย่างขึ้นมาเพื่อเป็น ตัวแทนของวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ และใช้สิ่งที่สร้าง ข้ึนมาเพอื่ ส่อื สาร อธิบายวตั ถุหรอื ปรากฏการณน์ ั้น จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อธิบายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ กับสเปซและสเปซกับเวลา และทักษะการสร้างแบบจำลอง และฝึกทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และสเปซกบั เวลา และทักษะการสรา้ งแบบจำลอง เวลา 4 ชว่ั โมง วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม กระดาน ตัวตอ่ ลกู อมเคลอื บสี จานพลาสตกิ สีขาว น้ำ นาฬิกาจับเวลา แกนของม้วนกระดาษเยื่อ กรรไกร เชือก ยางรัดของ กระบอกปรศิ นา ส่ือการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป.3 เล่ม 1 หนา้ 18-29 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.3 เลม่ 1หนา้ 14-28 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

39 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว แนวการจดั การเรยี นรู้ (60 นาท)ี ขัน้ ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับสเปซและแบบจำลอง โดยครูวาง ในการตรวจสอบความรู้เดิม กระดาษหนงั สือพิมพ์ 1 แผ่นทพ่ี ืน้ แล้วให้ตวั แทนนักเรยี นออกมายืนบน ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น กระดาษหนังสือพิมพ์ให้ได้จำนวนคนมากที่สุด นับจำนวนนักเรียนที่ยืน สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ บนกระดาษหนังสือพิมพ์แผ่นนั้น จากนั้นทำเช่นเดิมแต่เปลี่ยนขนาด แต่ชักชวนให้หาคำตอบด้วย หนังสอื พมิ พเ์ ปน็ ขนาด ½ และขนาด ¼ ของพนื้ ทเี่ ดมิ ตามลำดับ ตนเองจากการอา่ นเนื้อเร่อื ง 1.1 นักเรียนยืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์ขนาด 1 แผ่นได้กี่คน (นักเรียนตอบจำนวนคนที่ยืนยืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์ขนาด 1 แผ่นได)้ 1.2 นักเรียนยืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์ครึ่งแผ่น ได้กี่คน (นักเรียน ตอบจำนวนคนที่ยืนยืนบนกระดาษหนังสือพมิ พค์ ร่ึงแผ่นได้) 1.3 นักเรียนยืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์ ¼ แผ่นได้กี่คน (นักเรียน ตอบจำนวนคนที่ยืนยนื บนกระดาษหนงั สอื พิมพ์ ¼ แผน่ ได)้ 1.4 พื้นที่ของกระดาษหนังสือพิมพ์กับจำนวนนักเรียนที่ยืนบน กระดาษหนังสือพิมพ์สัมพันธ์กันอย่างไร (นักเรียนตอบจำนวน ตาความเข้าใจของตนเอง เช่น พื้นที่ของกระดาษหนังสือพิมพ์ กับจำนวนนักเรียนทีย่ ืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์สัมพันธ์กันโดย ถ้าพื้นที่ลดลงจำนวนคนที่สามารถยืนบนแผ่นกระดาษ หนงั สือพิมพไ์ ด้กล็ ดลง) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องทักษะการหา ความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา และทักษะการ สร้างแบบจำลอง โดยใช้คำถามว่าสเปซหมายถึงอะไรและแบบจำลอง หมายถึงอะไร ครูชักชวนนักเรียนหาคำตอบจากการอ่านเรื่องทักษะ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และสเปซกับเวลา และ ทักษะการสรา้ งแบบจำลอง ขน้ั ฝกึ ทกั ษะจากการอ่าน (40 นาที) 3. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 18 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบและนำเสนอ ครูบันทึก คำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบหลังจาก อ่านเนื้อเรื่อง ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั 40 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว อธิบายความหมายของคำสำคญั ตามความเขา้ ใจของตนเอง คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 5. นกั เรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หนา้ 18-19 โดยครูฝึกทักษะการ และรับฟังแนวความคิดของ อ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากน้ัน นักเรียน ครูตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่าน โดยใชค้ ำถามดังน้ี 5.1 ข้าวตูกับข้าวตังกำลังทำอะไร (ช่วยแม่ทำความสะอาดบ้านและ จดั ของ) 5.2 ที่ว่างบนชั้นรองเท้าที่สามารถนำรองเท้าไปวางได้ เรียกว่าอะไร (สเปซ) 5.3 ขนาดของรองเท้าคืออะไร (สเปซของรองเทา้ ) 5.4 สเปซหมายถึงอะไรได้บ้าง (พื้นที่ว่างบนชั้นวางรองเท้าหรือ ขนาดของรองเท้า) 5.5 การกระทำใดของข้าวตังกบั ข้าวตูเป็นการใช้ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับสเปซ ยกตัวอย่าง (เลือกขนาดรองเท้าที่พอดี กับพื้นทข่ี องชน้ั วางรองเทา้ ทีว่ ่างอยู่) 5.6 ความสัมพันธร์ ะหว่างสเปซกบั เวลาจากเร่ืองท่ีอ่านคอื อะไร (การ ทีเ่ ทา้ ของข้าวตูและข้าวตังมขี นาดใหญข่ ้นึ เมื่อเวลาผา่ นไป) 5.7 ภาพวาดของข้าวตูเป็นแบบจำลองเพราะเหตุใด (เพราะใช้แทน วตั ถุหรอื ปรากฏการณ์ทีเ่ กิดขึน้ ) 5.8 แบบจำลองต้องเหมือนของจริงทุกอย่างหรือไม่ (ไม่จำเป็นต้อง เหมอื นของจริงทกุ อย่าง) 5.9 แบบจำลองเป็นเพยี งภาพวาดใชห่ รือไม่ (ไม่ใช่ ยงั เป็นรปู แบบอื่น ๆ ไดอ้ ีก) ข้นั สรุปจากการอ่าน (10 นาท)ี 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การทำกิจกรรม บางอย่างต้องอาศัยทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ ซึ่งเป็นการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของขนาดหรือพื้นที่ของสิ่งต่าง ๆ กับที่ว่าง และกิจกรรมบางอย่างต้องอาศัยทักษะการหาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับเวลาซึ่งเป็นการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของขนาด หรือพื้นที่ของสิ่งต่าง ๆ เมื่อเวลาผ่านไป แบบจำลองเป็นสิ่งที่ใช้แทน วัตถุหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงซึ่งนำมาใช้สื่อสารเกี่ยวกับวตั ถุหรอื ปรากฏการณน์ นั้ ๆ ให้คนอ่ืนเข้าใจได้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

41 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 7. นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม การเตรียมตวั ล่วงหนา้ สำหรบั ครู หน้า 14 เพือ่ จดั การเรียนร้ใู นครง้ั ถัดไป 8. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพ่ือเปรียบเทยี บคำตอบของนักเรียนใน ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ รหู้ รือยงั กบั คำตอบท่ีเคยตอบและบนั ทึกไว้ในคิดก่อนอ่าน กิจกรรมที่ 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง สเปซกับสเปซเป็นอย่างไร โดยครู 9. ครชู กั ชวนนักเรยี นตอบคำถามทา้ ยเรอื่ งท่ีอา่ น ดงั นี้ ข้าวตจู ะสามารถทำ จัดเตรยี มอปุ กรณ์หรือเตรียมการจัดการ แบบจำลองในรูปแบบใดได้อีกบ้าง และแบบจำลองมีประโยชน์อยา่ งไร เรียนการสอน ดังน้ี (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) 1. เตรียมแก้วเปล่า 1 ใบหรือขวดเปล่า ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กิจกรรม 1 ใบ เพื่อใช้ในการตรวจสอบความรู้ เดิม 2. กระดานขนาด 18x18 cm2 และขีด เส้นตารางให้ได้ขนาด 3x3 cm2 จำนวน 1 กระดานเพื่อใช้วางตัวต่อ จำนวน 9 ตัวไดพ้ อดี 3. ตัวต่อจำนวน 9 ตัว แต่ละตัวมี 4 ช่องเรยี งต่อกนั เปน็ รปู รา่ งตา่ ง ๆ แต่ ละชอ่ งมขี นาด 3x3 cm2 เรยี งกนั เป็น รูปร่างต่างๆ 3 กลุ่ม ควรเตรียมให้ แต่ละกลุ่มมีสีแตกต่างกัน และมี จำนวน ดงั นี้ รูปรา่ ง จำนวน 3 ตัว รปู รา่ ง จำนวน 2 ตวั รูปรา่ ง จำนวน 4 ตวั ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั 42 แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา ข้าวตูเลือกขนาดรองเท้าที่พอดีกบั พนื้ ที่วา่ งของช้ันวางรองเท้า สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

43 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว ภาพวาดจดั เปน็ แบบจำลองไดเ้ ม่อื ใช้แทนวตั ถหุ รอื ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงต่าง ๆ รอบตัว 44 กจิ กรรมท่ี 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกบั สเปซเปน็ อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ฝึกและอธิบายทักษะการหา ความสมั พันธ์ระหว่างสเปซกบั สเปซ เวลา 2 ชว่ั โมง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ฝึกและอธบิ ายทกั ษะการหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง สเปซกับสเปซ วัสดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม สงิ่ ทคี่ รตู ้องเตรยี ม/กลุ่ม 1. กระดาน 1 ชุด 2. ตวั ตอ่ 1 ชดุ ส่ือการเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1. หนงั สอื เรียน ป.3 เล่ม 1 หน้า 20-22 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.3 เลม่ 1 หน้า 16-20 S1 การสังเกต S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปซกับสเปซ S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ C4 การส่ือสาร C5 ความร่วมมือ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

45 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวการจัดการเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ กับสเปซโดยเตรียมแก้วเปล่า 1 ใบหรือขวดเปล่า 1 ใบ เพ่ือให้นักเรียน แต่ชักชวนให้นักเรียนไปหา สังเกตและใชป้ ระกอบการตอบคำถามต่อไปนี้ คำตอบด้วยตนเองจากการทำ 1.1 แกว้ ใบนีม้ ีสเปซหรอื ท่ีว่างสำหรับบรรจุน้ำลงไปในแก้วได้จนเต็มแก้ว กจิ กรรม พอดี เป็นอยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) 1.2 เมื่อรินน้ำลงไปในแก้วจนเต็มพอดี สเปซของน้ำจะมีรูปร่างเป็น อย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) 1.3 ถ้ารินน้ำลงไปครึ่งแก้ว สเปซของน้ำครึ่งแก้วจะมีรูปร่างเป็นอย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ) 2. ครูเชอ่ื มโยงความรู้ของนกั เรียนเข้าสูก่ จิ กรรมท่ี 2.1 กจิ กรรมน้ีนักเรียนจะ ได้เรียนรูเ้ กีย่ วกบั การหาความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปซกบั สเปซ 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การหาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับสเปซ) 3.2 นักเรยี นจะได้เรียนรเู้ ร่อื งนี้ดว้ ยวิธีใด (การฝึกทกั ษะ) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถฝึกและอธิบายทักษะ การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ) 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 16 และอ่าน ส่งิ ทต่ี ้องใช้ในการทำกจิ กรรม 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น จากนนั้ ครูตรวจสอบความเข้าใจ เกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดย ใช้คำถามดังน้ี 5.1 วสั ดอุ ุปกรณ์ทน่ี ักเรียนต้องใช้ในกิจกรรมนี้มีอะไรบา้ ง (กระดานและ ตวั ต่อ) 5.2 นักเรียนจะหาพื้นที่ของกระดานได้อย่างไร (นับจำนวนช่องบน กระดานว่ามกี ่ีชอ่ ง) ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู ิง่ ต่าง ๆ รอบตวั 46 5.3 นักเรียนต้องทำอย่างไรกับตัวต่อ (สังเกตตัวต่อ จำแนกตัวต่อ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ออกเป็นกลุ่มโดยใช้รูปร่างเป็นเกณฑ์ และนับจำนวนช่องของแตล่ ะ และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ที่ รูปร่างของตวั ตอ่ ว่ามีก่ีช่อง บันทึกผล) นักเรยี นจะได้ฝกึ จากการทำกจิ กรรม 5.4 ในหัวข้อทำอย่างไรข้อ 3 นักเรียนต้องทำอะไร (นำตัวต่อมาวางบน กระดานทลี ะตวั จนเตม็ พ้นื ท่ขี องกระดาน) S1 สังเกตลกั ษณะของตัวต่อ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า เต็มพื้นที่ของกระดาน หมายถึงไม่เหลือ S4 จำแนกตัวต่อโดยใช้รูปร่างเป็น ช่องว่างบนกระดานและใช้ตัวต่อครบทุกตัว ถ้าต่อทีละตัวแล้วมี ที่ว่างเหลือ บนกระดาน ต้องจัดวางใหม่จนกว่าจะต่อได้เต็มพื้นที่ เกณฑ์ และใช้ตัวตอ่ ครบทุกตัว S8 ลงความเห็นเกี่ยวกบั 5.5 นักเรียนต้องทำอะไรในลำดับต่อไป (ร่วมกันอภิปรายว่าลักษณะตัว ความสมั พันธข์ องรปู รา่ งตวั ต่อ ตอ่ ทีจ่ ะนำไปวางบนพน้ื ทบ่ี นกระดานมคี วามสัมพันธ์กันอย่างไร) กับพ้นื ทว่ี ่างบนกระดานทจ่ี ะนำ ตัวตอ่ ไปวาง 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ให้นักเรียนรับ C2 พิจารณาความสัมพันธ์ของ อปุ กรณ์ และเรม่ิ ปฏบิ ัติตามข้นั ตอนการทำกจิ กรรม รูปร่างตัวต่อกับพื้นที่ว่างที่จะ นำตวั ตอ่ ไปวางไดพ้ อดี 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม C4 อภิปรายความสมั พันธ์ของ ตามแนวคำถามดังนี้ รูปร่างตัวต่อกบั พ้ืนทีว่ า่ งทจี่ ะ 7.1 กระดานมีทัง้ หมดกี่ชอ่ ง (36 ช่อง) นำตัวต่อไปวางได้พอดี 7.2 ตัวต่อมีทั้งหมดกี่ตัว แต่ละตัวมีกี่ช่อง (ตัวต่อมีทั้งหมด 9 ตัว แต่ละ C5 รว่ มมือกันวางตัวต่อบน ตัวมี 4 ชอ่ ง) กระดาน 7.3 นักเรียนจำแนกตัวต่อตามรูปร่างได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (นักเรียนตอบ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ตามที่สังเกตและจำแนกได้ เช่น 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มรูป คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด และ ) อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 7.4 ตัวต่อ 1 ตัวต้องการพ้ืนท่ีบนกระดานกีช่ อ่ ง (4 ชอ่ ง) และรับฟังแนวความคิดของ 7.5 จำนวนพืน้ ทบ่ี นกระดานทจี่ ะนำตัวต่อแต่ละตวั วางบนกระดานได้มีก่ี นักเรยี น ชอ่ ง (4 ช่อง) 7.6 จำนวนตัวตอ่ ทีว่ างบนกระดานเตม็ พื้นทพ่ี อดีมีเท่าใด (9 ตัว) 7.7 เพราะเหตุใดจึงวางตวั ต่อ 1 ตัวบนกระดานได้ (เพราะตัวต่อ 1 ตัวมี พน้ื ที่นอ้ ยกวา่ พนื้ ที่ของกระดานจึงวางบนกระดานได้) 7.8 เพราะเหตุใด เราจึงวางตัวต่อทั้ง 9 ตัวบนกระดานได้เต็มพื้นที่พอดี (เพราะตวั ต่อ 9 ตัวมีพืน้ ท่ีเทา่ กันกบั พื้นท่ีของกระดาน) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

47 คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 7.9 ถา้ เพิ่มจำนวนตวั ต่อมากกว่า 9 ตัวจะวางบนกระดานได้พอดีหรือไม่ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ เพราะเหตุใด (ไม่ได้ เพราะพื้นที่บนกระดานจะน้อยกว่าพื้นที่ของ ทักษะการหาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับสเปซ ครูควร ตัวตอ่ ท้งั หมด) ด ำ เ น ิ น ก า ร โ ด ย ใ ห้ น ั ก เ ร ี ย น ร่วมกันอภิปรายจนนักเรียนมี 7.10การวางตัวต่อให้เต็มกระดานพอดีต้องทำอย่างไร (สังเกตว่าตัวต่อ แนวคดิ ทถี่ กู ต้อง แตล่ ะตัวมีรปู รา่ งอย่างไร และตอ้ งใชพ้ นื้ ท่เี ทา่ ไรแลว้ เปรียบเทียบกับ พืน้ ที่วา่ งทจ่ี ะนำไปวางบนกระดาน) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ทักษะ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและ ลงขอ้ สรุปวา่ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซเป็นการพิจารณา ว่าวัตถุนน้ั ๆ จะมีขนาดหรือพ้ืนท่ีพอดีกบั ท่วี ่างท่ีมีอยู่ ซึ่งความสามารถที่ ทำสงิ่ นไ้ี ดจ้ ัดเป็นทกั ษะการหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปซกบั สเปซ (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพม่ิ เติมในการอภปิ รายเพอ่ื ให้ได้แนวคำตอบท่ีถูกต้อง 10. นกั เรียนอา่ น สิ่งทไ่ี ด้เรยี นรู้ และเปรียบเทียบกบั ขอ้ สรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนกั เรียน 2 -3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปราย เก่ยี วกับคำถามทนี่ ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบา้ งและในข้ันตอนใด การเตรยี มตวั ลว่ งหน้าสำหรับครู เพอื่ จัดการเรียนร้ใู นครง้ั ถดั ไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน กิจกรรมที่ 2.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง สเปซกบั เวลาเป็นอย่างไร ครคู วรเตรยี มลูกอมเคลือบสีให้มีสี คละกนั เชน่ ลูกอม M&M ขนมไขจ่ ิง้ จก ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 48 แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม ฝกึ ทกั ษะและอธิบายทักษะการหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซกับสเปซ 36 3 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

49 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 34 44 24 ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 50 9 ระบายสตี ัวตอ่ แต่ละช้นิ ตามท่ไี ด้จากการทำกิจกรรม เช่น สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

51 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว เราสามารถวางตัวต่อบนกระดานได้ทกุ ตวั เพราะพน้ื ท่วี า่ งบนกระดานมีขนาดเทา่ กับ พนื้ ท่ีของตัวต่อทกุ ตัวรวมกนั การวางตวั ต่อให้เต็มที่วา่ งทำได้โดยการวางตวั ต่อบนกระดานทีละตวั เนอื่ งจากขนาด ของพนื้ ท่ีที่จะวางตัวต่อแตล่ ะตวั จะมีขนาดพ้นื ทีเ่ พียงพอกบั ขนาดและรปู ร่างของตัว ตอ่ แต่ละตวั ซ่ึงเป็นการใช้ทักษะการหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกับสเปซ จำนวนชอ่ งบนกระดานมีท้งั หมด 36 ช่อง ตัวต่อมีทง้ั หมด 9 ตัวแตล่ ะตัวมี 4 ช่อง รวมจำนวนช่องบนตัวตอ่ ทั้งหมด 36 ช่องเท่ากนั จำแนกตวั ตอ่ ตามรูปร่างได้ 3 กลุม่ คือ กลมุ่ รูป และ เม่ือวางตัวต่อบนกระดานทลี ะตัวจน เตม็ กระดานซึ่งใชต้ ัวตอ่ ทงั้ หมด 9 ตัว การวางตวั ต่อไดพ้ อดกี บั ที่ว่างบนกระดาน แสดงวา่ รูปรา่ งและจำนวนช่องบนกระดานซึ่งจะมีพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมกับตัวตอ่ จดั เปน็ ทักษะการหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 52 การวางวัตถุได้พอดบี นที่ว่างเป็นความสัมพันธร์ ะหว่างสเปซกบั สเปซ ความสามารถ ในการพิจารณาว่าวตั ถนุ ้นั ๆ จะมีพนื้ ที่หรอื ขนาดพอดกี บั ทวี่ ่างทมี่ ีอยู่จดั เป็นทักษะ การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปซกบั สเปซ คำถามของนกั เรยี นทีต่ ั้งตามความอยากรขู้ องตนเอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

53 คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภิปรายในช้ันเรียน 2. ประเมินการเรยี นรูจ้ ากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทำกิจกรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกิจกรรมที่ 2.1 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซกับสเปซเป็นอย่างไร รหสั ส่ิงท่ีประเมนิ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ S8 กคา่ารไลฟงคฟว้าามเห็นจากข้อมลู S13 การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมอื รวมคะแนน ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นร้สู ิง่ ต่าง ๆ รอบตวั 54 ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) วิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต การสังเกตพื้นที่ของ สามารถบอกพื้นทีข่ อง สามารถบอกพื้นท่ีของ สามารถบอกพ้ืนทข่ี อง กระดาน รูปรา่ งและ กระดาน รปู ร่างและ กระดาน รปู ร่างและ กระดาน รูปร่างและ จำนวนช่องของตวั ตอ่ จำนวนช่องของตวั ต่อได้ จำนวนช่องของตวั ต่อ จำนวนช่องของตัวตอ่ ถูกต้องทั้งหมดดว้ ย ได้ถูกต้องท้ังหมดจาก ได้ถูกต้องเปน็ บางสว่ น ตนเอง การชแี้ นะของครหู รือ แม้ว่าจะมีครหู รอื ผู้อืน่ ผู้อ่ืน ชี้แนะ S4 การจำแนก การจำแนกตัวต่อโดย สามารถจำแนกตัวต่อ สามารถจำแนกตวั ต่อ สามารถจำแนกตวั ตอ่ ประเภท ใช้รูปร่างเปน็ เกณฑ์ โดยใชร้ ูปร่างเป็นเกณฑ์ โดยใช้รปู ร่างเป็นเกณฑ์ โดยใช้รูปรา่ งเปน็ เกณฑ์ ไดถ้ ูกต้องทง้ั หมดด้วย ไดถ้ ูกต้องทงั้ หมดจาก ได้ถูกต้องเป็นบางสว่ น ตนเอง การช้แี นะของครหู รือ แม้ว่าจะมีครหู รอื ผู้อนื่ ผ้อู ่ืน ชแ้ี นะ S5 การหา การวางตวั ตอ่ บน สามารถวางตวั ตอ่ บน สามารถวางตวั ต่อบน สามารถวางตวั ตอ่ บน ความสมั พันธ์ กระดานได้เต็มพ้นื ที่ กระดานได้เต็มพื้นท่ีด้วย กระดานไดเ้ ต็มพ้ืนที่ กระดานได้แต่ไมเ่ ต็ม ระหวา่ งสเปซ ตนเอง จากการชี้แนะของครู พ้ืนท่ี กบั สเปซ หรอื ผอู้ ่นื S8 การลง การลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเห็น ความเห็นจาก ข้อมลู ขอ้ มูลเก่ยี วกับรูปร่าง ข้อมูลได้อย่างถูกตอ้ ง จากข้อมูลได้อย่าง จากข้อมลู ไดเ้ ป็น S13 การ ของตวั ต่อกบั พ้นื ทว่ี ่าง ดว้ ยตนเองว่าพน้ื ทท่ี ่ี ถูกต้อง จากการช้ีแนะ บางสว่ นโดยอาศัยการ ตคี วามหมาย ขอ้ มูลและลง บนกระดานทจ่ี ะวางตัว สามารถวางตวั ต่อได้ต้อง ของครูหรือผูอ้ น่ื ว่า ชีแ้ นะของครูหรือผู้อืน่ ข้อสรุป ตอ่ มขี นาดและรปู ร่าง พื้นทีท่ ่สี ามารถวางตวั วา่ พ้นื ที่ท่สี ามารถ เหมือนกับตัวตอ่ ตอ่ ได้ตอ้ งมขี นาดและ วางตัวตอ่ ไดต้ ้องมีขนาด รปู ร่างเหมือนกบั ตัวตอ่ และรปู รา่ งเหมือนกบั ตัวตอ่ การตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย จากการสงั เกตและการ ขอ้ มูลจากการสงั เกตและ ข้อมลู จากการสงั เกต ข้อมูลจากการสังเกต อภิปรายเกย่ี วกบั การ การอภปิ รายเกีย่ วกบั และการอภปิ ราย และการอภปิ ราย วางตัวตอ่ บนกระดาน การวางตวั ตอ่ บน เกีย่ วกบั การวางตวั ต่อ เกีย่ วกบั การวางตวั ต่อ และลงข้อสรปุ ทกั ษะ กระดาน และลงข้อสรุป บนกระดาน และลง บนกระดาน และลง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

55 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนร้สู ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว ทกั ษะ เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) วิทยาศาสตร์ การหาความสัมพนั ธ์ ไดถ้ ูกตอ้ งดว้ ยตนเองวา่ ข้อสรุปได้ถูกต้องโดย ขอ้ สรปุ ได้บางส่วน ระหวา่ งสเปซกับสเปซ ทักษะการหา ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง อาศัยการช้ีแนะจากครู แม้ว่าจะไดร้ ับคำช้แี นะ สเปซกบั สเปซเป็น ความสามารถในการ หรอื ผู้อ่นื วา่ ทักษะการ จากครหู รอื ผู้อ่นื วา่ พจิ ารณาความสมั พนั ธ์ ระหว่างขนาดหรือพน้ื ท่ี หาความสัมพนั ธ์ ทักษะการหา ของสง่ิ ตา่ ง ๆ กับขนาด และพ้ืนที่ของท่วี ่างทส่ี ่ิง ระหว่างสเปซกับสเปซ ความสมั พันธร์ ะหว่าง ตา่ ง ๆ สามารถเข้าไป ครอบครอง เป็นความสามารถใน สเปซกบั สเปซเป็น การพจิ ารณา ความสามารถในการ ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง พิจารณาความสมั พันธ์ ขนาดหรอื พ้นื ท่ีของส่ิง ระหว่างขนาดหรือพ้ืนท่ี ตา่ ง ๆ กบั ขนาดและ ของสิ่งต่าง ๆ กบั ขนาด พน้ื ทีข่ องท่วี า่ งท่สี ่งิ ต่าง และพนื้ ท่ขี องทีว่ า่ งท่ีสง่ิ ๆ สามารถเข้าไป ตา่ ง ๆ สามารถเข้าไป ครอบครองได้ ครอบครองได้ ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยา่ งมี ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วจิ ารณญาณ การเลอื กตัวตอ่ ที่มี สามารถเลือกตวั ตอ่ ทม่ี ี สามารถเลอื กตวั ต่อทม่ี ี สามารถเลอื กตวั ตอ่ ท่ีมี C4 การส่อื สาร ขนาดและรูปรา่ ง ขนาดและรปู ร่างพอดี ขนาดและรูปร่างพอดกี ับ ขนาดและรูปร่างพอดี พอดีกับที่วา่ งบน กบั ทวี่ ่างบนกระดานได้ ทว่ี า่ งบนกระดานได้ กบั ท่ีวา่ งบนกระดานได้ กระดาน ถูกต้องด้วยตนเอง ถูกต้องโดยต้องอาศยั การ ถกู ต้องบางส่วนแมว้ ่าจะ ช้ีแนะจากครหู รือผ้อู ืน่ ไดร้ ับคำชี้แนะจากครู หรือผูอ้ ่ืน การนำเสนอผลการ สามารถวาดภาพและ สามารถวาดภาพและ สามารถวาดภาพและ เลอื กตัวตอ่ มาวางบน ระบายสีตัวต่อท่ีนำมา ระบายสตี วั ตอ่ ท่ีนำมาวาง ระบายสตี วั ตอ่ ทน่ี ำมา กระดานโดยการวาด วางไดเ้ ต็มกระดานพอดี ไดเ้ ตม็ กระดานพอดีได้ วางบนกระดานได้ ภาพ ได้อยา่ งถูกต้อง ด้วย อยา่ งถูกต้องจากการ ถกู ต้องเพียงบางส่วน ตนเอง ชแ้ี นะของครหู รือผูอ้ ื่น แม้ว่าจะได้รบั การชแ้ี นะ จากครูหรือผู้อ่ืน ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 56 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) เกณฑ์การประเมนิ ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 สามารถทำงานรว่ มกับ พอใช้ (2) สามารถทำงานร่วมกับ C5 ความร่วมมือ การทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนในการเลือกตวั ผู้อืน่ ในการเลือกตัว ผอู้ น่ื ในการเลือกตวั ตอ่ มาวางบนกระดาน สามารถทำงานร่วมกับ ตอ่ มาวางบนกระดาน ตอ่ มาวางบน รวมทั้งยอมรบั ความ ผอู้ นื่ ในการเลือกตวั ต่อมา รวมท้งั ยอมรับความ กระดานรวมท้ัง คดิ เหน็ ของผอู้ นื่ ตั้งแต่ วางบนกระดาน รวมท้ัง คดิ เห็นของผอู้ ่นื บาง ยอมรับความคดิ เหน็ เริม่ ตน้ จนสำเร็จ ยอมรับความคดิ เห็นของ ช่วงเวลาท่ที ำกิจกรรม ของผู้อ่นื ผอู้ ื่นในบางช่วงเวลาที่ทำ กิจกรรม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

57 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว กจิ กรรมที่ 2.2 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปซกับเวลาเปน็ อย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ฝึกและอธิบายทักษะการหา ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปซกบั เวลา เวลา 2 ช่วั โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ฝึกและอธบิ ายทกั ษะการหาความสมั พันธ์ระหวา่ ง สเปซกบั เวลา วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม สง่ิ ทคี่ รตู ้องเตรียม/กลุ่ม 1. ลกู อมเคลอื บสี 1 เมด็ 2. จานพลาสตกิ สีขาว 1 ใบ 3. น้ำ 50 cm3 4. นาฬิกาจบั เวลา 1 เรือน สอื่ การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1. หนังสือเรียน ป.3 เล่ม 1 หนา้ 23-24 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.3 เลม่ 1 หน้า 21-24 S1 การสังเกต S5 การหาความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปซกบั เวลา S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความร่วมมือ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 58 แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ เวลาจากการสาธิต โดยครูถือขวดที่มีน้ำระดับความสูง ¼ ของขวด ให้ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง นกั เรียนสังเกตและอภิปรายโดยใช้คำถามดังนี้ จากการทำกจิ กรรม 1.1 น้ำครอบครองบรเิ วณใดในขวด (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ) 1.2 ถ้าครูเติมน้ำลงในขวดเรื่อย ๆ พื้นที่ที่น้ำครอบครองจะ เปลยี่ นแปลงหรือไม่ อย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) 1.3 ถ้าเติมน้ำลงในขวดใบนี้จนเต็ม บริเวณใดของขวดที่น้ำ ครอบครองอยู่ (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ) 1.4 เมื่อน้ำเต็มขวดแล้ว ถ้าครูค่อย ๆ รินน้ำออกจากขวด เมื่อเวลา ผ่านไปพื้นที่ที่น้ำครอบครองอยู่จะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจ) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้ของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 2.2 โดยใช้คำถามว่า การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปซกับเวลาเปน็ อย่างไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจเกีย่ วกับจดุ ประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การหาความสัมพันธ์ ระหวา่ งสเปซกบั เวลา) 3.2 นักเรยี นจะได้เรยี นร้เู ร่อื งน้ีดว้ ยวิธใี ด (การสังเกตและฝกึ ทักษะ) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถฝึกและอธิบาย ทักษะการหาความสมั พันธร์ ะหว่างสเปซกับเวลา) 4. นักเรยี นบันทึกจดุ ประสงคล์ งในแบบบันทึกกจิ กรรม หนา้ 21 และอา่ น สิ่งทต่ี ้องใชใ้ นการทำกิจกรรม 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรมเพื่อตอบคำถามว่าเมื่อเวลาผ่านไป การครอบครองพื้นที่สีของลูกอมในน้ำเป็นอย่างไร จนนักเรียนเข้าใจ ลำดบั การทำกจิ กรรม โดยใช้คำถามดังน้ี 5.1 ในข้อที่ 1 นักเรียนต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้างและต้องทำ อย่างไร (ต้องใช้จานพลาสติกและน้ำ โดยค่อย ๆ รินน้ำลงใน จานพลาสตกิ ให้เต็มกน้ จาน) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

59 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว 5.2 ในข้อที่ 2 นักเรียนต้องทำอย่างไร (วางลูกอมเคลือบสี 1 เม็ดใน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จานบริเวณใดบริเวณหนงึ่ โดยจานวางน่งิ ) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่ 5.3 ในข้อที่ 3 นักเรียนต้องทำอย่างไร (สังเกตและบันทึกการ นักเรียนจะได้ฝกึ จากการทำกจิ กรรม เปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ขึ้นในจานทุก ๆ 1 นาทีจนครบ 5 นาท)ี S1 สังเกตการเปลี่ยนแปลงของน้ำ 5.4 ในขอ้ ที่ 4 นักเรียนตอ้ งอภปิ รายเก่ยี วกับอะไร (อภปิ รายว่าสีของ เมอ่ื วางลูกอมในนำ้ ลกู อมท่อี ย่ใู นน้ำมกี ารครอบครองพืน้ ท่ีอยา่ งไรเมื่อเวลาผ่านไป) S5 หาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นท่ี 6. เมื่อนกั เรียนเขา้ ใจวิธกี ารทำกจิ กรรมในทำอยา่ งไร แลว้ ครแู ละนักเรียน ของนำ้ ทมี่ ีสขี องลูกอมกบั เวลา อภิปรายร่วมกนั วา่ จะบันทึกผลในแบบบนั ทกึ กิจกรรมอย่างไร จากน้ัน S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับการ ให้นักเรียนรบั อุปกรณแ์ ละเรม่ิ ปฏิบัตติ ามขั้นตอนการทำกิจกรรม เปลี่ยนแปลงสีของน้ำกับพื้นท่ี 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ทมี่ สี ขี องลกู อม ตามแนวคำถามดงั นี้ C4 บอกลักษณะพน้ื ทขี่ องนำ้ ทม่ี สี ี 7.1 เกิดอะไรขึ้นเมื่อเริ่มวางลูกอมเคลือบสีในจานที่บรรจุน้ำ (น้ำรอบ ๆ ของลกู อมโดยการวาดภาพและ เมด็ ลกู อมเปลย่ี นจากใสไม่มสี ีเป็นมีสีเหมือนสที ่ีเคลอื บลูกอม) บรรยาย 7.2 เมื่อเวลาผ่านไป 2 นาที พื้นที่ของน้ำที่มีสีเปลี่ยนแปลงอย่างไร C5 รว่ มมอื กนั ทำกจิ กรรม (พน้ื ที่ของน้ำที่มสี แี ผ่ขยายบรเิ วณเพิม่ ขน้ึ ) 7.3 เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที พื้นที่ของน้ำที่มีสีเปลี่ยนแปลงหรือไม่ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อย่างไรเมอ่ื เทยี บกบั เมื่อเวลา 2 นาที (พนื้ ทีข่ องน้ำที่มีสีแผ่ขยาย คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว เพ่มิ ขึ้นอีก) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 7.4 เม่ือเวลาผ่านไปมากกว่า 5 นาที นักเรยี นคดิ วา่ พ้ืนที่ของน้ำท่ีมีสี อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน จะเพิ่มขึ้นหรือไม่ เพราะเหตุใด (คำตอบขึ้นอยู่กับผลการทำ และรับฟังแนวความคิดของ กิจกรรมของนักเรียน เช่น เพิ่มขึ้นเพราะยังมีพื้นที่ของน้ำ นักเรยี น เหลืออยู่ซึ่งสีของลูกอมสามารถแผ่กระจายไปได้อีกหรือไม่ เพมิ่ ขนึ้ เพราะสีของลูกอมกระจายจนเตม็ พน้ื ที่ของน้ำแลว้ ) ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี 7.5 พ้ืนที่สีของลูกอมที่อยู่ในน้ำเมื่อเวลาผ่านไปเพิ่มขึ้นหรือลดลง แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ อย่างไร (เมอ่ื เวลาผา่ นไป พ้นื ที่สขี องลูกอมจะเพิ่มข้ึนเร่อื ย ๆ) ทักษะการหาความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซกับเวลา ครูควร 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับทักษะ ดำเนินการโดยให้นักเรียน การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา จากนั้นร่วมกันอภิปรายและ ร่วมกันอภิปรายจนนักเรียนมี สรุปว่าการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลาเป็นการพิจารณาว่า แนวคดิ ทถี่ กู ตอ้ ง วัตถุน้ัน ๆ จะมีพื้นที่หรือขนาดเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป ซึ่ง ความสามารถทที่ ำส่ิงน้ีไดจ้ ัดเป็นทักษะการหาความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปซ กับเวลา (S13) ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี