Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-23 16:54:56

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.2 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 256 คูม่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 7. ใหน้ ักเรียนทำโจทย์ชวนคดิ เกย่ี วกบั ดินจดื และดนิ ดาน เฉลยชวนคิด • ดินจืดและดินดานเป็นดินท่ีมีลักษณะและสมบัติอย่างไร และการปรับปรุงดินดังกล่าวน้ีทำได้อย่างไร ให้นกั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลและร่วมกนั อภิปรายลกั ษณะและสมบตั ิของดินดงั กลา่ ว แนวคำตอบ ดินจืดเป็นดินที่มีแร่ธาตุในดินน้อย ทำให้การเพาะปลูกไม่เจริญงอกงาม ต้องใส่ปุ๋ยหรือสารอาหาร บำรงุ ดนิ ดนิ ดาน เป็นชั้นดินทมี่ ลี ักษณะแน่นทึบและแขง็ เนอ้ื ดินมีชอ่ งว่างสำหรับนำ้ และอากาศนอ้ ยมาก เกดิ ขึ้นใตช้ ั้น ไถพรวน มีความลกึ อยู่ไม่เกนิ 50 เซนติเมตร สำหรับเกษตรกรตรวจสอบจากการสงั เกตโดยวิธกี ารงา่ ย ๆ เชน่ เวลาฝน ตกลงมาบนพ้ืนท่ีราบ น้ำจะแช่ท่วมขังอยู่นานเนื่องจากน้ำไม่สามารถซึมลงไปในดินช้นั ล่างได้ น้ำจะไหลบ่าบนผิวดิน ทำให้เกิดการชะลา้ งพังทลายบนผวิ ดิน พน้ื ท่ีปลูกพืชถ้ามดี ินดานจะเป็นปัญหากับการปลูกพืช คือ ในฤดูฝนเม่อื มีฝน ตกลงมาน้ำจะซึมลงไปในดินช้ันล่างไม่ได้ เน่ืองจากมีดินดานมากั้นไม่ให้น้ำไหลซึมลงไปเก็บกักในช้ันดินด้านล่างได้ ขณะเดียวกันในหนา้ แล้ง ดนิ ดานจะกั้นไมใ่ หค้ วามชืน้ ท่อี ยดู่ ้านล่างขึ้นมาถงึ รากพชื ทำใหพ้ ืชขาดนำ้ และตายได้ แนวทางการแก้ไขดินดานมีหลายวิธีการ เช่น การปลูกพืชทำลายช้ันดินดานซ่ึงมีพืชหลายชนิดที่ระบบราก แขง็ แรงสามารถเติบโตชอนไชผา่ นดินดานได้ การไถระเบดิ ดินดานดว้ ยการไถลักษณะพเิ ศษทส่ี ามารถเจาะทำใหช้ น้ั ดิน ดานแตกได้ การควบคุมความช้ืนในดินดานให้พอเหมาะจะช่วยให้รากพืชกระจายตัวได้ดีขึ้นในระดับหน่ึง การเพ่ิม อินทรียวัตถุ เชน่ การใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก รวมถึงการใช้วัสดคุ ลมุ ดนิ จะช่วยเพิ่มช่องว่างระหว่างเม็ดดินไดบ้ ้าง ชว่ ยลด ปัญหาการจบั ตวั เปน็ กอ้ นของเมด็ ดินเมอ่ื ดินแห้งได้ อ้างองิ ข้อมูลจาก: http://www.aepd02.doae.go.th/new/การไถระเบิดดินดาน.doc http://www.ldd.go.th/Web_Soil/compact.htm http://www.chaipat.or.th/publication/publish-document/tips/36-2015-04-03-10-16-17.html http://www.ldd.go.th/Web_Soil/compact.htm 8. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับเร่ือง ดิน ช้ันดินและช้ันหน้าตัดดิน จากการตอบคำถามก่อนเรียน ระหว่างเรยี น หรอื อาจตรวจสอบโดยใชก้ ลวิธีอื่น ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนนั้นให้ถูกต้อง เช่น ใช้คำถามและ อภปิ รายรว่ มกัน ใช้แผนภาพ วดี ทิ ัศน์ เอกสารอา่ นประกอบ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

257 หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คูม่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคิดทีถ่ กู ตอ้ ง ดนิ ทพี่ บไมม่ ีการเปลยี่ นแปลงลกั ษณะและ ดินบนโลกจะมกี ารเปล่ียนแปลงลกั ษณะและสมบัตไิ ปตามปจั จยั สมบัติใด ๆ และมีลกั ษณะเหมือนกันทกุ พ้นื ท่ี ในการเกิดดิน ไดแ้ ก่ วัตถตุ ้นกำเนิดดิน ภมู อิ ากาศ ภมู ิประเทศ (Philips, 1991; The Science Learning ระยะเวลาในการเกดิ ดิน และสิ่งมชี ีวิตในดนิ (Hamblin & Hub, 2018) Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) ดินมีสีนำ้ ตาล (The Science Learning Hub, 2018) ดนิ ในแตล่ ะที่อาจมสี แี ตกต่างกนั ไป เช่น สีดำ สนี ้ำตาลเข้ม สี แดง ขน้ึ อยู่กับปจั จัยในการเกิดดนิ เชน่ วัตถุตน้ กำเนิดดนิ ดนิ เปน็ ทรัพยากรหมนุ เวยี น มนษุ ย์สามารถ ภูมิอากาศ สิ่งมชี วี ติ ในดิน ความชื้นในดิน (Hamblin & สรา้ งขึน้ ได้ (The Science Learning Hub, Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2018) 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) ดนิ เป็นทรพั ยากรที่เกดิ ข้ึนตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่สามารถสร้าง ข้นึ ได้ และใช้ระยะเวลาในการเกดิ นาน เพราะต้องอาศยั กระบวนการผุพังอยกู่ ับที่ทัง้ ทางกายและทางเคมีในการทำให้หนิ ผพุ งั สลายตวั ให้เกดิ เปน็ วตั ถุต้นกำเนิดดนิ และอาศยั ตวั นำพา ตา่ ง ๆ ในกระบวนการเกิดดนิ (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) 9. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เร่ืองที่ 2 แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน โดยนำอภิปรายดังนี้ ผิวโลกท่ีเราอาศัยอยู่ นอกจากจะถูกปกคลุมด้วยดินที่มีลักษณะและสมบัติที่แตกต่างกันแล้ว ยังถูกปกคลุมด้วยแหล่งน้ำถึง 3 ใน 4 ส่วน ของผวิ โลกทัง้ หมด แหล่งน้ำบนผิวโลกพบอยใู่ นลักษณะใดบ้าง เราจะไปเรยี นรูก้ ันในเรือ่ งตอ่ ไป สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 258 ค่มู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เร่ืองที่ 2 แหล่งนำ้ ผวิ ดินและแหลง่ น้ำใตด้ ิน แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูดำเนนิ การดังนี้ 1. ครูให้นักเรียนศึกษาภาพนำเร่ือง ภาพ 7.39 แม่น้ำ เจ้าพระยา ในหนังสือเรียนหน้าท่ี 162 และให้ นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากภาพ โดยอาจถาม นักเรียนว่า แม่น้ำเจ้าพระยาเกิดจากการรวมของ แม่น้ำใดบ้าง แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านจังหวัด ใดบ้างของประเทศไทย แม่น้ำเจ้าพระยาไหลออก สู่ทะเลอ่าวไทยที่จังหวัดใด (นักเรียนตอบได้โดย อิสระตามความเข้าใจของตนเอง) จากน้ันให้ นักเรียนอ่านเน้ือหานำเร่ือง และร่วมกันอภิปราย เพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรุปวา่ • แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายหลักของ ประเทศไทย เกิดจากการรวมกันของแม่น้ำ 4 สายในภาคเหนือ ได้แก่ แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม และแม่น้ำน่าน และมีแม่น้ำอีก 2 สายไหลมาสมทบในภาคกลาง คือ แม่น้ำ สะแกกรงั และแม่นำ้ ป่าสัก • แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านจังหวัดต่าง ๆ ในภาคกลางรวมทั้งส้ิน 10 จังหวัด เร่ิมจากจังหวัดนครสวรรค์ ผ่านเข้า จังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และออกสู่ ทะเลอา่ วไทยท่จี งั หวดั สมุทรปราการ ที่ตำบลแหลมฟา้ ผ่า อำเภอพระสมทุ รเจดยี ์ • แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำผิวดินนอกจากจะพบในลักษณะของแม่น้ำแล้ว ยังพบในลักษณะอ่ืน ๆ เชน่ ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร ซึ่งแหลง่ นำ้ ผวิ ดนิ เหล่านีม้ ีลักษณะแตกตา่ งกนั 2. ให้นกั เรียนอ่านคำสำคัญ ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วรว่ มกันอภปิ รายเพ่ือให้ได้คำตอบท่ีถกู ต้อง ถ้าครู พบว่านักเรียนยังทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนและแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมีความรพู้ ้นื ฐานทถี่ ูกตอ้ งและเพียงพอที่จะเรยี นเร่ือง แหล่งนำ้ ผิวดนิ และแหลง่ นำ้ ใตด้ ินต่อไป สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

259 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรกู้ อ่ นเรยี น 1. จงเติมคำตอ่ ไปน้ลี งในแผนผังแนวคดิ ใหถ้ กู ต้อง น้ำผวิ ดนิ น้ำในดิน แมน่ ้ำ นำ้ ใต้ดิน มหาสมุทร แหลง่ น้ำบนโลก นำ้ ใต้ดนิ แบง่ เปน็ แบ่งเป็น น้ำผวิ ดิน เชน่ ทะเล มหาสมทุ ร แม่น้ำ น้ำในดิน น้ำบาดาล 2. ให้เรยี งลำดับปริมาณน้ำจืดบนโลก โดยเขียนหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 หน้าขอ้ ความชนดิ ของแหล่งน้ำ ตามปรมิ าณน้ำจดื จากมากไปหาน้อย ตามลำดับ  นำ้ ใต้ดนิ  ธารนำ้ แข็ง  ในบรรยากาศ  แม่น้ำ  ในสง่ิ มีชวี ติ 3. ถา้ เตมิ น้ำลงไปในสายยาง จนระดบั น้ำดา้ น A อยรู่ ะดบั ท่ขี ดี ไว้ ใหน้ ักเรยี นวาดระดบั นำ้ ดา้ น B ลงในภาพ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 260 คู่มือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเร่ือง แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน โดยให้ทำกิจกรรมรู้อะไรบ้างก่อนเรียน ให้นักเรียนตอบตามความเข้าใจของนักเรียน โดยครูจะไม่เฉลยคำตอบท่ีถูกต้อง แต่ครูควรรวบรวมแนวคิด คลาดเคลื่อนที่พบเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และแก้ไขแนวคิดเหล่าน้ันให้ถูกต้อง ซ่ึงเม่ือนักเรียน เรียนจบเรื่องน้แี ล้ว นักเรยี นจะมีความรู้ความเข้าใจครบถ้วนตามจุดประสงค์ของบทเรยี น ตวั อย่างแนวคิดคลาดเคลอ่ื นซ่ึงอาจพบในเรอ่ื งนี้ • แมน่ ำ้ จากทศิ เหนือจะไหลไปทางทศิ ใต้ (Ocean Motion, 2018; SERC, 2018;) • นำ้ บาดาลเป็นน้ำท่มี าจากภายในโลก (SERC, 2018) • น้ำบาดาลมลี ักษณะเปน็ แม่นำ้ ขนาดใหญ่ หรอื เปน็ ทะเลสาบขนาดใหญท่ ี่อยูใ่ ต้ดนิ (SERC, 2018) • ไมม่ ีส่วนใดของนำ้ บาดาลและนำ้ ผวิ ดินทีเ่ ชอื่ มต่อกนั (SERC, 2018) • น้ำบาดาลน้ันสะอาด ไม่มีสิ่งปนเป้ือน เพราะน้ำนั้นได้ถูกกรองด้วยระบบตามธรรมชาติ (Kastning & Kastning, 1999; SERC, 2018) 4. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 7.7 ปัจจัยใดท่ีทำให้แหล่งน้ำผิวดินมีลักษณะแตกต่างกัน โดยใช้คำถามว่า แหล่งน้ำผิวดินท่ี พบบนโลกมีลักษณะและรูปร่างที่ปรากฏแตกต่างกัน เช่น แม่น้ำ ทะเลสาบ ทะเล นักเรียนทราบหรือไม่ว่าปัจจัยใดท่ี ทำใหแ้ หลง่ นำ้ ผวิ ดินต่าง ๆ เหล่านี้มีลักษณะแตกต่างกนั เราจะไปเรยี นร้กู ันในกจิ กรรมตอ่ ไป สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

261 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กอจิ กรรมที่ 7.7 ปจั จัยใดท่ที ำให้แหลง่ นำ้ ผวิ ดนิ มีลักษณะแตกต่างกัน แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดำเนนิ การดงั นี้ http://ipst.me/9932 ก่อนการทำกิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถาม ดังต่อไปน้ี • กิจกรรมน้ีเก่ียวกับเร่ืองอะไร (กระบวนการเกิดแหล่งน้ำผิวดิน และปัจจัยที่ทำให้แหล่งน้ำผิวดินแต่ละแหล่งมี ลักษณะแตกตา่ งกนั ) • กิจกรรมนม้ี ีจดุ ประสงค์อยา่ งไร (อธบิ ายกระบวนการและปจั จัยการเกดิ แหลง่ นำ้ ผวิ ดินจากแบบจำลอง) • วิธีดำเนนิ กิจกรรมมขี ้นั ตอนโดยสรุปอยา่ งไร สถานการณท์ ่ี 1 (จำลองลักษณะภูมิประเทศภเู ขา โดยนำทรายมากองแยกกัน 2 กอง ให้ทั้ง 2 กองมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงเท่ากัน อภิปรายและตั้งสมมติฐานว่า ถ้าปล่อยน้ำให้ไหลอย่างต่อเนื่องลงไปที่ บริเวณก่ึงกลางของกองทรายท้ัง 2 กอง ด้วยปริมาณน้ำที่แตกต่างกัน กองทรายทั้ง 2 กองจะมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไร ทำกจิ กรรมเพือ่ ตรวจสอบสมมตฐิ านและบนั ทกึ ผล) สถานการณ์ที่ 2 (จำลองลักษณะภูมิประเทศภูเขา โดยนำกรวดและทรายมากองแยกกันชนิดละ 1 กอง ให้ท้ัง 2 กองมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงเท่ากัน อภิปรายและตั้งสมมตฐิ านว่า ถ้าปล่อยน้ำให้ไหลอย่าง ตอ่ เน่ืองลงไปที่บริเวณก่ึงกลางของกองกรวดและกองทราย ด้วยปริมาณน้ำที่เท่ากัน กองกรวดและกองทรายจะมี การเปลี่ยนแปลงอยา่ งไรบ้าง ทำกิจกรรมเพอ่ื ตรวจสอบสมมติฐานและบนั ทกึ ผล) ครคู วรบนั ทกึ ข้ันตอนการทำกิจกรรมโดยสรุปบนกระดาน • นกั เรียนตอ้ งสงั เกตหรอื รวบรวมอะไรบ้าง (สงั เกตและเปรียบเทียบการเปล่ยี นแปลงของกองทรายและกองกรวด) ระหว่างการทำกจิ กรรม (30 นาที) 2. นกั เรีนแต่ละกลุ่มทำกจิ กรรมตามวิธดี ำเนินกิจกรรม ขณะท่ีแตล่ ะกลุ่มทำกจิ กรรม ครคู วรเดินสังเกตการทำกจิ กรรมใน แตล่ ะกลมุ่ และใหค้ ำแนะนำถา้ นกั เรยี นมีขอ้ สงสัยในประเด็นตา่ ง ๆ เช่น • กรวดและทรายทีน่ ำมาทำกิจกรรมควรมขี นาดแตกต่างกนั ค่อนข้างชัดเจน • สามารถเลอื กสถานท่ีทำกจิ กรรมไดต้ ามความเหมาะสม เชน่ ทำกจิ กรรมบริเวณสนามหญ้า • ในการปล่อยน้ำไปท่ีกองกรวดและกองทราย ท้ัง 2 สถานการณ์ ควรควบคุมความแรงของกระแสน้ำที่ปล่อยให้ เทา่ กนั ทุกครั้ง 3. ครูควรรวบรวมปญั หาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทำกจิ กรรมของนักเรียนเพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการอภปิ รายหลัง การทำกิจกรรม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 262 คู่มอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ หลังการทำกิจกรรม (20 นาที) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คำถามทา้ ยกจิ กรรมเป็นแนวทาง เพ่ือให้ไดข้ อ้ สรปุ จากการทำกิจกรรมว่า สถานการณท์ ่ี 1 • การปลอ่ ยน้ำลงบนกองทราย นำ้ จะกดั เซาะกองทรายทำใหเ้ กดิ ร่องนำ้ • เม่ือปล่อยน้ำ 200 cm3 ลงบนกองทรายกองท่ี 1 น้ำจะกัดเซาะกองทรายได้น้อยกว่าและร่องน้ำที่เกิดข้ึนจะมี ขนาดเลก็ กวา่ การปลอ่ ยนำ้ 500 cm3 ลงบนกองทรายกองท่ี 2 สถานการณท์ ่ี 2 • การปลอ่ ยน้ำลงบนกองกรวดและกองทราย น้ำจะกัดเซาะกองกรวดและกองทรายทำให้เกิดร่องน้ำ • เม่ือปล่อยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองกรวด น้ำจะกัดเซาะกองกรวดไดน้ ้อยกว่าและร่องน้ำทเ่ี กิดข้ึนจะมีขนาดเล็ก กวา่ การปลอ่ ยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองทราย 5. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 165-167 สังเกตภาพ 7.41-7.45 ตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วใช้ คำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน เช่น • แหลง่ นำ้ ผวิ ดนิ เกดิ ขึ้นได้อย่างไร • ปจั จัยใดท่สี ่งผลให้แหล่งนำ้ ผวิ ดินแต่ละแหล่งมีลกั ษณะแตกต่างกัน 6. จากนัน้ ให้นกั เรยี นร่วมกนั อภิปราย เพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปวา่ • ในธรรมชาติฝนท่ีตกลงมาท่ีผิวโลกจะไหลไปตามภูมิประเทศจากท่ีสูงลงสู่ท่ีต่ำด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก ขณะที่น้ำ ไหลไปตามผิวโลก กระแสน้ำจะกัดเซาะผิวโลกให้กลายเป็นร่องน้ำเล็ก ๆ และน้ำจะไหลไปรวมกันในพื้นท่ีท่ีมี ลกั ษณะเปน็ แอ่งหรือมโี ครงสรา้ งที่สามารถกักเกบ็ น้ำไว้ได้ ซง่ึ ถือเป็นต้นกำเนิดของการเกิดแหล่งน้ำผวิ ดิน • แหล่งน้ำผวิ ดินแต่ละแหล่งมีขนาดและรูปรา่ งแตกต่างกัน ข้ึนอยูก่ ับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปริมาณน้ำในแตล่ ะฤดูกาล ชนิดของดิน หิน แร่ หรือตะกอนซ่ึงมีความทนทานต่อการกัดเซาะของน้ำไม่เท่ากัน ปริมาณฝนท่ีตกในพื้นท่ี ระยะเวลาในการกดั เซาะของน้ำในพ้ืนท่ี ภูมปิ ระเทศ และโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหนิ ในพื้นท่ี เฉลยคำถามระหวา่ งเรยี น • จากภาพ 7.43 และ 7.44 ลกั ษณะของแหล่งน้ำดงั กล่าวเกิดขึ้นในบริเวณภูมิประเทศที่มลี ักษณะเปน็ อยา่ งไร แนวคำตอบ แหลง่ นำ้ ดงั ภาพ 7.43 และ 7.44 เกดิ ขึน้ บรเิ วณภมู ปิ ระเทศทมี่ คี วามลาดชนั มาก 7. เชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 7.8 แหล่งน้ำใต้ดินเกิดข้ึนได้อย่างไร โดยใช้คำถามว่า แหล่งน้ำใต้ดินเป็นน้ำจืดท่ีอยู่ใน สถานะของเหลวท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดบนโลก แหล่งน้ำใต้ดินมีกระบวนการเกิดอย่างไร และสามารถกักเก็บน้ำไว้ใต้ ดนิ ได้อย่างไร เราจะไปเรียนรู้กันในกิจกรรมตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

263 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.8 แหล่งน้ำใต้ดินเกดิ ขึ้นได้อย่างไร http://ipst.me/9922 แนวการจดั การเรียนรู้ ครดู ำเนนิ การดงั นี้ กอ่ นการทำกิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถาม ดงั ต่อไปนี้ • กจิ กรรมนี้เก่ียวกับเร่อื งอะไร (กระบวนการเกดิ แหล่งนำ้ ใต้ดิน) • กิจกรรมน้มี จี ดุ ประสงค์อย่างไร (อธิบายกระบวนการเกิดแหลง่ นำ้ ใตด้ นิ จากแบบจำลอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (จำลองกระบวนการเกิดแหล่งน้ำใต้ดิน จากนั้นให้อภิปรายและ ตรวจสอบสมมติฐาน สังเกตการไหลซึมของน้ำในกล่องตั้งแต่เริ่มรดน้ำลงไปที่แบบจำลอง จนกระทั่งมีน้ำไหล ออกมาจากหลอด และบนั ทกึ ผล) ครูควรบนั ทกึ ขัน้ ตอนการทำกิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สังเกตการไหลซึมของน้ำลงในแบบจำลอง ตั้งแต่เริ่มรดน้ำจนกระท่ังมี น้ำไหลออกมาจากหลอด) ระหวา่ งการทำกจิ กรรม (30 นาที) 2. ให้นกั เรนี แต่ละกลมุ่ ทำกจิ กรรมตามวิธีดำเนนิ กจิ กรรม ขณะที่แตล่ ะกล่มุ ทำกิจกรรม ครคู วรเดินสังเกตการทำกจิ กรรม ในแตล่ ะกลุม่ และใหค้ ำแนะนำถา้ นักเรียนมีขอ้ สงสัยในประเด็นต่าง ๆ เชน่ • แนะนำนกั เรยี นใหใ้ ช้บัวรดนำ้ ขนาดเลก็ เพ่อื ปอ้ งกันน้ำกระฉอกออกมานอกแบบจำลอง • เพื่อไม่ให้ดินเหนียวอุดเข้าไปในหลอดพลาสติก ให้ย้ำนักเรียนว่า ก่อนท่ีจะสร้างช้ันทรายหยาบในชั้นบนสุด ตรงบริเวณเนินดินด้านต่ำให้ใช้ดินสอเจาะลงไปท่ีช้ันตะกอนตามแนวดิ่งให้ทะลุไปถึงบริเวณกึ่งกลางของชั้นกรวด จากน้ันดึงดินสอออกแล้วค่อยนำหลอดพลาสติกเสียบลงไปในรูที่เจาะไว้ และอุดรอยต่อระหว่างดินเหนียวและ หลอดใหแ้ น่น • ย้ำใหน้ ักเรยี นให้ตัดปลายหลอดด้านบนให้มีระดบั ตำ่ กวา่ ระดบั บนสุดของเนนิ ดนิ ดา้ นสูง • ยำ้ ให้นักเรยี นสังเกตการไหลซึมของน้ำในกลอ่ ง ตรงภายในชั้นตะกอนแต่ละชั้น ตั้งแต่เริ่มรดน้ำจนกระท่ังมีน้ำไหล ออกมาจากหลอด 3. ครคู วรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทำกจิ กรรมของนักเรียนเพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลประกอบการอภิปรายหลัง การทำกิจกรรม สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 264 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ หลงั การทำกิจกรรม (20 นาที) 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ นำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และร่วมกนั สรปุ ผลของกจิ กรรมโดยใชค้ ำถาม ท้ายกจิ กรรมเปน็ แนวทาง เพื่อใหไ้ ด้ข้อสรุปจากการทำกิจกรรมวา่ • เมื่อรดน้ำลงไปที่กล่องพลาสติก น้ำจะไหลไปสะสมตัวอยู่ในช้ันกรวดและช้ันทรายซึ่งจะมีช่องว่างระหว่างตะกอน และชอ่ งวา่ งเหลา่ นมี้ คี วามตอ่ เนอื่ งกันทำให้นำ้ สามารถไหลเข้าไปกักเก็บและไหลซึมผ่านได้ • ส่วนชั้นตะกอนที่รองรับชั้นกรวดและช้ันทรายไว้เป็นชั้นดินเหนียวซ่ึงตะกอนมีขนาดเล็กละเอียด มีความพรุนต่ำ ทำให้น้ำไหลซึมผา่ นได้ยาก • เมือ่ ระดับน้ำทอ่ี ยใู่ นชน้ั กรวดมีระดบั สูงกว่าระดับปลายด้านบนของหลอดเมื่อใด น้ำจะไหลลน้ ออกจากหลอดเนื่อง ดว้ ยแรงดนั ของนำ้ 5. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียนหน้าท่ี 169-172 สังเกตภาพ 7.47-7.51 ตอบคำถามระหว่างเรียน แล้วใช้ คำถามเพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจในการอา่ น เช่น • นำ้ ในดินและนำ้ บาดาล แตกต่างกนั อยา่ งไร • ระดับน้ำใตด้ นิ คืออะไร • ช้ันหินอมุ้ นำ้ คืออะไร • ยกตวั อย่างชน้ั หินอ้มุ น้ำในธรรมชาติ • ยกตวั อย่างชนั้ หินท่ีทำหน้าท่ีเสมือนเป็นขอบเขตบนหรือขอบเขตลา่ งของช้ันหินอุ้มน้ำ • เพราะเหตใุ ดบางครงั้ เมื่อมกี ารเจาะบ่อน้ำบาดาลลงไปในชนั้ หนิ อุ้มนำ้ จึงมนี ำ้ พุพน้ ออกมาที่ปากบอ่ • ในธรรมชาติระดบั นำ้ ใต้ดนิ จะมีการเปลี่ยนแปลงระดับได้หรือไม่ อย่างไร • ระดบั นำ้ ใต้ดนิ จะไปบรรจบทใี่ ดบ้าง • ปจั จบุ นั มกี ารใชป้ ระโยชน์จากนำ้ บาดาลในด้านใดบา้ ง 6. จากนนั้ ให้นกั เรียนร่วมกนั อภิปราย เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปว่า • น้ำในดินและน้ำบาดาลเป็นน้ำท่ีเกิดจากการไหลซึมของน้ำผิวดินลงไปสะสมตัวอยู่ใต้ผิวโลก การไหลซึมของน้ำลง ไปใต้ผวิ โลกสว่ นแรกจะไหลซึมอยู่ตามชอ่ งว่างระหวา่ งเมด็ ดินร่วมกับอากาศ เรียกวา่ น้ำในดนิ ส่วนน้ำบาดาลเป็น น้ำท่ีเกิดจากการไหลซึมของน้ำผิวดินลงไปสะสมตัวอยู่ใต้ผิวโลกในลักษณะเช่นเดียวกับน้ำในดิน แต่น้ำบาดาลจะ เกิดจากน้ำผิวดินท่ีไหลซึมลึกลงไปมากกว่าน้ำในดิน โดยจะลงไปสะสมตัวอยู่ในหิน ชั้นหิน หรือชั้นตะกอนจน อิ่มตวั ไปดว้ ยนำ้ หรือมีน้ำบรรจอุ ยเู่ ต็มชอ่ งว่าง • ระดบั นำ้ ใต้ดิน คอื ระดบั บนสดุ ของน้ำบาดาล • ชน้ั หินอุ้มน้ำ เป็นช้ันหินหรือช้ันตะกอนท่ีสามารถกกั เก็บนำ้ บาดาลไว้ ชั้นหินอ้มุ น้ำจะมชี ั้นหนิ ที่มีเนื้อละเอียดแน่น รองรบั ไว้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

265 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ • ตวั อยา่ งช้นั หินอุม้ นำ้ ในธรรมชาติ เชน่ ชน้ั หนิ ทราย ชนั้ ตะกอนทราย ชั้นกรวด • ตวั อยา่ งช้ันหินที่ทำหน้าทีเ่ สมือนเปน็ ขอบเขตบนหรอื ขอบเขตลา่ งของชั้นหนิ อมุ้ นำ้ เช่น ชน้ั หินดนิ ดาน • บางคร้ังเม่ือมีการเจาะบอ่ น้ำบาดาลลงไปในชั้นหนิ อุ้มน้ำ จะมีน้ำพพุ ้นออกมาท่ปี ากบอ่ เน่อื งจากสมบัตขิ องนำ้ ทจ่ี ะ รกั ษาระดับแรงดันนำ้ กล่าวคือจากลักษณะการวางตัวของชั้นหนิ อุ้มน้ำ อาจทำใหเ้ กิดแรงดันน้ำในช้นั หนิ อุ้มน้ำขึ้น ได้ ดังนั้นถ้ามีการเจาะบ่อน้ำบาดาลลงไปในชั้นหินอุ้มน้ำท่ีมีแรงดันน้ำ น้ำในบ่อจะพุ่งข้ึนถึงระดับแรงดันน้ำ ซึ่ง ระดับน้ำอาจจะอยู่ภายในบ่อหรือไหลล้นออกมาจากบ่อก็ได้ ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะการวางตัวของช้ันหินอุ้มน้ำใน แตล่ ะพื้นท่แี ละขึน้ อยกู่ ับแรงดนั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชน้ั หนิ อุ้มน้ำน้ัน • ในธรรมชาติระดับน้ำใตด้ ินในบริเวณหน่ึง ๆ อาจมีการเปล่ียนแปลงระดับไปตามฤดูต่าง ๆ เช่น ในฤดูฝนระดับน้ำ ใตด้ นิ จะมีระดบั สงู แต่ในฤดูแลง้ ระดับนำ้ ใต้ดินจะลดระดับลง • ระดับน้ำใต้ดินจะวางตัวสอดคล้องไปตามแนวช้ันหินหรือตามลักษณะภูมิประเทศและจะไปบรรจบกับระดับน้ำใน แม่น้ำหรือทะเลสาบ และสุดทา้ ยจะไปบรรจบกับระดับนำ้ ในทะเลและมหาสมุทร • ปัจจุบันมีการนำน้ำบาดาลมาใช้ประโยชน์ท้ังในการดำรงชีวิต การอุปโภคและบริโภค ในการทำเกษตรกรรม และ ในภาคอุตสาหกรรม เฉลยคำถามระหวา่ งเรียน • ชน้ั หนิ อ้มุ น้ำและชั้นหนิ ท่รี องรบั ช้ันหินอุ้มนำ้ ไว้ มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร แนวคำตอบ ชนั้ หนิ อมุ้ น้ำและช้ันหินที่รองรบั ช้นั หินอุ้มนำ้ ไว้จะมชี อ่ งว่างระหว่างเม็ดตะกอนตา่ งกัน - ช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนของชั้นหินอุ้มน้ำ จะมีช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนกว้างและมีช่องว่างอยู่ ต่อเนอ่ื งกัน จนนำ้ สามารถไหลซมึ ผ่านได้สะดวก - ช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนของชั้นหินที่รองรับช้ันหินอุ้มน้ำจะมีช่องว่างระหว่างตะกอนเล็กมากเพราะ ตะกอนมีเน้อื ละเอียดแน่น หรือมลี ักษณะเป็นหนิ ที่ไมม่ ีชอ่ งว่างระหวา่ งตะกอน 7. เพ่ือใหน้ ักเรียนเขา้ ใจว่าหนิ สามารถกักเกบ็ นำ้ ไว้ได้อย่างไร ให้นักเรียนทำกจิ กรรมลองทำดูในหนงั สือเรยี นหนา้ ที่ 171 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 266 คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยกจิ กรรมลองทำดู เมื่อใช้หลอดหยดสารหยดน้ำไปที่หินทรายและหินดินดานก้อนละ 1 หยด น้ำจะไหลซึมเข้าไปในหินทราย แต่จะ ไมไ่ หลซึมเข้าไปทีห่ นิ ดินดาน หรือไหลซมึ เข้าไปไดน้ ้อยมากจนไม่สามารถสังเกตเห็นการเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ข้นึ ได้ ลักษณะของหินทรายเป็นหินที่มีรูพรุนหรือมีช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนกว้าง และรูพรุนหรือช่องว่างดังกล่าว อยู่เช่ือมต่อกัน จึงสามารถให้น้ำไหลเข้าไปกักเก็บและไหลซึมผ่านได้ ลักษณะของหินดังกล่าวน้ีเป็นลักษณะสำคัญของ ชนั้ หินอมุ้ น้ำตามธรรมชาติ ลักษณะของหินดินดานเป็นหินท่ีมีเน้ือละเอียด มีสมบัติไม่ยอมให้น้ำไหลซึมผ่านหรือไหลซึมผ่านได้แต่น้อยมาก เนอื่ งจากมีชอ่ งวา่ งระหวา่ งตะกอนเล็กมาก ลักษณะของหินดังกลา่ วน้ีเป็นลักษณะสำคัญของชัน้ หินที่รองรับชน้ั หินอมุ้ น้ำ 8. ประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน โดยใช้โจทย์ชวนคิดเกี่ยวกับผลกระทบต่อคุณภาพน้ำบาดาลเมื่อมีการทิ้งสารเคมี หรอื ของเสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรมลงส่ชู ้นั ดินโดยตรง เฉลยชวนคดิ • จากภาพ การทิ้งสารเคมีหรือของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่ผิวดินโดยตรง จะส่งผลกระทบต่อ คุณภาพของน้ำบาดาลหรือไม่ เพราะเหตุใด และการสบู นำ้ บาดาลดังกล่าวขึ้นมาใช้จะไดร้ ับผลกระทบจาก คุณภาพนำ้ ดงั กล่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด ภาพภาคตัดขวางแสดงตำแหน่งเขตอุตสาหกรรม แสดงชั้นหนิ อมุ้ น้ำ ระดับน้ำใต้ดนิ และตำแหนง่ บ่อนำ้ บาดาล แนวคำตอบ การท้งิ สารเคมีหรอื ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่ผิวดินโดยตรงจะสง่ ผลกระทบตอ่ คุณภาพ ของน้ำบาดาล กล่าวคือ สารเคมีหรือของเสียจะไหลซึมลึกลงไปใต้ดิน ไปปนเปื้อนกับน้ำในดินและน้ำบาดาล ส่งผลทำให้คุณภาพของน้ำบาดาลปนเปื้อนสารเคมีหรือของเสียได้ และการสูบน้ำบาดาลดังกล่าวข้ึนมาใช้จะ ไดร้ บั สารเคมหี รือของเสียเหล่าน้ันไปด้วย 9. เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจเรื่อง การกักเก็บน้ำบาดาลในช้ันหินอุ้มน้ำมากข้ึน ให้นักเรียนทำกิจกรรมเสริม เร่ือง ลักษณะ ของตะกอนมีผลต่อการกักเก็บน้ำบาดาลอยา่ งไร ในหนงั สือเรยี นหนา้ ท่ี 173 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

267 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมเสริม ลกั ษณะของตะกอนมีผลต่อการกกั เก็บนำ้ บาดาลอยา่ งไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำเนนิ การดังน้ี ก่อนการทำกิจกรรม (10 นาที) http://ipst.me/9923 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คำถาม ดังต่อไปนี้ • กจิ กรรมนีเ้ กีย่ วกบั เรอ่ื งอะไร (ลักษณะของตะกอนท่ีมีผลต่อการกกั เกบ็ นำ้ บาดาล) • กิจกรรมนี้มจี ุดประสงค์อย่างไร (ทดลองและอธบิ ายลักษณะของตะกอนท่ีมผี ลตอ่ การกักเกบ็ น้ำบาดาล) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (เตรียมภาชนะปากกว้างจำนวน 2 ใบที่มีลักษณะเหมือนกันและมี ปริมาตรเท่ากัน ใบท่ี 1 ใส่กรวดขนาดใหญ่ให้เต็มภาชนะ ใบท่ี 2 ใส่กรวดขนาดใหญ่และกรวดขนาดเล็กปนกันให้ เต็มภาชนะ อภิปรายและต้ังสมมติฐานว่า ถา้ เติมน้ำลงไปให้เต็มภาชนะทั้ง 2 ใบ ภาชนะใดสามารถกกั เก็บนำ้ ไว้ได้ มากที่สดุ ทำกจิ กรรมเพ่อื ตรวจสอบสมมติฐาน) ครูควรบันทึกขน้ั ตอนการทำกิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สังเกตลักษณะของกรวดจำนวน 2 ลักษณะ หาปริมาณน้ำที่ไหลเข้าไป กักเกบ็ อยู่ในกรวดท้ัง 2 ลกั ษณะ วา่ ปริมาณนำ้ ท่ีไหลเข้าไปกกั เก็บมีความแตกต่างกนั หรือไม่) ระหวา่ งการทำกจิ กรรม (30 นาที) 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตามวิธีดำเนินกิจกรรม ขณะที่แต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทำ กจิ กรรมในแต่ละกล่มุ และใหค้ ำแนะนำถา้ นักเรียนมขี ้อสงสยั ในประเด็นต่าง ๆ เชน่ • ภาชนะปากกว้างทใ่ี ช้ในการทำกจิ กรรม ควรมีลักษณะใส เพื่อให้สามารถสังเกตเห็นการจัดเรยี งตัวของตะกอนและ ช่องว่างระหว่างตะกอนได้ รวมถึงให้สามารถสังเกตเห็นการกักเก็บของน้ำในบริเวณช่องว่างระหว่างตะกอนได้ ชดั เจน • แนะนำให้นักเรียนบันทึกปริมาณน้ำท่ีเติมลงไปในแต่ละครั้ง เพ่ือนำมาคำนวณหาปริมาณน้ำรวมท่ีสามารถกักเก็บ ไวใ้ นช่องวา่ งระหวา่ งตะกอน 3. ครคู วรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทำกิจกรรมของนกั เรียนเพ่ือใช้เป็นขอ้ มลู ประกอบการอภิปรายหลัง การทำกิจกรรม หลงั การทำกิจกรรม (20 นาที) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คำถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพ่ือให้ได้ข้อสรปุ จากการทำกิจกรรมว่า ภาชนะทบ่ี รรจุเพียงกรวดขนาดใหญ่เพียง อยา่ งเดยี ว สามารถกักเกบ็ นำ้ ได้มากกว่าภาชนะที่บรรจกุ รวดขนาดใหญ่และกรวดขนาดเล็กปนกัน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 268 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 5. ใหน้ กั เรียนอา่ นเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 174 แล้วครูใชค้ ำถามเพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจในการอา่ น เช่น ลักษณะ ของตะกอนในชั้นหินอุม้ น้ำท่สี ามารถกักเก็บน้ำบาดาลไว้ได้มาก ควรมลี ักษณะเช่นใด 6. จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ลักษณะของตะกอนในช้ันหินอุ้มน้ำที่สามารถกักเก็บน้ำ บาดาลไว้ได้มากควรเป็นตะกอนที่มีขนาดใกล้เคียงกัน เช่น ลักษณะตะกอนของหินทราย ซ่ึงตะกอนจะมีขนาด ใกล้เคียงกัน ตะกอนลักษณะน้ีสามารถกักเก็บน้ำไว้ได้มากกว่าตะกอนที่มีขนาดคละกันหรือตะกอนที่มีลักษณะเป็น เหล่ียมเปน็ มุม เพราะช่องว่างทเี่ กดิ ขนึ้ ระหว่างตะกอนที่มีขนาดใกล้เคียงกันจะมีขนาดใหญ่และมีปริมาตรของช่องว่าง มากกว่า 7. ใหน้ ักเรียนทำโจทย์ชวนคดิ เก่ยี วกบั ลักษณะของตะกอนของชั้นหนิ อุ้มนำ้ ที่สามารถกักเกบ็ นำ้ ไวไ้ ด้ในปริมาณมาก เฉลยคำถามชวนคิด • จากภาพลักษณะตะกอนของชั้นหินอุ้มน้ำลักษณะใด สามารถกักเก็บน้ำบาดาลไว้ได้ปริมาณมากท่ีสุด เพราะเหตุใด ก. ตะกอนทม่ี ขี นาดใกลเ้ คียงกนั ข. ตะกอนทม่ี ขี นาดคละกนั ค. ตะกอนทม่ี ลี ักษณะเป็นเหลี่ยมเป็นมมุ ภาพลักษณะตะกอนของช้ันหินอุม้ นำ้ แนวคำตอบ ลักษณะตะกอนของชั้นหินอุ้มน้ำในภาพ ก. สามารถกักเก็บน้ำบาดาลไว้ได้ปริมาณมากท่ีสุด เพราะช่องว่างที่เกิดข้ึนระหว่างตะกอนท่ีมีขนาดใกล้เคียงกันจะมีความกว้างและมีพ้ืนที่ของช่องว่างมากกว่า ตะกอนทม่ี ีขนาดคละกันหรอื เปน็ เหลี่ยมเป็นมุม 8. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาและศึกษาภาพในหนังสือเรียนหน้าท่ี 175-177 เก่ียวกับการใช้น้ำของมนุษย์ท่ีส่งผลต่อลักษณะ และคณุ ภาพของแหลง่ น้ำ และแนวทางการอนุรกั ษแ์ หล่งนำ้ แลว้ ครใู ช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจในการอ่าน เช่น ความต้องการใช้น้ำท่ีมีปริมาณเพิ่มขึ้นจะส่งผลกระทบอย่างไรได้บ้าง หรือให้นักเรียนยกตัวอย่างแนวทางการอนุรักษ์ แหลง่ นำ้ 9. จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภปิ ราย เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ • ปัจจบุ นั การกระทำของมนุษย์หลายอย่างมีผลทำให้แหล่งน้ำมีการเปลีย่ นแปลงทั้งขนาด รปู รา่ ง และคุณภาพของน้ำ • ความต้องการใช้น้ำท่ีมีปริมาณเพ่ิมข้ึน ทำให้แหล่งน้ำผิวดินมีไม่เพียงพอ จึงมีการนำน้ำบาดาลมาใช้มากขึ้น และ เนื่องจากการใช้ประโยชน์ที่ไม่เหมาะสมทำให้คุณภาพของแหล่งน้ำบางแห่งอาจมีการปนเป้ือนของเสีย น้ำเสีย และสิง่ ปฏิกูลต่าง ๆ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

269 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ • ปัญหาเก่ียวกับการใช้น้ำยังพบอีกหลายด้าน เช่น บางพ้ืนท่ีมีปญั หาภัยแล้ง บางพื้นที่ขาดแหล่งน้ำสำรองเนอื่ งด้วย ภมู ปิ ระเทศท่ีไมเ่ หมาะสมที่จะพฒั นาเปน็ แหล่งกักเก็บน้ำขนาดใหญ่ ปัญหาแหล่งต้นน้ำถกู ทำลาย ปัญหาการรุกล้ำ ของนำ้ เค็ม ดังนั้นจงึ ต้องมีการพฒั นาแหลง่ น้ำและมวี ธิ ีการจัดการน้ำทเ่ี หมาะสม • แนวทางการจัดการทรัพยากรน้ำมีหลายแนวทาง เช่น แนวทางการจดั การทรัพยากรน้ำชุมชนในพ้ืนท่ีน้ำแล้งและ น้ำทว่ ม หรือในพน้ื ทน่ี ำ้ กร่อย • การอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ และการปลูกป่าทดแทน เป็นแนวทางหน่ึงที่จะช่วยเพ่ิมปริมาณน้ำในแหล่งน้ำ เพราะ ปา่ ไมค้ ือตน้ น้ำ ป่าไม้ที่ถูกทำลายลงอย่างรวดเร็วจะก่อให้เกิดภาวะภยั แล้ง 10. ประเมนิ การเรยี นรรู้ ะหว่างเรยี น โดยใช้โจทย์ชวนคดิ เกย่ี วกับ การกระทำของมนุษย์ทสี่ ่งผลทำให้แหล่งน้ำเนา่ เสีย เฉลยคำถามชวนคิด • การกระทำใดบา้ งของมนุษย์ที่อาจสง่ ผลทำใหแ้ หล่งนำ้ เนา่ เสียได้ แนวคำตอบ การกระทำของมนุษย์ท่ีอาจสง่ ผลทำให้แหลง่ น้ำเน่าเสยี เช่น การทิ้งของเสีย น้ำเสียและสิ่งปฏิกูล ต่าง ๆ ลงในแหลง่ น้ำ 11. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเก่ียวกับเรื่อง แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน จากการตอบคำถามก่อน เรียน ระหว่างเรียน หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอื่น ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนน้ันให้ถูกต้อง เช่น ใชค้ ำถามและอภิปรายร่วมกนั ใชแ้ ผนภาพ วีดทิ ศั น์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคดิ ท่ีถูกตอ้ ง แม่นำ้ จากทิศเหนือจะไหลไปทางทิศใต้ (Ocean Motion, 2018; SERC, 2018;) นำ้ ในแหล่งนำ้ ต่าง ๆ บนโลกจะไหลไปตามภูมิประเทศและ โครงสรา้ งทางธรณีวิทยาของหนิ ในพืน้ ที่ (Hamblin & น้ำบาดาลเปน็ นำ้ ทม่ี าจากภายในโลก (SERC, Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; 2018) Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) น้ำบาดาลมลี กั ษณะเปน็ แมน่ ้ำขนาดใหญ่ น้ำบาดาลเป็นนำ้ ที่ไหลซึมลงมาจากน้ำผวิ ดิน (Hamblin & หรือเปน็ ทะเลสาบขนาดใหญ่ที่อย่ใู ต้ดนิ Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; (SERC, 2018) Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) นำ้ บาดาลเป็นน้ำทแ่ี ทรกหรือกักเก็บอยู่ตามชอ่ งวา่ งระหวา่ ง ตะกอนท่ีอยูต่ ่อเน่อื งกันของหิน ช้นั หิน หรือชั้นตะกอนท่ีอยู่ใตด้ ิน จนช่องว่างเหลา่ นั้นอมิ่ ตวั ไปด้วยนำ้ (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง 270 คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง ไมม่ สี ่วนใดของนำ้ บาดาลและนำ้ ผิวดนิ ท่ี เชอ่ื มตอ่ กนั (SERC, 2018) บรเิ วณบนสดุ ของน้ำบาดาลเรียกวา่ ระดบั นำ้ ใต้ดิน ซ่ึงระดับนำ้ ใต้ ดินจะวางตัวสอดคล้องไปตามแนวชัน้ หนิ ใตด้ นิ หรือตามภูมิ น้ำบาดาลนน้ั สะอาด ไม่มีสิ่งปนเปอ้ื น เพราะ ประเทศ และจะไปบรรจบกับระดบั นำ้ ในแมน่ ้ำ ทะเลสาบ ทะเล นำ้ นน้ั ได้ถูกกรองด้วยระบบตามธรรมชาติ หรอื มหาสมทุ ร (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, (Kastning & Kastning, 1999; SERC, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; 2018) Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) การท้ิงสารเคมหี รือของเสยี จากบรเิ วณผวิ โลก อาจทำใหส้ าร ตา่ ง ๆ ไหลปนเป้ือนกับนำ้ ผวิ ดนิ เม่ือนำ้ ผวิ ดินทปี่ นเป้ือนสาร ตา่ ง ๆ ไหลซมึ ลงส่ใู ตด้ ิน จะทำให้น้ำใต้ดนิ ได้แก่ น้ำในดนิ และนำ้ บาดาลปนเป้ือนไปดว้ ย ซ่ึงสารทปี่ นเป้ือนมาอาจมขี นาดเล็กมาก หรอื เป็นสารละลายทป่ี นอยกู่ ับนำ้ บาดาล ทำให้การกรองด้วย ระบบตามธรรมชาติของกรวดหรอื ตะกอนใตด้ ิน ไม่สามารถทำให้ น้ำบาดาลสะอาดได้ (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) 12. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับดินและน้ำ จากน้ันทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จาก บทเรยี น ดว้ ยการเขยี นบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผงั มโนทศั นส์ ิง่ ทไี่ ด้เรยี นรจู้ ากบทเรียนเรือ่ ง ดนิ และนำ้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

271 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คู่มือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่างผงั มโนทศั น์ที่ได้จากบทเรียน เรอ่ื ง ดินและนำ้ - - - - - - - - - - - - - 13. สมุ่ นักเรียนนำเสนอผังมโนทศั น์ โดยอาจออกแบบให้นักเรียนนำเสนอเป็นกลุ่มย่อย จากนั้นให้อภิปรายร่วมกันในช้ัน เรยี นหรอื จดั แสดงผลงาน จากน้นั ให้รว่ มกันลงขอ้ สรุปทีไ่ ด้จากบทเรยี นน้ี 14. ใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรมท้ายบทเรอื่ ง ใช้น้ำอย่างไรใหม้ นี ้ำใช้อยา่ งยง่ั ยืน และตอบคำถามท้ายกิจกรรม 15. ให้นักเรยี นตอบคำถามสำคัญของบทและอภปิ รายรว่ มกัน โดยนกั เรยี นควรตอบคำถามสำคัญดังกล่าวไดด้ ังตัวอยา่ ง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 272 คู่มือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามสำคัญของบท • ดนิ เกิดขน้ึ ได้อย่างไร แนวคำตอบ ดนิ เกิดจากหินทผี่ ุพังตามธรรมชาติ ผสมคลุกเคล้ากับอินทรียวตั ถุที่ได้จากการสลายตัวของซากพืช และซากสัตว์ • ดนิ ในแต่ละทอ้ งถิน่ มลี ักษณะและสมบัติเหมอื นกันหรือไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ดินในแต่ละท้องถ่ินอาจมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น วัตถุ ต้นกำเนดิ ดนิ สภาพอากาศ ส่ิงมีชวี ิตในดนิ ภูมิประเทศ และระยะเวลาในการเกิดดนิ • แหลง่ นำ้ ผวิ ดินและแหล่งน้ำใต้ดนิ เกิดขน้ึ ไดอ้ ย่างไร และการเกิดแหลง่ น้ำดังกลา่ วมคี วามสัมพันธ์กนั หรือไม่ แนวคำตอบ แหล่งน้ำผิวดินเกิดขึ้นจากฝนที่ตกลงมาท่ีผิวโลกจะไหลไปตามภูมิประเทศจากท่ีสูงลงสู่ท่ีต่ำด้วย แรงโน้มถ่วงของโลก ขณะที่น้ำไหลไปตามผิวโลก กระแสน้ำจะกัดเซาะผิวโลกให้กลายเป็นร่องน้ำเล็ก ๆ จนมี ขนาดใหญข่ น้ึ เป็นธารน้ำหรือแม่นำ้ และน้ำจะไหลไปรวมกันในพื้นท่ที ี่มลี ักษณะเปน็ แอ่ง หรือลกั ษณะท่ีสามารถ กกั เก็บนำ้ ไว้ได้ เช่น บงึ หนอง คลอง ทะเล มหาสมทุ ร น้ำผิวดินจะค่อย ๆ ไหลซึมลงสู่ใต้ดิน น้ำท่ีไหลซึมลงสู่ใต้ดินส่วนแรกจะไหลซึมอยู่ตามช่องว่าง ระหว่างเม็ดดินร่วมกับอากาศ เรยี กว่า น้ำในดนิ น้ำส่วนท่ีเหลือจากที่ดินดูดซบั ไวจ้ ะไหลซึมในระดับลึกลงต่อไป อกี สุดท้ายจะไปถูกกักเก็บไว้อยู่ตามช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนท่ีอยตู่ ่อเนื่องกันของหิน ช้ันหิน หรือชั้นตะกอน จนกระทั่งแหล่งกักเก็บน้ำดังกล่าวอ่ิมตัวด้วยน้ำหรือมีน้ำบรรจุอยู่เต็มช่องว่างน้ัน ๆ น้ำที่ถูกกักเก็บไว้น้ี คือ นำ้ บาดาล น้ำบาดาลจะวางตัวสอดคล้องไปตามแนวชั้นหินอุ้มน้ำหรือตามภูมิประเทศ และจะไปบรรจบกับน้ำ ในแม่น้ำหรือทะเลสาบ หรือไหลเชื่อมต่อกับทะเลกลายเป็นน้ำผิวดินประเภทหนึ่ง น้ำผิวดินเมื่อระเหยจะ กลายเป็นไอน้ำในอากาศ ไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ เมื่อเกาะกลุ่มรวมกันลอยสูงจาก พื้นดินในระดับสูงจะเกิดเป็นเมฆ ละอองน้ำในเมฆเม่ือรวมตัวกันจนอากาศไม่สามารถพยุงไว้ได้จะตกลงมาเป็น ฝนกลายเป็นน้ำผิวดิน ลักษณะดังกล่าวเป็นการหมุนเวียนของน้ำที่ต่อเนื่องกันระหว่างน้ำในบรรยากาศ น้ำผวิ ดินและนำ้ ใตด้ ิน เปน็ วฏั จกั รนำ้ 16. ให้นักเรียนตรวจสอบตนเองด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ีได้ทำในบทเรียนน้ี อ่านสรุปท้ายบท และทำ แบบฝกึ หัดท้ายบท 17. เชื่อมโยงไปสู่บทที่ 3 ภัยธรรมชาติบนผิวโลก โดยใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า แหล่งน้ำทั้งน้ำผิวดิน และน้ำใต้ดนิ แหล่งน้ำน้ีมปี ระโยชนต์ ่อมนษุ ยม์ ากมายท้ังเพื่อการดำรงชีวิตและในภาคอุตสาหกรรม แต่นำ้ ผวิ ดินและ นำ้ ใต้ดินในบางคร้ังกอ็ าจก่อให้เกิดภัยธรรมชาติในรปู แบบต่าง ๆ ขนึ้ ได้ น้ำผิวดนิ และนำ้ ใต้ดนิ ทำให้เกิดภยั ธรรชาติได้ อย่างไร เราจะเรียนร้กู นั ในบทเรยี นตอ่ ไป สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

273 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยกจิ กรรมและแบบฝกึ หดั ของบทท่ี 2 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 274 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.5 ดินที่ระดบั ความลกึ ตา่ งกนั มลี ักษณะเหมือนหรือแตกต่างกนั หรือไม่ นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรูเ้ ก่ียวกับลักษณะช้นั ดินและชนั้ หน้าตัดดิน จุดประสงค์ สังเกตและอธบิ ายลกั ษณะชนั้ ดินและชนั้ หนา้ ตัดดนิ 60 นาที เวลาทีใ่ ชใ้ น การทำกจิ กรรม วสั ดแุ ละอุปกรณ์ -ไมม่ -ี การเตรียมตวั • ในกรณีที่ครูสามารถขุดหลุมดินได้ อาจให้นักเรียนศึกษาช้ันหน้าตัดดินจากหลุมดินจริง โดย ลว่ งหนา้ สำหรับครู อาจขุดหลุมดินประมาณ 2-3 หลุม ให้แต่ละหลุมอยใู่ นสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน ความลึก ของหลุมดินท่ีขุดอยู่ประมาณ 1-2 เมตร การสำรวจและตำแหน่งท่ีขุดหลุมดิน ควรเป็นจุดท่ี ปลอดภัยและเดินทางสะดวก ในการไปศึกษาหลุมดิน นักเรียนควรอยู่ในความดูแลของ ครูผู้สอน และควรแต่งกายให้รัดกุม สวมเส้ือแขนขาว สวมรองเท้าผ้าใบ และเตรียมหมวกให้ พรอ้ ม ลักษณะของหลุมดิน • ครูผู้สอนสามารถหาภาพและข้อมูลช้ันหน้าตัดดินเพิ่มเติมจากท่ีมีในหนังสือเรียนได้จาก เวบ็ ไซต์กรมพัฒนาท่ีดนิ http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoilinf/central/Prachupkirikun/pkk_04.html ขอ้ เสนอแนะ - ไมม่ -ี ในการทำกิจกรรม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

275 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คู่มือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ สือ่ การเรียนรู้/ • หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ • เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ช่อื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ น็ต • ห้องสมุด ตวั อย่างผลการทำกิจกรรม จากภาพในหนังสือเรียนหน้าท่ี 148 พบว่าภายในชั้นหน้าตัดดนิ เดียวกัน ช้ันดนิ จะมีสีและความหนาของชั้น ดินแตกต่างกัน และชนั้ หนา้ ตัดดินท้งั 2 พ้ืนที่ มีจำนวนช้ันดนิ สขี องชน้ั ดิน และความหนาของช้ันดนิ แตกตา่ งกนั เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ภายในชน้ั หน้าตัดดินเดียวกนั ชั้นดนิ แตล่ ะชนั้ มลี กั ษณะเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ จากภาพในหนังสือเรียนหน้าท่ี 148 ภายในช้ันหน้าตัดดินเดียวกัน ชั้นดินแต่ละช้ันมีสี และความหนา ของช้นั ดินแตกตา่ งกัน 2. ชน้ั หน้าตดั ดินท้ัง 2 พืน้ ที่ มีลกั ษณะเหมอื นหรือแตกตา่ งกันหรือไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ จากภาพในหนังสอื เรียนหนา้ ท่ี 148 ชั้นหน้าตดั ดินทง้ั 2 พ้ืนท่ี มีลักษณะแตกต่างกัน คือ มีจำนวน ชัน้ ดนิ และความหนาของช้ันดนิ แตกต่างกัน 3. วัตถตุ น้ กำเนิดดนิ ของท้งั 2 พน้ื ท่ี เป็นวตั ถุต้นกำเนิดดินเดยี วกันหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ จากข้อมูลในหนังสอื เรียนหน้าท่ี 149 วัตถุตน้ กำเนิดดินของท้งั 2 พื้นที่ เป็นวัตถุต้นกำเนิดดินต่าง ชนิดกัน ชั้นหน้าตัดดินท่ี 1 วัตถุต้นกำเนิดดินเป็นหินทราย และชั้นหน้าตัดดินที่ 2 วัตถุต้นกำเนิดดินเป็น หินดนิ ดาน 4. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร แนวคำตอบ จากภาพและข้อมูลในหนงั สอื เรียนหน้าที่ 148 และ 149 พบวา่ ช้ันดินแต่ละชั้นและในแต่ละพ้ืนท่ี มีสีและความหนาของช้ันดินแตกต่างกัน และช้ันหน้าตัดดินท้ัง 2 พ้ืนที่ มีจำนวนช้ันดิน สีของช้ันดินและ ความหนาของชนั้ ดนิ แตกต่างกัน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง 276 คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.6 การตรวจวดั สมบตั ิของดนิ มวี ิธกี ารอย่างไร นักเรียนจะได้เรยี นรูเ้ ก่ียวกบั การตรวจวัดสมบตั ิบางประการของดนิ จดุ ประสงค์ 1. สังเกตและตรวจวัดเน้ือดิน ความชื้นในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดิน โดยใชเ้ ครอ่ื งมือท่ีเหมาะสม เวลาท่ีใชใ้ น การทำกิจกรรม 2. วิเคราะห์และนำเสนอแนวทางการใชป้ ระโยชน์ดนิ จากขอ้ มลู ลกั ษณะและสมบตั ิของดินท่ีตรวจวัดได้ 3 ชัว่ โมง วัสดุและอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ตอ่ ห้อง รายการ ปรมิ าณ/หอ้ ง 1. เคร่อื งชั่ง 3 แขน 1 อัน 2. กระดาษยนู ิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 1 กลอ่ ง 3. ชุดตรวจวดั ธาตอุ าหารในดนิ 1 ชดุ วัสดทุ ี่ใชต้ อ่ กลมุ่ ปรมิ าณ/กลมุ่ รายการ 1 อนั 1. ตะแกรงรอ่ นดนิ เบอร์ 10 1 อัน 2. แท่งแก้วคนสาร 1 อัน 3. นาฬกิ าจบั เวลา 1 อัน 4. ไมบ้ รรทดั 1 อัน 5. ช้อนปลกู 1 แผ่น 6. แผ่นพลาสตกิ หรือกระดาษสขี าว 1 ใบ 7. ถาดพลาสติก 1 ใบ 8. บกี เกอรข์ นาด 100 cm3 1 ใบ 9. บกี เกอร์ขนาด 250 cm3 1 ใบ 10. ภาชนะท่ีมีฝาปิดสนทิ หรือถงุ พลาสตกิ 1 ใบ 11. แก้วนำ้ พลาสติก 1 อัน 12. กระบอกฉีดนำ้ พร้อมบรรจุนำ้ กลน่ั 2-3 เส้น 13. ยางรดั ของ 20-100 cm3 14. น้ำกลน่ั สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

277 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ การเตรียมตวั • การสำรวจจุดที่ศึกษาดิน ควรเป็นจุดท่ีปลอดภัยและเดินทางสะดวก ในการไปศึกษาดินและ ล่วงหนา้ สำหรับครู เก็บตัวอยา่ งดินของนักเรียนควรอยู่ในความดูแลของครูผู้สอน และควรแต่งกายให้รัดกมุ สวม เสื้อแขนยาว สวมรองเท้าผา้ ใบ และเตรียมหมวกใหพ้ รอ้ ม • ในกรณีท่ีไม่สามารถพานักเรียนออกไปสำรวจดนิ ได้ ให้ครูเกบ็ ตัวอย่างดินมาใหน้ ักเรยี นศึกษา ในชั้นเรียน โดยทำตามข้ันตอน ดังนี้ - ศึกษาสภาพแวดล้อมท่ัวไปบริเวณจุดท่ีศึกษาดิน โดยกำหนดพ้ืนที่บริเวณผิวดิน ขนาด 1 ตารางเมตร บนั ทึกตำแหนง่ ทตี่ งั้ ของพื้นทีท่ ศ่ี ึกษาและบนั ทึกวันท่ีท่ีศึกษาดนิ - สังเกตและบันทึกภูมิประเทศบริเวณจุดท่ีศึกษาดิน เช่น เป็นที่ลาดเชิงเขา ท่ีราบ ชายฝ่ัง ทะเล หบุ เขา - สำรวจและบันทึกการใช้ประโยชน์ท่ีดินบริเวณจุดที่ศึกษาดินเก่ียวกับการเพาะปลูก เช่น มีการปลูกพืชยืนต้น พืชไร่ นาข้าว ทำสวนผัก และบันทึกการใช้ประโยชน์ท่ีดินใน ลักษณะอนื่ ๆ - สำรวจและบันทึกชนิดของพืชท่ีขึ้นปกคลุมดินและส่ิงมชี ีวติ อ่ืน ๆ ท่ีอาศยั อยู่บรเิ วณผิวดิน เท่าที่สงั เกตได้ - ถ้าพ้ืนท่ีท่ีกำหนดไว้มีหญ้าข้ึน ให้ถอนหญ้าในพ้ืนที่ออก แล้วใช้ช้อนปลูกขุดดินให้มีความ ลึกประมาณ10 เซนติเมตร และตกั ดินประมาณ 1,000 กรมั ใส่ถุงและรดั ให้แน่นด้วยยาง รัดของ หรือใส่ดินลงในภาชนะอ่ืน ๆ ท่ีมีฝาปิด เพ่ือป้องกันไม่ให้อากาศเข้าไปได้ ปิด ฉลากถงุ หรอื ภาชนะท่ีใสด่ นิ เขียนแสดงตำแหนง่ ท่เี กบ็ ดนิ และวนั ทที่ ่เี ก็บดนิ และนำดนิ ไป ตรวจวดั สมบตั ิตา่ ง ๆ - แบ่งดินออกมาครึ่งหนึ่งและนำไปตากแดดหรือผึ่งให้แห้ง ส่วนที่เหลืออีกคร่ึงหน่ึงเก็บไว้ เชน่ เดิม - กรณีที่ไม่มีตะแกรงร่อนดินเบอร์ 10 สามารถนำตะแกรงลวดท่ีมีช่องตาข่ายขนาดเส้นผ่าน ศนู ย์กลางประมาณ 2 mm มาครอบตระกรา้ ขนาดเล็กดังภาพ มาใช้ทดแทนได้ ตะแกรงลวดทีม่ ชี ่องตาขา่ ยขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง การใช้ตะแกรงร่อนดิน ประมาณ 2 มิลลเิ มตร สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 278 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะ • สามารถศึกษาขอ้ มลู แผนทแี่ ละสารสนเทศดนิ เพ่ือการใช้และการจัดการทด่ี ินใหเ้ กิดประโยชน์ ในการทำกิจกรรม สูงสุดไดท้ ่ีเว็บไซต์กรมพฒั นาท่ดี นิ http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoilinf/central/Prachupkirikun/pkk_map/pkk_ man62/7704/770401_home.html • สามารถศึกษาแผนที่ทางเลือกพืชเศรษกิจได้จากเว็บไซต์กรมพัฒนาที่ดิน ซ่ึงจะมีข้อมูลเขต ความเหมาะสมพืชเศรษฐกจิ ตามลกั ษณะคุณสมบตั ิดนิ http://www.ldd.go.th/www/lek_web/web.jsp?id=19063 • สามารถศึกษาแผนที่ชดุ ดนิ ได้ทเ่ี ว็บไซตก์ รมพฒั นาท่ีดนิ http://eis.ldd.go.th/lddeis/SoilView.aspx • สามารถศึกษาขอ้ มลู แผนท่ีการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ไดท้ เ่ี ว็บไซตก์ รมพฒั นาทีด่ นิ http://eis.ldd.go.th/lddeis/SoilView.aspx สือ่ การเรียนรู้/ • หนังสือรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • เครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีเชื่อมตอ่ กับอินเทอรเ์ น็ต • ห้องสมดุ ตวั อยา่ งผลการทำกิจกรรม ดินในแต่ละพ้ืนที่อาจมีลักษณะและสมบัติท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น มีสีดิน เน้ือดิน ความช้ืนในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดนิ ท่ีแตกต่างกนั การนำดินไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูก จำเป็นต้องพิจารณาว่าเน้ือดิน ความช้ืนในดิน ความเป็นกรด - เบส และธาตุอาหารในดนิ เหมาะสมต่อชนิดพชื ท่ีจะเพาะปลูกหรือไม่ ในกรณที ี่ต้องการปรบั ปรงุ ดินเพอื่ นำไปใช้ใน การเพาะปลกู ควรหาแนวทางการปรบั ปรุงดนิ ดว้ ยวิธกี ารท่เี หมาะสม ดินที่ไม่เหมาะสมต่อการทำการเพาะปลูกมีอยู่หลายชนิด เช่น ดินจืด ดินเปรี้ยว ดินเค็มและดินดาน ดนิ ดังกล่าวนี้อาจเกิดข้ึนได้ทัง้ จากสภาพดนิ ตามธรรมชาตหิ รือจากการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

279 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม ตอนที่ 2 1. ดนิ ทต่ี รวจวัดได้มเี นอื้ ดนิ ความช้ืนในดิน คา่ ความเปน็ กรด-เบส และธาตอุ าหารในดนิ เป็นอยา่ งไร แนวคำตอบ ดินในแต่ละพืน้ ท่อี าจมเี นื้อดิน ความชื้นในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน และธาตอุ าหารในดินที่ แตกตา่ งกัน ตอนท่ี 3 1. ดนิ บริเวณทีเ่ กบ็ ตวั อยา่ งมลี ักษณะและสมบัติของดนิ เหมาะสมกับการนำไปใชป้ ระโยชน์หรือไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ให้พิจารณาข้อมูลร่วมกันระหว่างข้อมูลสมบัติของดินที่ตรวจวัดได้ ได้แก่ เน้ือดิน ความชื้นในดิน ความเปน็ กรด-เบสของดนิ และธาตอุ าหารในดนิ กบั ข้อมลู การใช้ประโยชน์ดนิ บรเิ วณจุดท่ีศึกษา 2. ในกรณีท่ีมีการใช้ดินเพ่ือการเพาะปลูก ลักษณะและสมบัติของดินท่ีตรวจวัดได้เหมาะสมกับการเพาะปลูก พืชชนดิ ดังกลา่ วหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ให้พิจารณาข้อมูลร่วมกันระหว่างข้อมูลสมบัติของดินท่ีตรวจวัดได้ ได้แก่ เน้ือดิน ความชื้นในดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน และธาตุอาหารในดิน กับข้อมูลการใช้ประโยชน์ดินบริเวณจุดที่ศึกษาว่ามีการใช้ ประโยชนด์ นิ เพ่ือการเพาะปลกู หรือไม่ 3. ในกรณีท่ีมีการใช้ประโยชน์ดินเพื่อการเพาะปลูกท่ีไม่เหมาะสม มีวิธีการปรับปรุงคุณภาพดินอย่างไร หรือ ควรเสนอแนะชนิดของพืชทคี่ วรปลูกในบรเิ วณจดุ ทเี่ กบ็ ตวั อยา่ งดินนั้นหรอื ไม่ อย่างไร แนวคำตอบ ถา้ มีการใชป้ ระโยชน์ดินในการเพาะปลกู ได้ไมเ่ หมาะสมกับลักษณะและสมบัติของดินที่ตรวจวัดได้ และต้องการปรับปรุงดินเพ่ือนำไปใช้ในการเพาะปลูก ควรหาแนวทางการปรับปรุงดินด้วยวิธีการที่เหมาะสม ดินทไ่ี ม่เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูกมีอย่หู ลายชนิด เช่น ดนิ จืด ดนิ เปรีย้ ว ดินเคม็ และดินดาน ตวั อยา่ งการปรับปรุงคุณภาพดนิ เช่น ดินจดื เปน็ ดินท่ีมีแรธ่ าตุในดินน้อย ควรใสป่ ุ๋ยหรือสารอาหารบำรงุ ดิน ดินเปร้ียวเป็นดินที่มีความเป็นกรดมากเกินไป ทำให้ขาดแคลนธาตุที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช วิธีการ ปรับปรุงดินเปร้ียวมีหลายวิธี เช่น การใช้น้ำชะล้างความเป็นกรดในดิน หรือการขังน้ำไว้ในดินนาน ๆ แล้ว ระบายออก การใส่ปูนมาร์ล ปูนขาว หินปูนบด หินปูนฝุ่นโดยผสมคลุกเคล้ากับดินในอัตราส่วนท่ีเหมาะสม หรือใช้น้ำชะลา้ งความเป็นกรดในดินควบคู่ไปด้วย ดินเค็มเป็นดนิ ท่ีมีปริมาณเกลือท่ีละลายไดใ้ นน้ำมากจนเป็น อนั ตรายต่อพืช การปรับปรุงดินเคม็ อาจใช้การไถกลบพืชป๋ยุ สด ปุ๋ยอินทรีย์ หรอื ใส่วัตถุปรับปรงุ ดนิ เช่น แกลบ ดินดานเปน็ ชัน้ ดินท่มี ลี กั ษณะแน่นทึบและแขง็ จึงควรปลูกพชื บางชนิดเพือ่ ทำลายชนั้ ดนิ ดาน หรือใช้การไถระเบิดดิน ดานด้วยการไถลักษณะพิเศษท่ีสามารถเจาะทำให้ช้ันดินดานแตกได้ หรือใช้วิธีการควบคุมความช้ืนในดินดานให้ พอเหมาะจะช่วยให้รากพืชกระจายตัวได้ดีขึ้นในระดับหน่ึง หรอื ใช้วิธีการเพ่ิมอินทรียวัตถุในดิน เช่น การใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก รวมถึงการใช้วัสดุคลุมดินจะช่วยเพิ่มช่องว่างระหว่างเม็ดดิน ช่วยลดปัญหาการจับตัวเป็นก้อนของเม็ดดิน เม่อื ดินแหง้ ได้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปลย่ี นแปลง 280 คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 7.7 ปจั จยั ใดทที่ ำใหแ้ หล่งนำ้ ผวิ ดนิ มลี ักษณะแตกต่างกัน นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรู้เกีย่ วกับกระบวนการเกิดแหลง่ น้ำผวิ ดิน และปจั จยั ท่ีทำให้แหล่งน้ำผวิ ดนิ แตล่ ะแหลง่ มี ลักษณะแตกตา่ งกัน จดุ ประสงค์ อธบิ ายกระบวนการและปัจจัยการเกดิ แหล่งน้ำผิวดินจากแบบจำลอง 1 ช่ัวโมง เวลาท่ีใชใ้ น การทำกิจกรรม วัสดทุ ่ใี ชต้ อ่ หอ้ ง รายการ วัสดุและอุปกรณ์ 1. สีผสมอาหาร วัสดุทใ่ี ชต้ ่อกล่มุ ปรมิ าณ/ห้อง 1 ซองเล็ก รายการ 1. กรวด ปริมาณ/กลมุ่ 1,500 g 2. ทรายละเอยี ด (ท้ังนีข้ ึน้ อยกู่ ับขนาดกองตะกอน) 3. ไม้บรรทัด 4,500 g 4. ถาดพลาสติก 5. ภาชนะใส่น้ำ (ท้งั นี้ขึ้นอยกู่ ับขนาดกองตะกอน) 6. บีกเกอรข์ นาด 250 cm3 1 อนั 7. ขวดน้ำพลาสติกขนาด 500 cm3 2 ใบ 8. นำ้ สะอาด 1 ใบ 1 ใบ 1 ใบ ประมาณ 1,500 cm3 การเตรียมตวั • การจดั เตรียมกรวดและทรายละเอียด สามารถหาซ้ือได้ท่ีร้านขายอุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลา หรือ ลว่ งหน้าสำหรับครู รา้ นขายอปุ กรณจ์ ดั แตง่ สวน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

281 หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะ • การเจาะรูท่ีก้นขวดน้ำพลาสติก อาจใช้วิธีการนำปลายแหลมของตะปูขนาดเล็กไปลนไฟให้ ในการทำกิจกรรม ร้อน และนำไปจ้ีที่ก้นขวดน้ำพลาสติกให้ได้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรูประมาณ 1 mm หรอื ใชป้ ลายเข็มหมดุ เจาะทีก่ น้ ขวดน้ำพลาสติก โดยให้รทู ่ีเจาะอยกู่ ระจายหา่ งกันท่วั ก้นขวด • ในสถานการณ์ที่ 1 ย้ำให้นักเรียนก่อกองทรายทั้ง 2 กอง ให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและ ความสูงเท่ากัน และย้ำในขณะปล่อยน้ำไปที่กองทรายว่าให้ก้นขวดท่ีเจาะรู อยู่สูงจากยอด ของกองทรายทัง้ 2 กอง ท่ีระดับ 20 cm เทา่ กนั • ในสถานการณ์ท่ี 2 ย้ำให้นักเรียนก่อกองกรวดและกองทราย ให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง และความสงู เทา่ กัน และยำ้ ในขณะปล่อยน้ำไปที่กองกรวดและกองทรายว่าให้กน้ ขวดที่เจาะรู อยสู่ งู จากยอดของกองกรวดและกองทราย ที่ระดับ 20 cm เท่ากัน สอ่ื การเรยี นรู้/ • หนังสือรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ • เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชอื่ มต่อกบั อนิ เทอรเ์ น็ต • หอ้ งสมดุ ตัวอยา่ งผลการทำกิจกรรม เมอ่ื ปล่อยน้ำลงบนกองทรายและกองกรวด นำ้ จะกัดเซาะกองทรายและกองกรวดทำให้เกดิ รอ่ งน้ำทม่ี ีขนาด แตกต่างกนั สถานการณ์ที่ 1 • เมอื่ ปลอ่ ยน้ำ 200 cm3 ลงบนกองทรายกองท่ี 1 ร่องน้ำท่เี กดิ ขึ้นจะมขี นาดเล็กกวา่ การปลอ่ ยนำ้ 500 cm3 ลง บนกองทรายกองท่ี 2 • เมอ่ื ปล่อยน้ำ 500 cm3 ลงบนกองทรายกองท่ี 2 ร่องน้ำทเี่ กิดขึน้ จะมีขนาดใหญ่กว่าการปลอ่ ยนำ้ 200 cm3 ลง บนกองทรายกองที่ 1 สถานการณท์ ่ี 2 • เมื่อปล่อยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองกรวด ร่องน้ำท่ีเกิดข้ึนจะมีขนาดเล็กกวา่ การปล่อยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองทราย • เมื่อปล่อยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองทราย ร่องน้ำท่ีเกิดข้ึนจะมีขนาดใหญ่กวา่ การปล่อยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองกรวด สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 282 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม 1. ร่องน้ำที่เกิดจากการปล่อยน้ำปริมาณต่างกัน ลงบนกองตะกอนชนิดเดียวกัน มีลักษณะเหมือนหรือ แตกต่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ ร่องน้ำท่ีเกิดจากการปล่อยน้ำปริมาณต่างกัน ลงบนกองตะกอนชนิดเดียวกัน มีลักษณะแตกต่าง กนั กล่าวคือ เมอื่ ปลอ่ ยน้ำ 200 cm3 ลงบนกองทรายกองที่ 1 น้ำจะกัดเซาะกองทรายได้น้อยกวา่ และรอ่ งน้ำที่ เกิดข้นึ จะมีขนาดเลก็ กวา่ การปลอ่ ยนำ้ 500 cm3 ลงบนกองทรายกองที่ 2 2. ร่องน้ำท่ีเกิดจากการปล่อยน้ำปรมิ าณเท่ากัน ลงบนกองตะกอนต่างชนดิ กนั มีลักษณะเหมือนหรอื แตกต่าง กนั หรือไม่ อยา่ งไร แนวคำตอบ รอ่ งนำ้ ที่เกิดจากการปล่อยน้ำปริมาณเท่ากนั ลงบนกองตะกอนต่างชนิดกัน มีลักษณะแตกต่างกัน กล่าวคือ เมื่อปล่อยน้ำ 300 cm3 ลงบนกองกรวด น้ำจะกัดเซาะกองกรวดได้น้อยกว่าและร่องน้ำท่ีเกิดข้ึนจะมี ขนาดเลก็ กวา่ การปลอ่ ยนำ้ 300 cm3 ลงบนกองทราย 3. ผลการทำกจิ กรรม เหมือนหรือแตกตา่ งจากทไ่ี ด้ต้งั สมมติฐานไวห้ รือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ คำตอบทไี่ ด้ข้นึ อยูก่ บั ความรู้เดิมของนกั เรยี น ซง่ึ คำตอบท่ีไดจ้ ะมีความหลากหลาย 4. ถ้ากำหนดให้กองกรวดและกองทรายแทนกองตะกอนบนผิวโลกท่ีประกอบไปด้วยตะกอนต่างชนิดกัน น้ำที่ปลอ่ ยลงไปท่ีกองตะกอนแทนฝน จากกิจกรรมนักเรยี นคิดวา่ การเปลี่ยนแปลงของกองตะกอนท่เี กิดข้ึน เทยี บไดก้ บั ปรากฏการณใ์ ดในธรรมชาติ แนวคำตอบ การเปล่ียนแปลงของกองตะกอนที่เกิดข้ึน เทียบได้กับการกัดเซาะของตะกอนชนิดต่าง ๆ บนผิว โลกโดยน้ำผิวดิน ทำให้ผิวโลกท่ีประกอบไปด้วยตะกอนชนิดต่าง ๆ เกิดเป็นร่องน้ำท่ีมีขนาดแตกต่างกนั ความ รุนแรงในการกัดเซาะของกองตะกอนและขนาดร่องน้ำที่เกิดข้ึน จะขึ้นอยู่กับปริมาณนำ้ ผิวดินที่มากัดเซาะและ ขึ้นอยกู่ บั ชนดิ ของตะกอน 5. ลกั ษณะของกองตะกอนท่ีเกิดขึ้นเทียบได้กับภมู ิลกั ษณ์ใดบนผวิ โลก แนวคำตอบ ลกั ษณะของกองตะกอนทเ่ี กดิ ขนึ้ หลังจากปล่อยน้ำลงไปที่กองตะกอน เทียบไดก้ บั ร่องนำ้ ท่เี กิดขน้ึ บนผวิ โลก ซ่งึ ก็คือแหลง่ น้ำผวิ ดินตามธรรมชาติชนดิ หนงึ่ 6. จากกิจกรรม ปจั จัยใดทท่ี ำใหร้ ่องน้ำมีลักษณะแตกต่างกัน แนวคำตอบ ปัจจัยท่ีทำให้ร่องน้ำมีลักษณะแตกต่างกัน คือ ปริมาณน้ำที่มากัดเซาะกองตะกอนและชนิดของ ตะกอน 7. จากกิจกรรม สรปุ ได้ว่าอย่างไร แนวคำตอบ การปล่อยน้ำลงบนกองกรวดและกองทราย น้ำจะกัดเซาะกองกรวดและกองทรายทำให้เกิด ร่องน้ำท่ีมีขนาดแตกต่างกัน ความรุนแรงในการกัดเซาะของกองตะกอนและขนาดร่องน้ำท่ีเกิดข้ึน ข้ึนอยู่กับ ปรมิ าณนำ้ ท่ีมากัดเซาะกองตะกอนและข้ึนอยู่กับชนิดของตะกอน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

283 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง ค่มู อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 7.8 แหล่งน้ำใต้ดนิ เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรเู้ กี่ยวกบั กระบวนการเกิดแหล่งนำ้ ใตด้ ิน จดุ ประสงค์ อธบิ ายกระบวนการเกดิ แหลง่ น้ำใต้ดนิ จากแบบจำลอง เวลาท่ใี ช้ใน 1 ชั่วโมง การทำกจิ กรรม วัสดทุ ่ีใชต้ อ่ ห้อง วัสดแุ ละอุปกรณ์ รายการ 1. สีผสมอาหาร ปริมาณ/ห้อง วัสดทุ ใ่ี ชต้ ่อกล่มุ 1 ซองเลก็ รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. กรวด ประมาณ 2,500 g (ขึ้นอยู่กบั ขนาดกล่องพลาสติกใส) 2. ทรายหยาบ ประมาณ 2,500 g (ขน้ึ อยู่กับขนาดกล่องพลาสติกใส) 3. ดนิ เหนียว ประมาณ 5,000 g (ขึ้นอยู่กับขนาดกล่องพลาสติกใส) 4. ดินสอ 5. กรรไกร 1 แท่ง 6. บวั รดน้ำขนาดเลก็ 1 อัน 7. กล่องพลาสติกใส 1 อนั 8. หลอดพลาสติกชนิดใส 1 ใบ 9. น้ำสะอาด 1 หลอด ประมาณ 1,000 cm3 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง 284 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ การเตรยี มตวั • การจัดเตรียมกรวด ทราย และดินเหนียว สามารถหาซ้ือได้ที่ร้านขายอุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลา ล่วงหนา้ สำหรบั ครู หรือรา้ นขายอปุ กรณจ์ ัดแต่งสวน • ต้องเจาะรูระบายน้ำท่ีกล่องพลาสติกใส จำนวน 1 รู ตรงบริเวณกึ่งกลางของขอบด้านกว้าง สูง จากพื้นประมาณ 2 cm และให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรูที่เจาะประมาณ 1 cm ซ่ึงขึ้นอยู่ กบั ความหนาของช้ันดินเหนียวชัน้ ที่ 1 ที่ปั้นลงในกล่องพลาสติก ข้อเสนอแนะ แนะนำให้นักเรียนนำกรวด ทรายหยาบและดินเหนียวมาสร้างเป็นชั้นตะกอนลงในกล่อง ในการทำกจิ กรรม พลาสติกลว่ งหนา้ สื่อการเรยี นรู้/ • หนังสอื รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เลม่ 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • เครอื่ งคอมพิวเตอรท์ เี่ ชือ่ มต่อกับอนิ เทอร์เนต็ • หอ้ งสมุด ตัวอย่างผลการทำกิจกรรม เม่อื รดน้ำลงไปท่ีกล่องพลาสติกนำ้ จะไหลไปสะสมตัวอยู่ในช้ันกรวดและชั้นทราย ส่วนชน้ั ตะกอนท่ีรองรับชั้น กรวดและชั้นทรายไว้น้ำไม่ไหลซึมผ่าน และเม่ือระดับน้ำที่อยู่ในช้ันกรวดมีระดับสูงกว่าระดับปลายด้านบนของ หลอด นำ้ จะไหลลน้ ออกจากหลอด สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

285 หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. นำ้ ไหลลงไปสะสมตวั ที่ชั้นตะกอนใดบา้ ง ตะกอนดังกลา่ วมลี กั ษณะอยา่ งไร แนวคำตอบ น้ำไหลลงไปสะสมตัวที่ชั้นกรวดและชนั้ ทราย ซง่ึ ตะกอนดังกล่าวมีลักษณะร่วน ขนาดเม็ดตะกอน มขี นาดเท่ากัน 2. ชั้นตะกอนท่รี องรับชั้นทก่ี ักเกบ็ น้ำไว้ ตะกอนดงั กลา่ วมลี กั ษณะอยา่ งไร แนวคำตอบ ชัน้ ตะกอนท่ีรองรับช้นั ท่กี ักเก็บนำ้ ไว้ มเี น้ือละเอยี ดแน่น 3. นำ้ จะลน้ ออกมาจากหลอดเมอ่ื ใด เพราะเหตุใด แนวคำตอบ น้ำจะล้นออกมาจากหลอดเม่ือระดับน้ำที่อยู่ในชั้นกรวดมีระดับสูงกว่าระดับปลายด้านบนของ หลอด 4. ถา้ กำหนดใหน้ ้ำที่ไหลมาจากบัวรดน้ำแทนฝน ช้นั กรวดและชนั้ ทรายแทนช้ันหินทีม่ สี มบัติยอมให้น้ำไหลซึม ผ่านได้ และชั้นดินเหนียวทั้ง 2 ชั้น แทนชั้นหินที่มีสมบัติไม่ยอมให้น้ำซึมผ่านหรือไหลซึมผ่านได้แต่น้อย มาก นักเรียนคิดว่าการไหลของน้ำและการสะสมตัวของน้ำที่เกิดขึ้นภายในแบบจำลอง เทียบได้กับ ปรากฏการณใ์ ดในธรรมชาติ แนวคำตอบ การไหลของน้ำและการสะสมตัวของนำ้ ท่เี กดิ ขึ้นภายในกล่อง เทียบไดก้ ับการที่นำ้ ผวิ ดนิ ทเ่ี กิดจาก ฝนไหลเข้าไปกักเก็บอยูใ่ นช่องว่างของตะกอนของชนั้ หินที่มีสมบัติยอมใหน้ ้ำซมึ ผ่านได้ท่ีวางตัวอยู่ใต้ผิวโลก ซ่ึง ชัน้ หนิ ดังกล่าวจะมชี นั้ หนิ เนื้อละเอยี ดแนน่ รองรบั อยดู่ ้านลา่ ง 5. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อยา่ งไร แนวคำตอบ น้ำจะไหลไปสะสมตัวอยู่ในช้ันกรวดและช้ันทรายหยาบ ซ่ึงจะมีช่องว่างระหว่างตะกอนและ ช่องว่างดังกล่าวอยู่ต่อเน่ืองกัน ทำให้น้ำไหลเข้าไปกักเก็บและไหลซึมผ่านได้ ส่วนช้ันตะกอนท่ีรองรับชั้นกรวด และชนั้ ทรายหยาบเปน็ ชนั้ ดินเหนยี ว มีเน้ือละเอยี ดแน่น น้ำจะไม่ไหลซึมผ่าน และเม่ือระดับนำ้ ทีอ่ ยู่ในช้ันกรวด มรี ะดบั สูงกวา่ ระดบั ปลายด้านบนสุดของหลอดพลาสตกิ นำ้ จะไหลลน้ ออกจากหลอดพลาสตกิ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง 286 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมเสรมิ ลักษณะของตะกอนมผี ลต่อการกกั เก็บน้ำบาดาลอยา่ งไร นักเรยี นจะไดเ้ รียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของตะกอนที่มีผลต่อการกกั เกบ็ นำ้ บาดาล จดุ ประสงค์ ทดลองและอธบิ ายลักษณะของตะกอนที่มีผลต่อการกกั เก็บนำ้ บาดาล เวลาทีใ่ ช้ใน 60 นาที การทำกจิ กรรม วัสดแุ ละอุปกรณ์ วัสดทุ ่ีใชต้ อ่ ห้อง รายการ ปริมาณ/ห้อง 1. สีผสมอาหาร 1 ซองเลก็ วสั ดุที่ใชต้ อ่ กลุ่ม ปรมิ าณ/กลมุ่ รายการ ประมาณ 1,000 g 1. กรวดขนาดใหญ่ที่มขี นาดใกลเ้ คยี งกัน (ข้นึ อยู่กบั ขนาดของภาชนะปากกว้าง) ประมาณ 500 g 2. กรวดขนาดเล็ก (ข้นึ อยู่กบั ขนาดของภาชนะปากกวา้ ง) 3. หลอดฉดี ยา 1 อนั 4. หลอดหยด 1 อนั 5. ภาชนะปากกวา้ ง 2 ใบ 6. ภาชนะใส่นำ้ 1 ใบ 7. กระบอกตวงขนาด 100 cm3 1 ใบ 8. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 1 ใบ 9. น้ำสะอาด ประมาณ 2,000 cm3 (ขึน้ อยู่กบั ขนาดของภาชนะปากกว้าง) การเตรยี มตัว -ไม่ม-ี ลว่ งหนา้ สำหรับครู สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

287 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง ค่มู อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะ กรวดท้ัง 2 ขนาด ควรมีขนาดแตกตา่ งกนั พอสมควร ในการทำกิจกรรม สอ่ื การเรยี นรู้/ • หนงั สือรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • หอ้ งสมุด ตวั อยา่ งผลการทำกิจกรรม ภาชนะท่ีบรรจุเพียงกรวดขนาดใหญ่เพียงอย่างเดียว สามารถกักเก็บน้ำได้มากกว่าภาชนะที่บรรจุกรวด ขนาดใหญ่และกรวดขนาดเล็กปนกนั เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ลักษณะของตะกอนแบบใดสามารถกักเกบ็ น้ำไวไ้ ดม้ ากท่ีสดุ แนวคำตอบ ลักษณะของตะกอนที่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้มากท่ีสุด คือ ตะกอนที่มีขนาดใกล้เคียงกัน จาก กจิ กรรมคอื ลกั ษณะของกรวดขนาดใหญ่ท่มี ขี นาดใกล้เคียงกัน 2. ผลการทำกจิ กรรมเหมอื นหรือแตกต่างจากทีไ่ ด้ตัง้ สมมตฐิ านไวห้ รือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ คำตอบทไี่ ด้ขึ้นอยู่กับความรเู้ ดมิ ของนักเรยี น ซ่งึ คำตอบทไ่ี ดจ้ ะมีความหลากหลาย 3. ถ้ากำหนดให้ตะกอนชนิดต่าง ๆ ในภาชนะแทนตะกอนท่ีอยู่ในช้ันหินอุ้มน้ำ นักเรียนคิดว่าชั้นหินอุ้มน้ำที่ สามารถบรรจนุ ้ำไว้ไดเ้ ป็นปริมาณมาก ควรมีลักษณะตะกอนเปน็ อย่างไร แนวคำตอบ ลักษณะตะกอนของชั้นหินอุ้มน้ำที่สามารถบรรจุน้ำไว้ได้ในปริมาณมาก ตะกอนควรมีขนาด ใกลเ้ คียงกนั 4. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอย่างไร แนวความคิด ภาชนะท่ีบรรจุเพียงกรวดขนาดใหญ่ที่มขี นาดใกล้เคียงกันเพียงอย่างเดียว สามารถกักเก็บน้ำได้ มากกว่าภาชนะท่ีบรรจุกรวดขนาดใหญ่และกรวดขนาดเลก็ ปนกนั ตะกอนท่ีมีขนาดใกล้เคียงกัน ตะกอนลักษณะน้ีสามารถกักเก็บน้ำไว้ได้มากกว่าตะกอนที่มีขนาดคละกัน เพราะช่องวา่ งทีเ่ กดิ ข้นึ ระหว่างตะกอนท่ีมขี นาดใกล้เคียงกนั จะมีขนาดและปริมาตรของช่องว่างมากกว่า สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปลี่ยนแปลง 288 คู่มอื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมทา้ ยบท ใช้นำ้ อย่างไรใหม้ ีน้ำใชอ้ ยา่ งยง่ั ยนื นกั เรยี นจะได้เรยี นรู้เก่ยี วกบั การใช้น้ำและแนวทางการแก้ปัญหาการใชน้ ำ้ ในท้องถ่นิ จดุ ประสงค์ 1. สืบคน้ ปัญหาการใช้น้ำในท้องถนิ่ ท้งั จากแหล่งน้ำผวิ ดนิ และแหล่งน้ำใตด้ นิ 2. สบื คน้ และอภิปรายหาแนวทางการแก้ปญั หาการใช้นำ้ ในทอ้ งถ่ิน 3. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการใช้น้ำและแนวทางการแก้ปัญหาการใชน้ ำ้ ในท้องถิ่น เวลาท่ใี ชใ้ น 2 ชั่วโมง การทำกิจกรรม วัสดแุ ละอุปกรณ์ วัสดุอปุ กรณต์ ามท่ีออกแบบ การเตรียมตวั • เตรยี มเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทเ่ี ช่ือมต่อกบั อนิ เทอรเ์ นต็ ให้พรอ้ มใชง้ าน ล่วงหนา้ สำหรบั ครู • จัดหาเว็บไซต์ท่ีมีข้อมูลเก่ียวกับการจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อแนะนำให้นักเรียนใช้ใน การสืบค้นขอ้ มูล เชน่ - เว็บไซต์มูลนิธิชัยพฒั นา http://www.chaipat.or.th - เวบ็ ไซต์มูลนิธมิ ั่นพฒั นา http://www.tsdf.nida.ac.th/th/ • ครูอาจให้นกั เรยี นสำรวจหรอื สืบค้นปญั หาการใชน้ ำ้ ในทอ้ งถนิ่ มาลว่ งหนา้ • ครูอาจให้นักเรียนสืบค้นแบบอย่างความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรน้ำมาล่วงหน้า เช่น การแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำโดยการสรา้ งอา่ งเกบ็ น้ำ ฝายทดนำ้ การขุดลอกหนอง บงึ การ ทำประตูระบายน้ำ การแก้ปัญหาน้ำเสียโดยวิธีน้ำดีไล่น้ำเสีย การเติมอากาศให้แก่น้ำโดยใช้ กังหันน้ำ การดูแลและอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ำ การทำผังน้ำและระบบส่งน้ำ ชมุ ชน การรกั ษาคณุ ภาพน้ำด้วยวิธเี กษตรอนิ ทรีย์ ข้อเสนอแนะ -ไม่ม-ี ในการทำกิจกรรม สือ่ การเรียนรู/้ • หนังสือรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 2 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • เครอื่ งคอมพิวเตอร์ที่เชอื่ มต่อกบั อินเทอรเ์ น็ต • ห้องสมุด สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

289 หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง ค่มู ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่างผลการทำกจิ กรรม แนวทางการแก้ปัญหาการใช้น้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำมีหลายวิธีการ เช่น การขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล การขุดลอกหนอง บงึ การสร้างสระเกบ็ นำ้ การสร้างอา่ งเกบ็ น้ำขนาดเลก็ การสร้างฝายเกบ็ นำ้ เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม 1. ในท้องถ่นิ ของนกั เรยี นมปี ญั หาการใช้นำ้ อะไรบ้าง แนวคำตอบ ตวั อย่างปญั หาการใช้นำ้ ในท้องถน่ิ เช่น นำ้ ท่นี ำมาใชเ้ ป็นน้ำเสยี จากแหลง่ ชมุ ชน น้ำเสยี จากแหล่ง อตุ สาหกรรม หรอื นำ้ เสยี จากการทำการเกษตร 2. สาเหตขุ องปัญหาการใช้น้ำในท้องถิน่ คอื อะไร แนวคำตอบ น้ำเสียจากแหล่งชุมชนอาจเป็นน้ำเสียท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนใน ชุมชน ซึ่งอาจมีแหล่งน้ำเสียมาจากหลายท่ี เช่น มาจากอาคารบ้านเรือน ร้านค้า ตลาด ร้านอาหาร โรงแรม ห้างสรรพสินค้า หรือเป็นน้ำเสียจากแหล่งอุตสาหกรรมซึ่งเป็นน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตทาง อุตสาหกรรม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้ำล้างสิ่งต่าง ๆ ในกระบวนการผลิต หรือเป็นน้ำเสียจากการทำการเกษตร เชน่ นำ้ เสียจากการล้างคอกสัตว์เล้ยี ง นำ้ เสียจากนาข้าว นำ้ เสยี จากฟาร์มเลย้ี งกุง้ 3. แบบจำลองทอี่ ธิบายการใชน้ ้ำและแนวทางการแกป้ ัญหาการใช้นำ้ ในท้องถ่ินมีลักษณะอย่างไร แนวคำตอบ แนวทางในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหานำ้ เสยี มีหลายวิธกี าร เชน่ - การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักของประชาชน เพื่อลดการปล่อยน้ำเสียหรือ สิง่ ปฏิกูลลงในแหล่งนำ้ รวมถงึ การบำบดั นำ้ เสยี กอ่ นปล่อยออกสู่แหลง่ น้ำต่าง ๆ - แนวทางในด้านการลงทุนเพ่ือแก้ไขปัญหาน้ำเสีย เช่น การศึกษามาตรการหรือวิธีการเฉพาะเพื่อแก้ไข ปญั หาน้ำเสีย การลงทนุ เพอื่ ก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสยี สว่ นกลาง 4. จากกจิ กรรมสรุปได้ว่าอย่างไร แนวคำตอบ น้ำมคี วามสำคัญต่อการดำรงชวี ิตของมนษุ ย์และการประกอบอาชีพ ความตอ้ งการใชน้ ้ำมีปริมาณ เพิ่มขึ้นเนื่องจากการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคและ บริโภคที่เพิ่มสูงข้ึนตามจำนวนประชากร นอกจากนี้คุณภาพของแหล่งน้ำบางแห่งอาจมีการปนเปื้อนของเสีย น้ำเสีย และส่ิงปฏิกูลต่าง ๆ ที่ระบายมาจากการใช้น้ำในชุมชน จึงต้องมีการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำท่ีมีอยู่ ดว้ ยวิธกี ารที่เหมาะสมและอยา่ งต่อเนื่อง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 290 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 2 1. การผุพังอยกู่ บั ท่ีมีความสัมพันธ์กบั กระบวนการเกิดดินอยา่ งไร** แนวคำตอบ การผุพังอยู่กับที่ทั้งทางกายภาพและทางเคมี ช่วยให้หินในพื้นท่ีผุพังจนเกิดเป็นวัตถุต้นกำเนิดดิน และ ช่วยใหว้ ตั ถุตน้ กำเนิดดนิ ผพุ งั จนเปน็ ตะกอนขนาดตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อดิน 2. ในบริเวณหน่งึ ถ้าช้ันดนิ ทอ่ี ยดู่ า้ นบนมีความหนาคอ่ นข้างนอ้ ย คดิ ว่าเปน็ เพราะเหตุใด** แนวคำตอบ ช้ันดินทม่ี ีความหนาคอ่ นขา้ งนอ้ ย เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง เชน่ - ชนดิ และปรมิ าณของวตั ถุต้นกำเนิดดิน ในธรรมชาติหินบางชนดิ จะมีความทนทานต่อการผุพงั มาก ทำให้ดินท่มี ี ต้นกำเนิดมาจากหินดังกล่าวมีความหนาของชั้นดินท่ีบาง และถ้าวัตถุต้นกำเนิดดินท่ีผุพังมีปริมาณน้อย ก็จะมี ผลทำให้ความหนาของชนั้ ดินบางตามไปด้วย - ภูมิอากาศแห้งแล้ง การผุพังอยู่กับที่ของหินท้ังทางกายภาพและทางเคมีในบริเวณพ้ืนท่ีที่อยู่ในเขตภูมิอากาศ แห้งแลง้ จะเกิดขึน้ ไดน้ ้อย มีผลทำใหค้ วามหนาของช้นั ดนิ บางตามไปดว้ ย - ภูมิประเทศท่ีมีพ้ืนที่ลาดชัน จะมีการชะล้างพังทลายของหน้าดินมาก ทำให้ความหนาของชั้นดินในบริเวณ ดังกล่าวมีความบางหรอื อาจไมม่ ีช้นั ดินเลย - ระยะเวลาในการเกิดดินมีผลต่อความหนาของช้ันดิน ดินที่เกิดข้ึนมาเป็นระยะเวลาไม่นานจะมีความหนาของ ชั้นดินนอ้ ยกว่าดนิ ที่เกดิ ขน้ึ มาเป็นระยะเวลานานกว่า 3. ภมู อิ ากาศในแตล่ ะพื้นทีม่ ีผลตอ่ กระบวนการเกิดดินอยา่ งไร** แนวคำตอบ ภูมิอากาศมีผลต่ออุณหภูมิอากาศและปริมาณฝนในพ้ืนที่หน่ึง ๆ ซ่ึงจะมีผลต่อกระบวนการเกิดดิน เช่น ในเขตภูมิอากาศร้อนช้ืน จะมีอุณหภูมิอากาศค่อนข้างสูงและมีปริมาณฝนมาก ทำให้การผุพังอยู่กับที่ของหินท้ังทาง กายภาพและทางเคมีเกิดขึ้นได้มากกว่าในเขตภูมิอากาศหนาวเย็น นอกจากน้ีอุณหภูมิอากาศยังมีผลต่อปริมาณ สิ่งมชี ีวติ ในดินและปฏิกริ ิยาการย่อยสลายของซากพืชซากสัตว์ในดนิ ซ่งึ ส่งผลต่อปรมิ าณอนิ ทรียวตั ถุในดินและสีดิน 4. ในเขตภูมิอากาศแหง้ แล้ง ลักษณะชั้นดินทพี่ บควรมีลกั ษณะอยา่ งไร** แนวคำตอบ ในเขตภูมิอากาศแห้งแล้ง ต้นไม้ข้ึนปกคลุมน้อย จะเกิดการกร่อนโดยลมค่อนข้างมาก ทำให้ชั้นดินมี ความบาง และพบปรมิ าณซากพชื และซากสัตว์นอ้ ย 5. เน้อื ดนิ มผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืชอย่างไร** แนวคำตอบ เน้ือดินเป็นลักษณะทางกายภาพของดิน เป็นสัดส่วนโดยน้ำหนักของตะกอนทราย ทรายแป้ง และดิน เหนียว ตะกอนทั้ง 3 ขนาดนี้เม่ือรวมตวั กันในสัดส่วนตา่ ง ๆ กัน จะได้เน้ือดินชนิดต่าง ๆ ซง่ึ จะมีผลตอ่ ความพรุนของ ดินและการอุ้มน้ำท่ีแตกต่างกัน ซึ่งพืชบางชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในดินท่ีมีความพรุนสูง ระบายน้ำได้ดี หรือพืชบาง ชนดิ เจรญิ เติบโตได้ดีในดินทมี่ ีเน้อื ละเอียดแน่นและมีนำ้ ทว่ มขัง สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

291 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลยี่ นแปลง คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 6. วัตถตุ ้นกำเนดิ ดนิ มีผลตอ่ ลกั ษณะและสมบัตขิ องดินอย่างไร** แนวคำตอบ วัตถุต้นกำเนิดดินเป็นหิน ดิน หรือแร่ชนิดต่าง ๆ ท่ีผุพังอยู่กับท่ีซึ่งจะผุพังกลายเป็นตะกอนขนาดต่าง ๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของดิน จะมีผลต่อลักษณะและสมบัติของดิน กล่าวคือทำให้ดินมีจำนวนและปริมาณ แรธ่ าตุ สีดิน เนอ้ื ดิน โครงสรา้ งของดินและสมบตั ิทางเคมีของดินแตกตา่ งกนั 7. ชัน้ ดินที่เกดิ ขน้ึ ณ บริเวณที่มอี ณุ หภูมิหนาวเยน็ กบั บริเวณป่าดบิ ช้นื จะมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ อยา่ งไร** แนวคำตอบ ชน้ั ดนิ ท่ีพบในบรเิ วณท่ีมอี ณุ หภมู ิหนาวเย็นจะมีการผพุ ังอยู่กับทน่ี อ้ ยกวา่ ในบริเวณปา่ ดิบชนื้ ทำใหช้ น้ั ดิน มคี วามบางกว่า และพบปริมาณซากพืชและซากสัตว์นอ้ ยกว่าชั้นดนิ ในบรเิ วณปา่ ดิบชน้ื 8. ชน้ั ดินท่เี กดิ ข้นึ ณ บริเวณท่ีลาดเชิงเขากับบริเวณที่ราบจะมีลกั ษณะเหมอื นกันหรือไม่ อย่างไร* แนวคำตอบ ชั้นดินที่เกิดข้ึน ณ บริเวณท่ีลาดเชิงเขาจะมีความบางกว่าบริเวณที่ราบ เน่ืองด้วยมีการกร่อนในพ้ืนท่ี มากกว่า 9. ถ้าปลูกพืชชนิดหนึ่งในดินที่มีค่า pH เหมาะสมสำหรับพืชชนิดนั้น แต่ปรากฏว่าพืชเจริญเติบโตได้ไม่ดี เพ่ือเป็น การแก้ปัญหาเก่ียวกับการปลูกพืชดังกล่าว จะตั้งสมมติฐานเก่ียวกับการเจริญเติบโตของพืชในดินนั้นอย่างไร และมวี ิธกี ารออกแบบเพ่ือตรวจสอบสมมติฐานนนั้ ได้อย่างไร** แนวคำตอบ การเจริญเติบโตของพืชอาจเกิดข้ึนเนือ่ งจากชนิดของเนือ้ ดนิ ความชน้ื ในดิน และธาตุอาหารในดินได้ จึง ควรจัดตัวแปรดังกล่าวเป็นตัวแปรต้น และควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ในการทดลอง และศึกษาการเจริญเติบโตของพืชซึ่ง เป็นตวั แปรตามของการทดลอง 10. ปลูกพืชชนิดหน่ึงในดินต่างชนิดกัน 3 ชนิด โดยมีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เมื่อเวลาผ่านไป การเจริญเติบโตของ พชื มลี ักษณะดังภาพ 1. 2. 3. ก. ถ้าต้องการทราบว่าดินท่เี หมาะสมกบั การปลูกพืชชนดิ นค้ี วรมคี ่า pH เทา่ ใด จะตอ้ งทำอยา่ งไร* แนวคำตอบ กำหนดตวั แปรต้นเป็นค่า pH ของดิน และทำการควบคุมตวั แปรอื่น ๆ ข. จากขอ้ ก. การทดลองน้ีต้องควบคมุ ตวั แปรใด* แนวคำตอบ ทำการควบคุมตัวแปร ได้แก่ ชนิดของพืช ชนิดดิน ปริมาณความชื้นในดิน ปริมาณธาตุอาหารในดิน ขนาดกระถาง ปรมิ าณดิน และศึกษาการเจริญเติบโตของพชื ซึ่งเปน็ ตัวแปรตาม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปล่ยี นแปลง 292 คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 11. จงอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างน้ำผิวดิน นำ้ ในดิน นำ้ บาดาล ทีอ่ ยู่ในการเปลย่ี นแปลงของวัฏจักรนำ้ ** แนวคำตอบ น้ำผิวดิน น้ำในดิน และน้ำบาดาล มีการเกิดท่ีสัมพันธ์กัน กล่าวคือ น้ำผิวดินจะไหลซึมลงสู่ใต้ดินเกิด เปน็ นำ้ ในดนิ และไหลซึมลึกลงต่อไปอีกไปกักเกบ็ ไว้ในช้ันหนิ อุ้มน้ำเกิดเปน็ น้ำบาดาล นำ้ บาดาลสามารถไหลผ่านช้ัน หินต่าง ๆ ท่ีมีความพรุน และไหลเช่ือมต่อไปยังแม่น้ำหรือแหล่งน้ำต่าง ๆ ได้ และจะเกิดการระเหยของน้ำดังกล่าว ขน้ึ สบู่ รรยากาศ เม่ือควบแน่นกลายเป็นฝน จะตกลงสู่ผวิ โลกกลายเป็นน้ำผิวดิน และจะไหลซึมลงสใู่ ตด้ ิน หมุนเวยี น ในลกั ษณะนต้ี ่อเนือ่ งกันเป็นวัฏจักร 12. ในฤดูรอ้ นและฤดูฝน ระดบั นำ้ ใตด้ ินในพน้ื ทหี่ น่งึ ๆ จะมีระดับแตกต่างกันไม่ เพราะเหตุใด* แนวคำตอบ ระดับน้ำใต้ดนิ ในฤดูฝนจะมรี ะดับสงู กว่าในฤดูรอ้ น เน่ืองด้วยปริมาณน้ำผิวดนิ ทไี่ หลซึมลงสู่ใต้ดินในชว่ ง ฤดฝู นจะมากกว่า 13. จากภาพ ใหพ้ จิ ารณาชน้ั หนิ อมุ้ น้ำ ชัน้ หินทมี่ เี นือ้ ละเอียดแน่น และระดับน้ำใต้ดนิ และตอบคำถามดงั ตอ่ ไปน้ี 13.1 หนิ ในตำแหน่ง ก. และ ข. มลี กั ษณะแตกต่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร* แนวคำตอบ หินในตำแหน่ง ก. และ ข. มีลักษณะเหมือนกัน คือ เป็นหินหรือตะกอนชนิดเดียวกัน และหิน หรอื ตะกอนดังกลา่ วมีความพรุนและชอ่ งวา่ งท่เี กดิ ขึ้นในหนิ หรอื ในตะกอนจะมีความตอ่ เนื่องกนั 13.2 หนิ ในตำแหน่ง ค. และ ง. มลี ักษณะแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร* แนวคำตอบ หินในตำแหน่ง ค. และ ง. มีลักษณะแตกต่างกัน หินในตำแหน่ง ค. เป็นหินที่มีเนื้อละเอียดแน่น สว่ นหนิ ในตำแหน่ง ง. มีความพรนุ และช่องว่างท่ีเกดิ ขึ้นในหนิ จะมคี วามต่อเน่ืองกัน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

293 หนว่ ยที่ 7 | โลกและการเปลีย่ นแปลง คู่มอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 13.3 ถา้ มีการเจาะบ่อน้ำบาดาลที่ตำแหน่งหมายเลข 1, 2, 3 และ 4 บ่อน้ำบ่อใดที่จะมีน้ำบาดาลไหลล้นออกมา จากปากบ่อ เพราะเหตใุ ด* แนวคำตอบ บ่อท่ี 4 จะมีน้ำพุพ้นออกจากปากบ่อ เพราะระดับน้ำใต้ดินของชั้นหินอุ้มน้ำ ง. มีระดับสูงกว่า ระดบั ปากบ่อ 14. จากภาพ โรงงานอุตสาหกรรมได้ปล่อยน้ำเสียลงสู่ใต้ดิน การกระทำดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อคุณภาพของน้ำ บาดาลหรอื ไม่ เพราะเหตุใด* แนวคำตอบ การปล่อยน้ำเสียลงสู่ใต้ดินจะมีผลกระทบต่อคุณภาพน้ำบาดาล เพราะน้ำเสียท่ีปล่อยลงมาจะไหลซึม ลงสู่ใต้ดิน ไปรวมกับน้ำในดินและน้ำบาดาล น้ำบาดาลจะไหลไปตามช่องว่างระหว่างตะกอน ทำให้น้ำดังกล่าวไหล ไปยังบริเวณอน่ื ๆ ได้ เปน็ การแพร่กระจายน้ำเสยี ไปยังชนั้ หินอมุ้ น้ำในพื้นท่ีตา่ ง ๆ ดังนนั้ เมอ่ื เจาะน้ำบาดาลข้ึนมาใช้ น้ำดงั กลา่ วก็มนี ำ้ เสยี ปนเปือ้ นอยู่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 7 | โลกและการเปล่ียนแปลง 294 คูม่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ คู่มอื ครหู นว่ ย 7 บทที่ 3 และหนว่ ย 8 อยรู่ ะหวา่ งดำเนนิ การ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

399 ภาคผนวก คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ภาคผนวก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก 400 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ บรรณานุกรม กรมทรัพยากรธรณ.ี ปลอ่ งภเู ขาไฟลำปาง. สืบคน้ เม่ือ 10 มกราคม 2562, จาก http://www.dmr.go.th/main.php?filename=n06 กรมทรัพยากรธรณี. พนุ ำ้ ร้อนในประเทศไทย. สืบค้นเมอ่ื 10 มกราคม 2562, จาก http://www.dmr.go.th/main.php?filename=hotspring กรมพัฒนาทดี่ ิน. แผนทช่ี ุดดิน. สืบคน้ เมือ่ 3 มกราคม 2562, จาก http://eis.ldd.go.th/lddeis/SoilView.aspx กรมพัฒนาท่ดี นิ . แผนท่ีทางเลือกพชื เศรษกิจ. สบื ค้นเมื่อ 3 มกราคม 2562, จาก http://www.ldd.go.th/www/lek_web/web.jsp?id=19063 กรมพัฒนาที่ดิน. ข้อมลู แผนท่ีการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ . สบื ค้นเมื่อ 3 มกราคม 2562, จาก http://eis.ldd.go.th/lddeis/SoilView.aspx กรมพัฒนาทด่ี ิน. ขอ้ มูลการจัดการดิน. สบื ค้นเมื่อ 3 มกราคม 2562, จาก http://www.ldd.go.th/Web_Soil/compact.htm กรมพฒั นาทด่ี นิ . ขอ้ มลู ชั้นหน้าตัดดินและขอ้ มลู กลุ่มชุดดนิ . สบื ค้นเมื่อ 3 มกราคม 2562, จาก http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoilinf/central/Prachupkirikun/pkk_04.html กรมพฒั นาทด่ี ิน. ข้อมลู สารสนเทศดินเพื่อการใชแ้ ละการจัดการที่ดนิ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด. สบื คน้ เมอ่ื 3 มกราคม 2562, จาก http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoilinf/central/Prachupkirikun/pkk_map/pkk_man62/7704/770 401_home.html กรมสง่ เสริมการเกษตร. การไถระเบดิ ดนิ ดาน. สบื คน้ เมอ่ื 3 มกราคม 2562, จาก http://www.aepd02.doae.go.th/new/การไถระเบดิ ดนิ ดาน.doc บรษิ ทั ประจวบอุตสาหกรรม จำกัด. สบื ค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก http://www.psisugar.com/Our- Factory/Production.html มูลนิธชิ ัยพฒั นา. การแก้ปัญหานำ้ ทว่ ม. สบื ค้นเมอ่ื 12 มกราคม 2562, จาก http://www.chaipat.or.th/ มูลนธิ ิชยั พัฒนา. การจดั การดินดาน. สืบค้นเมื่อ 20 กนั ยายน 2562, จาก http://www.chaipat.or.th/publication/publish-document/tips/36-2015-04-03-10-16-17.html มูลนธิ ชิ ัยพัฒนา. การจัดการทรพั ยากรน้ำ. สืบค้นเม่ือ 12 มกราคม 2562, จาก http://www.chaipat.or.th/ มลู นิธชิ ัยพฒั นา. ดนิ . สบื คน้ เม่ือ 12 มกราคม 2562, จาก http://www.chaipat.or.th/publication/publish- document/tips/36-2015-04-03-10-16-17.html มลู นิธมิ ัน่ พฒั นา. การจดั การทรพั ยากรน้ำ. สืบค้นเมอื่ 29 กนั ยายน 2562, จาก http://www.tsdf.nida.ac.th/th/ ราชบัณฑติ ยสถาน. (2544). พจนานกุ รมศัพท์ธรณวี ทิ ยา ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. กรงุ เทพมหานคร: อรุณการพิมพ์. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

401 ภาคผนวก คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑติ ยสถาน. (2558). พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (พมิ พค์ รั้งที่ 2). กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพค์ ณะรัฐมนตรีและราชกจิ จานุเบกษา. สถาบันนวัตกรรมการเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. เคมีสำหรบั โครงการเรยี นล่วงหน้า. สบื คน้ เมอ่ื 2 พฤษภาคม 2562, จาก https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-chemistry2/liquid solution/solution_distillation.htm สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี การตรวจวดั เนอ้ื ดิน. สบื คน้ เมอื่ 2 มกราคม 2561, จาก http://globethailand.ipst.ac.th/?page_id=3913 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี การตรวจวดั ความชื้นในดิน. สบื ค้นเมือ่ 2 มกราคม 2561, จาก http://globethailand.ipst.ac.th/?page_id=3854 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. การตรวจวัดคา่ ความเปน็ กรด-เบสของดิน. สืบค้นเม่ือ 2 มกราคม 2561, จาก http://globethailand.ipst.ac.th/?page_id=3875 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2551). หนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ดวงดาวและโลก ของเรา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 สำหรบั นักเรยี นไมเ่ น้นวิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพร้าว. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร์ เช้ือเพลงิ เพ่ือ การคมนาคม ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2555). ตามรอยพระบาท จอมปราชญแ์ หง่ แผ่นดนิ . กรงุ เทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พบั ลชิ ชง่ิ . สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). หนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 3 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (พิมพ์ครงั้ ที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพรา้ ว สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2556). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์ พลังงานทดแทน กบั การใชป้ ระโยชน์ ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เล่ม 1 ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พมิ พ์ครงั้ ที่ 1). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). แนวคิดคลาดเคลื่อนเกย่ี วกับงานและกำลัง. การประชุม พจิ ารณาคมู่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2. 27-29 มิถุนายน 2561. กรุงเทพมหานคร. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 402 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ สำนกั งานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงศึกษาอตุ สาหกรรม. (2558). กระบวนการผลติ น้ำตาลทรายดบิ น้ำตาลทรายขาว และน้ำตาลทรายขาวบริสทุ ธ์ิ สืบค้นเมื่อ 5 มนี าคม 2562, จาก http://www.ocsb.go.th/upload/executive/fileupload/6438-9170.pdf สำนักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน). สถานการณ์น้ำทว่ มของประเทศไทย. สบื คน้ เมือ่ 8 มกราคม 2562, จาก http://flood.gistda.or.th/ แหลง่ เรยี นรู้ออนไลน์ สสวท. (2557) นำ้ ตาลทรายขาว. สบื ค้นเมื่อ 5 มนี าคม 2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=8nJY7R0uOWM แหล่งเรยี นรอู้ อนไลน์ สสวท. (2557). น้ำตาลทรายดบิ . สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=5-UKhUV4rOA Atlas Obscura. Kola Superdeep Borehole. Retrieved February 22, 2018 from https://www.atlasobscura.com/places/kola-superdeep-borehole Bhandari. (2017). Simple Machines and Work. Retrieved June 28, 2019, from https://ibhandari.weebly.com/uploads/2/6/5/6/26565527/simple_machines_powerpoint_slides.pdf Blazeski, G. (2017). Kola Superdeep Borehole: The deepest man-made hole in the world. Retrieved February 22, 2018, from https://www.thevintagenews.com/2017/12/26/kola-superdeep-borehole/ Bindis, M. (2013). Students' misconceptions about intermolecular forces as investigated through paper chromatography experiments and the Molecular Attractions Concept Inventory. (Electronic Thesis or Dissertation). Retrieved May 02, 2019, from https://etd.ohiolink.edu/pg_10?0::NO:10:P10_ACCESSION_NUM:miami1379167186/ CK-12 Foundation (2017). Colloids and Suspensions. Retrieved May 02, 2019, from https://www.ck12.org/book/CK-12-Chemistry-Intermediate/section/15.3/ Clark, Jim. (2016). Paper Chromatography. Retrieved May 02, 2019, from https://www.chemguide.co.uk/analysis/chromatography/paper.html Clement, J. (1987). Overcoming students' misconceptions in physics: The role of anchoring intuitions and analogical validity. In J. Novak (Ed.). Proceedings of the second international seminar misconceptions and educational strategies in science and mathematics. (3, 84-96). Ithaca, NY: Cornell University. Hamblin, W. K., & Christiansen. E. H. (2001). Earth’s Dynamic Systems (10th ed). New Jersey: Pearson Education. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

403 ภาคผนวก คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ Kastning, E. H., & Kastning, K. M. (1999). Misconceptions about caves and karst: Common problems and educational solutions. National Cave and Karst Management Symposium, 99-107. King, C. J. H. (2010). An analysis of misconceptions in science textbooks: Earth science in England and Wales. International Journal of Science Education, 32(5), 565-601. Learning A-Z. (2019). Machine. Retrieved June 28, 2019, from https://www.sciencea- z.com/main/ScienceSearch/?searchTerms=Machine Lipper, A. (2009). The Biggest Misconceptions in Science Textbooks...and What to Do About It. Supercharged Science, 1-4. Miller, J. M. (2005). Chromatography: Concepts and Contrasts (Vol. 2nd). Hoboken, New Jersey: Wiley-Interscience. MiTEP. List of common geoscience misconceptions. Retrieved June 3, 2018 from http://hub.mspnet.org/media/data/MiTEP_List_of_Common_Geoscience_Misconceptions.pdf?m edia_000000007297.pdf Nichols, L. (2019). Distillation. Retrieved May 02, 2019, from https://bit.ly/2WhWBi4 Ocean Motion. Misconceptions in earth science. Retrieved June 8, 2018 from http://oceanmotion.org/html/teachers/misconceptions.htm OSU. Common misconceptions about weathering, erosion, volcanoes, and earthquakes. Retrieved June 2, 2018 from https://beyondpenguins.ehe.osu.edu/issue/earths-changing-surface/common- misconceptions-about-weathering-erosion-volcanoes-and-earthquakes Penny. Misconception: Earth’s core. Retrieved June 10, 2018 from http://paleopix.com/blog/2013/10/06/misconception-the-earths-core-is-hollow-or-that-large- hollow-spaces-occur-deep-within-earth/ Philips, W. C. Earth science misconceptions. Retrieved June 10, 2018 from http://k12s.phast.umass.edu/~nasa/misconceptions.html Plummer, C. C, McGeary, D., & Carlson. D. H. (2001). Physical geology data (8th ed.). New York, NY: McGraw-Hill. Regional Professional Development Program. Target Interventions for Proficiency in Science. Retrieved May 01, 2019, from http://www.rpdp.net/sciencetips_v3/P8A3.htm SERC. Misconception: Earth's Structure. Retrieved June 15, 2018 from https://serc.carleton.edu/NAGTWorkshops/intro/misconception_list.html สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก 404 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ Skinner, B. J., & Porter. (1989). The Dynamic Earth an Introduction to physical geology. New York, NY: John Wiley & Sons. Soult, A. (2019). Colloids and Suspensions. Retrieved May 02, 2019, from https://bit.ly/2ZLsv8R Tarbuck, J. E., & Lutgens. F. K., & Tasa, D. (2012). Earth Science (13th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall. Tatar, E., and Oktay, M. (2007). Students’ Misunderstandings about the Energy Conservation Principle: A General View to Studies in Literature. International Journal of Environmental & Science Education, 2(3), 79 –86. The Science Learning Hub. Alternative conceptions about soil. Retrieved June 2, 2018 from https://www.sciencelearn.org.nz/resources/899-alternative-conceptions-about-soil The Science Teacher. Distillation teaching resources. Retrieved May 01, 2019, from https://thescienceteacher.co.uk/distillation/ UCI. Misconceptions: weathering. Retrieved June 2, 2018 from http://sites.uci.edu/researchfilmmaking/files/2016/01/ES4L1V6.pdf USGS. flood. Retrieved February 22, 2018 from https://www.usgs.gov/ USGS. Structure of earth. Retrieved February 22, 2018 from https://www.usgs.gov/ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

405 ภาคผนวก คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ คณะผ้จู ดั ทำ คณะทป่ี รึกษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.ชูกจิ ลมิ ปิจำนงค์ ดร.กุศลิน มสุ กิ ลุ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผ้จู ดั ทำคู่มือครู สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางชตุ ิมา เตมียสถติ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางกิ่งแก้ว คูอมรพัฒนะ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวดวงกมล เหมะรัต สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาววราภรณ์ ถริ สิริ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววรรณภา ศรวี ไิ ลสกุลวงศ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวธนพรรณ ชาลี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวสุนสิ า แสงมลคลพิพัฒน์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวกมลนารี ลายคราม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.อรนษิ ฐ์ โชคชยั สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.กฤษลดา ชูสนิ คณุ าวฒุ ิ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.วชิร ศรีคุ้ม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.นิพนธ์ จนั เลน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววมิ ลมาศ ศรีนาราง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายศุภณัฐ คมุ้ โหมด นายจิรวฒั น์ ดำแกว้ ดร.ยศินทร์ กิตจิ นั ทโรภาส ดร.วิลานี สชุ ีวบรพิ นธ์ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ภาคผนวก 406 คู่มือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ คณะผู้พิจารณาคมู่ ือครู มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จรี ะวรรณ เกษสงิ ห์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เอกภูมิ จนั ทรขันตี มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ดร.สายร้งุ ซาวสภุ า โรงเรยี นโคกสว่างคมุ้ วทิ ยานสุ รณ์ ดร.เดชา ศุภพทิ ยาภรณ์ โรงเรยี นสรุ นารวี ทิ ยา นางจติ ติมา วัฒราช โรงเรยี นเทพลีลา นางจฑุ ามาศ เกษตรเวทิน โรงเรียนมธั ยมประชานิเวศน์ นางนภาวรรณ สทิ ธิวงศ์ โรงเรยี นบางสะพานวิทยา นางสาวปวณี า ชาลเี ครือ โรงเรยี นดำรงราษฎรส์ งเคราะห์ นางร่งุ รตี เทพนม โรงเรยี นวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์) นายสุทธพิ งษ์ ใจแกว้ โรงเรยี นพระปฐมวิทยาลยั นางสาวสุวมิ ล เปยี่ มกลัด นายหสั ชยั ทวีผล คณะบรรณาธิการ มหาวทิ ยาลัยมหิดล นกั วิชาการอสิ ระ รองศาสตราจารย์ ดร.กติ ตวิ ิทย์ มาแทน นักวชิ าการอิสระ รองศาสตราจารย์ ดร.วรี ะวรรณ สทิ ธิกรกลุ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จินดา แต้มบรรจง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย จูฑะโกสิทธ์ิกานนท์ นกั วิชาการอสิ ระ ดร.เทพกญั ญา พรหมขตั ิแก้ว หมอ่ มหลวงพิณทอง ทองแถม สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

407 ภาคผนวก คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ คณะผจู้ ัดทำ คณะผู้ทดลองใช้ โรงเรยี นบคี อนเฮาส์แยม้ สอาดรังสิต จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนชมุ ชนบ้านตาหลังใน จังหวดั สระแกว้ นางภรู ิตา ศรีมุกดา โรงเรยี นดอนจานวทิ ยาคม จังหวดั กาฬสินธุ์ นายปกรณเ์ กียรติ ศิริสทุ ธิ์ โรงเรยี นหนั คาพิทยาคม จังหวัดชัยนาท นางปาณสิ รา แลโสภา โรงเรยี นปา่ พะยอมพิทยาคม จังหวดั พทั ลงุ นางพชรมน นวลดี โรงเรยี นศรีสำโรงชนูปถัมภ์ จงั หวัดสุโขทยั นางภาณินี วรเนติวุฒิ โรงเรียนอนบุ าลบางสะพานน้อย จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ นางสาววนั เพ็ญ เพช็ รมี โรงเรียนนครระยองวทิ ยาคม (วดั โขดใต้) จังหวดั ระยอง นางสาววิมลสิริ อาสนะ โรงเรียนน้ำดิบวทิ ยาคม จงั หวัดลำพนู นางอรทัย ก่อศิริไพบูลย์ นางสาวอมั พิกา ตบ๊ิ กวาง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะทำงานฝ่ายเสรมิ วชิ าการ นางสาวรชั ดากรณ์ สุนาวี ฝา่ ยนวัตกรรมเพ่ือการเรยี นรู้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 408 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี