Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-23 16:54:56

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 206 คู่มือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 4. ครคู วรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทำกิจกรรมของนกั เรียนเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลประกอบการอภปิ รายหลัง การทำกิจกรรม หลงั การทำกิจกรรม (30 นาที) 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คำถามท้ายกจิ กรรมเปน็ แนวทาง เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ จากการทำกิจกรรมว่า • การไหลของนำ้ อย่างต่อเนือ่ งลงไปทีภ่ มู ปิ ระเทศจำลองทำให้เกิดรอ่ งนำ้ ขนึ้ • เม่อื ปล่อยน้ำเป็นเวลานานขนึ้ ร่องนำ้ จะมขี นาด ลกั ษณะและทิศทางเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม • เมื่อสังเกตภูมิประเทศจำลองจะพบวา่ บางชว่ งมีการกรอ่ นเกิดขึ้น และบางชว่ งมีการสะสมตัวของทรายเกิดขึน้ ความร้เู พิ่มเติมสำหรับครู ความรุนแรงของการกร่อนบนผิวโลก การกร่อนบนผิวโลกในแต่ละพ้ืนท่ีน้ันมีความรุนแรงแตกต่างกัน ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ชนิดของดิน หิน และ ตะกอนท่ีมีความทนทานต่อการกร่อนได้แตกต่างกัน ภูมิประเทศที่มีความลาดชันต่างกัน เช่น บริเวณที่มีความลาดชันมากจะเกิด การกร่อนได้มากกว่าบรเิ วณที่มคี วามลาดชันนอ้ ยกว่า โครงสร้างทางธรณวี ทิ ยาของหนิ ที่มรี อยแตกหรอื รอยแยกกเ็ ป็นปจั จยั ท่ีทำให้ หนิ เกิดการกรอ่ นไดม้ ากและรวดเร็วข้นึ พน้ื ที่ทอี่ ยใู่ นเขตฝนตกชกุ ก็จะเกดิ การกร่อนได้มากกว่าพ้ืนทท่ี ีม่ ีปรมิ าณฝนน้อยกวา่ รวมถึง การมพี ชื ปกคลมุ ดินก็จะช่วยให้พนื้ ทเี่ กดิ การกร่อนไดน้ ้อยลง 6. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 134-136 สังเกตภาพ 7.15-7.17 และตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วครู ใช้คำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน เช่น • การกรอ่ นมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร • การกรอ่ นเกิดจากตวั นำพาและปัจจัยใดบ้าง • การกรอ่ นในแต่ละพืน้ ท่มี ีความรุนแรงแตกต่างกนั ข้นึ อย่กู บั ปจั จยั ใด • การกร่อนบนผิวโลกทำใหผ้ วิ โลกเกิดการเปลยี่ นแปลงเป็นภูมลิ กั ษณ์ใดบ้าง 7. จากนน้ั ให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปราย เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ • การกร่อนเป็นกระบวนการท่ีทำให้วัตถุบนผิวโลกเคลื่อนท่ีไป หลุดไป หรือละลายไปเนื่องด้วยตัวนำพาและปัจจัย ต่าง ๆ • ในธรรมชาติ เม่ือหินในพ้ืนที่หนึ่งมีการผุพังอยู่กับที่เป็นเศษหินหรือตะกอนขนาดต่าง ๆ อาจเกิดการนำพาให้เศษ หินหรือตะกอนดังกล่าวเคลื่อนท่ีกระจัดกระจายไปจากตำแหน่งเดิมโดยตัวนำพาตามธรรมชาติ เช่น น้ำ ลม ธาร สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

207 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง คมู่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ น้ำแข็ง ร่วมกับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ แรงโน้มถ่วงของโลก ชนิดของดิน หิน แร่และตะกอนต่าง ๆ โครงสร้างทาง ธรณีวิทยา ภมู ิประเทศ ปรมิ าณพืชปกคลมุ ดนิ สภาพอากาศ สารละลาย และระยะเวลา • การกร่อนในแต่ละพื้นท่ีมีความรุนแรงแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความแตกต่างของชนิดหรือขนาด ตะกอนทมี่ ีความทนทานต่อการกรอ่ นได้แตกตา่ งกัน • การกร่อนทำใหผ้ ิวโลกเกดิ การเปล่ยี นแปลงเป็นภูมลิ ักษณ์ตา่ ง ๆ มากมาย เช่น เสาเฉลียง กมุ ภลักษณ์ เฉลยคำถามระหว่างเรยี น • กระบวนการกร่อนบนผิวโลกอาศยั ตัวนำพาและปจั จัยตามธรรมชาติใดบ้าง แนวคำตอบ กระบวนการกร่อนบนผิวโลกอาศยั ตัวนำพาและปัจจยั ต่าง ๆ ดงั น้ี - กระบวนการกรอ่ นอาศยั ตัวนำพาตามธรรมชาติ เชน่ นำ้ ลม ธารนำ้ แข็ง - กระบวนการกร่อนอาศัยปัจจัยต่าง ๆ เช่น แรงโน้มถ่วงของโลก ชนิดของดิน หิน แร่และตะกอนต่าง ๆ โครงสร้างทางธรณวี ทิ ยา ภมู ิประเทศ ปริมาณพืชปกคลุมดนิ สภาพอากาศ สารละลาย และระยะเวลา 8. ประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน โดยใช้โจทย์ชวนคิดเก่ียวกับสาเหตุที่ทำให้การกร่อนบนผิวโลกมีความรุนแรง แตกตา่ งกัน และการชว่ ยป้องกนั การพังทลายของดิน เฉลยชวนคดิ • การกรอ่ นบนผิวโลกในแตล่ ะพ้นื ที่มีความรนุ แรงแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ เพราะเหตุใด แนวคำตอบ การกร่อนบนผิวโลกในแต่ละพนื้ ท่มี ีความรุนแรงแตกตา่ งกัน เน่ืองด้วยปจั จยั ตา่ ง ๆ เช่น - ปริมาณและความรุนแรงของตวั นำพาของนำ้ ลม - ประเภทและชนิดของดิน หิน แร่ และตะกอนทีแ่ ตกตา่ งกัน - ภูมิประเทศที่แตกต่างกนั - ปริมาณพืชปกคลุมพน้ื ที่ท่ีแตกตา่ งกัน • การปลกู ต้นไม้บรเิ วณท่ีลาดเชงิ เขา ชว่ ยปอ้ งกันการพังทลายของดนิ ได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ การปลูกต้นไมบ้ รเิ วณทีล่ าดเชงิ เขา สามารถช่วยป้องกนั การพังทลายของดนิ ได้ เช่น - ตน้ ไมจ้ ะช่วยชะลอความรุนแรงของน้ำผวิ ดนิ ท่ีจะไหลกัดเซาะพ้นื ที่ - รากของตน้ ไม้จะชว่ ยดดู ซบั น้ำผิวดิน ซ่งึ จะชว่ ยลดปรมิ าณนำ้ ที่จะไหลกัดเซาะพนื้ ท่ี - รากของตน้ ไมจ้ ะชว่ ยยดึ เกาะดินไว้ ชว่ ยป้องกนั การพงั ทลายของดนิ ได้ 9. ใหน้ ักเรยี นอ่านเกร็ดนา่ รู้ในหนงั สือเรียนหน้าท่ี 136 เรื่อง แคนยอน จากนั้นครูนำอภิปรายในประเด็นเกย่ี วกับการเกิด แคนยอน ลักษณะของแคนยอน ตัวนำพาและปัจจัยที่ทำให้เกิดแคนยอน และลักษณะของแกรนด์แคนยอน ประเทศ สหรัฐอเมรกิ า สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 208 คูม่ อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 10. ให้นักเรียนอ่านเกร็ดน่ารู้ในหนังสือเรียนหน้าที่ 136 เร่ือง เนินทราย จากน้ันครูนำอภิปรายในประเด็นเกี่ยวกับการ การเกิดเนินทราย ตวั นำพาในธรรมชาตทิ ีท่ ำใหเ้ กดิ เนินทราย 11. ประเมนิ การเรยี นรู้ระหวา่ งเรียน โดยใชโ้ จทย์ชวนคดิ เกย่ี วกับการกร่อนของผิวโลกโดยคลน่ื ทะเล เฉลยชวนคิด • นักเรียนคิดว่าคล่ืนทะเลเป็นตัวนำพาท่ีทำให้ผิวโลกเกิดการกร่อนข้ึนได้หรือไม่ ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล เกยี่ วกบั ประเดน็ ดังกล่าว และนำข้อมลู ทไ่ี ดม้ ารว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรุปเกี่ยวกับประเดน็ ดงั กล่าว แนวคำตอบ คลื่นทะเลเป็นตัวนำพาที่ทำให้ผิวโลกเกิดการกร่อนข้ึนได้ กล่าวคือ คล่ืนทะเลสามารถกัดเซาะ ทรายบริเวณชายฝั่งให้เคลื่อนที่ไปจากตำแหน่งเดิมได้ รวมท้ังสามารถกัดเซาะหินบริเวณชายฝ่ังให้เกิดเป็น ภูมิลกั ษณ์ต่าง ๆ ได้ เชน่ เกิดซุ้มหินชายฝงั่ 12. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในสือเรียนหน้า 137-139 สังเกตภาพ 7.18-7.24 ตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วครูใช้คำถาม เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจในการอ่าน เช่น • ในธรรมชาติรอ่ งนำ้ หนึง่ ๆ เมอื่ เกิดการกร่อนเปน็ เวลานานจะมลี กั ษณะเป็นอย่างไร • ความเร็วของกระแสนำ้ ในแต่ละชว่ งหรอื แต่ละบรเิ วณของแม่น้ำมคี วามเรว็ แตกตา่ งกันหรอื ไม่ อยา่ งไร • การกรอ่ นและการสะสมตวั ของตะกอนในแมน่ ำ้ เกิดข้นึ บรเิ วณใด • ถา้ การไหลของนำ้ ในแม่น้ำยงั เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง แมน่ ำ้ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไรบา้ ง • ภูมลิ ักษณ์ท่เี กดิ จากการกระทำของแมน่ ้ำมอี ะไรบ้าง 13. จากน้นั ใหน้ ักเรียนตอบคำถามระหว่างเรียนและรว่ มกนั อภิปราย เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปว่า • ในธรรมชาติ ร่องน้ำหน่ึง ๆ เมื่อเกิดการกร่อนเป็นเวลานาน ร่องน้ำจะมีขนาดใหญ่ข้ึนจนพัฒนากลายเป็นธารน้ำหรือ แม่นำ้ และจะมลี กั ษณะและทิศทางเปลยี่ นแปลงไปจากเดิม • ความเร็วของกระแสน้ำในช่วงต่าง ๆ ของแม่น้ำจะมีความเร็วแตกต่างกัน บริเวณโค้งน้ำด้านนอก ความเร็วของ กระแสน้ำจะสงู กว่าบรเิ วณโคง้ น้ำดา้ นใน • บริเวณโค้งน้ำด้านนอกของแม่น้ำ ซึ่งจะมีกระแสน้ำท่ีมีความเร็วสูงมาปะทะจะเกิดการกร่อน และบริเวณโค้งน้ำด้าน ในของแม่น้ำ กระแสน้ำจะมีความเร็วต่ำกว่าบริเวณโค้งน้ำด้านนอก ตะกอนท่ีถูกนำพามากับกระแสน้ำจะมีการสะสม ตวั เกิดข้นึ • การไหลของน้ำในแม่น้ำถ้าเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก็จะเกิดการกร่อนและการสะสมตัวของตะกอนตามช่วงต่าง ๆ ของ แม่นำ้ อยา่ งต่อเน่ืองเชน่ กัน การเปลย่ี นแปลงเชน่ น้ีเป็นเวลานาน แมน่ ้ำจะมีลกั ษณะโคง้ ตวัดมากขึ้น • ภูมิลักษณ์ท่ีเกิดจากการกระทำของแม่น้ำ เช่น แม่น้ำโค้งตวัด ทะเลสาบรูปแอก เนินตะกอนน้ำพารูปพัด ดินดอน สามเหลยี่ ม ซ่ึงเกดิ จากนำพาและปัจจยั ต่าง ๆ ตามธรรมชาติ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

209 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • จากภาพ 7.18 ถา้ นกั เรยี นต้องการสรา้ งบา้ น จะเลือกสร้าง ณ ตำแหนง่ ใด ระหว่างตำแหนง่ ก. ข. จ. และ ฉ. เพราะเหตุใดจงึ เลือกตำแหนง่ ดงั กล่าว ภาพ 7.18 ความเรว็ ของกระแสนำ้ ณ บรเิ วณตา่ ง ๆ ของแม่น้ำ ทำใหบ้ ริเวณ ก. และ ฉ. มีการสะสมตวั ของ ตะกอนเกิดข้ึนและบริเวณ ข. และ จ. เกิดการกร่อน แนวคำตอบ ถ้าต้องการสร้างบา้ น จะเลือกสรา้ ง ณ ตำแหน่ง ก. และ ฉ. เพราะบริเวณ ก. และ ฉ. เปน็ บริเวณ โค้งน้ำด้านใน ความเร็วของกระแสน้ำจะต่ำกว่าบริเวณ ข. และ จ. ทำให้ตะกอนที่ถูกนำพามากับกระแสน้ำมี การสะสมตวั ของตะกอน ณ บรเิ วณโค้งนำ้ ดา้ นในนี้ ถ้าการไหลของกระแสน้ำยงั คงเกิดขนึ้ อยา่ งต่อเนื่อง บริเวณ ก. และ ฉ. จะเกดิ การสะสมตัวของตะกอนมากขึ้นเรอื่ ย ๆ จนเกิดเป็นแผ่นดินงอกย่ืนเข้าไปในธารน้ำมากขึ้น ๆ ถ้ามีการสรา้ งบา้ นตรงบรเิ วณดงั กลา่ ว จะทำให้พนื้ ดินในบริเวณบ้านไมถ่ กู กดั เซาะเน่ืองจากการกระทำของนำ้ • การสะสมตวั ของตะกอนทีผ่ ิวโลกอาศยั ตัวนำพาและปจั จยั ตามธรรมชาติใดบ้าง แนวคำตอบ การสะสมตัวของตะกอนที่ผิวโลกอาศัยตัวนำพา เช่น น้ำ ลม ธารน้ำแข็ง และปัจจัยต่าง ๆ เช่น แรงโน้มถ่วงของโลก โครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยา ภมู ิประเทศ • ภูมลิ ักษณ์ท่ีเกิดจากการกระทำของแมน่ ำ้ มอี ะไรบ้าง แนวคำตอบ ภูมิลักษณ์ท่ีเกิดจากการกระทำของแม่น้ำ เช่น แม่น้ำโค้งตวัด ทะเลสาบรูปแอก เนินตะกอน น้ำพารปู พดั ดนิ ดอนสามเหล่ียม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 210 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 14. ประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน โดยใช้โจทย์ชวนคิดเก่ียวกับ การเปล่ียนแปลงของผิวโลกเนื่องจากการกระทำของ มนุษย์ เฉลยชวนคดิ • นกั เรียนคิดว่าการกระทำของมนุษย์ใดบา้ งท่ีสามารถทำให้ผวิ โลกเกิดการเปลย่ี นแปลงได้ แนวคำตอบ การกระทำของมนุษย์สามารถทำให้ผิวโลกเกิดการเปล่ียนแปลงได้ เช่น การระเบิดหินหรือภูเขา เพอ่ื ทำเหมืองหนิ เหมืองแร่ การขุดเจาะดนิ หรอื หินเพ่ือการก่อสรา้ งสงิ่ ปลูกสร้างขนาดใหญ่ เป็นตน้ 15. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก จากการ ตอบคำถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอ่ืน ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนนั้นให้ ถกู ต้อง เชน่ ใชค้ ำถามและอภิปรายร่วมกัน ใชแ้ ผนภาพ วดี ทิ ัศน์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคดิ คลาดเคล่อื น แนวคดิ ท่ีถูกตอ้ ง หนิ และผิวโลกไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขน้ึ (OSU, 2018; SERC, 2018; UCI, 2018) หนิ และผวิ โลกสามารถเปลยี่ นแปลงไดโ้ ดยอาศัยกระบวนการ ต่าง ๆ ทางธรณวี ทิ ยา เชน่ การผพุ งั อยู่กบั ท่ี การกรอ่ น และ การผุพังอยู่กับทแ่ี ละการกร่อนเป็นส่ิงเดียวกนั การสะสมตัวของตะกอน โดยอาศยั ตวั นำพาและปจั จยั ตา่ ง ๆ (OSU, 2018: UCI, 2018) ตามธรรมชาติ ซงึ่ การเปลีย่ นแปลงบางกระบวนการต้องใช้ ระยะเวลานานจึงจะเหน็ การเปลีย่ นแปลงได้ เช่น การกร่อน ของภูเขาหนิ ปนู (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) การผพุ งั อยกู่ ับท่ีและการกร่อนเปน็ กระบวนการทีแ่ ตกตา่ งกัน การผุพังอยูก่ บั ทีเ่ ปน็ กระบวนการทที่ ำใหห้ ินและแร่ผุพงั ลงหรือ มขี นาดเล็กลง โดยกระบวนการต่าง ๆ ทั้งทางกายภาพและ ทางเคมี โดยชิน้ ส่วนต่าง ๆ ยังไม่ถูกนำพาให้กระจัดกระจายไป จากตำแหน่งเดิม สว่ นการกร่อนเปน็ กระบวนการท่ีทำใหว้ ัตถุ บนผวิ โลก เชน่ เศษหนิ ดนิ แร่ หรือตะกอนขนาดต่าง ๆ หลุด ไปหรอื เคล่ือนที่ไปจากตำแหนง่ เดิมโดยตวั นำพาและปัจจยั ต่าง ๆ ตามธรรมชาติ (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

211 หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น แนวคิดทีถ่ ูกต้อง การกร่อนเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว (OSU, 2018; UCI, การกร่อนเปน็ กระบวนการหน่งึ หรือหลายกระบวนการที่ทำให้ 2018) วัตถบุ นผิวโลกหลดุ ไป กล้ิงไปหรือละลายไป ด้วยตวั นำพาและ ปัจจยั ต่าง ๆ ซ่งึ การกรอ่ นในบางครั้งต้องใชร้ ะยะเวลาในการ แม่น้ำไมส่ ามารถกัดเซาะผวิ โลกได้ (SERC, 2018) เกดิ เปลี่ยนแปลงดงั กลา่ ว เชน่ การกรอ่ นของภเู ขาหินปูน (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) นำ้ ในแมน่ ้ำสามารถกัดเซาะผิวโลกได้ การกัดเซาะจะทำให้ผวิ โลก เกิดเป็นร่องนำ้ เล็ก ๆ เม่ือเกิดการกร่อนเป็นเวลานาน ร่องน้ำจะมี ขนาดใหญ่ข้ึนและจะมลี ักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) 16. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับโครงสร้างภายในโลกและการเปล่ียนแปลงบนผิวโลก จากน้ันทำกิจกรรมตรวจสอบ ตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ท่ีได้เรียนรู้จากบทเรียน ด้วยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์ส่ิงที่ได้ เรียนรูจ้ ากบทเรยี น เรือ่ งโครงสร้างภายในโลกและการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 212 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ตวั อย่างผังมโนทัศน์ที่ไดจ้ ากบทเรยี น เรือ่ ง โครงสร้างภายในโลกและการเปล่ยี นแปลงบนผิวโลก 5-70 3,470 2,900 - สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

213 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง คมู่ ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 17. สุ่มนักเรียนนำเสนอผังมโนทัศน์ โดยอาจออกแบบให้นักเรียนนำเสนอเป็นกลุ่มย่อย จากน้ันให้อภิปรายร่วมกันใน ช้ันเรยี นหรอื จัดแสดงผลงาน จากนั้นใหร้ ว่ มกนั ลงข้อสรปุ ทีไ่ ด้จากบทเรยี นน้ี 18. ให้นกั เรียนทำกจิ กรรมทา้ ยบท เร่ือง ภมู ลิ ักษณบนผิวโลกเกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร และตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม 19. ใหน้ กั เรียนตอบคำถามสำคัญของบทและอภปิ รายร่วมกัน โดยนักเรียนควรตอบคำถามสำคัญดงั กลา่ วไดด้ งั ตัวอย่าง เฉลยคำถามสำคญั ของบท • บรเิ วณผิวโลกและบริเวณภายในโลกมลี ักษณะเหมือนกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ บริเวณผิวโลกและบริเวณภายในโลกมีลักษณะแตกต่างกัน บริเวณผิวโลกมีอุณหภูมิ ความดัน และความหนาแนน่ ของสสารนอ้ ยกวา่ บริเวณภายในโลกมาก • การผพุ งั อย่กู บั ที่ การกรอ่ น และการสะสมตัวของตะกอนบนผวิ โลก มีกระบวนการเกดิ อย่างไร แนวคำตอบ การผุพังอยู่กับท่ี การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอนเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงทาง ธรณีวิทยาที่ทำให้ผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงจนเกิดเป็นภูมิลักษณ์ต่าง ๆ ข้ึน กระบวนการเกิดน้ันต้องอาศัย ตัวนำพาตามธรรมชาติ เช่น น้ำ ลม ธารน้ำแข็ง และปัจจัยต่าง ๆ ตามธรรมชาติ เช่น แรงโน้มถ่วงของโลก ประเภทและชนิดของดิน หิน แร่และตะกอน โครงสร้างทางธรณีวิทยา ภูมิประเทศ ส่ิงมีชีวิต สภาพอากาศ อณุ หภมู ิ ปฏิกิรยิ าเคมี และระยะเวลา 20. นักเรียนตรวจสอบตนเองด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ีได้ทำในบทเรียนนี้ อ่านสรุปท้ายบท และทำ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 21. เชื่อมโยงไปสู่บทที่ 2 ดินและน้ำ โดยใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การผุพังอยู่กับที่ท้ังทางกายภาพ และทางเคมีเป็นกระบวนการสำคัญท่ีทำให้เกิดดินซึ่งเป็นวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกอยู่เป็นชั้นบาง ๆ นักเรียน คิดว่ากระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร และต้องอาศัยนำตัวพาและปัจจัยใดบ้าง เราจะเรียนรู้กันในบทเรียน ต่อไป สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 214 คู่มอื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยกจิ กรรมและแบบฝกึ หดั ของบทท่ี 1 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

215 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 7.1 โครงสร้างภายในโลกมลี กั ษณะอยา่ งไร นักเรียนจะไดเ้ รยี นรู้เกยี่ วกบั โครงสร้างภายในโลกท่แี บง่ ตามองคป์ ระกอบทางเคมี จดุ ประสงค์ สืบค้นและสร้างแบบจำลองเพ่อื อธิบายโครงสร้างภายในโลกท่ีแบง่ ตามองคป์ ระกอบทางเคมี เวลาท่ีใช้ใน 1 ชั่วโมง 40 นาที การทำกจิ กรรม วสั ดอุ ุปกรณต์ ามท่ีออกแบบ วสั ดแุ ละอุปกรณ์ การเตรยี มตัว • เตรยี มเคร่อื งคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ตให้พร้อมใช้งาน สำหรบั การสืบค้นขอ้ มลู ลว่ งหนา้ สำหรับครู เกี่ยวกบั โครงสรา้ งภายในโลกท่แี บ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี • จัดหาเว็บไซต์ท่ีมีข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้างภายในโลกที่แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี เพ่ือแนะนำใหน้ ักเรียนใช้ในการสบื ค้นข้อมูล เชน่ เวบ็ ไซต์ https://www.usgs.gov • อาจมอบหมายงานให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างภายในโลกที่แบ่งตาม องคป์ ระกอบทางเคมมี าลว่ งหนา้ ขอ้ เสนอแนะ • ในการสร้างแบบจำลอง นักเรียนควรคำนวณหามาตราส่วนท่ีเหมาะสมในการสร้าง ในการทำกิจกรรม แบบจำลองและระบมุ าตราสว่ นทใี่ ชใ้ นการสรา้ งแบบจำลอง • อาจใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ทม่ี อี ยใู่ นท้องถน่ิ มาใช้ในการสรา้ งแบบจำลอง • ในการสร้างแบบจำลองควรแสดงให้เห็นความแตกต่างของธาตุท่ีเป็นส่วนประกอบของ โครงสร้างภายในโลกแต่ละชั้นอย่างชดั เจน • สามารถใช้สัญลักษณ์ภาพหรือตัวอักษร แทนธาตุแต่ละธาตุที่ปรากฏอยู่ในแบบจำลอง และ ระบคุ วามหมายของสัญลักษณล์ งในแบบจำลองดว้ ยวิธกี ารท่เี หมาะสม ส่ือการเรยี นร้/ู • หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เลม่ 2 สสวท. แหลง่ เรยี นรู้ • เครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีเชอื่ มต่อกับอินเทอรเ์ นต็ • ห้องสมุด สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 216 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทำกิจกรรม โครงสร้างภายในโลกแบ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมีได้เป็น 3 ชัน้ ได้แก่ เปลือกโลก เนอื้ โลก และแก่นโลก โดยเรยี งลำดบั จากชน้ั นอกสดุ ไปหาช้นั ในสุดตามลำดบั โครงสร้าง ธาตุท่เี ป็นองค์ประกอบเหมือนกัน ธาตทุ ่ีเป็น ความหนา ภายในโลก องค์ประกอบตา่ งกัน (กโิ ลเมตร) เปลอื กโลก อะลูมิเนียม แคลเซียม 5-70 เนอ้ื โลก เหล็ก ซลิ คิ อน ออกซิเจน แมกนเี ซยี ม โซเดยี ม โพแทสเซยี ม 2,900 แก่นโลก 3,470 - -- - นิกเกลิ ธาตนุ กิ เกิล แบบจำลองโครงสร้างภายในโลกท่แี บง่ ตามองคป์ ระกอบทางเคมี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

217 หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง ค่มู อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. โครงสรา้ งภายในโลกมลี กั ษณะอย่างไร เมื่อแบง่ ออกตามองคป์ ระกอบทางเคมี แนวคำตอบ การแบ่งโครงสร้างภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมีสามารถแบ่งได้จำนวน 3 ชั้น ได้แก่ เปลอื กโลก เน้ือโลก และแก่นโลก ทั้ง 3 ช้นั นมี้ อี งค์ประกอบทางเคมที ัง้ ทเี่ หมือนกนั และแตกตา่ งกัน 2. โครงสร้างภายในโลกที่นักเรียนวาดไว้ในกิจกรรมรู้อะไรบ้างก่อนเรียน มีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างจาก แบบจำลองทส่ี รา้ งขึน้ หรือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ โครงสร้างภายในโลกท่ีนักเรียนวาดขึ้นในกิจกรรมรู้อะไรบ้างก่อนเรยี นอาจมีลักษณะเหมือนหรือ แตกต่างจากแบบจำลองท่ีสร้างขึ้น ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับความรู้เดิมเก่ียวกับการแบ่งโครงสร้างภายในโลกตาม องค์ประกอบทางเคมีของนักเรียนแต่ละคน 3. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร แนวคำตอบ - โครงสร้างภายในโลกแบ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมีไดเ้ ป็น 3 ช้นั ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก - เปลือกโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นสารประกอบของธาตุซิลิคอน อะลมู ิเนียม และออกซเิ จน - เน้ือโลกมีองคป์ ระกอบเป็นสารประกอบของธาตุซลิ คิ อน แมกนเี ซียม เหลก็ และออกซเิ จน - แกน่ โลกมีองค์ประกอบเป็นธาตเุ หล็กและนิกเกลิ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 218 คมู่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 7.2 การผพุ ังอยู่กับท่ีทางกายภาพของหนิ เกดิ ขึ้นได้อย่างไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เกยี่ วกับกระบวนการผพุ ังอยู่กบั ท่ีทางกายภาพของหนิ จุดประสงค์ อธบิ ายกระบวนการผพุ งั อยกู่ ับทที่ างกายภาพของหนิ จากแบบจำลอง เวลาทใ่ี ช้ใน 1 ชวั่ โมง 20 นาที การทำกจิ กรรม วสั ดุและอุปกรณ์ วสั ดทุ ่ใี ชต้ ่อกล่มุ รายการ ปริมาณ/กลุม่ 1. ดนิ นำ้ มนั 2 กอ้ นเลก็ 2. ปนู ปลาสเตอร์ ประมาณ 500 g (ท้งั นีป้ รมิ าณข้นึ อยู่กับขนาดของแกว้ กระดาษ) 3. ลกู โปง่ ขนาดเล็ก 4. ดนิ สอไม้ 2 ใบ 5. กรรไกร 1 แท่ง 6. ยางรัดของ 1 อัน 7. ชอ้ นพลาสตกิ หรือแท่งไมส้ ำหรบั 2 เสน้ 1 อนั คนของผสม 8. แกว้ กระดาษ 2 ใบ 9. หลอดฉีดยาขนาด 50 cm3 หรอื 1 อนั 100 cm3 1 ใบ 10. บกี เกอร์ขนาด 250 cm3 ประมาณ 500 cm3 11. น้ำสะอาด (ข้นึ อยู่กับปริมาณปูนปลาสเตอร์ทใี่ ช้) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

219 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ การเตรียมตัว จัดเตรียมช่องแช่แข็ง ซ่ึงอาจจะเป็นช่องแช่แข็งของตู้เย็น เพ่ือนำชุดกิจกรรมไปแช่ไว้จนน้ำ ลว่ งหนา้ สำหรบั ครู เปลี่ยนเปน็ น้ำแข็ง ข้อเสนอแนะ • ลูกโป่งที่นำมาใช้อาจมีความยืดหยุ่นน้อย การนำน้ำใส่ลูกโป่งอาจทำได้ยาก ดังน้ันเพ่ือให้ผิว ในการทำกจิ กรรม ของลกู โป่งขยายตัวไดด้ ี ใหเ้ ปา่ ลกู โปง่ และนำลมออกหลาย ๆ ครั้ง • แก้วที่นำมาใช้ต้องเป็นแก้วกระดาษ เพ่ือให้น้ำแข็งดันปูนปลาสเตอร์และดันแก้วกระดาษให้ แตกออกมาได้ • แก้วที่นำมาใชไ้ ม่ควรมขี นาดใหญ่จนเกินไป ให้เลือกแกว้ ทม่ี ีขนาดพอเหมาะกับขนาดลูกโปง่ ท่ี นำมาใช้ เพราะถ้ามีช่องวา่ งในแกว้ เหลือมากจนเกินไป จะทำให้ปูนปลาสเตอร์ในแก้วมีความ หนามาก ทำให้น้ำแขง็ ดันปนู ปลาสเตอร์ให้แตกออกมาไดย้ าก ส่ือการเรียนรู้/ • หนงั สือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ • หอ้ งสมุด สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 220 คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทำกิจกรรม ปูนปลาสเตอร์ท่ีนำออกมาจากช่องแช่แข็งจะแข็งตัวและมีการแตกหลุดหรือแตกหักออกจากกัน ส่วนปูน ปลาสเตอร์ท่ตี ัง้ ไว้ทอี่ ุณหภมู ิหอ้ งจะแขง็ ตวั แตไ่ มม่ ีการแตกหลดุ หรือแตกหกั ออกจากกนั ตวั อย่างปูนปลาสเตอร์ที่นำไปแช่ไวใ้ นช่องแชแ่ ข็ง ซง่ึ จะมบี างส่วนแตกหลดุ หรือแตกหกั ออกจากกัน ตัวอยา่ งปูนปลาสเตอร์ทนี่ ำไปแช่ไว้ในชอ่ งแชแ่ ข็ง ซง่ึ จะมบี างสว่ นแตกหลุดหรอื แตกหกั ออกจากกัน ตวั อยา่ งปนู ปลาสเตอร์ทต่ี ัง้ ไว้ท่อี ณุ หภมู หิ ้อง จะแขง็ ตวั แตไ่ ม่มีการแตกหลุดหรอื แตกหักออกจากกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

221 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง คูม่ ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม 1. แก้วน้ำท่ีมีลูกโป่งบรรจุน้ำเมื่อนำไปแช่แข็งและวางไว้ที่อุณหภูมิห้อง มีการเปล่ียนแปลงอย่างไร เพราะ เหตใุ ดจึงเปน็ เชน่ นัน้ แนวคำตอบ แก้วน้ำทมี่ ีลูกโป่งบรรจนุ ้ำท่ีนำไปแช่แข็ง พบวา่ ปูนปลาสเตอร์มสี ถานะเป็นของแข็ง น้ำในลูกโป่ง เปล่ียนเป็นน้ำแข็งและมีปริมาตรเพิ่มขึ้น และท่ีปูนปลาสเตอร์มีบางบริเวณท่ีแตกหลุดออกหรือแตกหักออก สว่ นแก้วน้ำท่ีมีลกู โป่งบรรจุน้ำที่วางไว้ท่ีอุณหภูมิห้อง พบว่าปูนปลาสเตอร์มีสถานะเป็นของแข็ง น้ำในลูกโป่ง ยังคงมีสถานะเดิมคือเป็นของเหลวและมีปริมาตรเท่าเดิม ท่ีปูนปลาสเตอร์ไม่มีการแตกหลุดหรือแตกหักของ ปนู ปลาสเตอร์เกดิ ขึ้น 2. ผลการทำกจิ กรรม เหมือนหรอื แตกตา่ งจากที่ตั้งสมมติฐานไวห้ รือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ คำตอบท่ไี ด้ข้นึ อยู่กบั ความรเู้ ดิมของนักเรยี น ซ่งึ คำตอบทไี่ ดจ้ ะมคี วามหลากหลาย 3. ถ้ากำหนดให้ปูนปลาสเตอร์แทนหินในธรรมชาติ น้ำที่บรรจุอยู่ในลูกโป่งแทนน้ำท่ีแทรกอยู่ตามแนวรอย แตกของหิน นักเรียนคิดว่าการนำปูนปลาสเตอร์ท่ีมีน้ำบรรจุอยู่ด้านในไปแช่ไว้ในช่องแช่แข็ง และนำไป วางไวท้ ่อี ุณหภูมิห้อง เทียบไดก้ บั ปรากฏการณใ์ ดในธรรมชาติ แนวคำตอบ การนำปูนปลาสเตอร์ที่มีน้ำบรรจุอยู่ด้านในไปแช่ไว้ในช่องแช่แข็ง เทียบได้กับน้ำที่แทรกอยู่ตาม รอยแตก รอยแยกของหิน และอยู่ในพื้นที่ท่ีมีอุณหภูมิลดต่ำลงจนถึงจุดเยือกแข็ง น้ำจะเปลี่ยนเป็นน้ำแข็ง แรงดนั จากการเพ่มิ ปริมาตรของนำ้ แข็งจะดันรอยแตก รอยแยกของหินทำใหช้ ่องว่างมีขนาดใหญ่ข้ึน ทำให้หิน แตกหลุดออกจากกนั ได้ การนำปูนปลาสเตอร์ทม่ี ีนำ้ บรรจอุ ยู่ด้านในไปต้ังไวท้ ี่อุณหภูมิห้อง เทียบได้กบั น้ำที่แทรกอยู่ตาม รอยแตก รอยแยกของหิน และอยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีอุณหภูมิไม่ลดต่ำลงจนถึงจุดเยือกแข็ง น้ำที่แทรกอยู่ในรอยแตก รอยแยกของหินไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงใด ๆ 4. จากกิจกรรม สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร แนวคำตอบ การเปล่ียนสถานะของน้ำจากของเหลวเป็นของแข็ง ทำให้ปริมาตรของนำ้ เพิ่มขึ้นและจะเกดิ แรง กระทำโดยจะดันปูนปลาสเตอรใ์ ห้แตกหักออกจากกนั การเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ขึน้ นเ้ี ทียบไดก้ ับการท่ีน้ำท่ีขงั อยู่ ตามรอยแตกของหินเปลีย่ นเป็นนำ้ แขง็ แล้วเกิดแรงกระทำต่อรอยแตกของหิน ทำให้หินแตกหกั ออกจากกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 222 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.3 การผพุ ังอยกู่ ับท่ีทางเคมขี องหินเกิดขนึ้ ได้อยา่ งไร นกั เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกบั กระบวนการผพุ ังอยู่กับที่ทางเคมีของหนิ จุดประสงค์ อธิบายกระบวนการผุพงั อยู่กับที่ทางเคมขี องหนิ จากแบบจำลอง เวลาทีใ่ ช้ใน 45 นาที การทำกิจกรรม วสั ดทุ ี่ใชต้ อ่ กลุม่ วสั ดแุ ละอุปกรณ์ รายการ 1. หนิ ปูน ปรมิ าณ/กล่มุ 2. หลอดหยด 1 กอ้ น 3. แว่นขยาย 1 อัน 4. แว่นนริ ภยั ปอ้ งกันสารเคมี 1 อนั 5. ถุงมือปอ้ งกนั สารเคมี 6. ผา้ แหง้ เทา่ กับจำนวนคนในกล่มุ 7. บกี เกอรข์ นาด 50 cm3 เทา่ กับจำนวนคนในกลุ่ม 8. กรดซัลฟวิ รกิ เจือจาง 0.1 mol/l 9. น้ำกลัน่ 1 ผืน 1 ใบ ประมาณ 5 cm3 ประมาณ 5 cm3 การเตรียมตวั • ครูเป็นผู้จัดเตรียมกรดซัลฟิวริก 0.1 mol/l ให้แก่นักเรียน และขณะจัดเตรียมสารให้สวม ลว่ งหนา้ สำหรบั ครู แว่นตานิรภัยป้องกันสารเคมีและถุงมือป้องกันสารเคมีตลอดเวลา และห้ามสูดดมกรด ซลั ฟิวริก เนื่องจากกรดซลั ฟิวริกสามารถทำอันตรายต่อผิวหนงั และระบบหายใจได้ • ในกรณีท่ีไมส่ ามารถหาหินปนู ได้ สามารถใช้หนิ โดโลไมต์ หรือหินอ่อนแทนได้ • ในกรณีที่ไม่สามารถจดั เตรียมกรดซัลฟิวรกิ ได้ สามารถเลือกใช้กรดไฮโดรคลอริกแทนได้ และ ทำตามข้นั ตอนในกจิ กรรมที่ 7.3 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

223 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะ • ให้ความรู้แก่นักเรียนว่าการเปล่ียนแปลงทางเคมีของสารหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร ในการทำกจิ กรรม สังเกตได้จากการมสี หี รือกล่ินต่างจากสารเดิม หรอื มีฟองแกส๊ หรอื มตี ะกอนเกดิ ขึ้น หรือมีการ กรรม เพม่ิ ข้ึนหรือลดลงของอุณหภมู ิ ส่อื การเรยี นร้/ู • ย้ำนักเรียนว่าให้สวมแว่นตานิรภัยป้องกันสารเคมีและถุงมือป้องกันสารเคมีตลอดเวลา แหลง่ เรยี นรู้ และห้ามสูดดมกรดซัลฟิวริก เนื่องจากกรดซัลฟิวริกสามารถทำอันตรายต่อผิวหนังและ ระบบหายใจได้ • หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เล่ม 2 สสวท. • ห้องสมุด ตัวอยา่ งผลการทำกจิ กรรม เม่ือหยดน้ำกล่ันลงไปท่ีหินปนู ไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงใดเกิดข้ึน แต่เมอื่ หยดกรดซลั ฟิวริกเจือจางลงไปทีห่ นิ ปูน จะเกิดฟองแก๊สขึ้น เมื่อหยดน้ำกลั่นลงไปท่ีหินปูน ไม่มีการเปล่ียนแปลงใด เกิดขน้ึ เมอ่ื หยดกรดซลั ฟวิ รกิ ลงไปท่ีหนิ ปนู มีฟองแกส๊ เกดิ ข้นึ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 224 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม 1. หลงั จากหยดนำ้ กลั่นและกรดซัลฟิวริกเจอื จางลงไปท่ีหนิ ปูนแลว้ มกี ารเปลย่ี นแปลงใดเกิดขนึ้ บา้ ง แนวคำตอบ เมื่อหยดน้ำกล่ันลงไปท่ีหินปูน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดข้ึน แต่เมื่อหยดกรดซัลฟิวริกเจือจาง ลงไปทหี่ ินปนู จะเกดิ ฟองแกส๊ ขน้ึ 2. ผลการทำกิจกรรม เหมือนหรอื แตกต่างจากที่ตงั้ สมมติฐานไว้หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ คำตอบท่ไี ด้ขึน้ อยกู่ ับความรู้เดมิ ของนักเรียน ซงึ่ คำตอบทีไ่ ดจ้ ะมีความหลากหลาย 3. ถ้ากำหนดให้หินปูนแทนหินปูนท่ีอยู่ในธรรมชาติ กรดซัลฟิวริกเจือจางแทนสารละลายท่ีมีสมบัติเป็นกรด เล็กน้อยที่เกิดจากฝนทำปฏิกิริยาเคมีกับแก๊สบางชนิดในอากาศ นักเรียนคิดว่าปรากฏการณ์ใดใน ธรรมชาติจะเกดิ ขน้ึ เน่อื งจากปัจจัยดงั กล่าวน้ี แนวคำตอบ การกรอ่ นของหินปูนในธรรมชาติ เนือ่ งจากการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 4. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร แนวคำตอบ เม่ือหยดน้ำกลัน่ ลงไปท่ีหินปูน ไม่มีการเปล่ียนแปลงใดเกดิ ขึ้น แต่เมื่อหยดกรดซลั ฟวิ รกิ เจือจางลง ไปท่ีหินปูนจะเกิดฟองแก๊สข้ึน ดังนั้นหินปูนในธรรมชาติสามารถเกิดการกร่อนจากการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีใน ลกั ษณะคล้ายคลึงกนั ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

225 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คูม่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.4 การกร่อนและการสะสมตัวของตะกอนเกิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร ตอนที่ 1 การกร่อน นักเรียนจะไดเ้ รยี นรู้เก่ียวกับกระบวนการกร่อนในธรรมชาติ จุดประสงค์ อธบิ ายกระบวนการกร่อนจากแบบจำลอง เวลาท่ใี ชใ้ น 55 นาที การทำกิจกรรม วัสดุและอุปกรณ์ วัสดทุ ่ีใชต้ ่อกลุ่ม รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. กรวด 1,500 g 2. ทรายหยาบหรือทรายละเอยี ด (ข้นึ อยู่กบั ขนาดของกองตะกอนที่จำลอง) 1,500 g 3. ไม้บรรทดั 4. ถาดพลาสติก (ข้นึ อยู่กบั ขนาดของกองตะกอนทจี่ ำลอง) 5. บกี เกอรข์ นาด 250 cm3 1 อัน 6. ขวดนำ้ พลาสตกิ ขนาด 500 cm3 2 ใบ 7. นำ้ สะอาด 1 ใบ 2 ใบ 600 cm3 การเตรยี มตัว • การจัดเตรียมกรวดและทราย สามารถหาซื้อได้ที่รา้ นขายอุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลา หรอื ร้านขาย ลว่ งหนา้ สำหรับครู อุปกรณ์จดั แต่งสวน • การเจาะรูท่ีก้นขวดน้ำพลาสติก อาจใช้วิธีการนำปลายแหลมของตะปูขนาดเล็กไปลนไฟให้ ร้อน และนำไปจี้ท่ีก้นขวดน้ำพลาสติกให้ได้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรูประมาณ 1 มิลลิเมตร หรือใช้ปลายเข็มหมุดเจาะไปที่ก้นขวด ดังภาพ และรูที่เจาะไม่ควรมีขนาดเส้น ผา่ นศูนย์กลางเกิน 1 มิลลิเมตร เพราะถ้าเจาะรูขนาดใหญ่มากไปจะทำให้นำ้ ไหลออกมาจาก รูในปริมาณมาก อาจทำให้ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้ และเจาะให้ กระจายทัว่ ก้นขวด สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 226 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ การเจาะรูทีก่ น้ ขวดพลาสติกด้วยเข็มหมดุ ขอ้ เสนอแนะ ย้ำนกั เรียนว่าภูเขาจำลองทั้งสองต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและมีความสูงเท่ากัน และในการ ในการทำกจิ กรรม ปล่อยน้ำให้ปล่อยสูงจากระดับบนสุดของกองกรวดและกองทราย ท่ีระดับความสูง 20 เซนติเมตร เทา่ กนั สอื่ การเรยี นรู/้ • หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2 สสวท. แหลง่ เรยี นรู้ • หอ้ งสมดุ ตวั อยา่ งผลการทำกิจกรรม กรวดและทรายมีขนาดแตกต่างกัน โดยกรวดมีขนาดใหญ่กว่าทราย และเม่ือปล่อยน้ำไปที่กองกรวดและ กองทราย พบว่ากรวดและทรายจะเคล่ือนท่ีออกจากกองตะกอน โดยทรายจะเคล่ือนที่ออกจากกองตะกอนได้ มากกว่ากรวด และเมือ่ ปล่อยนำ้ จนหมด กองทรายจะเปลี่ยนแปลงลกั ษณะและรูปร่างไปมากกว่ากองกรวด การเปล่ียนแปลงของกองกรวด การเปลย่ี นแปลงของกองทราย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

227 หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. หลงั จากปล่อยน้ำลงไปท่ีกองกรวดและกองทรายแล้ว มีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นเช่นน้ัน แนวคำตอบ เมื่อปลอ่ ยนำ้ ไปที่กองกรวดและกองทราย พบว่ากรวดและทรายจะเคลอื่ นทอี่ อกจากกองตะกอน โดยทรายจะเคลื่อนที่ออกจากกองตะกอนได้มากกว่ากรวด และเมื่อปล่อยน้ำจนหมด กองทรายจะ เปล่ียนแปลงลกั ษณะและรปู ร่างไปจากเดมิ ได้อยา่ งชัดเจนกว่ากองกรวด 2. ผลการทำกิจกรรม เหมอื นหรอื แตกตา่ งจากท่ีตง้ั สมมติฐานไวห้ รือไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ คำตอบที่ได้ขน้ึ อย่กู บั ความรู้เดิมของนักเรียน ซ่ึงคำตอบท่ไี ด้จะมีความหลากหลาย 3. ถ้ากำหนดให้กองกรวดและกองทรายแทนผิวโลกในธรรมชาติท่ีประกอบไปด้วยตะกอนต่างชนิดกัน น้ำที่ ปล่อยลงบนกองตะกอนแทนฝน นักเรียนคิดว่า การกระทำของน้ำและการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนเทียบได้ กับปรากฏการณ์ใดในธรรมชาติ แนวคำตอบ การกระทำของน้ำและการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนเทียบได้กับการที่ตะกอนบนผิวโลกมีการ เคล่ือนย้ายตำแหน่งให้กระจัดกระจายไปจากตำแหน่งเดิมโดยมีน้ำเป็นตัวนำพาตามธรรมชาติ โดยตะกอนใน แต่ละพื้นท่ีของผิวโลกจะมีการเคล่ือนย้ายตำแหน่งออกจากตำแหน่งเดิมได้แตกต่างกัน ซ่ึงข้ึนอยู่กับชนิดของ ตะกอนที่มีขนาดแตกต่างกัน ตะกอนที่มีขนาดใหญ่จะเคลื่อนย้ายตำแหน่งออกจากตำแหน่งเดิมได้น้อยกว่า ตะกอนที่มีขนาดเลก็ กว่า 4. จากกจิ กรรมตอนท่ี 1 สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ตะกอนท่ีมีขนาดใหญ่จะเคล่ือนย้ายตำแหน่งออกจากตำแหน่งเดิมได้น้อยกว่าตะกอนที่มีขนาด เลก็ กวา่ ในธรรมชาติ เมื่อหินในพื้นที่หน่ึง ๆ มีการผุพังอยู่กับที่เป็นตะกอนขนาดต่าง ๆ อาจเกิดการนำพาให้ เคล่ือนที่กระจัดกระจายไปจากตำแหน่งเดิมโดยน้ำ ซ่ึงตะกอนในแต่ละพื้นที่ของผิวโลกจะมีการเคล่ือนย้าย ตำแหนง่ ออกจากตำแหนง่ เดมิ ไดแ้ ตกตา่ งกนั ซง่ึ ขึ้นอยกู่ บั ชนดิ ของตะกอนท่ีมีขนาดแตกตา่ งกนั สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง 228 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตอนท่ี 2 การกร่อนและการสะสมตัวของตะกอนในธารนำ้ นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรู้เกีย่ วกบั การกร่อนและการสะสมตัวของตะกอนในธารน้ำ จดุ ประสงค์ อธบิ ายกระบวนการกร่อนและการสะสมตวั ของตะกอนในธารน้ำจากแบบจำลอง 1 ช่ัวโมง เวลาที่ใชใ้ น การทำกจิ กรรม วสั ดทุ ี่ใชต้ ่อกล่มุ รายการ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 1. ทรายหยาบหรือทรายละเอียด ปริมาณ/กลุม่ 2. สายยางขนาดเล็ก โดยประมาณ 5,000-8,000 g 3. กระบะพลาสติก (ข้นึ อยู่กบั ขนาดของกระบะพลาสตกิ ) 4. ถงั นำ้ 1m 1 ใบ 1 ใบ การเตรยี มตัว • การจัดเตรียมทราย สามารถหาซ้ือได้ที่รา้ นขายอุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลาหรือร้านขายอปุ กรณ์จัด ลว่ งหน้าสำหรับครู แตง่ สวน ขอ้ เสนอแนะ • นำกระบะพลาสติกมาเจาะรูระบายน้ำตรงบริเวณดา้ นกวา้ งจำนวน 1 รู ใหช้ ิดพ้ืนกระบะ การ ในการทำกิจกรรม เจาะรูอาจใช้วิธีการนำปลายแหลมของตะปูไปลนไฟให้ร้อน และนำไปจี้ท่ีกระบะพลาสติกให้ เปน็ รูทีม่ ีขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร • สายยางที่ใช้ควรมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร หรือพิจารณาตามความ เหมาะสม แต่ไม่ควรให้น้ำท่ีปล่อยน้ันแรงจนเกินไป เพราะจะทำให้ทรายในกระบะกระจัด กระจายไป ทำให้ผลการทำกจิ กรรมคลาดเคลื่อน เพ่ือให้เห็นผลการทำกิจกรรมที่ชัดเจนและเสมือนจริงมากท่ีสุด ในการทำกิจกรรมอาจใช้กระบะ พลาสติกขนาดใหญ่ หรอื ทำกิจกรรมในบรเิ วณพนื้ ผวิ ทรายจรงิ ในภาคสนาม ส่อื การเรยี นร/ู้ • หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ • เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ี่เชอ่ื มตอ่ กบั อินเทอร์เน็ต • หอ้ งสมุด สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

229 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตัวอยา่ งผลการทำกิจกรรม การไหลของน้ำอย่างต่อเนื่องลงไปท่ีภมู ิประเทศจำลอง ทำให้เกิดร่องน้ำขึ้น เมอ่ื เวลาผ่านไปรอ่ งน้ำจะมีขนาด ลักษณะ รูปร่าง และทิศทางการไหลเปล่ียนแปลงไปจากเดิม บางช่วงของร่องน้ำมีการกร่อน และบางช่วงจะมีการ สะสมตัวของทรายเกิดข้นึ ตำแหนง่ ปลายลกู ศรสี เหลอื ง คอื บรเิ วณท่ีมี การกร่อน และตำแหนง่ ปลายลกู ศรสดี ำ คือ บรเิ วณทม่ี กี ารสะสมตวั ของตะกอน ลกู ศรสเี ขยี วแสดงทิศ ทางการนำพาตะกอน และลกู ศรสีนำ้ เงนิ แสดง ทศิ ทางท่ตี ะกอนสะสมตัว เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ลักษณะภูมิประเทศจำลองเมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนปล่อยน้ำ ระหว่างปล่อยน้ำ และหลังปล่อยน้ำ มลี กั ษณะเหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตใุ ดจึงเปน็ เช่นนั้น แนวคำตอบ ลักษณะภูมิประเทศจำลองก่อนปล่อยน้ำ ระหว่างปล่อยน้ำ และหลังปล่อยน้ำ มีลักษณะแตกต่าง กัน กล่าวคือการไหลของน้ำอย่างต่อเน่ืองลงไปท่ีภูมิประเทศจำลองทำให้เกิดร่องน้ำขึ้น เม่ือเวลาผ่านไปร่องน้ำ จะมีขนาดใหญ่ขน้ึ มีรูปร่างคดเคี้ยวมากขึ้น และมีทิศทางการไหลเปล่ียนแปลงไปจากเดมิ และบางช่วงของร่อง นำ้ มกี ารกร่อนและบางชว่ งมกี ารสะสมตวั ของทรายเกดิ ขึน้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง 230 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 2. ถ้ากำหนดให้ทรายในภูมิประเทศจำลองแทนผิวโลกในธรรมชาติ น้ำแทนน้ำผิวดิน นักเรียนคิดว่าการไหล ของน้ำผา่ นภมู ิประเทศจำลองเทียบได้กับปรากฏการณใ์ ดในธรรมชาติ แนวคำตอบ การไหลของน้ำผา่ นภูมิประเทศจำลองเทยี บได้กบั น้ำผิวดินท่ีไหลไปตามผิวโลก ขณะที่น้ำไหลก็จะ มีการกัดเซาะตะกอนให้กลายเป็นร่องน้ำ การไหลของน้ำผิวดินอย่างต่อเนื่องทำให้ร่องน้ำมีขนาดใหญ่ขึ้น มีรูปร่างคดเคี้ยวมากข้ึน จากร่องน้ำก็จะพัฒนากลายเป็นธารน้ำที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมีทิศทางการไหล เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และบางช่วงของธารน้ำจะมีการกรอ่ น และบางช่วงมีการสะสมตัวของทรายเกดิ ขนึ้ 3. นักเรียนพบการกัดเซาะและการสะสมตัวของทราย ณ บริเวณใดของภูมิประเทศจำลองบ้าง และบริเวณ ดังกล่าวเทียบได้กบั บรเิ วณพื้นท่ใี ดในธรรมชาติ แนวคำตอบ พบการกัดเซาะของทรายตรงบริเวณท่ีกระแสนำ้ ในธารน้ำจำลองมีความเรว็ สูงไหลเขา้ ไปปะทะกับ โค้งน้ำด้านนอกของธารน้ำจำลอง และด้านที่อยู่ตรงข้ามคือบริเวณโค้งน้ำด้านใน บริเวณดังกล่าวกระแสน้ำใน ธารน้ำจำลองจะมีความเร็วต่ำกว่าซึ่งจะพบการสะสมตัวของตะกอน สิ่งที่เกิดข้ึนเทียบได้กับการกร่อนและ การสะสมตวั ของตะกอนในธารน้ำตามธรรมชาติ 4. สิง่ ทเ่ี กิดข้นึ จากกจิ กรรมเทยี บได้กับปรากฏการณใ์ ดในธรรมชาติ แนวคำตอบ สิ่งทีเ่ กิดข้ึนเทียบไดก้ ับการกรอ่ นและการสะสมตัวของตะกอนในธารน้ำตามธรรมชาติ จากร่องน้ำได้มีการ เปลี่ยนแปลงพัฒนากลายเปน็ ธารน้ำทม่ี ีขนาดใหญข่ ึ้นตามลำดับ และมีทศิ ทางการไหลเปล่ียนแปลงไปจากเดมิ และบาง ช่วงของธารน้ำเกิดการกรอ่ น และบางชว่ งของธารน้ำเกดิ การสะสมตัวของตะกอน 5. จากกจิ กรรมตอนท่ี 2 สรปุ ได้ว่าอยา่ งไร แนวคำตอบ สิ่งท่ีเกิดข้ึนเทียบได้กับการเกิดร่องน้ำบนผิวโลกและพัฒนาจากร่องน้ำกลายเป็นธารน้ำท่ีมีขนาดใหญ่ ข้ึน การไหลของน้ำในธารน้ำจำลองอย่างต่อเนื่องจะทำให้ธารน้ำมีขนาด ลักษณะ รูปร่าง และทิศทางการไหล เปล่ียนแปลงไปจากเดิม และบางช่วงของธารน้ำเกิดการกร่อน และบางช่วงของธารน้ำเกิดการสะสมตัวของตะกอน ซึ่ง ข้นึ อยู่กับความเร็วของกระแสน้ำท่ีไหลเข้ามาปะทะโค้งนำ้ ด้านนอกและด้านในของธารน้ำ การเปล่ียนแปลงในลักษณะ น้ีเม่ือเกิดขน้ึ เป็นเวลานาน ธารน้ำจะมีขนาดความกว้างมากขน้ึ และเกิดการไหลในลักษณะคดโค้งมากข้นึ ตามลำดบั 6. จากกิจกรรมทั้ง 2 ตอน สรุปได้วา่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ในธรรมชาติ ตะกอนขนาดต่าง ๆ อาจเกิดการนำพาให้กระจัดกระจายไปจากตำแหน่งเดิมโดยตัวนำพา ตามธรรมชาติ เช่น น้ำ ซึ่งเรียกการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า การกร่อน การกร่อนในแต่ละพ้ืนที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน ขน้ึ อยู่กบั ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ชนิดของตะกอนทีม่ ีขนาดแตกต่างกัน ตะกอนท่ีมีขนาดใหญ่กว่าจะคงทนต่อการกร่อนได้ มากกว่าตะกอนท่ีมีขนาดเล็กกวา่ ในธรรมชาติ ร่องน้ำหน่งึ ๆ เมื่อเกิดการกร่อนเป็นเวลานาน ร่องนำ้ จะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนกลายเป็นธารน้ำหรือ แม่น้ำ และจะมีลักษณะ รูปร่าง และทิศทางการไหลเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ความเร็วของกระแสน้ำในแต่ละช่วง หรือแต่ละบริเวณของแม่น้ำจะมีความเร็วแตกต่างกัน ทำให้บางช่วงหรือบางบริเวณของแม่น้ำเกิดการกร่อน หรือ บางช่วงหรือบางบริเวณของแม่น้ำจะเกิดการสะสมตัวของตะกอน การเปล่ียนแปลงในลักษณะนี้เม่ือเกิดข้ึนเป็น เวลานาน แมน่ ้ำจะมีขนาดความกว้างมากขึ้น และเกิดการไหลในลักษณะคดโคง้ มากขึ้นตามลำดบั สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

231 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง ค่มู อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กนิจักเกรรยี รนมจทะไ้าดย้เรบยี ทนรเู้ กยี่ วกับการเ ภมู ิลกั ษณบ์ นผวิ โลกเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร นกั เรียนจะไดเ้ รยี นรู้เกยี่ วกบั การเกิดภมู ิลักษณ์โดยกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณวี ิทยาบนผิวโลก จดุ ประสงค์ 1. สืบค้นและสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายการเกดิ ภูมลิ ักษณ์ 2. สืบคน้ และเสนอแนะวธิ ีการอนรุ ักษ์ภมู ิลักษณ์ เวลาทใ่ี ชใ้ น 2 ชว่ั โมง การทำกิจกรรม วัสดอุ ปุ กรณ์ตามที่ออกแบบ วัสดุและอุปกรณ์ การเตรยี มตัว • สบื ค้นขอ้ มูลล่วงหน้าเกี่ยวกับการเกิดภูมลิ ักษณ์ท่ีตนเองสนใจ และกระบวนการเปลี่ยนแปลง ล่วงหน้าสำหรบั ครู ทางธรณีวิทยาบนผิวโลกท่ีทำให้เกิดภูมิลักษณ์ดังกล่าว และข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ภูมิลักษณ์ดังกล่าวเพื่อไม่ให้เสื่อมสภาพหรือถูกทำลาย เพ่ือวางแผนจัดเตรียมวัสดุและ อปุ กรณ์เพอื่ นำมาสรา้ งแบบจำลอง • ตวั อย่างภูมิลกั ษณท์ ่ีเกิดจากกระบวนการเปล่ียนแปลงบนผิวโลกท่ีนกั เรยี นสามารถนำมาสรา้ ง แบบจำลองได้ เช่น ออบ เสาเฉลียง เนินทราย แม่น้ำโค้งตวัด ทะเลสาบรูปแอก เนินตะกอน นำ้ พารปู พัด ดนิ ดอนสามเหลย่ี ม กุมภลักษณ์ ขอ้ เสนอแนะ • ก่อนสร้างแบบจำลองควรให้เวลานักเรียนในการวิเคราะห์ข้อมูล อภิปราย และลงข้อสรุป ในการทำกิจกรรม เก่ยี วกบั การเกดิ ภูมลิ กั ษณ์ดังกลา่ ว • ในการสร้างแบบจำลองการเกิดภูมิลักษณ์ อาจใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถ่ิน และ ราคาประหยัด ส่ือการเรยี นรู/้ • หนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 2 สสวท. แหลง่ เรยี นรู้ • เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทเี่ ชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต • หอ้ งสมดุ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 232 ค่มู ือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม 1. แบบจำลองภูมิลักษณ์ที่สร้างขึ้นมีกระบวนการเกิดอย่างไร อาศัยกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา บนผวิ โลกใดบา้ ง แนวคำตอบ ภูมลิ ักษณ์ที่พบบนผวิ โลก แต่ละภมู ลิ ักษณม์ กี ระบวนการเกิดทแ่ี ตกต่างกัน เช่น - เนินตะกอนน้ำพารูปพัด เกิดตรงบางช่วงของธารน้ำหรือแม่น้ำ อาจเกิดเนื่องจากการเปล่ียนระดบั ความสูง ของการไหลของนำ้ จากหบุ เขาชนั ลงส่ทู ่ีราบ ทำให้ความเร็วของกระแสน้ำลดลงจนไมส่ ามารถนำพาตะกอน บางส่วนต่อไปได้ ตะกอนดังกล่าวจึงตกตะกอนสะสมตัวในลักษณะท่ีแยกกระจายออกไปบริเวณรอบข้าง เปน็ รปู พัด - ดินดอนสามเหลี่ยม เกิดจากเม่ือน้ำในแม่น้ำไหลออกสู่ทะเลหรือมหาสมุทร ความเร็วของกระแสน้ำใน แม่น้ำจะลดลง ทำให้ตะกอนที่ถูกนำพามากับกระแสน้ำตกตะกอนสะสมตัวอยู่ตรงบริเวณปากแม่น้ำ การสะสมตัวของตะกอนดังกล่าวเป็นเวลานานทำให้ตะกอนบริเวณปากแม่น้ำมีระดับสูงข้ึนเร่ือย ๆ จน กลายเป็นแผน่ ดนิ แผก่ ระจายกวา้ งต่อเนอ่ื งกนั ตรงปากแมน่ ้ำ 2. มวี ิธกี ารอนรุ ักษภ์ ูมลิ กั ษณน์ ้นั อยา่ งไร แนวคำตอบ วิธีการป้องกันหรืออนุรักษ์ภูมิลักษณ์ไม่ให้เสื่อมสภาพมีหลายวิธีการ เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมใน ธรรมชาติจะมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีการใช้ประโยชน์ทางด้านการประมง รวมถึงเป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลาตามธรรมชาติ เราจึงไม่ควรขุดตะกอนในแม่น้ำที่อยู่เหนือปากแม่น้ำขึ้นมาใช้ ซ่ึงจะเป็น การรบกวนสมดลุ ปรมิ าณของตะกอนท่จี ะมาสะสมตัวตรงบริเวณปากแมน่ ้ำ 3. จากกจิ กรรม สรปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร แนวคำตอบ ภูมิลักษณ์เกิดขึ้นจากกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาต่าง ๆ บนผิวโลก เช่น การผุพังอยู่ กบั ท่ี การกรอ่ นและการสะสมตัวของตะกอน กระบวนการเกิดนน้ั ตอ้ งอาศัยตวั นำพาตามธรรมชาติ เช่น นำ้ ลม ธารน้ำแข็ง และปัจจัยต่าง ๆ ตามธรรมชาติ เช่น แรงโน้มถ่วงของโลก ประเภทและชนิดของดิน หิน แร่และ ตะกอน โครงสรา้ งทางธรณีวิทยา ภูมิประเทศ สิ่งมชี วี ิต สภาพอากาศ อุณหภมู ิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี และระยะเวลา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

233 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 1 1. ยกตัวอย่างปรากฏการณท์ ี่แสดงว่าภายในโลกยงั คงมีอุณหภูมแิ ละความดันสงู * แนวคำตอบ ตัวอย่างปรากฏการณท์ แ่ี สดงวา่ ภายในโลกยงั คงมีอุณหภมู แิ ละความดันสูง เช่น พนุ ำ้ รอ้ น ภเู ขาไฟระเบิด 2. โครงสรา้ งภายในโลกแตล่ ะช้ันมีอณุ หภูมิและความดัน เหมอื นหรือแตกต่างกันอย่างไร* แนวคำตอบ โครงสรา้ งภายในโลกแต่ละช้ันมีอุณหภมู แิ ละความดนั แตกตา่ งกันดงั น้ี - เปลือกโลก เน้ือโลก และแก่นโลก มีอุณหภูมิแตกต่างกัน โดยเรียงลำดับโครงสร้างโลกท่ีมีอุณหภูมิมากท่ีสุดไปหา นอ้ ยทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ แก่นโลก เน้อื โลก และเปลือกโลก ตามลำดบั - เปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก มีความดันแตกต่างกัน โดยเรียงลำดับโครงสรา้ งโลกท่ีมีความดนั มากท่ีสุดไปหา น้อยทส่ี ุด ได้แก่ แกน่ โลก เน้อื โลก และเปลอื กโลก ตามลำดับ 3. โครงสรา้ งโลกชัน้ ใดที่มผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงภูมิลักษณบ์ นผวิ โลกมากท่ีสุด เพราะเหตุใด* แนวคำตอบ โครงสร้างโลกชั้นที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิลักษณ์บนผิวโลกมากที่สุด คือ ช้ันเปลือกโลก เพราะช้ัน ดังกล่าวมีตัวนำพาตามธรรมชาติ เช่น น้ำ ธารน้ำแข็ง สิ่งมีชีวิต ท่ีเอื้อให้หิน ดิน แร่ หรือตะกอนต่าง ๆ ที่อยู่ในช้ัน เปลอื กโลกเกิดการผพุ งั อยูก่ บั ที่ เกิดการกรอ่ น และเกิดการสะสมตัวจนเกดิ เปน็ ภมู ลิ ักษณ์แบบต่าง ๆ 4. บนถนนสายหน่ึงมีการตัดผ่านภูเขา ระหว่างทางมีป้ายเตือนว่า “ระวังหินหล่น” ปรากฏการณ์นี้เกิดข้ึนจาก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวทิ ยาบนผวิ โลกใด* ภาพป้ายระวงั หินหลน่ ท่ีพบอยู่บรเิ วณริมถนน แนวคำตอบ หินหล่นเกิดจากกระบวนการผุพังอยู่กับท่ีทางกายภาพและการกร่อน กล่าวคือ หินในธรรมชาติอาจเกิด การเปลี่ยนแปลงโดยทำให้มีขนาดเล็กลงหรอื แตกหักออกจากกัน การแตกหักออกจากกันเกิดข้ึนเนื่องจากปจั จัยต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอากาศ การกระทำของน้ำ ลม สิ่งมีชีวติ เป็นการเปล่ียนแปลงเฉพาะขนาดและรูปร่างของหิน ซ่ึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของหินเกิดข้ึน การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็นการผุพังอยู่กับท่ีทางกายภาพ หินที่แตกหลุดออกมาจะกลายเป็นหินท่ีมีขนาดเล็กลง เป็นเศษหินหรือตะกอนขนาดต่าง ๆ ซ่ึงวัตถุนี้อาจเคลื่อนที่ไป หลุดไป ไถลไป หรือกลิ้งไปจากตำแหน่งเดิมเนื่องด้วยตัวนำพาและปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวเป็นการกร่อน ซ่ึงในกรณีหินหลน่ นี้ถูกทำให้เคล่ือนย้ายลงมาด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 234 คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 5. บริเวณทะเลทรายกับป่าดบิ ชน้ื บริเวณใดมีการผุพังอยกู่ บั ทีท่ างเคมมี ากกว่ากัน เพราะเหตุใด** แนวคำตอบ บริเวณปา่ ดบิ ชื้นมกี ารผุพังอย่กู ับทท่ี างเคมีมากกว่าบรเิ วณทะเลทราย เพราะบรเิ วณป่าดิบชนื้ เป็นบริเวณ ที่มีไอน้ำในอากาศมาก ไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ เม่ือละอองน้ำจำนวนมากเกาะกลุ่ มรวมกัน ลอยอยู่สูงจากพื้นดินมากจะเกดิ เป็นเมฆ เมื่อละอองนำ้ ในเมฆรวมตัวกันจนอากาศไม่สามารถพยุงไวไ้ ด้จะตกลงมาเป็น ฝน ในธรรมชาติเมื่อแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศทำปฏิกิริยาเคมีกับฝนจะเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก ซ่ึงเป็น กรดอ่อน กรดน้ีเมอื่ สัมผัสกับหินท่ีมีสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบจะเกิดปฏิกิริยาเคมีทำให้เกิด สารใหม่ คือ สารละลายแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตซ่ึงสามารถละลายน้ำได้ หินที่มีสารประกอบแคลเซียม คาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบดังกล่าวเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีจากกรดคาร์บอนิกอย่างต่อเน่ือง จะเกิดการผุพังอยู่กั บท่ี ทางเคมีและจะคอ่ ย ๆ กรอ่ นลงตามเวลาที่ผ่านไป ขณะที่ในพื้นที่ทะเลทรายมีปรมิ าณไอน้ำในอากาศน้อยกว่า พืชก็มี ปริมาณนอ้ ยกวา่ จึงทำให้เกดิ การผพุ ังอย่กู บั ท่ที างเคมนี ้อยกว่า 6. การปลูกพืชคลุมดนิ ชว่ ยป้องกนั การกร่อนของดนิ ได้หรือไม่ อย่างไร* แนวคำตอบ การปลูกพืชคลุมดินช่วยป้องกันการกร่อนของดินได้ กล่าวคือ การปลูกพืชคลุมดิน รากพืชจะหยั่งลึกลง ไปในดินช่วยยึดเม็ดดินไว้ด้วยกัน รวมถึงช่วยอุ้มน้ำไว้ในดิน ทำให้ผิวดินไม่ถูกนำพาให้เคล่ือนท่ีไปได้ง่าย ท้ังน้ีจำนวน การแผ่ขยายและความยาวของรากจะข้ึนอยู่กับชนิดของพืชท่ีปลูกและก่ิงใบของพืชจะช่วยปกคลุมดิน ช่วยเก็บ ความชื้นให้กับดิน ช่วยลดการระเหยของน้ำในดิน ทำให้ดินมีความชุ่มชื้น เน้ือดินจึงยึดเกาะกันได้ดี ช่วยชะลอการ กรอ่ นท่เี กิดจากฝน น้ำ และลมได้ 7. จากภาพต่อไปน้ี ถา้ มีลมเคล่ือนที่ผ่าน 2 บริเวณ ก. และ ข. ดว้ ยแรงลมเท่าๆ กัน บริเวณใดจะเกิดการกร่อนโดย ลมมากกวา่ เพราะเหตุใด* ลม ลม ก. ข. แนวคำตอบ บรเิ วณ ข. จะกรอ่ นโดยลมมากกวา่ เพราะมปี รมิ าณพชื ขน้ึ ปกคลมุ พื้นท่นี ้อยกวา่ บริเวณ ก. สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

235 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 8. ถา้ นักเรยี นพบกอ้ นหนิ ที่มีลกั ษณะมน นักเรยี นอธิบายได้หรือไม่วา่ ความมนของหนิ เกดิ ขนึ้ ไดอ้ ย่างไร* แนวคำตอบ ความมนของหินเกิดขึ้นได้จากปัจจัยหลายอย่าง เช่น ก้อนหินนั้นอาจจะถูกนำพามากับกระแสน้ำใน แมน่ ำ้ ลำคลอง ซึ่งระหว่างท่ถี ูกนำพามา กอ้ นหินจะครูดถไู ปตามทอ้ งนำ้ ตามตลิ่ง หรอื มีการกระแทกกันเอง ทำใหห้ ิน กรอ่ นลง มีขนาดเล็กลง ทำให้หินมีลักษณะมนมากข้ึน หรือถ้าก้อนหินอยู่บริเวณริมชายฝั่ง ก้อนหินอาจถูกคลื่นทะเล กดั เซาะอยา่ งต่อเนือ่ ง จนทำใหห้ ินกร่อนลงและมีลกั ษณะมนมากข้ึนได้เชน่ กนั 9. ถา้ กระแสน้ำในแมน่ ำ้ มที ศิ ทางการไหลดงั ภาพ จงตอบคำถามดังตอ่ ไปน้ี ข.. ก. ค. ง. ภาพแสดงทิศทางการไหลของน้ำในแมน่ ำ้ สายหน่ึง 9.1 ถ้ากระแสนำ้ ในแม่นำ้ มีทิศทางการไหลตามลกู ศรอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ลักษณะของแมน่ ำ้ ณ ตำแหน่ง ก. ข. ค. และ ง. จะเปลย่ี นแปลงไปหรือไม่ อย่างไร* แนวคำตอบ ถ้ากระแสน้ำในแม่น้ำมีทิศทางการไหลตามลกู ศรอย่างต่อเน่ืองเปน็ เวลานาน ลักษณะของแม่นำ้ ณ ตำแหน่ง ก. ข. ค. และ ง. จะเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม กลา่ วคือ • บริเวณ ข. และ ค. ตั้งอยบู่ รเิ วณโค้งน้ำด้านนอก ความเร็วของกระแสน้ำที่มาปะทะจะมคี วามเร็วสูง และเป็น บรเิ วณที่ถูกปะทะจากกระแสน้ำโดยตรง ทำให้ตลง่ิ บริเวณนี้ถกู กร่อนออกไปได้มาก • บริเวณ ก. และ ง. ต้งั อยู่บริเวณโค้งน้ำด้านใน ความเร็วของกระแสน้ำที่มาปะทะจะต่ำกว่าบริเวณ ข. และ ค. ทำใหต้ ะกอนที่ถกู นำพามากบั กระแสน้ำมีการสะสมตัวของตะกอนตรงบริเวณโค้งน้ำด้านในน้ี 9.2 ถ้าน้ำในแม่น้ำยังมีการไหลอย่างต่อเนื่อง แม่น้ำสายนี้จะมีลักษณะ รูปร่าง และทิศทางการไหลเปล่ียนแปลง ไปหรือไม่ อย่างไร** แนวคำตอบ ถ้าน้ำในแม่น้ำยังมีการไหลอย่างต่อเนื่อง บริเวณ ข. และ ค. จะกร่อนไปเรื่อย ๆ และในบริเวณ ก. และ ง. จะเกิดการสะสมตัวของตะกอนมากข้ึนเร่ือย ๆ จนเกิดเป็นแผ่นดินงอกยื่นเข้าไปในแม่น้ำมากข้ึน ๆ การเปลี่ยนแปลงในลักษณะเช่นน้ีอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน แม่น้ำจะมีรูปร่างและทิศทางการไหลเปลี่ยนแปลง ไป โดยจะเกดิ การไหลในลกั ษณะคดเคี้ยว หรอื โค้งตวดั มากข้ึน ๆ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 236 คู่มอื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 10. เรียงลำดับภาพและอธิบายการเกิดทะเลสาบรูปแอก โดยอาศัยกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิว โลก* ก. ข. ค. ง. แนวคำตอบ การเกิดทะเลสาบรูปแอก เรียงตามเหตุการณ์ภาพ ข. ค. ก. และ ง. ตามลำดับ กล่าวคือ แม่น้ำหนง่ึ ๆ ถ้ากระแสน้ำในแม่น้ำยังคงมกี ารไหลอย่างตอ่ เนื่อง ทิศทางการไหลของแม่น้ำจะโค้งตวัดมากขึน้ ถ้าหากการโค้งตวัด มีการประชิดกันมากขึ้น กระแสน้ำจะกัดเซาะตรงส่วนคอดของแม่น้ำให้ขาดเป็นแม่น้ำท่ีตัดตรงไป ส่วนที่โค้งอ้อม ของแมน่ ้ำจะกลายเป็นบงึ หรอื ทะเลสาบรูปแอก 11. กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอนบนผิวโลก มีความสัมพันธ์กับวัฏจักรหิน หรือไม่ อย่างไร** แนวคำตอบ กระบวนการผุพังอยู่กบั ท่ี การกร่อน และการสะสมตวั ของตะกอนบนผิวโลกมีความสัมพันธ์กบั วัฏจักร หิน กล่าวคือ ดิน หิน แร่บนผิวโลกจะผุพังอยู่กับท่ีกลายเป็นตะกอนขนาดต่าง ๆ และจะถูกกร่อนไปสะสมตัวใน บริเวณแอ่งสะสมตะกอน หรือบริเวณที่ลุ่มต่าง ๆ และด้วยปัจจัยต่าง ๆ ตามธรรมชาติตะกอนดังกล่าวจะแข็งตัว กลายเป็นหินตะกอน และด้วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก หินตะกอนดังกล่าวอาจโผล่พ้นขึ้นมาสัมผัสกับน้ำ ลม ฝน และปัจจัยต่าง ๆ ก็จะเกิดการผุพังอยู่กับท่ีทั้งทางกายภาพและทางเคมีขึ้นได้ รวมทั้งอาจเกิดการกร่อนและ ถูกนำพาไปสะสมตวั ในบริเวณต่าง ๆ ดว้ ยตัวนำพาและปัจจยั ต่าง ๆ ตอ่ ไป สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

237 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ บทที่ 2 ดนิ และน้ำ สาระสำคัญ ดินเกิดจากหินท่ีผุพังอยู่กับท่ีท้ังทางกายภาพและทางเคมี จนหินมีขนาดเล็กลงกลายเป็นวัตถุต้นกำเนิดดิน แล้ว ผสมคลุกเคล้ากับอินทรียวัตถุท่ีเกิดจากการสลายตัวของซากพืชและซากสัตว์ กระบวนการเกิดดินอาศัยระยะเวลาที่ ต่อเน่ืองกัน และอาศัยตัวนำพาต่าง ๆ ในธรรมชาติ เช่น น้ำ สิ่งมีชีวิต ลม ในการหมุนเวียนสารหรือวัตถุต่าง ๆ รวมถึง อาศยั ปจั จัยอื่น ๆ เชน่ อณุ หภมู ิอากาศ ปริมาณฝน ความชืน้ และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ดินที่เกิดข้ึนในพื้นท่ีจะค่อย ๆ พัฒนาเกิดเป็นช้ันดิน ซึ่งมีลักษณะแบ่งออกเป็นชั้น ๆ ขนานหรือเกือบขนานไปกับ ผิวหน้าดิน แต่ละชั้นมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ช้ันดินท่ีมีลักษณะปรากฏให้เห็นเรียงตามลำดับเป็นช้ันจากชั้น บนสุดจนถึงช้ันล่างสุด เรียกว่า หน้าตัดข้างของดินหรือชั้นหน้าตัดดิน ชั้นหน้าตัดดินในแต่ละพื้นท่ีมีลักษณะและสมบัติ แตกตา่ งกันข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดิน ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวติ ในดิน ภูมิประเทศ และระยะเวลา ในการเกิดดิน ช้ันดินที่มีการพัฒนาอย่างสมบูรณ์จะมีชั้นดินหลักจำนวน 6 ช้ัน จากด้านบนลงไปสู่ด้านล่าง ได้แก่ ช้ันโอ ช้นั เอ ชัน้ อี ช้นั บี ชน้ั ซี และชน้ั อาร์ สมบัติบางประการของดิน ไดแ้ ก่ เน้อื ดนิ ความชน้ื ในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดิน เป็นข้อมูลที่ สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจถึงแนวทางการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เช่น ในทางการเกษตรหรืออ่ืน ๆ ได้ และในกรณีที่ ตอ้ งการปรบั ปรงุ คุณภาพดินเพื่อนำไปใชป้ ระโยชน์ ควรหาแนวทางการปรับปรงุ คุณภาพดินด้วยวธิ กี ารท่ีเหมาะสม โลกมีทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ซ่ึงอยู่ในแหล่งน้ำต่าง ๆ มีทั้งแหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน แหล่งน้ำผิวดินแต่ละ แหล่งมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปริมาณน้ำในแต่ละฤดูกาล ชนิดของดิน หิน แร่ หรือ ตะกอนซ่ึงมีความทนทานต่อการกัดเซาะของน้ำไม่เท่ากัน ปริมาณฝนท่ีตกในพื้นท่ี ระยะเวลาในการกัดเซาะของน้ำใน พืน้ ท่ี ภูมปิ ระเทศ และโครงสรา้ งทางธรณีวิทยาของหนิ ในพื้นที่ แหล่งน้ำใต้ดินเกิดจากการไหลซึมของน้ำผิวดินลงไปสะสมตัวอยู่ใต้ผิวโลก ซึ่งแบ่งเป็นน้ำในดินและน้ำบาดาล การไหลซึมของน้ำลงไปใต้ผิวโลกส่วนแรกจะไหลซึมอยู่ตามช่องว่างระหว่างเม็ดดินร่วมกับอากาศ เรียกว่า น้ำในดิน ส่วนนำ้ บาดาลเปน็ นำ้ ทไ่ี หลซมึ ลึกลงตอ่ ไปอีกจนไปสะสมตัวอยู่ในหนิ ช้ันหนิ หรอื ชน้ั ตะกอน จนอิม่ ตวั ไปดว้ ยนำ้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 238 คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ น้ำมคี วามสำคญั ต่อการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตของมนุษย์ ความตอ้ งการใช้น้ำมปี ริมาณเพิ่มขึ้นเน่อื งจาก การขยายตัวทางภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งการใชน้ ้ำเพ่ือการอุปโภคและบริโภคที่เพิ่มสูงข้นึ ตามจำนวน ประชากร สาเหตุต่าง ๆ น้ที ำใหแ้ หล่งน้ำผิวดินมีไม่เพยี งพอสำหรบั การนำมาใช้ประโยชน์ จงึ มกี ารนำน้ำบาดาลมาใช้มาก ข้นึ นอกจากนี้คุณภาพของแหล่งน้ำบางแห่งอาจมกี ารปนเป้ือนของเสยี น้ำเสีย และสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ จึงต้องมีการอนรุ ักษ์ และฟืน้ ฟแู หล่งน้ำท่ีมีอย่ดู ว้ ยวิธีการทเ่ี หมาะสมและอยา่ งต่อเนื่อง จดุ ประสงค์บทเรยี น เมอื่ เรยี นจบบทน้แี ลว้ นกั เรียนจะสามารถทำสิง่ ต่อไปนีไ้ ด้ 1. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายกระบวนการเกดิ ดนิ จากแบบจำลองชั้นหน้าตดั ดนิ 2. ศกึ ษาและอธบิ ายลกั ษณะช้นั หนา้ ตดั ดิน 3. วิเคราะหแ์ ละระบปุ จั จัยทท่ี ำใหด้ ินมีลักษณะและสมบัตแิ ตกตา่ งกัน 4. สังเกตและตรวจวัดเนอ้ื ดิน ความชน้ื ในดิน ค่าความเป็นกรด-เบสของดนิ และธาตุอาหารในดนิ 5. วเิ คราะห์และนำเสนอแนวทางการใช้ประโยชนด์ นิ จากข้อมลู ลกั ษณะและสมบตั ิของดินทต่ี รวจวดั ได้ 6. อธิบายปัจจยั และกระบวนการเกิดแหลง่ นำ้ ผวิ ดินและแหลง่ น้ำใต้ดนิ จากแบบจำลอง 7. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการอนรุ กั ษ์แหล่งน้ำเพ่อื ใหใ้ ชน้ ำ้ ได้อย่างยั่งยืน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

239 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ภาพรวมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จุดประสงค์ แนวความคิดตอ่ เนื่อง กจิ กรรม รายการประเมนิ การเรยี นรู้ของบทเรยี น กจิ กรรมที่ 7.5 1. อธิบายกระบวนการ 1. วิเคราะห์และอธิบาย 1. ดินเกดิ จากหนิ ท่ผี ุพงั ตามธรรมชาติ ดนิ ท่รี ะดบั กระบวนการเกิดดินจาก ผสมคลุกเคลา้ กับอนิ ทรียวัตถุที่ได้ ความลึกตา่ งกัน เกิดดินโดยใชภ้ าพ แบบจำลองชั้นหน้าตดั ดิน จากการสลายตวั ของซากพชื และ มลี กั ษณะเหมือน ชั้นหนา้ ตดั ดิน 2. ศึกษาและอธิบาย ซากสตั ว์ หรอื แตกต่างกัน 2. อธบิ ายลักษณะช้นั ดนิ ลักษณะชัน้ หน้าตดั ดนิ หรอื ไม่ และช้ันหน้าตดั ดนิ 2. ชัน้ ดินในพน้ื ท่ีหนงึ่ ๆ มีลักษณะแบ่ง 3. วิเคราะหแ์ ละระบุปัจจัย ออกเป็นช้นั ๆ ขนานหรือเกือบ กิจกรรมท่ี 7.6 1. ระบปุ ัจจยั ทที่ ำให้ ที่ทำใหด้ นิ มีลักษณะและ ขนานไปกบั ผวิ หนา้ ดิน การตรวจวัด ดนิ และช้นั หนา้ ตดั สมบตั แิ ตกต่างกนั สมบัตขิ องดนิ มี ดนิ ในแตล่ ะพื้นท่ีมี 3. ชนั้ ดินแต่ละชั้นมีลักษณะและสมบตั ิ วิธีการอย่างไร ลกั ษณะและสมบตั ิ 4. สังเกตและตรวจวดั เน้ือ แตกตา่ งกนั (ตอนที่ 1 และ 2) แตกตา่ งกัน ดิน ความชื้นในดิน ค่า ความเป็นกรด-เบสของ 4. ชัน้ หน้าตัดดินเปน็ ชัน้ ดนิ ท่มี ีลกั ษณะ 1. ตรวจวดั เนอ้ื ดิน ดนิ และธาตุอาหารในดิน ปรากฏใหเ้ ห็นเรียงลำดบั เปน็ ชั้น ความช้นื ในดิน จากชนั้ บนสุดถึงช้นั ล่างสดุ ความเปน็ กรด-เบส ของดิน ธาตุอาหาร 1. ดนิ และชั้นหน้าตดั ดินในแต่ละพ้นื ที่ ในดิน โดยใช้ มีลกั ษณะและสมบตั แิ ตกตา่ งกัน เครอ่ื งมอื ที่ ข้นึ อยกู่ ับปัจจยั ตา่ ง ๆ เชน่ วตั ถุต้น เหมาะสม กำเนดิ ดิน ภูมิอากาศ ส่ิงมชี ีวิตใน ดนิ ลกั ษณะภูมิประเทศ และ ระยะเวลาในการเกิดดนิ 1. สมบตั ขิ องดินมหี ลายอยา่ ง เชน่ เนอื้ ดิน ความชื้นในดนิ ความเปน็ กรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดิน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 240 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ จดุ ประสงค์ แนวความคดิ ต่อเนอื่ ง กิจกรรม รายการประเมนิ การเรียนรขู้ องบทเรยี น กจิ กรรมท่ี 7.6 การตรวจวดั 1. นำเสนอแนวทางการ 5. วเิ คราะหแ์ ละนำเสนอ 1. การทราบสมบัติบางประการของ สมบัตขิ องดินมี ใชป้ ระโยชนด์ นิ จาก วิธีการอยา่ งไร ข้อมูลลักษณะและ แนวทางการใช้ประโยชน์ ดนิ สามารถนำไปใช้ในการตดั สนิ ใจ (ตอนที่ 3) สมบตั ขิ องดินที่ กิจกรรมที่ 7.7 ตรวจวดั ได้ จากดนิ จากข้อมลู ถึงแนวทางการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ปัจจยั ใดทีท่ ำให้ แหล่งนำ้ ผวิ ดนิ มี 1. สรา้ งแบบจำลองเพื่อ ลักษณะและสมบตั ขิ อง เชน่ ในทางการเกษตร หรอื อื่น ๆ ลักษณะแตกตา่ ง อธิบายกระบวนการ กัน เกิดแหลง่ น้ำผวิ ดิน ดนิ ที่ตรวจวดั ได้ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม กจิ กรรมที่ 7.8 2. อธิบายกระบวนการ 6. อธบิ ายปัจจยั และ 1. แหลง่ นำ้ ผวิ ดินแต่ละแหล่งมีขนาด แหลง่ น้ำใต้ดิน และปัจจัยการเกิด เกดิ ขน้ึ ได้อย่างไร แหล่งน้ำผิวดินจาก กระบวนการเกิดแหล่ง และรูปรา่ งแตกต่างกัน ขึน้ อยู่กับ แบบจำลอง น้ำผวิ ดนิ และแหลง่ น้ำใต้ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ปริมาณน้ำใน 1. สรา้ งแบบจำลองเพ่อื อธบิ ายกระบวนการ ดนิ จากแบบจำลอง แตล่ ะฤดูกาล ชนดิ ของดนิ หนิ แร่ เกดิ แหล่งน้ำใต้ดนิ หรอื ตะกอนซึ่งมคี วามทนทานตอ่ 2. อธบิ ายกระบวนการ เกดิ แหล่งน้ำใต้ดนิ การกัดเซาะของน้ำไม่เทา่ กัน จากแบบจำลอง ปริมาณฝนทตี่ กในพื้นท่ี ระยะเวลา ในการกดั เซาะของน้ำในพน้ื ท่ี ลักษณะภมู ิประเทศ และโครงสรา้ ง ทางธรณีวิทยาของหินในพื้นท่ี 2. แหล่งนำ้ ใต้ดินเกิดจากการไหลซมึ ของนำ้ ผวิ ดนิ ลงไปสะสมตัวอยู่ใตผ้ ิว โลก ซง่ึ แบ่งเป็นน้ำในดินและนำ้ บาดาล การไหลซมึ ของน้ำลงไปใต้ ผวิ โลกสว่ นแรกจะไหลซึมอยู่ตาม ชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดินรว่ มกับ อากาศ เรียกว่า น้ำในดนิ ส่วนน้ำ บาดาลเป็นน้ำท่ีไหลซึมลกึ ลงไป สะสมตัวอยูใ่ นหิน ชนั้ หิน หรือชนั้ ตะกอนจนอ่ิมตวั ไปด้วยน้ำ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

241 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ จดุ ประสงค์ แนวความคดิ ต่อเนอ่ื ง กิจกรรม รายการประเมิน การเรยี นรขู้ องบทเรยี น 7. สร้างแบบจำลองที่ 1. ความต้องการใช้น้ำมีปริมาณ กจิ กรรมท้ายบท 1. สร้างแบบจำลอง อธบิ ายการอนุรกั ษ์แหล่ง เพม่ิ ข้ึนเนื่องจากการขยายตัวทาง ใช้น้ำอย่างไรใหม้ ี เพื่ออธบิ ายการ น้ำเพอื่ ให้ใช้นำ้ ได้อย่าง ภาคเกษตรกรรม ภาคอตุ สาหกรรม นำ้ ใชอ้ ย่งยัง่ ยนื อนุรักษ์แหล่งนำ้ ยง่ั ยนื รวมท้งั การใช้น้ำเพื่อการอุปโภค เพ่อื ใหใ้ ชน้ ำ้ ได้อย่าง และบรโิ ภคทเี่ พ่ิมสูงขึน้ ตามจำนวน ย่งั ยนื ประชากร สาเหตตุ า่ ง ๆ นี้ทำให้ แหลง่ น้ำผวิ ดนิ มีไม่เพียงพอสำหรบั 2. อธิบายการอนุรักษ์ การนำมาใช้ประโยชน์ จึงมีการนำ แหล่งนำ้ เพ่ือให้ใช้ นำ้ บาดาลมาใช้มากข้ึน นอกจากนี้ น้ำไดอ้ ย่างยั่งยนื คณุ ภาพของแหลง่ นำ้ บางแห่งอาจมี จากแบบจำลอง การปนเปอ้ื นของเสีย นำ้ เสีย และ สง่ิ ปฏิกูลต่าง ๆ จึงต้องมกี าร อนรุ กั ษ์และฟ้ืนฟูแหล่งนำ้ ที่มีอยู่ ด้วยวิธีการทเี่ หมาะสมและอย่าง ตอ่ เนือ่ ง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 242 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทคี่ วรจะได้จากบทเรยี น ทักษะ เร่ืองท่ี 1 2 ท้ายบท ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต ••• การวดั • • • การจำแนกประเภท •• การหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ ••• และสเปซกับเวลา การใชจ้ ำนวน •• การจัดกระทำและส่อื ความหมายข้อมูล ••• การลงความเห็นจากข้อมลู ••• การพยากรณ์ •• การต้งั สมมติฐาน • การกำหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ าร • การกำหนดและควบคุมตวั แปร • การทดลอง • การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ••• การสรา้ งแบบจำลอง •• ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา • • • ดา้ นการสือ่ สารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทันส่อื • • • ด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผ้นู ำ • • • ด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม • ดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ••• และการสื่อสาร ดา้ นการทำงาน การเรยี นรู้ และการพึง่ ตนเอง • • • สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

243 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง คู่มอื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ การนำเข้าสบู่ ทเรยี น ครูดำเนินการดงั น้ี 1. ครเู ชื่อมโยงเข้าสู่บทที่ 2 โดยให้นักเรียนศึกษาภาพ นำบท ในหนังสือเรียนหน้าท่ี 145 และร่วมกัน อภิปรายโดยอาจใช้คำถาม ครูอาจเขียนคำถามไว้ บนกระดานและบันทึกคำตอบของนักเรียนไว้ ตัวอย่างคำถาม เช่น • นักเรียนรู้จักข้าวขาวดอกมะลิ 105 หรือไม่ ข้าวดังกล่าวเม่ือนำมาหุงจะมีลักษณะอย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) • ดินชนิดใดเหมาะแก่การปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) • ขา้ วขาวดอกมะลิ 105 ทนต่อสภาพแวดล้อมใน การปลูกอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง) • ท่ีประเทศไทยปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ท่ีใดบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) 2. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหานำบท และร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้คำตอบที่ถูกต้องของคำถามอีกคร้ัง และอาจถามคำถาม เพ่มิ เติม แกน่ กั เรียน ดงั น้ี • ขา้ วขาวดอกมะลิ 105 เม่อื นำมาหงุ จะมลี ักษณะอย่างไร (ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เมื่อนำมาหุงจะมีความนุ่ม มกี ลิ่นหอม) • ดนิ ชนิดใดเหมาะแกก่ ารปลกู ขา้ วขาวดอกมะลิ 105 (ดนิ ปนทรายและดินที่มคี วามเคม็ เลก็ นอ้ ย) • ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทนต่อสภาพแวดล้อมในการปลูกอย่างไรบ้าง (ข้าวพันธุ์นี้ทนต่อสภาพดินเค็ม ดินเปรี้ยว และทนตอ่ ความแหง้ แล้ง) • ที่ประเทศไทยปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ท่ีใดบ้าง (ตัวอย่างบริเวณพื้นที่ของประเทศไทยที่มีการปลูกข้าวขาว ดอกมะลิ 105 เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยในจังหวัดมหาสารคาม สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ยโสธร รอ้ ยเอด็ นครราชสีมา) สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 244 คู่มือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 3. ให้นักเรียนอ่านคำถามนำบทและจุดประสงค์ของบทเรียน เพื่อให้ทราบขอบเขตของเน้ือหาท่ีจะได้เรียนรูใ้ นบทเรียน และจุดประสงค์ในการเรียน (นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการเกิดดิน ลักษณะช้ันหน้าตัดดิน ปัจจัยที่ทำให้ ดินมีลักษณะและสมบตั แิ ตกต่างกัน การตรวจวดั เน้อื ดิน ความช้นื ในดิน คา่ ความเป็นกรด-เบสของดิน และธาตุอาหาร ในดิน การนำเสนอแนวทางการใช้ประโยชน์ดินจากข้อมูลลักษณะและสมบัติของดินที่ตรวจวัดได้ ปัจจัยและ กระบวนการเกิดแหล่งนำ้ ผวิ ดนิ และแหลง่ น้ำใตด้ ิน และการการอนุรักษณแ์ หล่งนำ้ เพอื่ ให้ใชน้ ้ำได้อยา่ งย่ังยืน) 4. จากนั้นนำนักเรียนเข้าสู่เร่ืองท่ี 1 ดิน ช้ันดิน และชั้นหน้าตัดดิน โดยใช้ตัวอย่างคำถามว่า ดินในแต่ละบริเวณมี ลักษณะเหมอื นหรอื แตกต่างกนั หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด เราจะไปเรียนรกู้ นั ในเรอ่ื งตอ่ ไป สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

245 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เร่อื งท่ี 1 ดิน ชน้ั ดนิ และชนั้ หนา้ ตดั ดิน แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูดำเนินการดงั น้ี 1. ครูให้นักเรียนสังเกตภาพนำเร่ือง ภาพ 7.5 การใช้ ประโยชนจ์ ากดินเพื่อการเพาะปลกู ในหนังสอื เรียน หน้าที่ 146 และให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นจาก ภาพโดยอาจถามนักเรียนว่า ดินมีความสำคัญ อย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) จากน้ันให้นักเรียนอ่านเนื้อหานำเร่ือง เก่ียวกับความสำคัญของดิน และร่วมกันอภิปราย เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ วา่ • ดินเป็นวัตถุที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ พบปกคลุม ผิวโลกอยูเ่ ปน็ ชัน้ บาง ๆ • ดินมีความสำคัญต่อมนุษย์โดยเฉพาะการนำมาใช้ ในการเพาะปลูก โดยดินเป็นแหล่งธาตุอาหาร เป็นแหล่งกักเก็บน้ำและความชื้นท่ีจำเป็นต่อ การเจริญเติบโตของพืช รวมถึงรากพืชใช้ดินใน การเกาะยดึ ลำต้นเพอื่ ไมใ่ ห้ลำตน้ ล้มเอยี ง 2. ให้นักเรยี นอ่านคำสำคัญ และทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง ถ้าครูพบว่านักเรียนยังทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนและแก้ไขความเข้าใจผิดของ นักเรยี น เพอื่ ให้นกั เรยี นมคี วามร้พู ้นื ฐานทถี่ ูกต้องและเพยี งพอที่จะเรียนเร่ือง ดิน ช้ันดินและชน้ั หน้าตดั ดิน ต่อไป สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 246 คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรูก้ ่อนเรียน เขียนเครอ่ื งหมาย ✓ หน้าขอ้ ความทถ่ี กู ต้อง และเขียนเครื่องหมาย หน้าขอ้ ความท่ีไม่ถูกต้อง 1. สว่ นประกอบของดินมีอะไรบ้าง  เศษหิน  ซากพชื  ซากสัตว์  อากาศ  นำ้  เศษพลาสติก 2. ตวั นำพาและปัจจัยใดทีท่ ำใหห้ นิ เกดิ การผพุ งั อยู่กับที่ได้  อุณหภมู อิ ากาศ  ลักษณะโครงสร้างทางธรณวี ทิ ยา  นำ้  แรงโนม้ ถ่วงของโลก  ปฏกิ ิริยาเคมี 3. การผพุ งั อย่กู ับทท่ี างกายภาพ ทำให้หนิ เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างไรบ้าง  ขนาด  รูปร่าง  การเปลีย่ นชนดิ ของแร่ในหนิ 4. การผุพังอย่กู ับทที่ างเคมี ทำให้หินเกิดการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไรบ้าง  ขนาด  รูปรา่ ง  การเปลยี่ นชนดิ ของแร่ในหิน 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเร่ือง ดิน ช้ันดนิ และช้ันหน้าตัดดิน โดยให้ทำกจิ กรรมรู้อะไรบ้างก่อนเรียน ในหนังสือเรียนหน้าที่ 147 โดยให้นักเรียนตอบได้อย่างอิสระตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูจะไม่เฉลยคำตอบที่ ถูกต้อง แต่ครูควรรวบรวมแนวคิดคลาดเคล่ือนที่พบเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และแก้ไขแนวคิด คลาดเคลื่อนเหล่านั้นให้ถูกต้อง ซ่ึงเมื่อนักเรียนเรียนจบเร่ืองน้ีแล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจครบถ้วนตาม จุดประสงคข์ องบทเรยี น ตวั อย่างแนวคดิ คลาดเคล่อื นซึง่ อาจพบในเรอื่ งนี้ • ดินท่ีพบไม่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะและสมบัติใด ๆ และมีลักษณะเหมือนกันทุกพื้นที่ (Philips, 1991; The Science Learning Hub, 2018) • ดนิ มสี นี ำ้ ตาล (The Science Learning Hub, 2018) • ดนิ เป็นทรพั ยากรหมนุ เวยี น มนุษย์สามารถสร้างข้ึนได้ (The Science Learning Hub, 2018) 4. จากนั้นนำเข้าสู่กิจกรรมที่ 7.5 ดินที่ระดับความลึกต่างกัน มีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ โดยให้ นักเรียนสังเกตภาพ 7.26 ในหนังสือเรียนหน้าท่ี 147 และให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากภาพโดยอาจถาม นักเรียนว่า ดินในภาพมีสีแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และนักเรียนคิดว่าดินที่อยู่ในระดับลึกจากผิวโลกลงไปจะมีสี และลักษณะอื่น ๆ เหมอื นหรอื แตกต่างจากดินทอี่ ยบู่ ริเวณผวิ ดินหรือไม่ เราจะไปเรียนร้กู นั ในกิจกรรมตอ่ ไป สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

247 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.5 ดินท่รี ะดับความลกึ ต่างกนั มีลักษณะเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำเนนิ การดงั นี้ กอ่ นการทำกจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถาม ดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนีเ้ กยี่ วกบั เร่อื งอะไร (ชั้นดินและชั้นหนา้ ตัดดิน) • กจิ กรรมนี้มจี ุดประสงคอ์ ย่างไร (สงั เกตและอธบิ ายลกั ษณะชั้นดนิ และช้ันหน้าตดั ดนิ ) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกตข้อมูลชั้นหน้าตัดดินจำนวน 2 พื้นที่ ดังภาพในหนังสือเรียน หนา้ 148 และอ่านข้อมูลท่ีเก่ยี วข้องกับชน้ั หน้าตัดดินดงั กล่าวในตาราง 7.2 ในหนังสือเรยี นหน้าท่ี 149 จากนน้ั ให้ ร่วมกันวเิ คราะห์และอภิปรายขอ้ มูลเพ่อื ตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม) ครูควรบันทกึ ข้นั ตอนการทำกิจกรรมโดยสรุปบนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สังเกตช้ันหน้าตัดดินจำนวน 2 พื้นที่ และศึกษาข้อมูลรายละเอียดช้ัน หน้าตัดดินของ 2 พ้นื ท)่ี ระหวา่ งการทำกจิ กรรม (30 นาที) 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตามวิธีดำเนินกิจกรรม ขณะที่แต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทำ กจิ กรรมในแตล่ ะกลมุ่ และใหค้ ำแนะนำถา้ นักเรยี นมขี อ้ สงสยั ในประเดน็ ต่าง ๆ เช่น • ให้นักเรียนศึกษาภาพชน้ั หน้าตัดดินที่ 1 และ 2 และศึกษาข้อมูลรายละเอียดชั้นหน้าตัดดินจำนวน 2 พ้ืนท่ี ได้แก่ ตำแหนง่ ทีต่ ั้ง สภาพพื้นท่ีท่ีพบช้ันหนา้ ตัดดิน วัตถตุ ้นกำเนดิ ดนิ การใช้ประโยชนท์ ่ีดินในพื้นที่ ความหนาและสีของ ชน้ั ดินแต่ละชั้นทพี่ บในแตล่ ะช้นั หน้าตดั ดิน • ความหนาของช้ันดินแต่ละชั้น ซึ่งสังเกตจากขีดบอกระยะของแถบวัดระยะในรูปของแต่ละช้ันหน้าตัดดินท่ีแต่ละ ช่วงของแถบวัดระยะจะห่างกัน 10 เซนติเมตร (แต่ละช่วงของแถบวัดระยะให้สังเกตจากสีของแถบวัดที่จะมีสี สลับกัน) 3. ครคู วรรวบรวมปัญหาและขอ้ สงสัยต่าง ๆ จากการทำกจิ กรรมของนักเรียนเพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการอภิปรายหลัง การทำกิจกรรม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 248 คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ หลงั การทำกจิ กรรม (20 นาที) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คำถามทา้ ยกิจกรรมเปน็ แนวทาง เพื่อใหไ้ ดข้ ้อสรุปจากการทำกิจกรรมว่า • ชัน้ หนา้ ตดั ดินทงั้ 2 พ้นื ทีม่ ีลักษณะแตกต่างกัน เช่น จำนวนช้นั ดนิ ความหนาของชน้ั ดิน สดี ินในแตล่ ะชน้ั ดนิ • ทั้ง 2 พื้นที่มีวัตถตุ ้นกำเนิดดนิ แตกตา่ งกัน • ภายในชั้นหนา้ ตัดดนิ เดยี วกัน ช้ันดนิ แตล่ ะชนั้ มีลกั ษณะแตกต่างกัน เช่น ความหนาของชน้ั ดิน สีดินในแตล่ ะชั้นดนิ 5. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 149-151 สังเกตภาพ 7.27-7.28 ตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วครูใช้ คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจในการอา่ น เชน่ • ดนิ เกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร • กระบวนการเกดิ ดินต้องอาศัยตวั นำพาและปจั จัยใดบา้ ง • ชัน้ ดินมีลักษณะอย่างไร • ชน้ั ดินแตล่ ะชน้ั มีลกั ษณะและสมบตั แิ ตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร • ชนั้ หนา้ ตัดดนิ มีลกั ษณะอยา่ งไร • ช้นั หน้าตัดดนิ ในแตล่ ะพ้นื ที่มลี ักษณะแตกต่างกนั หรือไม่ เพราะเหตุใด • ชนั้ หนา้ ตัดดินทม่ี กี ารพฒั นาอยา่ งสมบรู ณจ์ ะแบ่งออกเปน็ กีช่ ั้น ได้แกอ่ ะไรบ้าง 6. จากนน้ั ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปวา่ • ดินเกิดข้ึนตามธรรมชาติ โดยอาศัยการผพุ ังอยู่กับทท่ี ้ังทางกายภาพและทางเคมขี องหิน จนทำให้หนิ มขี นาดเล็กลง กลายเป็นวัตถุต้นกำเนิดดิน จากน้ันมีการผสมคลุกเคล้ากับอินทรียวัตถุท่ีเกิดจากการสลายตัวของซากพืชและ ซากสัตว์กลายเป็นดินที่มีลักษณะและสมบัติที่แตกต่างกันไปในแต่ละพ้ืนที่ กระบวนการเกิดดินอาศัยระยะเวลาที่ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน เม่ือเวลาผ่านไปเริม่ มีชั้นดินเกิดข้ึน และเม่ือระยะเวลาในการเกิดดินเพ่ิมมากข้ึนจำนวน ชน้ั ดนิ และความหนาของช้ันดินกจ็ ะเพ่ิมมากขึ้น • กระบวนการเกิดดินนอกจากอาศัยวัตถุต้นกำเนิดดินแล้ว ยังต้องอาศัยตัวนำพาต่าง ๆ เช่น น้ำ สิ่งมีชีวิต ลม ใน การหมุนเวียนสารหรือวัตถุต่าง ๆ รวมถึงอาศัยปัจจัยอ่ืน ๆ เช่น อุณหภูมิอากาศ ปริมาณฝน ความช้ืน และ การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี • ชนั้ ดินในพ้ืนท่ีหนึ่ง ๆ มีลกั ษณะแบ่งออกเป็นชั้น ๆ ขนานหรือเกือบขนานไปกบั ผวิ หน้าดิน ชั้นดินแตล่ ะชั้นในพนื้ ที่ หน่ึง ๆ มีลักษณะและสมบตั ิที่แตกต่างกัน เชน่ สี โครงสร้างดนิ เน้ือดนิ การยดึ ตัว ความเป็นกรด-เบส สิ่งต่าง ๆ ที่ ปนอยู่ในดิน ความหนาของชั้นดิน ลักษณะและสมบัติของชั้นดินแต่ละช้ันจะมีความแตกต่างกันเพิ่มมากข้ึนตาม ระยะเวลาในการเกดิ ดนิ และเม่ือระยะเวลาในการเกิดดนิ เพิม่ มากข้ึนจำนวนช้ันดนิ ทีพ่ บกจ็ ะมีมากขึ้น • ชน้ั หนา้ ตดั ดินเป็นชนั้ ดนิ ที่มลี ักษณะปรากฏให้เห็นเรยี งลำดับเป็นชน้ั จากช้ันบนสดุ ถึงชนั้ ล่างสุด สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

249 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ • ชน้ั หนา้ ตดั ดนิ ในแต่ละพ้ืนท่มี ลี กั ษณะและสมบตั แิ ตกต่างกนั เช่น จำนวนชน้ั ดิน ความหนาของชั้นดนิ สดี ิน เนอ้ื ดิน ความเป็นกรด-เบส ความแตกต่างน้ีเกิดข้ึนเน่ืองด้วยปัจจัยในการเกิดดินต่าง ๆ เช่น ชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดิน ภมู ิอากาศ สงิ่ มชี วี ติ ในดิน ภมู ิประเทศ และระยะเวลาในการเกิดดนิ • ชั้นหน้าตดั ดนิ ท่ีมกี ารพัฒนาอย่างสมบูรณ์จะมีชั้นดินหลักจำนวน 6 ช้ัน เรียงจากชั้นบนสุดลงไปสู่ช้ันล่างสุด ได้แก่ ช้ันโอ ชั้นเอ ชนั้ อี ชั้นบี ชนั้ ซี และชน้ั อาร์ ตามลำดับ เฉลยคำถามระหว่างเรียน • ตวั นำพาและปัจจยั ทีใ่ ช้ในกระบวนการเกดิ ดนิ มอี ะไรบ้าง แนวคำตอบ ตัวนำพาท่ีใชใ้ นกระบวนการเกิดดนิ ไดแ้ ก่ น้ำ สิง่ มีชีวิต ลม และปัจจัยท่ีใช้ในกระบวนการเกิดดิน ไดแ้ ก่ วตั ถตุ น้ กำเนิดดิน อุณหภมู ิอากาศ ปริมาณฝน ความชื้น การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี ระยะเวลาในการเกดิ ดิน • ชนั้ ดินชั้นใดเปน็ ช้นั ท่ีมีการสะสมตัวของวัตถุต่าง ๆ ซ่งึ เปน็ การซึมชะมาจากดนิ ชน้ั ทอ่ี ยู่ดา้ นบน แนวคำตอบ ดนิ ชน้ั บีเป็นชั้นทมี่ ีการสะสมตวั ของวัตถุต่าง ๆ ซึ่งซึมชะมาจากดินชนั้ ที่อยู่ดา้ นบน ดินชั้นบีจัดอยู่ ในเขตการสะสมตัวของแร่ • ชั้นดนิ แตล่ ะชนั้ ในพ้นื ท่หี น่งึ ๆ มีลกั ษณะเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ ช้ันดินแต่ละช้ันในพ้ืนท่ีหนึ่ง ๆ อาจมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น มีสี เน้ือดิน ความหนาของช้ันดิน และคา่ ความเป็นกรด-เบส แตกตา่ งกนั • ชนั้ ดนิ แต่ละช้ันในแต่ละพื้นที่ มีลักษณะเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ ช้ันดินแต่ละชั้นในแต่ละพ้ืนที่อาจมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น มีสี เน้ือดิน ความหนาของช้ันดิน จำนวนช้ันดิน และค่าความเปน็ กรด-เบส แตกต่างกนั สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 250 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 7. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเก่ียวกับรายละเอียดปัจจัยท่ีทำให้ดินและชั้นหน้าตัดดินในแต่ละพ้ืนที่มีลักษณะและสมบัติที่ แตกต่างกัน ในหนังสือเรียนหน้า 152-153 สังเกตภาพ 7.29-7.30 ตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วครูใช้คำถามเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน เช่น • วัตถุตน้ กำเนดิ ดิน คืออะไร และส่งผลต่อดินในเร่อื งใด • ภูมิอากาศส่งผลต่อดินในเรอื่ งใด • ภมู ปิ ระเทศสง่ ผลตอ่ ชนั้ ดนิ ในเรือ่ งใด • ระยะเวลาสง่ ผลตอ่ ชนั้ ดินในเรื่องใด 8. จากน้นั ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภิปราย เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรุปว่า • วัตถุต้นกำเนิดดินเป็นหิน ดิน และแร่ชนิดต่าง ๆ ท่ีผุพังอยู่กับที่ ซึ่งจะผุพังกลายเป็นเศษหินหรือตะกอนขนาดต่าง ๆ ซ่ึงเป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญของดินที่มีผลต่อลักษณะและสมบัติของดิน กล่าวคือทำให้ดินมีจำนวนและปริมาณแร่ธาตุ สดี นิ เน้อื ดิน โครงสร้างของดนิ และสมบัตทิ างเคมีของดนิ แตกต่างกนั • ภูมิอากาศส่งผลต่ออุณหภูมิของอากาศและปริมาณฝน ซึ่งจะมีผลต่อการผุพังอยู่กับท่ีของหินทั้งทางกายภาพและทาง เคมีที่จะทำให้เกิดวัตถุต้นกำเนิดดิน นอกจากน้ีอุณหภูมิของอากาศยังมีผลต่อปริมาณสิ่งมีชีวิตในดินและการสลายตัว ของซากพืชซากสัตวใ์ นดนิ ซึ่งสง่ ผลต่อปริมาณอินทรียวัตถุในดินและสดี นิ • ภูมิประเทศที่มีระดับความสูงต่ำแตกต่างกัน หรือมีความลาดชันต่างกันจะส่งผลต่อความหนาของช้ันดิน พื้นท่ีที่มี ความลาดชันสูงจะมีการชะล้างพงั ทลายของหน้าดินมาก ทำให้ชัน้ ดนิ มคี วามบางหรืออาจไมม่ ชี น้ั ดินเลย • ระยะเวลาในการเกิดดินส่งผลต่อจำนวนชั้นดินและความหนาของชั้นดิน ดินท่ีเกิดขึ้นมาเป็นเวลานานแล้วจะมี จำนวนชั้นดินและความหนาของชนั้ ดินมากกว่าดนิ ทเ่ี กดิ ข้ึนมาเป็นเวลานอ้ ยกวา่ เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • ความหนาของชนั้ ดนิ ขน้ึ อยกู่ ับปจั จัยใดบา้ ง แนวคำตอบ ความหนาของชั้นดินข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดิน ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และระยะเวลาในการเกิดดิน 9. เชือ่ มโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 7.6 การตรวจวัดสมบตั ิของดินมวี ิธกี ารอย่างไร โดยใชค้ ำถามว่า นักเรียนทราบแล้วว่าดิน และชั้นดินในแต่ละพื้นที่มีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน สมบัติของดินดังกล่าวมีวิธีการตรวจวัดอย่างไร เราจะไป เรยี นรกู้ นั ในกจิ กรรมตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

251 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 7.6 การตรวจวัดสมบตั ิของดนิ มวี ิธกี ารอย่างไร ตอนท่ี 1 การสำรวจดินและการเตรียมดนิ http://ipst.me/9919 http://ipst.me/9920 http://ipst.me/8964 และตอนท่ี 2 การตรวจวัดสมบัติของดิน แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำเนินการดงั นี้ ก่อนการทำกิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ • กจิ กรรมนีเ้ กีย่ วกบั เรือ่ งอะไร (การตรวจวดั เนอ้ื ดิน ความช้ืนในดนิ ความเป็นกรด-เบสของดินและธาตอุ าหารในดิน) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (สังเกตและบันทึกสภาพแวดล้อมท่ัวไปและภูมิประเทศบริเวณจุดที่ศึกษาดิน สังเกตและตรวจวัดเนื้อดิน ความช้ืนในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดินโดยใช้เคร่ืองมือท่ี เหมาะสม) • วธิ ดี ำเนินกจิ กรรมมขี น้ั ตอนโดยสรปุ อย่างไร (สังเกตและตรวจวัดเน้ือดนิ ความช้นื ในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน ธาตอุ าหารในดนิ ) ครคู วรบันทกึ ขัน้ ตอนการทำกิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สังเกตและบันทึกสภาพแวดล้อมทั่วไปและภูมิประเทศบริเวณจุดท่ี ศกึ ษาดิน โดยกำหนดพ้ืนท่จี ดุ ศกึ ษาดินเปน็ บรเิ วณผวิ ดนิ ขนาด 1 ตารางเมตร บนั ทึกตำแหน่งทต่ี ง้ั ของพนื้ ที่ บนั ทึก วันที่ท่ีศึกษาดิน สำรวจและบันทึกการใช้ประโยชน์ดิน ชนิดพืชที่ข้ึนปกคลุม สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณผิวดิน ณ บริเวณจดุ ที่ศกึ ษา และสังเกตและตรวจวดั เน้อื ดนิ ความช้นื ในดนิ ความเปน็ กรด-เบสของดิน ธาตอุ าหารในดนิ ) ระหวา่ งการทำกิจกรรม (80 นาที) 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตามวิธีดำเนินกิจกรรม ขณะท่ีแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทำกิจกรรม ในแตล่ ะกล่มุ และใหค้ ำแนะนำถ้านักเรยี นมีขอ้ สงสัยในประเดน็ ต่าง ๆ เชน่ • การเดินทางไปจุดที่ศกึ ษาดนิ ในกจิ กรรมตอนท่ี 1 จุดศึกษาดินควรเป็นบรเิ วณที่ปราศจากการรบกวนจากกิจกรรม ของมนุษย์ มีความปลอดภัย เดินทางสะดวกและปลอดภัย และในการไปศึกษาและเก็บตัวอย่างดินในบริเวณ ดังกล่าวควรอยใู่ นความดแู ลของครูหรือผูป้ กครอง • กิจกรรมการตรวจวัดเน้ือดิน ต้องใช้ดินท่ีแห้งแล้ว ดังนั้นควรวางแผนดำเนินการให้นักเรียนทำกิจกรรมตอนท่ี 1 ก่อนท่ี จะทำกิจกรรมการตรวจวัดเนื้อดิน สักระยะหน่งึ เพราะต้องนำดินที่เก็บไปผึ่งใหแ้ ห้งก่อนทำการตรวจวัดเน้ือดิน • กิจกรรมการตรวจวัดเนื้อดิน ย้ำให้นักเรียนตรวจสอบว่าเน้ือดินทีต่ รวจวดั ได้จดั อยู่ในกลุ่มดนิ ประเภทใด โดยเทียบ เน้ือดินกับขอ้ มูลในตาราง 7.3 ในหนงั สอื เรียนหน้าท่ี 155 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 252 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ • กิจกรรมการตรวจวัดความช้ืนในดิน ควรวางแผนการจัดการเร่ืองเวลาในการนำดินในข้ันตอนข้อที่ 2 ไปตากแดด ให้แห้ง ก่อนมาดำเนินการหามวลของดินแห้ง • กิจกรรมการตรวจวัดความเป็นกรด-เบสของดิน ถ้าตรวจวัดเน้ือดินแล้วพบว่าเป็นดินที่ตรวจวัดจัดอยู่ในกลุ่มดิน เน้ือละเอียด (จะทราบว่าดินท่ีตรวจวัดได้จัดอยู่ในกลุ่มดินชนิดใด ให้นำข้อมูลชนิดของเนื้อดินที่ตรวจวัดได้จาก กิจกรรมที่ 7.6 ตอนที่ 2 ไปเทียบกับข้อมูลในตาราง 7.3 ในหนังสือเรียนหน้าที่ 155) ในกรณีถ้าดินที่นำมา ตรวจวัดจัดอยู่ในกลุ่มดินเนื้อละเอียด ในการตรวจวัดความเป็นกรด-เบส ในข้ันตอนข้อที่ 1 ในหนังสือเรียนหน้า 157 ให้ใช้อัตราส่วนดินต่อน้ำเป็น 1 ต่อ 5 และในกรณีถ้าดินท่ีนำมาตรวจวัดจัดอยู่ในกลุ่มดินเนื้อหยาบและกลุ่ม ดินเนื้อหยาบปานกลาง ในการตรวจวัดความเป็นกรด-เบส ในข้ันตอนข้อที่ 1 ในหนังสือเรียนหน้า 157 ให้ใช้ อตั ราส่วนดินตอ่ นำ้ เป็น 1 ตอ่ 1 • ควรวางแผนการจัดการเร่ืองเวลาเผ่ือไว้สำหรับการต้ังของผสมระหว่างดินและน้ำจนดินตกตะกอนและมีน้ำ ลกั ษณะใสแยกออกมาอยู่เหนือช้ันตะกอนดิน เพราะถ้าดินที่ตรวจวัดจัดอยู่ในกลุ่มดินเนื้อละเอียด การตกตะกอน ของดินจะใช้เวลาค่อนขา้ งนาน • ในการหาระดับความเป็นกรด-เบส ของดิน ให้นักเรียนนำค่า pH ของดินที่ตรวจวัดได้ไปเทียบกับข้อมูลในตาราง 7.4 ในหนงั สอื เรียนหนา้ ท่ี 157 • เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเข้าใจการระบุความเป็นกรด-เบสของดิน มากข้นึ ใหน้ ักเรียนอา่ นเกรด็ น่ารู้ในหนังสือเรียนหน้าที่ 158 • ในการตรวจวัดธาตุอาหารในดิน ให้ใช้ชุดตรวจวัดที่สามารถจัดหาได้ตามความเหมาะสม และให้ทำตามข้ันตอนท่ี ระบุไว้ในชดุ ตรวจวัดดังกล่าว 3. ครคู วรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทำกจิ กรรมของนกั เรียนเพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลประกอบการอภิปรายหลัง การทำกจิ กรรม หลังการทำกจิ กรรม (30 นาที) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คำถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพ่ือให้ได้ข้อสรปุ จากการทำกจิ กรรมว่า ดนิ ในแตล่ ะพืน้ ที่อาจมีลกั ษณะและสมบัติ ทแี่ ตกต่างกนั ออกไป เชน่ เนอ้ื ดิน ความช้นื ในดนิ ความเปน็ กรด-เบสของดนิ ธาตอุ าหารในดนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

253 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ตอนท่ี 3 การใช้ประโยชนด์ นิ จากข้อมลู ลกั ษณะและสมบตั ิของดินท่ตี รวจวดั ได้ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูดำเนินการดังนี้ ก่อนการทำกิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ • กิจกรรมน้ีเกีย่ วกับเรอ่ื งอะไร (การใชป้ ระโยชนด์ นิ จากข้อมลู ลกั ษณะและสมบตั ิของดนิ ที่ตรวจวัด) • กจิ กรรมนี้มีจุดประสงคอ์ ย่างไร (วิเคราะห์และนำเสนอแนวทางการใช้ประโยชน์ดนิ จากขอ้ มูลลักษณะและสมบัติ ของดินทีต่ รวจวัด) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (วิเคราะห์ข้อมูลว่าดินบริเวณที่เก็บตัวอย่างมีลักษณะและสมบัติของ ดินเหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์หรือไม่ อย่างไร ในกรณีที่มีการใช้ดินเพื่อการเพาะปลูก ให้สืบค้นและ วิเคราะห์ข้อมูลว่าลักษณะและสมบัติของดินที่ตรวจวัดได้เหมาะสมกับการเพาะปลูกพืชชนิดดังกล่าวหรือไม่ ถ้ามี การใช้ประโยชน์ดินเพ่ือการเพาะปลูกที่ไม่เหมาะสม ให้สืบค้นและนำเสนอวิธีการปรับปรุงคุณภาพดินดังกล่าว หรือเสนอแนะชนดิ ของพชื ท่ีควรปลกู ในบริเวณจุดที่เกบ็ ตัวอย่างดินน้ัน) ครคู วรบันทกึ ขน้ั ตอนการทำกิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบา้ ง (รวบรวมข้อมูลเพ่ือนำมาวิเคราะห์ว่าดินบรเิ วณท่ีเก็บตัวอย่างมีลักษณะ และสมบัติเหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์จากที่จดบันทึกไว้จากกิจกรรมในตอนท่ี 1 หรือไม่ และรวบรวม ข้อมูลวธิ ีการปรับปรงุ คณุ ภาพดิน หรอื เสนอแนะชนดิ ของพืชท่ีควรปลูกในบริเวณจดุ ทเ่ี ก็บตัวอยา่ งดินน้นั ) ระหวา่ งการทำกิจกรรม (25 นาที) 2. ให้นักเรีนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตามวิธีดำเนินกิจกรรม ขณะท่ีแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทำ กิจกรรมในแตล่ ะกลุม่ และใหค้ ำแนะนำถา้ นกั เรยี นมขี ้อสงสยั ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เช่น • อาจแนะนำให้นักเรียนทำการสืบค้นข้อมูลการใช้ประโยชน์ดินจากข้อมูลลักษณะและสมบัติดินท่ีตรวจวัดได้ มา ลว่ งหน้า • แนะนำนักเรยี นเกี่ยวกบั การใช้คำสำคญั ในการสืบคน้ ข้อมลู และแหล่งสืบคน้ ข้อมูล 3. ครคู วรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทำกิจกรรมของนักเรียนเพอื่ ใช้เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการอภิปรายหลัง การทำกิจกรรม สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 254 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ หลังการทำกิจกรรม (20 นาที) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คำถามทา้ ยกิจกรรมเปน็ แนวทาง เพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรปุ จากการทำกิจกรรมว่า • ดินในแตล่ ะพน้ื ท่ีมีลกั ษณะและสมบตั แิ ตกต่างกนั จึงมีการนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกตา่ งกัน • การนำดินไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกจำเป็นต้องพิจารณาว่าเนื้อดิน ความช้ืนในดิน ความเป็นกรด-เบส และ ธาตุอาหารในดิน เหมาะสมต่อชนิดพืชท่ีจะเพาะปลูกหรือไม่ ในกรณีท่ีต้องการปรับปรุงดินเพื่อนำไปใช้ในการ เพาะปลกู ควรหาแนวทางการปรับปรุงดินดว้ ยวธิ กี ารที่เหมาะสม 5. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียนหน้าท่ี 159-161 สังเกตภาพ 7.32-7.38 ตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วครูใช้ คำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจในการอา่ น เชน่ • ดนิ ในแต่ละพืน้ ท่ีมีลักษณะและสมบตั ิอะไรบา้ งทแ่ี ตกตา่ งกัน • ลักษณะและสมบัติต่าง ๆ ของดนิ ในแต่ละพ้ืนที่เช่ือมโยงไปถึงสิ่งใดของวัตถุต้นกำเนิดดินหรือองค์ประกอบของดิน ได้บา้ ง • เพราะเหตุใดดินแตล่ ะชนดิ จึงมเี นื้อดนิ แตกต่างกนั • ความชืน้ ในดนิ คอื อะไร มคี วามสำคัญอย่างไร • ดินในแตล่ ะพื้นทม่ี ีความเป็นกรด-เบส แตกต่างกันเนอ่ื งดว้ ยปัจจัยใด • ยกตวั อย่างลักษณะดินที่ไมเ่ หมาะสมต่อการเพาะปลูก • ดินเปรยี้ วมีลักษณะเปน็ อยา่ งไร และจะมีวิธีการปรบั ปรุงดนิ เปรยี้ วอยา่ งไร • ดินเค็มมีลักษณะเป็นอย่างไร และจะมีวิธกี ารปรับปรงุ ดนิ เค็มอยา่ งไร 6. จากนั้นใหน้ ักเรียนรว่ มกนั อภปิ ราย เพื่อให้ได้ข้อสรปุ วา่ • ดินในแต่ละพื้นที่อาจมีลักษณะและสมบัติท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น เนื้อดิน ความชื้นในดิน ความเป็นกรด-เบส ของดิน ธาตุอาหารในดนิ • ลักษณะและสมบัติต่าง ๆ ของดินในแต่ละพื้นท่ีสามารถเช่ือมโยงไปถึงชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดินหรือปริมาณ องค์ประกอบของดินได้ เช่น สีดิน เน้ือดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน มีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบแร่ธาตุของ วัตถตุ น้ กำเนิดดนิ หรอื สดี นิ มีความสัมพันธ์กับปรมิ าณอินทรียวัตถุในดินและความชืน้ ในดิน • การทดี่ ินแต่ละชนิดมเี นื้อดินแตกต่างกัน เพราะเน้ือดินเป็นลักษณะทางกายภาพของดนิ ท่มี ีสดั ส่วนโดยนำ้ หนักของ ตะกอนทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ตะกอนท้ัง 3 ขนาดนี้เม่ือรวมตัวกันในสัดส่วนต่างกันจะเกิดเป็นดินชนิด ต่าง ๆ ซึ่งมีเนื้อดินแตกต่างกัน โดยขนาดตะกอนทรายจะมีขนาดใหญ่ท่ีสุด รองลงมาคือทรายแป้งและดินเหนียว ตามลำดับ เน้ือดินแต่ละพ้ืนท่ีมีลักษณะแตกต่างกันเน่ืองจากปัจจัยหลักที่สำคัญ คือ ชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดินที่ เป็นหินและแรต่ ่างชนดิ กนั สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

255 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ • ความชื้นในดินเป็นสัดส่วนระหว่างมวลของน้ำในดินกบั มวลของดินแห้ง โดยท่ัวไปสัดสว่ นนม้ี ีค่าระหว่าง 0.05-0.5 กรัม/กรัม ความช้ืนในดินเป็นความสามารถในการอุ้มน้ำของดิน ใช้อธิบายความสามารถของดินในการให้ธาตุ อาหารและน้ำแกพ่ ืช ซึ่งจะมีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช • ดินในแต่ละพ้ืนท่ีจะมีความเป็นกรด-เบส แตกต่างกัน เน่ืองด้วยปัจจัยหลักคือชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดินท่ี ประกอบดว้ ยแร่ท่ีแตกต่างกัน และขึ้นอย่กู ับปัจจยั ในการเกดิ ดินในพ้ืนท่ี นอกจากนั้นการเน่าเป่ือยของซากพชื และ ซากสตั ว์ในดนิ การใส่ปยุ๋ เคมใี นดนิ กจ็ ะมีผลตอ่ คา่ ความเปน็ กรด-เบส ของดนิ ได้ • ดินท่ีไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกมีอยู่หลายชนิด เช่น ดินจืด ดินเปรี้ยว ดินเค็ม และดินดาน ดินดังกล่าวนี้อาจ เกดิ ข้นึ ได้ทัง้ จากสภาพดนิ ตามธรรมชาติหรือจากการใชป้ ระโยชน์ของมนุษย์ • ดินเปรี้ยวเป็นดินท่ีมีความเป็นกรดมากเกินไป ทำให้ขาดแคลนธาตุที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ธาตุ ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ดินที่มีความเป็นกรดมากทำให้ธาตุเหล็กและอะลูมิเนียมละลายออกมาอยู่ในดินมาก จนถึงระดับทีเ่ ปน็ อันตรายตอ่ พืชท่ปี ลกู วิธีการปรับปรงุ ดินเปร้ียวมีหลายวิธี เช่น การใชน้ ้ำชะล้างความเป็นกรดใน ดิน หรือการขังน้ำไว้ในดินนาน ๆ แล้วระบายออก การใส่ปูนมาร์ล ปูนขาว หินปูนบด หรือหินปูนฝุ่นโดยผสมเข้า กับดินในอัตราส่วนทเี่ หมาะสม หรอื ใชน้ ้ำชะลา้ งความเป็นกรดในดนิ ควบค่ไู ปด้วย • ดินเค็มเป็นดินท่ีมีปริมาณเกลือที่ละลายได้ในน้ำมากจนเป็นอันตรายต่อพืช พืชจะเกิดการขาดน้ำและได้รับธาตุที่ เป็นส่วนประกอบของเกลือท่ีละลายออกมามากจนเกินไป ทำให้พืชมีผลผลติ ต่ำหรือไม่ได้ผลผลิต การปรับปรุงดิน เคม็ อาจใชก้ ารไถกลบพืชปยุ๋ สด ปุ๋ยอินทรีย์ หรอื ใสว่ ตั ถปุ รับปรุงดิน เช่น แกลบ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี