Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:39:30

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.1

Search

Read the Text Version

คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนว ยท่ี 1 การเรียนรสู ิ่งตาง ๆ รอบตัว 64 ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑก ารประเมนิ ดงั น้ี ทกั ษะแหง รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 พอใช (2) C2 การคิด การคิดโดยใชเหตุผล ส า ม า ร ถ คิ ด โ ด ย ใ ช สามารถคิดโดยใชเหตุผลท่ี สามารถคดิ โดยใชเหตุผล อยางมี ท่ี ห ล า ก ห ล า ย เหตุผลท่ีหลากหลาย หลากหลาย วิเคราะหและ เพียงเหตุผลเดียว มา วิจารณญาณ วเิ คราะหแ ละประเมิน วิเคราะหและประเมิน ประเมินคําตอบที่นาจะเปน วิเคราะหและประเมิน คําตอบท่ีนาจะเปน คําตอบที่นาจะเปนจาก จากขอมูลที่มีดวยมุมมองที่ คําตอบได โดยตองได จากขอมูล ที่มีดว ย ขอมูลท่ีมีดวยมุมมองที่ หลากหลายไดถูกตองจาก รับคําช้ีแนะจากครูหรือ มุมมองทหี่ ลากหลาย หลากหลายไดถูกตอง การช้แี นะของครูหรือผอู ืน่ ผูอ่ืน ดวยตนเอง C3 การ การแกไขปญหาจาก สามารถแกไขปญหา สามารถแกไขปญหาจาก สามารถแกไขปญหาจาก แกปญ หา สถานการณปลายาง จากสถานการณปลา สถานการณปลายางหายไป สถานการณปลายาง หายไปไหนไดโดยการ ยางหายไปไหนไดโดย ไหนไดโดยการคิดหาวิธีที่ หายไปไหนได โดยใช คิ ด ห า วิ ธี ท่ี ก า ร คิ ด ห า วิ ธี ท่ี หลากหลายในการรวบรวม วิธีการรวบรวมขอมูล หลากหลายในการ ห ล า ก ห ล า ย ใ น ก า ร ขอมูลเพื่อนํามาแกปญหา เพียงวิธีเดียว ในการ รวบรวมขอมูลมาใช รวบรวมขอมูลมาใช โดยอาศัยการชี้แนะจากครู นาํ มาแกปญ หา แมวาจะ แกป ญ หา แกปญ หาดว ยตนเอง หรอื ผอู ่นื ไดรับคําช้ีแนะจากครู หรือผูอ ่ืน C4 การสือ่ สาร การนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย การอภิปรายเกี่ยวกับการ จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย เก่ียวกับการรวบรวม เก่ียวกับการรวบรวม รวบรวมขอมูลและเหตุผลใน เกี่ยวกับการรวบรวม ขอมูลและเหตุผลใน ขอมูลและเหตุผลใน ก า ร ห า คํ า ต อ บ จ า ก ขอมูลและเหตุผลในการ การหาคําตอบจาก ก า ร ห า คํ า ต อ บ จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ ใ น รู ป แ บ บ ห า คํ า ต อ บ จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ ใ น สถานการณ ในรูปแบบ แผนภาพหรือรูปแบบอ่ืน ๆ สถานการณในรูปแบบ รูปแบบแผนภาพหรือ แผนภาพหรือรูปแบบ เพื่อใหผูอื่นเขาใจไดอยาง ใหผูอื่นเขาใจไดเพียง รปู แบบอื่น ๆ เพ่ือให อ่ืน ๆ เ พ่ื อใ ห ผู อ่ื น ถกู ตอง จากการชี้แนะของครู บางสวน และตองใช ผูอ น่ื เขา ใจ เขาใจไดอยางถูกตอง หรือผูอนื่ เวลานาน โดยตองได ไดดว ยตนเอง รับคําช้ีแนะจากครูหรือ ผูอ่ืน C5 ความ ทํางานรวมกับผูอื่นใน สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน สามารถทํางานรวมกับ รวมมือ การสังเกต รวบรวม ผูอ่ืนในการสังเกต การ ในการสังเกต การนําเสนอ ผูอื่นในการสังเกต การ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

65 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรยี นรูสิ่งตาง ๆ รอบตวั ทกั ษะแหง รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 พอใช (2) ขอมูล ลงขอสรุป การ นําเสนอ และการแสดง และการแสดงความคิดเห็น นําเสนอ และการแสดง นําเส นอ แล ะการ ความคิดเห็นเพื่อหา เ พ่ื อ ห า คํ า ต อ บ จ า ก คว ามคิดเ ห็นเพ่ือห า แสดงความคิดเห็น คาํ ตอบจากสถานการณ สถานการณบางชว งเวลาท่ีทํา คําตอบจากสถานการณ เพ่ือหาคําตอบจาก ต ล อ ด เ ว ล า ที่ ทํ า กิจกรรม รวมท้ังยอมรับฟง ในบางชวงเวลาท่ีทํา สถานการณ กิ จ ก ร ร ม ร ว ม ท้ั ง ความคดิ เหน็ ของผูอ ืน่ กิ จ ก ร ร ม แ ต ไ ม ค อ ย ยอมรับฟงความคิดเห็น สนใจความคิดเห็นของ ของผูอนื่ ผอู นื่ C6 การใช การสืบคนขอมูลทาง สามารถสืบคนขอมูล สามารถสืบคนขอมูลทาง สามารถสบื คนขอมลู ทาง เ ท ค โ น โ ล ยี อินเทอรเน็ตเก่ียวกับ ท า ง อิ น เ ท อ ร เ น็ ต อินเทอรเน็ตเกี่ยวกับรอยตีน อินเทอรเน็ตเกี่ยวกับ สารสนเทศและ รอยตีนสัตวเพื่อใช เกี่ยวกับรอยตีนสัตว สัตวเพ่ือใชเปรียบเทียบกับ รอยตีนสัตวได แตไม การสื่อสาร เปรียบเทียบกับรอย เพื่อใชเปรียบเทียบกับ รอยตีนสัตวท่ีปรากฏในตลาด สามารถเปรียบเทียบกับ ตีนสัตวที่ปรากฏใน รอยตีนสัตวที่ปรากฏใน จากแหลงขอมูลท่ีนาเชื่อถือ รอยตีนสัตวที่ปรากฏใน ตลาดจากแหลงขอมูล ตลาดจากแหลงขอมูลที่ ได จากการช้ีแนะของครู ต ล า ด ไ ด แ ม ว า จ ะ ไ ด ทน่ี า เช่อื ถือ น า เ ช่ื อ ถื อ ไ ด ด ว ย หรอื ผูอน่ื รับคําช้ีแนะจากครูหรือ ตนเอง ผอู ่นื  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรียนรูสิง่ ตาง ๆ รอบตัว 66 กิจกรรมทายบทที่ 1 เรยี นรูแบบนักวทิ ยาศาสตร (2 ชั่วโมง) 1. ครูใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งท่ีไดเรียนรูจากบทนี้ ในแบบบันทึก กิจกรรมหนา 24 2. นักเรียนตรวจสอบการสรปุ ส่งิ ที่ไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบกับภาพ สรุปเนื้อหาประจาํ บทในหัวขอ รอู ะไรในบทน้ี ในหนังสอื เรียน หนา 17 3. นักเรียนกลบั ไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอนเรียน ใน แบบบันทึกกิจกรรม หนา 2-5 อีกคร้ัง ถาคําตอบของนักเรียนไมถูกตองให ขีดเสนทับขอความเหลานั้น แลวแกไขใหถูกตอง หรืออาจแกไขคําตอบดวย ปากกาที่มีสีตางจากเดิม นอกจากน้ีครูอาจนําคําถามในรูปนําบทในหนังสือ เรียน หนา 2 มารวมกันอภิปรายคาํ ตอบอกี ครงั้ 4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทที่ 1 เรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ในแบบ บนั ทึกกจิ กรรมหนา 25-27 จากน้ันนําเสนอคําตอบหนาช้ันเรียน ถาคําตอบ ยังไมถูกตองครคู วรนาํ อภิปรายหรือใหสถานการณเพิ่มเติมเพ่ือแกไขแนวคิด คลาดเคลือ่ นใหถกู ตอ ง 5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรม รวมคิด รวมทํา โดยนักเรียนทํากิจกรรมตาม วิธีการท่ีกลุมของตนเองกําหนด เพ่ือพยายามหาเจาของลายนิ้วมือของ นกั เรยี นในกลุมอ่นื โดยการเปรียบเทียบความเหมือนของลายน้ิวมือ ครูควร เนนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการเก็บขอมูลท่ีละเอียดจะสามารถทํา ใหหาคําตอบไดงา ยขึ้น 6. นักเรียนอานและอภิปรายเนื้อเรื่องในหัวขอวิทยใกลตัว ในหนังสือเรียน หนา 19 โดยครูกระตุนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของความรูจากส่ิงท่ีได เรียนรูในหนวยน้ี วาสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร บา ง ดงั น้ี 6.1 เหน็ ดว ยหรือไมว าวทิ ยาศาสตรเปนส่ิงที่เราพบไดเฉพาะในหองเรยี น เพราะเหตใุ ด (ไมเห็นดวย เพราะวิทยาศาสตรเปน สิง่ ที่อยรู อบ ๆ ตัวเรา) 6.2 เม่ือพบปญหาใหม ๆ ท่ีเราไมคนุ เคย เชน การทําคุกกี้ เราจะแกปญหา อยางไร (รวบรวมขอมลู ทีเ่ ก่ยี วกบั วธิ กี ารทําคุกก้ีจากแหลง ตาง ๆ เชน สอบถามผูรู สบื คน ขอมูลจากอินเทอรเน็ต หรอื อานจากหนงั สือสอนการ ทําอาหาร เพื่อใหไดข อมลู ทั้งเรอื่ งวัตถดุ บิ ท่ีตองใชแ ละวิธีการทาํ คุกกี้) 7. นั ก เ รี ย น ร ว ม กั น ต อ บ คํ า ถ า ม สํ า คั ญ ป ร ะ จํ า ห น ว ย อี ก ค รั้ ง ดั ง นี้ “เราเรยี นรสู ่ิงตา ง ๆ รอบตัวไดอยางไร” ถาคําตอบยังไมถูกตอง ใหนักเรียน รวมกันอภิปรายเพอื่ ใหไดคาํ ตอบท่ีถกู ตอ ง สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

67 คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนว ยท่ี 1 การเรยี นรูส่งิ ตาง ๆ รอบตัว สรปุ ผลการเรยี นรขู องตนเอง วาดรปู หรอื เขียนขอ ความสรุปส่งิ ทีไ่ ดเ รียนรจู ากบทเรียนน้ีตามความเขาใจของนกั เรยี น  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนว ยที่ 1 การเรยี นรูส่ิงตาง ๆ รอบตัว 68 แนวคาํ ตอบในแบบฝก หดั ทา ยบท การดูโดยใชต าเปลา การสมั ผัส การดโู ดยใชตาเปลา การดโู ดยใชแ วนขยาย การดม สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

69 คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนว ยท่ี 1 การเรียนรสู ง่ิ ตาง ๆ รอบตวั การตอบข้ึนอยกู บั การสังเกตและเหตุผลของนักเรียน เชน ประเภทการใชง าน 3 1. รองเทา สาํ หรับเดนิ ในบา น/นอกบา น 2. รองเทา สาํ หรบั สวมไปโรงเรยี น 3. รองเทาสาํ หรบั ออกกําลังกาย เลน กีฬา  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรสู ง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั 70 การตั้งคําถาม คําตอบ สอ่ื สาร ขอ มูล เราสามารถรวบรวมขอมูลสวนประกอบและประโยชนของขาวมันไกไดโดย สอบถามผูรู เชน ผูปกครอง แมครัวในโรงอาหาร หรือสืบคนขอมูลจาก แหลงอื่น ๆ ท่เี ชอ่ื ถือได เชน หนงั สอื อนิ เทอรเ นต็ วีดิทศั น สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

71 คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรยี นรสู ่งิ ตาง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | บรรณานุกรม หนว ยที่ 1 72 บรรณานกุ รม (หนว ยที่ 1) Egger, A.E. (2009). As a part of a collaboration between Visionlearning and the SERC Pedagogic Service, and includes the products of a July 2009 workshop on Teaching Process of Science, Stanford University. Ecklund, E.H. & Scheitle, C.P. (2007). Religion among academic scientist: Distinctions, disciplines, and demographics. Social Problem 54(2):289-307. National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning. Washington, DC: National Academy Press.

พบกบั หนว ยที่ 2 เร็ว ๆ น้ี