Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-22 08:13:36

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ 165 คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 6.1 บรรยากาศของโลกเปน็ อย่างไร นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั สมบตั แิ ละองคป์ ระกอบบรรยากาศของโลก ผา่ นการศกึ ษาขอ้ มลู จากตารางในหนงั สอื เรยี น จากนัน้ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายข้อมูลเพือ่ สรา้ งแบบจำ� ลองชน้ั บรรยากาศตามเกณฑท์ ี่นักเรียนสรา้ งข้ึน จุดประสงค์ 1. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลเพื่อสร้างแบบจ�ำลองการแบ่งช้ันบรรยากาศตามเกณฑ์ เวลาทใี่ ช้ใน ของตนเอง และเปรยี บเทยี บกับเกณฑข์ องนกั วทิ ยาศาสตร์ การท�ำกิจกรรม 2. อธิบายลกั ษณะชัน้ บรรยากาศของโลก 45 นาที วัสดุและอุปกรณ์ -ไม่มี- ข้อเสนอแนะ นักเรียนศึกษา การแบ่งชั้นบรรยากาศของนักวิทยาศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น ในการทำ� กจิ กรรม จากหนังสือเรียน หรือการค้นคว้าจากเว็บไซต์ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ ส่ือการเรยี นร้/ู สหรัฐอเมริกา(NASA) หรือองค์การบริหารสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา แหลง่ เรียนรู้ (NOAA) หรอื กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

166 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม มอี งคป์ ระกอบเปน็ ไอออนและอณุ หภมู ิอากาศสงู เรมิ่ มอี งคป์ ระกอบเปน็ ไอออน และอณุ หภมู อิ ากาศตำ่� 200 km เรม่ิ มอี งคป์ ระกอบเปน็ แกส๊ ไนโตรเจน ออกซิเจน 83 km และอารก์ อน และอุณหภูมิอากาศต�่ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ 167 ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม 1. สมบัติและองค์ประกอบของอากาศท่หี อ่ หุ้มโลกตั้งแต่ระดบั 0-1,000 กโิ ลเมตร เหมอื นกันโดยตลอดหรือไม่ ทราบไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ ไมเ่ หมอื นกนั โดยตลอด เนอื่ งจากมกี ารเปลยี่ นแปลงของอณุ หภมู ิ ความหนาแนน่ อากาศ และองค์ ประกอบส�ำคญั 2. เกณฑข์ องตนเองท่ีใช้แบง่ บรรยากาศของโลกมอี ะไรบ้าง แบง่ ออกเปน็ ก่ีชั้น อะไรบา้ ง แนวค�ำตอบ เกณฑ์ท่ีใช้แบ่งบรรยากาศคือ องค์ประกอบของอากาศและอุณหภูมิอากาศ ช้ันแรกความสูง 0-86 กโิ ลเมตร มอี งคป์ ระกอบเปน็ แกส๊ ไนโตรเจนแกส๊ ออกซเิ จนและแกส๊ อารก์ อนอณุ หภมู อิ ากาศตำ่� ชั้นที่สองความสูง 86-200 กิโลเมตร มีองค์ประกอบเป็นแก๊สและไอออน อุณหภูมิอากาศต่�ำ ชน้ั ทส่ี าม ความสงู มากกวา่ 200 กโิ ลเมตร มอี งคป์ ระกอบเปน็ แกส๊ และไอออน อณุ หภมู อิ ากาศสงู 3. เกณฑท์ ี่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแบ่งบรรยากาศของโลกมีอะไรบ้าง แบง่ ออกเป็นก่ชี ัน้ อะไรบา้ ง แนวค�ำตอบ เกณฑท์ น่ี กั วทิ ยาศาสตรใ์ ชใ้ นการแบง่ บรรยากาศของโลก ไดแ้ ก่ เกณฑท์ ่ี 1 การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ิ ตามความสงู สามารถแบง่ ได้ 5 ช้นั คอื โทรโพสเฟยี ร์ สตราโตสเฟยี ร์ มีโซสเฟียร์ เทอรโ์ มสเฟียร์ และเอกโซสเฟยี ร ์ และเกณฑท์ ี่ 2 ความเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั ขององคป์ ระกอบของบรรยากาศ สามารถ แบ่งออกเป็น 2 ชั้นคือ ช้ันโฮโมสเฟียร์ซ่ึงมีองค์ประกอบของบรรยากาศเป็นแก๊สต่างชนิดกัน ผสมเป็นเน้ือเดยี วกนั มคี วามสงู ตง้ั แตร่ ะดบั พ้ืนผวิ โลกไปยงั ความสงู ประมาณ 80 กิโลเมตร และ ชน้ั เฮทเทอโรสเฟยี รซ์ ง่ึ มอี งคป์ ระกอบของบรรยากาศไมผ่ สมเปน็ เนอื้ เดยี วกนั โดยแกส๊ ทม่ี อี นภุ าค หนกั กวา่ เชน่ ออกซเิ จนและไนโตรเจนอยดู่ า้ นลา่ งของชน้ั แกส๊ ทมี่ อี นภุ าคเบากวา่ จะลอยอยดู่ า้ นบน ซึง่ มีความสูง 80 กิโลเมตรขึ้นไปจนถึงอวกาศ 4. เกณฑ์ของตนเองและเกณฑ์ท่ีนกั วิทยาศาสตรใ์ ช้แบง่ บรรยากาศของโลก เหมือนหรือตา่ งกนั อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ เกณฑ์ของตนเองและเกณฑ์ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแบ่งบรรยากาศของโลกแตกต่างกัน คือตนเองใช้เกณฑ์องค์ประกอบของอากาศและอุณหภูมิอากาศ แต่นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์ การเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิตามความสูงหรือใช้เกณฑ์ความเป็นเน้ือเดียวกันขององค์ประกอบ ของบรรยากาศ จำ� นวนช้นั ทีแ่ บ่งได้ และระดับความสงู ในแตล่ ะชน้ั จึงมีความแตกต่างกัน 5. จากกิจกรรม สรุปไดว้ ่าอย่างไร แนวคำ� ตอบ จากกิจกรรมสรุปได้ว่าบรรยากาศของโลกมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกันไปตามระดับ ความสงู ไม่เหมือนกนั โดยตลอด นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ในการแบ่งบรรยากาศเปน็ ชั้น เช่น เกณฑ์การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ิตามความสงู เกณฑค์ วามเปน็ เน้อื เดยี วกนั ขององคป์ ระกอบ ของบรรยากาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

168 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ความรู้เพม่ิ เตมิ สำ�หรบั ครู 1. ระหวา่ งบรรยากาศแตล่ ะชน้ั จะมชี ัน้ บรรยากาศบาง ๆ คนั่ อยู่ เช่น ระหว่างชั้นโทรโพสเฟยี ร์และสตราโตสเฟยี ร์ มีช้ันโทรโพพอส (Tropopause) ระหว่างชั้นสตราโตสเฟียร์และมีโซสเฟียร์ มีช้ันสตราโตพอส (Stratopause) ระหว่างช้นั มีโซสเฟยี รแ์ ละชั้นเทอร์โมสเฟยี รม์ ีชน้ั มโี ซพอส (Mesopause) โดยชนั้ โทรโพพอส สตราโตพอส และ มีโซพอส อณุ หภูมอิ ากาศจะค่อนขา้ งคงท่ี ไม่มกี ารเปลยี่ นแปลงอุณหภูมติ ามความสงู 2. ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) เป็นขอบเขตของบรรยากาศท่ีมีไอออนปรากฏอยู่เป็นจ�ำนวนมากโดยเริ่มต้นท่ี ความสูงประมาณ 60 กิโลเมตร ขึ้นไปจนถึงขอบเขตบนสุดของบรรยากาศของโลก ซึ่งครอบคลุมพ้ืนที่ของ บรรยากาศช้ันเทอร์โมสเฟียรเ์ ปน็ สว่ นใหญ่ 3. องค์ประกอบหลักของบรรยากาศของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ แสดงดังตารางตารางองค์ประกอบหลักของ บรรยากาศของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ ดาวเคราะห์ องคป์ ระกอบหลักของบรรยากาศ ดาวพธุ ดาวศกุ ร์ O2 โลก CO2 ดาวองั คาร N2, O2 CO2 ดาวพฤหัสบดี H2,He ดาวเสาร์ H2,CH4 ดาวยูเรนสั H2 ดาวเนปจนู CH4 4. แหล่งขอ้ มูลการสบื คน้ เพ่ิมเติมเก่ียวกับบรรยากาศ เชน่ • www.tmd.go.th • www.nasa.gov • www.noaa.gov สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ 169 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เรือ่ งท่ี 2 อุณหภมู อิ ากาศ ความรูเ้ พ่มิ เติมสำ�หรบั ครู ภาพน�ำเร่ือง คือ ภาพกราฟฟิกพ้ืนท่ีเดียวกัน แนวการจัดการเรยี นรู้ ครดู �ำเนินการดงั น้ี ในเวลากลางวันและกลางคืน 1. ทบทวนความรู้ เก่ียวกับองค์ประกอบของลมฟ้า อากาศที่ท�ำให้สภาพลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง ว่ามีอะไรบ้าง (อุณหภูมิอากาศ ความช้ืนอากาศ ความกดอากาศ ลม เมฆ และฝน) 2. กระตุ้นความสนใจนักเรียนต่อการเรียนเกี่ยวกับ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ องค์ประกอบแรก คืออุณหภูมิ โดยใช้ภาพ วีดิทัศน์ หรือเรื่องราวท่ี น่าสนใจเกี่ยวกับอุณหภูมิอากาศ เช่น การถาม ค�ำถามวา่ ในรอบ 1 วนั อณุ หภมู อิ ากาศมคี า่ แตกต่าง กันได้มากทีส่ ุดเทา่ ใด 3. ให้นักเรียนดูภาพน�ำเรื่อง อ่านเนื้อหาน�ำเรื่องและ รู้จักคำ� สำ� คญั โดยครอู าจจะใชค้ �ำถามดงั นี้ • จากสถิติโลกอุณหภูมิอากาศที่แตกต่างกัน มากท่ีสุดในรอบวันมีค่าเท่าใด (จากสถิติโลก พบว่าวันท่ีอุณหภูมิอากาศ ในรอบวันที่มีค่า แตกตา่ งกันมากที่สดุ เกดิ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2459 ณ เมอื งบราวนงิ่ รฐั มอนทานา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยอุณหภูมิในรอบวันมีค่าแตกต่างกันถึง 56 องศาเซลเซียส ในวันดังกล่าวอุณหภูมิอากาศ สงู สดุ มคี า่ 7 องศาเซลเซยี ส และอณุ หภมู อิ ากาศ ต่�ำสดุ มคี า่ -49 องศาเซลเซยี ส) • นักเรียนคิดว่าช่วงไหนของวันอุณหภูมิอากาศ สูงสุดและต�่ำสุด เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบได้ โดยอิสระ) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

170 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 4. นักเรียนท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม หากครูพบว่านักเรียนยังท�ำกิจกรรม ทบทวนความรกู้ อ่ นเรยี นไมถ่ กู ตอ้ ง ครคู วรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรยี น เพอ่ื ใหม้ คี วามรพู้ นื้ ฐานทถ่ี กู ตอ้ ง และเพยี งพอทจ่ี ะเรยี นเร่อื งอุณหภูมิอากาศต่อไป เฉลยทบทวนความรู้กอ่ นเรยี น ลากเล้นจบั คูข่ ้อความทางด้านซา้ ยและขวาท่มี ีความสัมพนั ธก์ นั มากทส่ี สดุ อุปกรณ์ในการวดั อุณหภมู ิ การพาความร้อน ระดับของพลงั งานความร้อน การแผ่รงั สีความร้อน การถา่ ยโอนความรอ้ นผา่ นของแขง็ อุณหภูมิ การถ่ายโอนความรอ้ นผ่านอากาศ เทอร์มอมิเตอร์ การถา่ ยโอนความร้อนจากดวงอาทติ ย์มายงั โลก การนำ� ความร้อน 5. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับอุณหภูมิอากาศโดยให้ท�ำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถ เขียนได้ตามความเข้าใจของนักเรียน ครูไม่เฉลยค�ำตอบและน�ำข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนไปใช้ ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย�้ำหรืออธิบายเร่ืองใดเป็นพิเศษ เม่ือนักเรียนเรียนจบเร่ืองนี้แล้ว นักเรียน จะมีความรู้ความเข้าใจครบถ้วนตามจดุ ประสงคข์ องบทเรียน ตัวอย่างแนวความคดิ คลาดเคลอ่ื นซ่ึงอาจพบในเรอ่ื งน้ี • อณุ หภูมอิ ากาศช่วงเที่ยงวนั มีค่าสูงท่สี ดุ • อุณหภูมอิ ากาศชว่ งเที่ยงคืนมีค่าตำ�่ ที่สุด 6. น�ำเขา้ สูก่ ารทำ� กิจกรรมท่ี 6.2 อุณหภมู ิอากาศเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร โดยตั้งค�ำถามกระตุ้นความสนใจวา่ จากสถติ ิโลก ท่อี ณุ หภมู อิ ากาศมคี า่ แตกตา่ งกนั มากท่ีสดุ ในรอบวนั ถงึ 56 องศาเซลเซียส ซง่ึ เปน็ ความผดิ ปกตขิ องการเปลี่ยนแปลง อณุ หภมู อิ ากาศ ดงั นนั้ ในวนั ทอ่ี ณุ หภมู อิ ากาศมกี ารเปลย่ี นแปลงแบบปกติ อณุ หภมู อิ ากาศจะมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร และมคี ่าแตกต่างกนั ประมาณเทา่ ใด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 171 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 6.2 อณุ หภมู ิอากาศเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูด�ำเนินการดงั นี้ กอ่ นการทำ� กจิ กรรม 1. ใหน้ ักเรียนอา่ นวิธีดำ� เนนิ กจิ กรรมในหนงั สอื เรียน และรว่ มกันอภปิ รายประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ • กิจกรรมนเี้ กีย่ วกบั เรื่องอะไร (การเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิอากาศในรอบวัน) • กิจกรรมนม้ี จี ุดประสงค์อะไร (ตรวจวดั อุณหภมู ิอากาศและวเิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมอิ ากาศในรอบวัน) • วิธีด�ำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านวิธีการใช้เทอร์มอมิเตอร์ และเทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู วางแผน การตรวจวดั อณุ หภมู อิ ากาศ บนั ทกึ ลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ทท่ี ต่ี รวจวดั วดั และบนั ทกึ อณุ หภมู อิ ากาศตามแผน ทว่ี างไว้ นำ� ขอ้ มูลมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู อิ ากาศในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ) • วสั ดแุ ละอปุ กรณพ์ เิ ศษทใ่ี ชใ้ นกจิ กรรมมอี ะไรบา้ งและใชง้ านอยา่ งไร (เทอรม์ อมเิ ตอรร์ ปู ตวั ยซู งึ่ มวี ธิ กี ารใชง้ านดงั แสดง ในหนังสอื เรียน) • ข้อควรระวังในการท�ำกิจกรรมมีหรือไม่อย่างไร (การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดค่าอุณหภูมิอากาศไม่ควรสัมผัสกระเปาะ เทอร์มอมเิ ตอร์ และไม่ควรใหก้ ระเปาะเทอรม์ อมิเตอรส์ มั ผัสแสงจากดวงอาทติ ย์โดยตรง) 2. ในัห้กเรียนศึกษาและอภิปรายวธิ กี ารใช้เทอร์มอมเิ ตอร์รูปตัวยู โดยอา่ นข้อมูลในหนงั สือเรียน 3. ในัห้กเรียนร่วมกันวางแผนเพ่ือเลือกสถานที่และเวลาท่ีใช้ในการวัดอุณหภูมิอากาศ รวมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผล ค่าอณุ หภูมิอากาศทีส่ ังเกตได้ มมุ เทคโนโลยี หากมอบหมายใหน้ กั เรยี นตา่ งหอ้ งกนั ทำ� กจิ กรรมและใชข้ อ้ มลู รว่ มกนั อาจใช้ เวบ็ ไซต์ หรอื โปรแกรม การเกบ็ ข้อมูลร่วมกัน เช่น กูเกลิ หรอื ไมโครซอฟท์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

172 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ระหวา่ งการท�ำกจิ กรรม 4. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ ครูสังเกตและให้ค�ำแนะน�ำเก่ียวกับการตรวจวัดอุณหภูมิอากาศของนักเรียน รวมท้งั การน�ำขอ้ มลู มาใช้ประกอบการอภิปรายหลงั กิจกรรม 5. เน้นให้นักเรียนเก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ีที่นักเรียนเลือกศึกษา เช่น ปริมาณแสงแดด ความช้ืน แหล่งน้�ำ ปริมาณต้นไม้ การน�ำข้อมูลท่ีได้จากการตรวจวัดมาสร้างกราฟเส้นที่แสดงการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิอากาศ ในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ท่ีตรวจวดั และเตรียมน�ำเสนอ โดยครูอาจแนะนำ� วิธีการสร้างกราฟให้แกน่ กั เรียน หลงั การทำ� กิจกรรม 6. ให้นักเรียนน�ำผลการท�ำกิจกรรมติดแสดงหน้าห้องเรียนเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละกลุ่ม หากข้อมูลที่ได้จาก แตล่ ะกลุ่มแตกตา่ งกนั ให้นกั เรยี นอภปิ รายสาเหตแุ ละสรปุ ข้อมูลทค่ี วรจะเปน็ 7. ใหน้ ักเรียนตอบคำ� ถามท้ายกิจกรรม จากนนั้ ครแู ละนักเรยี นอภิปรายคำ� ตอบรว่ มกัน 8. ให้นักเรียนอ่านข้อมูลในหนังสือเรียนเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบ 24 ช่ัวโมง และตอบค�ำถาม ระหว่างเรียน เฉลยคำ�ถามระหว่างเรียน • อณุ หภมู อิ ากาศสงู สดุ และตำ่� สุดของวนั เกดิ ขึ้นเมอื่ เวลาใดตามล�ำดับ แนวค�ำตอบ อุณหภูมิอากาศสูงสุดเกิดขึ้นในช่วงเวลา 14.00-16:00 น. อุณหภูมิอากาศต�่ำสุดเกิดขึ้นใน ชว่ งเวลา 05:00-06:00 น. • กราฟการเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู อิ ากาศจากกจิ กรรมท่ี 6.2 เหมอื นหรอื แตกตา่ งจากกราฟในภาพ 6.5 อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ เหมือนกันคืออุณหภูมิในช่วงเช้าจะต�่ำและค่อย ๆ สูงขึ้นในช่วงบ่าย แต่จากกิจกรรมไม่ได้ วัดอุณหภูมิต่อไปจนถึงช่วงเย็นหรือช่วงค่�ำถึงเช้ามืดจึงท�ำให้ไม่เห็นแนวโน้มอุณหภูมิที่ต�่ำลงใน เวลากลางคืน • ปจั จยั ใดที่ส่งผลใหอ้ ณุ หภูมอิ ากาศแต่ละพื้นทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงในรอบวนั แตกต่างกัน แนวคำ� ตอบ พลงั งานจากดวงอาทติ ย์และลักษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ี เช่น ลกั ษณะอาคาร สภาพกลางแจง้ หรือในรม่ ความใกลไ้ กลแหลง่ นำ�้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ 173 คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 9. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู อิ ากาศในรอบ 24 ชว่ั โมงจนไดข้ อ้ สรปุ รว่ มกนั วา่ อณุ หภมู ิ อากาศในรอบวนั มีการเปลยี่ นแปลงในแบบรูปเดยี วกนั โดยอุณหภูมิอากาศในชว่ งเช้าจะมีค่าต�่ำ และค่อย ๆ สงู ข้นึ จน กระทั่งมีคา่ สงู ที่สดุ ในช่วงบา่ ย จากน้ันจะคอ่ ย ๆ ลดต่�ำลง จนต่ำ� ที่สุดในชว่ งเวลาเช้ามืด 10. ให้นักเรียนอ่านข้อมูลเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียนเก่ียวกับปัจจัยที่ส่งผลให้อุณหภูมิอากาศเปล่ียนแปลง และตอบค�ำถาม ระหว่างเรียน จากนัน้ ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายค�ำตอบ เฉลยคำ�ถามระหว่างเรยี น • เหตุใดอณุ หภมู อิ ากาศในชว่ งเวลากลางคืนจึงต�่ำกว่าช่วงเวลากลางวนั แนวคำ� ตอบ เพราะช่วงกลางคืนโลกไม่ได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ และพื้นผิวโลกมีการถ่ายโอนความร้อนกลับ สบู่ รรยากาศ • ปริมาณเมฆ และลม สง่ ผลอย่างไรตอ่ อณุ หภมู ิอากาศ แนวค�ำตอบ ในพ้ืนท่ีเดียวกัน วันที่มีปริมาณเมฆมาก จะท�ำให้แสงอาทิตย์ส่องลงมายังพื้นโลกได้น้อย ท�ำให้ พ้ืนโลกมีอุณหภูมิต่�ำกว่าวันที่ไม่มีเมฆ ส่วนลมจะพัดพาอากาศให้เคลื่อนท่ีไป ถ้าลมพัดพา อากาศร้อนมาแทนท่ีจะท�ำให้พื้นท่ีน้ันมีอุณหภูมิอากาศสูงข้ึนกว่าเดิม หากลมพัดพาอากาศที่มี อณุ หภูมิต�่ำมาแทนทีจ่ ะทำ� ใหอ้ ุณหภูมอิ ากาศบรเิ วณนัน้ ลดต่ำ� ลง • พน้ื ทที่ ไ่ี ดต้ รวจวดั อณุ หภมู อิ ากาศในกจิ กรรมท่ี 6.2 บรเิ วณใดมคี า่ อณุ หภมู อิ ากาศสงู สดุ และตำ�่ สดุ ตามลำ� ดบั เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ นักเรียนตอบได้ตามข้อมูลท่ีบันทึก ตัวอย่างเช่น พื้นท่ีท่ีได้ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศในกิจกรรม ท่ี 6.2 บรเิ วณกลางสนามมคี า่ อณุ หภมู อิ ากาศสงู สดุ เพราะไดร้ บั แสงอาทติ ยโ์ ดยตรง เนอื่ งจากไมม่ ี เงาของตน้ ไมห้ รอื สงิ่ กอ่ สรา้ งบงั สว่ นบรเิ วณใตอ้ าคารมคี า่ อณุ หภมู อิ ากาศตำ�่ สดุ เพราะเปน็ บรเิ วณ ท่ไี มไ่ ด้รับแสงอาทติ ย์โดยตรง • มปี จั จัยใดอีกบ้างที่สง่ ผลใหอ้ ุณหภมู ิอากาศแต่ละแห่งมคี า่ ตา่ งกนั แนวค�ำตอบ ระดับความสูงจากระดับทะเล ลักษณะทางกายภาพของพ้ืนที่ ต�ำแหน่งที่ต้ังใกล้-ไกล จากแหลง่ นำ�้ • จากแผนภาพอุณหภูมิอากาศสงู สุดในประเทศไทยส่วนใหญ่มีค่าเท่าใด แนวคำ� ตอบ จากแผนภาพอุณหภูมิอากาศสงู สดุ ในประเทศไทยส่วนใหญ่มีค่า 28-30 องศาเซลเซียส สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

174 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 11. ให้นกั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นว่า ในวนั ที่เมืองบราวนิ่งมีคา่ อุณหภูมิอากาศแตกตา่ งกนั มากทสี่ ุด นา่ จะมีเหตุการณ์ ใดเกิดข้นึ (อาจแสดงความเหน็ ได้หลากหลายเชน่ เกิดพายหุ ิมะ) 12. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเน้ือหาท้ังหมดท่ีได้เรียนรู้จากการท�ำกิจกรรมและการอ่านเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ ขอ้ สรปุ วา่ อณุ หภมู อิ ากาศมกี ารเปลยี่ นแปลงไปในรอบวนั เนอื่ งจากพน้ื โลกไดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทติ ยแ์ ละถา่ ยโอน ให้แกอ่ ากาศเหนอื บริเวณนั้น เม่อื โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทติ ย์ในช่วงเชา้ ทำ� ใหอ้ ุณหภมู ิอากาศค่อย ๆ เพม่ิ สูงขน้ึ และสะสมพลังงานไปเรื่อย ๆ จนมอี ณุ หภูมิอากาศสงู สุดในช่วงบา่ ย เม่อื ดวงอาทิตย์ค่อย ๆ ลบั ขอบฟา้ การสง่ พลังงาน มายังโลกน้อยลง และพื้นโลกมีการถ่ายโอนความร้อนแก่อากาศในปริมาณท่ีน้อยลง จึงท�ำให้อุณหภูมิอากาศค่อย ๆ ลดตำ�่ ลง สว่ นในเวลากลางคนื พืน้ โลกไมไ่ ดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทติ ยแ์ ต่พน้ื ดนิ กย็ งั ถ่ายโอนความรอ้ นแกอ่ ากาศเหนอื บริเวณน้ัน ท�ำให้อุณหภูมิอากาศในช่วงกลางคืนต่�ำกว่ากลางวัน และมีค่าต่�ำสุดในช่วงเช้ามืด นอกจากน้ันยังมีปัจจัย อืน่ ๆ ท่ีส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู อิ ากาศ เช่น ลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ที่ ระดับความสูงของพ้นื ท่ี เปน็ ต้น 13. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับเรื่องน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ ถกู ต้อง เช่น แนวคิดคลาดเคลือ่ น แนวคดิ ทถ่ี ูกต้อง อุณหภมู ิอากาศช่วงเทีย่ งวันมีค่าสูงท่สี ดุ อุณหภูมิอากาศมีค่าสูงสุดช่วงบ่าย เวลาประมาณ 14.00 -16.00 น. อณุ หภูมิอากาศช่วงเที่ยงคืนมคี ่าตำ�่ ที่สุด อุณหภูมิอากาศมีค่าต่�ำสุดช่วงเช้ามืดก่อนดวงอาทิตย์ ขน้ึ เวลาประมาณ 5.00-6.00 น. 14. ครูเชือ่ มโยงไปสกู่ ารเรียนเร่ืองต่อไปวา่ อุณหภมู อิ ากาศ เป็นองค์ประกอบหน่ึงของลมฟา้ อากาศซ่งึ นักเรียนจะได้เรยี นรู้ เกี่ยวกบั องคป์ ระกอบอน่ื ๆ ของลมฟา้ อากาศในเรือ่ งตอ่ ไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ 175 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 6.2 อณุ หภูมิอากาศเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ใิ นชว่ งเวลาและสถานทต่ี า่ งๆในรอบวนั ผา่ นการวดั อณุ หภมู อิ ากาศ โดยใชเ้ ทอรม์ อมเิ ตอรแ์ ละเทอรม์ อมเิ ตอรร์ ปู ตวั ยู จากนนั้ นำ� ผลการทำ� กจิ กรรม มาวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู อิ ากาศ ในรอบวนั จดุ ประสงค์ ตรวจวัดอณุ หภูมอิ ากาศและวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมอิ ากาศในรอบวัน์ เวลาทใ่ี ชใ้ น 50 นาที / เกบ็ ขอ้ มลู เปน็ ระยะในรอบวัน การท�ำกิจกรรม วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ รายการ ปริมาณ/กลุ่ม การเตรียมตัว 1. เทอรม์ อมิเตอร์ 1 อนั ล่วงหนา้ ส�ำหรบั ครู 2. เทอรม์ อมิเตอร์รูปตัวยู 1 อัน • เตรียมส่ือประกอบการสอน เชน่ ภาพหรือวดี ิทัศนบ์ รรยากาศของโลก • เตรียมเทอร์มอมเิ ตอรใ์ หเ้ พียงพอต่อการใชง้ านของนกั เรียน ข้อควรระวงั ไม่ควรสัมผัสกระเปาะเทอร์มอมิเตอร์ เน่ืองจากอุณหภูมิจากร่างกายผู้ตรวจวัดมีผลท�ำให้ ข้อเสนอแนะ ค่าอณุ หภมู ิอากาศบนเทอร์มอมิเตอร์คลาดเคลอ่ื นได้ ในการทำ� กจิ กรรม • หากโรงเรียนไม่มีเทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู สามารถใช้เทอร์มอมิเตอร์ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศ แสห่อื กลาง่ รเรเรยี ียนนรรู้ ้/ู เพียงอย่างเดียวได้ ส�ำหรับค่าอุณหภูมิอากาศสูงสุดหรือต่�ำสุดในรอบวัน ให้นักเรียนคาดเดา ตามประสบการณเ์ ดิมของนกั เรียน • ครูท่ีสอนหลายหอ้ งอาจให้นักเรยี นทำ� กิจกรรมไปพร้อมกัน ในวันเดยี วกันแต่คนละช่วงเวลา • ครวู างแผนให้นกั เรยี นท�ำกจิ กรรมนพ้ี รอ้ มกับ กจิ กรรม 6.6 • นักเรียนสามารถวดั อณุ หภูมิอากาศโดยใช้เทอร์มอมเิ ตอรก์ ระเปาะแห้งในไซครอมิเตอร์ได้ • ผลการท�ำกิจกรรมนี้อาจคลาดเคล่ือนไม่เป็นไปตามทฤษฎี เช่น อุณหภูมิอากาศในช่วงเช้า สูงกวา่ ชว่ งบ่าย อาจเนอ่ื งจาก สภาพอากาศในวันทต่ี รวจวดั มีความแปรปรวน หรอื นกั เรยี นใช้ เทอร์มอมเิ ตอรต์ รวจวัดผดิ วธิ ี โดยครูสามารถให้นักเรียนร่วมอภปิ รายสาเหตุ • หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 1 สสวท. • เว็บไซต์การพยากรณอ์ ากาศท่วั ไป เพอื่ หาค่าอณุ หภูมอิ ากาศรายชว่ั โมงในรอบ 24 ชวั่ โมง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

176 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ตวั อยา่ งผลการทำ�กิจกรรม พื้นท่ี 1 ในเรือนเพาะชำ� สภาพแวดล้อมบริเวณท่ีตรวจวัด พนื้ ท่ที ี่ตรวจวัดอยใู่ นเรอื นเพาะช�ำ มตี นั ไม้มาก แสงแดดรำ� ไร และมีการรดน้�ำตน้ ไมเ้ กือบตลอดเวลา ตารางอุณหภมู ิอากาศในเรอื นเพาะช�ำในเวลาตา่ งๆ เวลา อณุ หภูมอิ ากาศ (นาฬกิ า) ( ํC) 8.00 28.5 10.00 29.5 12.00 31.0 14.00 31.5 16.00 31.0 ุอณหภู ิมอากาศ (˚c)32.0 31.5 31.0 30.5 30.0 29.5 29.0 28.5 28.0 7.00 9.00 11.00 13.00 15.00 17.00 เวลา กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิอากาศในเรือนเพาะชำ� ในเวลาตา่ งๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 177 คมู่ ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อยา่ งผลการทำ�กิจกรรม (ต่อ) พน้ื ท่ี 2 บรเิ วณกลางแจ้ง ภายนอกอาคารเรยี น สภาพแวดล้อมบริเวณทีต่ รวจวดั พน้ื ท่ที ต่ี รวจวดั เปน็ บริเวณกลางแจง้ พื้นปูนซีเมนตไ์ ด้รับแสงตลอดเวลา ตารางอณุ หภมู อิ ากาศบริเวณกลางแจง้ ในเวลาตา่ งๆ เวลา อุณหภมู ิอากาศ (นาฬกิ า) ( ํC) 8.00 29.5 10.00 30.5 12.00 33.0 14.00 33.0 16.00 32.0 ุอณหภู ิมอากาศ (˚c) 33.5 33.0 32.5 32.0 31.5 31.0 30.5 30.0 29.5 29.0 28.5 7.00 9.00 11.00 13.00 15.00 17.00 เวลา กราฟแสดงการเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู อิ ากาศในบริเวณกลางแจ้งในเวลาตา่ งๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

178 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม ุอณห ูภ ิมอากาศ (˚c) อุณหภมู ิกลางแจ้ง 33.5 อณุ หภมู ใิ นเรอื นเพาะชำ� 33.0 32.5 32.0 31.5 31.0 30.5 30.0 29.5 29.0 28.5 7.00 9.00 11.00 13.00 15.00 17.00 เวลา กราฟแสดงอณุ หภูมอิ ากาศบรเิ วณกลางแจ้งและเรือนเพาะช�ำในเวลาตา่ งๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ 179 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกจิ กรรม 1. อุณหภูมอิ ากาศในพ้นื ที่เดียวกนั ช่วงเวลาที่แตกตา่ งกนั ในรอบวนั มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างไร เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ ในช่วงเช้าอุณหภูมิอากาศจะต�่ำและจะค่อย ๆ สูงข้ึนจนสูงท่ีสุดในช่วงบ่ายจากนั้นจึงลดต�่ำลง เน่ืองมาจากได้รับแสงจากดวงอาทิตยแ์ ตกต่างกนั 2. อุณหภูมิอากาศ ในแต่ละพ้ืนท่ี ในเวลาเดียวกนั แตกตา่ งกันอย่างไร เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ อณุ หภมู อิ ากาศในเวลาเดยี วกนั ในแตล่ ะพนื้ ทจี่ ะแตกตา่ งกนั เนอื่ งจากไดร้ บั แสงอาทติ ยแ์ ตกตา่ งกนั โดยอุณหภูมิใต้ต้นไม้ที่ได้รับแสงอาทิตย์น้อย จะมีอุณหภูมิต�่ำกว่า บริเวณกลางสนามที่ได้รับ แสงอาทิตย์อยา่ งเตม็ ท่ี 3. อุณหภูมิอากาศในแต่ละพื้นที่ ในรอบวันมีแบบรูปการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ อณุ หภมู อิ ากาศในรอบวนั ของแตล่ ะพน้ื ทมี่ แี บบรปู การเปลยี่ นแปลงเหมอื นกนั คอื จะตำ�่ ในชว่ งเชา้ แล้วค่อย ๆ สงู ขน้ึ ในช่วงกลางวันถงึ บา่ ย 4. จากกราฟ อณุ หภูมิอากาศตามสถานท่ตี า่ ง ๆ มีค่าสงู สดุ ในช่วงเวลาใด เพราะเหตใุ ด แนวคำ� ตอบ จากกราฟอุณหภูมิอากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีค่าสูงสุดในช่วงเวลา 14:00-16.00น. เพราะวา่ สถานที่ต่าง ๆ จะได้รับความรอ้ นสะสมจากดวงอาทติ ย์ไวต้ ัง้ แตเ่ ช้าถงึ บ่าย 5. อณุ หภูมิอากาศต�ำ่ สดุ ของวันตามสถานทตี่ า่ งๆ น่าจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ อณุ หภมู อิ ากาศตำ่� สุดของวันนา่ จะเกิดในชว่ งเช้ามดื หรอื ชว่ งเวลากลางคืน เพราะเปน็ ช่วงเวลาท่ี ไมไ่ ด้รบั ความรอ้ นจากดวงอาทิตยแ์ ละพนื้ ท่ีนน้ั ๆ กจ็ ะคายความร้อนจนกระทง่ั อณุ หภูมติ ำ่� ลงใน เวลากลางคนื จนถึงช่วงเช้ามืด 6. อณุ หภมู ิอากาศสูงสุด และต�่ำสุดในรอบ 1 สปั ดาห์มีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ตอบตามข้อมูลจรงิ ของนกั เรยี น เชน่ มกี ารเพ่มิ ขึ้นอย่างต่อเนอ่ื ง 7. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอย่างไร แนวคำ� ตอบ จากกิจกรรมสรุปได้ว่าในรอบวันอุณหภูมิอากาศจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในแบบรูปเดียวกันคือ ต�่ำสุดในช่วงเช้าและค่อย ๆ สูงขึ้นจนถึงช่วงบ่าย และอุณหภูมิอากาศในพื้นท่ีท่ีต่างกันจะมี ค่าแตกตา่ งกัน ความรเู้ พ่มิ เตมิ สำ�หรบั ครู 1. เวลากลางคนื ทที่ อ้ งฟา้ มเี มฆมากอณุ หภมู อิ ากาศจะสงู กวา่ เวลากลางคนื ทที่ อ้ งฟา้ แจม่ ใสไมม่ เี มฆ เนอ่ื งจากละอองนำ�้ ในเมฆดดู กลนื ความรอ้ นสว่ นใหญไ่ วแ้ ลว้ ถา่ ยโอนลงสู่อากาศด้านล่าง 2. การวดั อุณหภมู ิอากาศ โดยท่วั ไปจะวัด ณ ตำ� แหน่งสงู กว่าพนื้ ดิน 1.5 เมตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

180 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เรือ่ งที่ 3 ความกดอากาศและลม แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำ� เนินการดังน้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพน�ำเรื่อง อ่านเนื้อหาน�ำเร่ืองและ ร้จู กั ค�ำส�ำคัญ โดยครูอาจจะใชค้ ำ� ถามดงั น้ี • ว่าวที่มีน�้ำหนักมากสามารถลอยข้ึนไปในอากาศ ไดอ้ ย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) 2. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วน�ำเสนอผลการทำ� กจิ กรรม หากพบว่านกั เรียน ยังท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครคู วรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรยี น เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียง พอท่ีจะเรียนเร่ืองความกดอากาศและลมต่อไป ความรเู้ พ่ิมเติมสำ�หรบั ครู ภาพนำ� เรอื่ ง คอื ภาพโลกและบรรยากาศของโลก โดยปรากฏเมฆลักษณะต่าง ๆ และโมเลกุลของ อากาศสะทอ้ นแสงของดวงอาทิตย์ เฉลยทบทวนความรู้ก่อนเรียน เขียนเคร่อื งหมาย Pหน้าขอ้ ความที่ถกู ตอ้ ง  อากาศมีนำ�้ หนัก  ลมคอื อากาศทเี่ คลอื่ นที่ £ อากาศในทกุ พนื้ ท่มี คี วามหนาแนน่ เทา่ กนั £ อากาศในทุกพ้ืนท่มี อี ณุ หภูมเิ ทา่ กัน £ ลมพัดจากบรเิ วณที่มอี ุณหภูมิสงู กว่าไปยังทีท่ ่มี ีอณุ หภมู ติ ำ�่ กวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ 181 คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับความกดอากาศและลมโดยให้ท�ำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียน สามารถเขยี นไดต้ ามความเขา้ ใจของนกั เรยี น ครไู มเ่ ฉลยคำ� ตอบและนำ� ขอ้ มลู จากการตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น ไปใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรวู้ า่ ควรเนน้ ยำ�้ หรอื อธบิ ายเรอื่ งใดเปน็ พเิ ศษ เมอื่ นกั เรยี นเรยี นจบเรอื่ งนแ้ี ลว้ นกั เรยี น จะมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจครบถว้ นตามจดุ ประสงคข์ องบทเรยี น ตัวอยา่ งแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นซ่งึ อาจพบในเร่อื งนี้ • อากาศมแี รงกระท�ำในทศิ ทางลงเท่าน้ัน • ลมเคลอ่ื นทจี่ ากบรเิ วณท่ีมอี ุณหภูมิอากาศสงู ไปยงั บริเวณทม่ี ีอุณหภมู อิ ากาศตำ่� 4. น�ำเข้าสกู่ จิ กรรมที่ 6.3 อากาศมแี รงกระทำ� ตอ่ วตั ถุหรอื ไม่อยา่ งไร โดยเช่ือมโยงจากภาพวา่ วท่ีลอยบนฟา้ วา่ เกดิ ข้ึนได้ อยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

182 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 6.3 อากาศมแี รงกระท�ำต่อวัตถหุ รือไม่ อยา่ งไร แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูดำ� เนนิ การดังนี้ กอ่ นการทำ� กจิ กรรม 1. ใหน้ ักเรียนอ่านวธิ ีด�ำเนินกิจกรรมในหนงั สือเรียน และร่วมกนั อภปิ รายในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้ • กจิ กรรมนเี้ กี่ยวกบั เร่ืองอะไร (แรงและทศิ ทางของแรงที่อากาศกระท�ำต่อวตั ถุ) • กิจกรรมน้มี ีจุดประสงค์อยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีด�ำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (บรรจุถุงพลาสติกลงในขวดโหลโดยไม่รีดถุงให้แนบกับขวดจากน้ัน ดึงถุงพลาสติกข้ึนจากก้นขวด บันทึกผล ทดลองอีกครั้งหน่ึงโดยบรรจุถุงพลาสติกลงในขวดโหลและรีดถุงให้แนบ กับขวด คาดคะแนผลที่จะเกิดข้ึนจากนั้นดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวด โดยจัดขวดให้อยู่ในมุมต่าง ๆ สังเกต สงิ่ ทีเ่ กดิ ขนึ้ และบันทกึ ผล) ระหว่างการทำ� กจิ กรรม 2. ใหน้ ักเรียนทำ� กจิ กรรม โดยครสู งั เกตการทำ� กิจกรรมของนกั เรียนอย่างใกล้ชดิ เพ่ือใหค้ �ำแนะน�ำ ครูนำ� ขอ้ มูลทไ่ี ด้จาก การสังเกตมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกิจกรรม เช่น ครูแนะน�ำเกี่ยวกับการดึงถุงพลาสติกออกจากขวดโหล หรือ การรีดถุงพลาสติกใหแ้ นบกบั ด้านในของขวดโหล หลังการทำ� กิจกรรม 3. ให้นักเรียนตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม จากน้ันน�ำเสนอ และอภิปรายค�ำตอบร่วมกันเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า อากาศมี แรงกระทำ� ต่อวัตถทุ กุ ทศิ ทุกทาง 4. ให้นักเรียนอ่านข้อมูลเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียนเก่ียวกับแรงดันและความดัน ความดันในระดับความสูงต่าง ๆ ผลของ อณุ หภมู ติ อ่ ความดนั อากาศ และผลของความดนั อากาศตอ่ การดำ� รงชวี ติ จากนน้ั ตอบคำ� ถามระหวา่ งเรยี น ครแู ละนกั เรยี น ร่วมกันอภปิ รายคำ� ตอบ เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรยี น • ตวั ตดิ ผนงั ตดิ กับผนังดังภาพไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ พื้นท่ีบริเวณผิวสัมผัสของตัวติดผนังกับผนังไม่มีอากาศอยู่ในบริเวณดังกล่าวหรือเป็นสูญญากาศ อากาศภายนอกจึงดนั ตัวติดผนังใหย้ ึดตดิ กบั ผนงั อยู่ได้ • ทศิ ทางของแรงท่อี ากาศกระท�ำในล้อรถเปน็ อย่างไร แนวคำ� ตอบ แรงที่อากาศกระทำ� ในล้อรถมีทุกทิศทุกทาง ล้อรถจึงพองลมอยไู่ ด้ทกุ ทิศทาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ 183 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรยี น • ความดนั อากาศ ณ ระดบั ความสูงต่าง ๆ จากผิวโลกมีการเปล่ียนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ เปลย่ี นแปลงโดยเมอื่ ระดบั ความสงู เปลยี่ นแปลง ความดนั อากาศกม็ คี า่ เปลย่ี นแปลงดว้ ย เมอ่ื ระดบั ความสูงจากระดับทะเลต�ำ่ ความดันอากาศจะสูง แตถ่ า้ สงู จากระดบั ทะเลมาก ความดันอากาศ จะต่�ำ • ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความดนั อากาศกบั ความสงู จากพนื้ โลกควรเปน็ อยา่ งไร ใหส้ รา้ งแบบจำ� ลองหรอื เขยี น แผนภาพอธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าว แนวคำ� ตอบ เมื่อความสูงมากความดันอากาศจะต่�ำ เมื่อความสูงน้อยความดันอากาศจะสูงเน่ืองจากความ หนาแนน่ ของอากาศจะลดลงตามความสูง ความสูงจากผิวโลกเพ่มิ ขนึ้ ความดนั อากาศลดลง ผิวโลก • นกั เรียนคิดวา่ ความดันอากาศเกยี่ วข้องอย่างไรกับ อาการหอู ้ือเมือ่ ขึน้ ลฟิ ทไ์ ปยงั ช้นั สงู ๆ ของตึก แนวค�ำตอบ เม่ือระดับความสูงเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วความดันอากาศภายนอกก็มีการเปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเรว็ เชน่ กนั แตค่ วามดนั อากาศภายในรา่ งกายเปลยี่ นแปลงไดช้ า้ ความดนั อากาศภายใน รา่ งกายมคี า่ สูงกว่าความดนั อากาศภายนอก จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ อาการหูออ้ื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

184 หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน • ความดันอากาศภายในลกู โปง่ ในภาพ 6.13 ภาพใดมคี า่ สูงกวา่ เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ ภาพด้านขวามือมีความดนั อากาศสูงกว่า เพราะลูกโปง่ พองมากกว่า • ในระบบปดิ และระบบเปิดอุณหภูมมิ ีผลตอ่ ความดนั เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร แนวค�ำตอบ ในระบบปิดบริเวณท่ีมีอุณหภูมิอากาศสูงกว่าความดันอากาศจะสูงกว่า ในระบบเปิดบริเวณที่มี อุณหภูมิอากาศสงู กวา่ ความดันอากาศจะต�ำ่ กว่า • จากภาพ 6.14 ความดันอากาศในบรเิ วณใดมคี า่ สงู กว่า เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ภาพดา้ นขวามีความดนั อากาศมากกว่า เพราะมคี วามหนาแน่นของอนภุ าคอากาศมากกวา่ • บอลลนู ลอยอยใู่ นอากาศไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ อากาศร้อนในบอลลูนมีความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศที่อยู่ข้างนอกโดยรอบ บอลลูนจึงลอย สงู ขน้ึ ไปในอากาศ • ปจั จยั ใดบ้างท่สี ่งผลต่อความดนั อากาศ แนวคำ� ตอบ อุณหภูมอิ ากาศ ความหนาแนน่ ของอากาศ ระดบั ความสูง • มีข้อแนะน�ำส�ำหรับนักปีนเขาว่าไม่ควรเปลี่ยนแปลงระดับความสูงเกิน 500 เมตร ต่อวัน เหตุใดจึงเป็น เชน่ น้นั แนวคำ� ตอบ เพราะป้องกันอันตรายจากการที่ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงความดัน อากาศ • บุคคลกลุ่มใดบ้างได้รับผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงความดนั อากาศ แนวคำ� ตอบ นกั บิน ผโู้ ดยสารเคร่ืองบนิ นกั ด�ำนำ้� นกั ปนี เขา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ 185 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 5. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ สง่ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ ความดนั อากาศเปลย่ี นแปลงไดโ้ ดยมปี จั จยั สำ� คญั คือระดับความสูงของพ้ืนที่และอุณหภูมิของอากาศ พื้นท่ีท่ีมีระดับความสูงมาก ความดันอากาศมีค่าต่�ำ ส่วนพื้นที่ที่ มีความสูงน้อย ความดันอากาศจะมีค่าสูง เน่ืองจากแรงโน้มถ่วงของโลกท�ำให้บริเวณใกล้พ้ืนผิวโลกมีโมเลกุลอากาศ อยหู่ นาแนน่ กวา่ บรเิ วณทอ่ี ยสู่ งู ขนึ้ ไปอากาศบรเิ วณใกลผ้ วิ โลกจงึ มคี วามดนั มากกวา่ อากาศบรเิ วณทอ่ี ยสู่ งู ขน้ึ ไปนอกจากนนั้ อุณหภูมิอากาศยังส่งผลต่อความดันอากาศ เน่ืองจากอากาศท่ีมีอุณหภูมิสูงกว่าจะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระกว่า จึงมี ความหนาแน่นนอ้ ยกว่า อากาศทมี่ ีอุณหภมู ิสงู กวา่ จงึ มีความดนั อากาศต�่ำกวา่ 6. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเก่ียวกับเร่ืองน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ ถกู ตอ้ ง เชน่ แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น แนวคิดที่ถกู ตอ้ ง อากาศมีแรงกระทำ� ในทศิ ทางลงเทา่ นัน้ อากาศมแี รงกระทำ� ในทุกทศิ ทาง 7. เชอื่ มโยงเขา้ สกู่ จิ กรรมที่ 6.4 ลมเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร โดยใชค้ ำ� ถามกระตนุ้ ความสนใจนกั เรยี นคดิ วา่ เมอ่ื ความดนั อากาศของ 2 พน้ื ท่แี ตกตา่ งกนั จะทำ� ใหเ้ กิดผลอย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

186 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 6.4 เหตุใดลมจึงเคลอื่ นทเ่ี รว็ ต่างกนั แนวการจัดการเรียนรู้ ครูด�ำเนนิ การดังนี้ ก่อนการทำ� กิจกรรม 1. ใหน้ ักเรียนอ่านวธิ ีดำ� เนินกิจกรรมในหนังสอื เรียน และรว่ มกนั อภิปรายในประเด็นดงั ต่อไปน้ี • กจิ กรรมน้เี ก่ยี วกบั เรือ่ งอะไร (ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ อตั ราเรว็ ลม) • กิจกรรมน้ีมีจุดประสงค์อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความคิดของตนเอง) • วธิ ีด�ำเนนิ กิจกรรมมขี นั้ ตอนโดยสรปุ อย่างไร (เจาะรบู นขวดพลาสติกที่ไม่มฝี าปิด 2 ใบ แล้วเชื่อมตอ่ ขวดพลาสตกิ ท้งั 2 ใบ ดว้ ยแผน่ ใสมว้ นเปน็ ทอ่ นำ� ชุดขวดพลาสตกิ ทง้ั สองไปวางไวใ้ นขนั พลาสติก 2 ใบ แล้วรินน้ำ� ที่มอี ุณหภุมิ ต่างกัน จากน้ันแหย่ก้านธูปท่ีติดไฟลงไปในรูท่ีเจาะไว้ตรงก่ึงกลางท่อใสและสังเกตผลท่ีเกิดขึ้น ท�ำซ้�ำอีกคร้ัง โดยจดั ให้ความแตกตา่ งของอณุ หภมู ขิ องนำ้� ในชุดทดลองทงั้ สองชุดต่างกัน จากนนั้ ทำ� ซำ้� อีกคร้งั โดยจดั ให้ความยาว ของท่อใสในชดุ ทดลองทงั้ สองชุดต่างกนั ) • ขอ้ ควรระวงั ในการทำ� กจิ กรรมมหี รอื ไมอ่ ยา่ งไร (การใชอ้ ปุ กรณใ์ นการเจาะรบู นขวดพลาสตกิ ควรทำ� อยา่ งระมดั ระวงั ) 2. ให้นักเรียนลองต้ังสมมติฐานว่า เมื่อปล่อยควันธูปเข้าไปในท่อใสแล้ว จะเกิดผลอย่างไร และบันทึกสมมติฐานที่ตั้งไว้ กอ่ นการทดลองท้งั 2 ตอน ระหว่างการท�ำกิจกรรม 3. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตามแนวทางท่ีได้อภิปรายร่วมกัน ครูสังเกตการท�ำกิจกรรมเพ่ือให้ค�ำแนะน�ำแก่นักเรียน ครูน�ำ ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกจิ กรรม เชน่ วิธกี ารสังเกตการเคล่อื นทขี่ องควนั ธูป หลังการท�ำกิจกรรม 4. ให้นักเรียนพิจารณาสมมติฐานที่ตั้งไว้ก่อนท�ำกิจกรรมและผลการสังเกตหลังท�ำกิจกรรมว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร จากนั้นน�ำเสนอและอภปิ รายขอ้ สรุปทีถ่ ูกตอ้ งรว่ มกนั 5. ให้นกั เรยี นตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม จากน้ันนำ� เสนอและอภิปรายคำ� ตอบรว่ มกันเพ่ือใหไ้ ด้ข้อสรุปว่า ถา้ ความแตกต่าง ของความดันอากาศระหว่างบริเวณ 2 บริเวณ มีค่ามากกว่า อากาศจะเคล่ือนที่จากบริเวณหน่ึงไปยังอีกบริเวณหนึ่ง ได้เร็วกว่า และระยะทางระหว่างบริเวณที่มีความดันอากาศแตกต่างกันนั้นมีค่ามากกว่า อากาศจะเคลื่อนท่ีจาก บริเวณหนึ่งไปยงั อีกบริเวณหน่งึ ได้ชา้ กวา่ 6. ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ มลู เพิ่มเติมจากหนงั สือเรียน เกยี่ วกับอตั ราเรว็ ลม ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ อตั ราเรว็ และทิศทาง ลม อุปกรณ์ ท่ีใชใ้ นการตรวจวดั ลม จากนั้นท�ำกิจกรรมเสรมิ และตอบคำ� ถามระหว่างเรยี น จากนน้ั ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ ราย ค�ำตอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ 187 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามระหว่างเรียน • จากภาพอัตราเร็วลมในแตล่ ะบริเวณเปน็ อย่างไร เพราะอะไร แนวค�ำตอบ อตั ราเร็วลมในแต่ละบริเวณแตกต่างกนั เชน่ ใกล้ตน้ ไม้อัตราเรว็ ลมมีค่าน้อยกว่าเหนอื ยอดไม้ เนือ่ ง มาจากส่ิงปลกู สรา้ ง หรือตน้ ไม้ จะช่วยบงั ลมใหล้ มพดั ไดช้ ้าลง • มนษุ ยม์ ีวธิ ีปอ้ งกันบ้านเรือนและทรพั ยส์ ินไม่ใหไ้ ดร้ บั ความเสยี หายจากลมทมี่ อี ตั ราเรว็ มากไดอ้ ย่างไร แนวค�ำตอบ สรา้ งบา้ นเรอื นทแี่ ขง็ แรง หรอื อาศยั ในพน้ื ทที่ ไี่ มไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากอตั ราเรว็ ลมมากหรอื มสี ง่ิ กำ� บงั เชน่ ตน้ ไม้ • นกั เรียนร้จู ักอปุ กรณ์แบบอืน่ ทใ่ี ช้ในการตรวจวดั ลมหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ตอบไดต้ ามประสบการณเ์ ดิมของนกั เรียน เช่น เครื่องวัดลมแบบดิจิทลั ถุงปลาตะเพยี นวดั ลม • ลมส่งผลตอ่ สภาพแวดล้อมและสง่ิ มีชีวติ อย่างไร แนวคำ� ตอบ ตอบได้ตามประสบการณ์เดิมของนักเรียน เช่น ลมส่งผลต่อสภาพแวดล้อม โดยพ้ืนท่ีท่ีมีลมพัด แรงมาก อาจมีสภาพแวดล้อมแห้งแล้งกว่าบริเวณที่มีลมพัดเบา นอกจากนี้ ลมยังส่งผลต่อการ ด�ำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น หากอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีมีลมแรง ก็ควรเลือกบริเวณสร้างท่ีอยู่อาศัยที่ ไมร่ บั แรงลมโดยตรง เพอ่ื ปอ้ งกนั อันตรายท่ีอาจเกิดจากลม หรอื มรสมุ เป็นต้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

188 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมเสรมิ สำ�รวจความแรงลมและทศิ ทางลมภายในโรงเรยี น ตัวอยา่ งผลการทำ� กจิ กรรม ใช้กระดาษว่าวตดิ ปลายไมเ้ สยี บลกู ช้ินแลว้ สงั เกตทศิ ทางและความแรงลมจากการเคลือ่ นท่ขี องกระดาษว่าวนน้ั ลกู ศรแทนทศิ ทางท่ีลมเคลอ่ื นทไี่ ป ความยาวของลูกศรแทนความแรงของลม ลูกศรยาว แสดงว่าลมแรง ตัวอย่างองค์ความรู้และทักษะท่ีได้จากกิจกรรม นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับการออกแบบและสร้างอุปกรณ์ในการตรวจวัดลม รวมท้ังได้เรียนรู้ความแรงและ ทิศทางลมในโรงเรียนรวมทั้งปัจจัยท่ีมีผลท�ำให้ความแรงและทิศทางลมเปล่ียนแปลงไป เช่น อาคารเรียนกีดขวาง การเคลื่อนที่ของลมท�ำให้ลมเปล่ียนแปลงทศิ ทางหรือมคี วามแรงลมลดลง 7. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ลมเคล่ือนท่ีได้เน่ืองจากความแตกต่างของ ความดันอากาศ หรือในทางอุตุนิยมวิทยาเรียกว่าความกดอากาศ โดยปัจจัยท่ีมีผลต่อการเคล่ือนที่ของลม ได้แก่ ความกดอากาศระหวา่ ง 2 บรเิ วณ ระยะหา่ งระหวา่ งสองบรเิ วณและสภาพแวดล้อม หรอื สิง่ กดี ขวางทางเดนิ ของลม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ 189 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 8. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเก่ียวกับเร่ืองน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ ถูกต้อง เช่น แนวคิดคลาดเคล่อื น แนวคิดทถ่ี กู ต้อง ลมเคลื่อนท่จี ากบริเวณท่มี ีอณุ หภูมอิ ากาศสงู ไปยงั ลมเคลอื่ นที่จากบริเวณทม่ี คี วามกดอากาศสูง บริเวณทีม่ ีอณุ หภมู ิอากาศต่�ำ (อุณหภูมิตำ่� ) ไปยงั บริเวณท่ีมคี วามกดอากาศต่�ำ (อุณหภูมิอากาศสูง) 9. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปว่า องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น ความกดอากาศและ ลมมีความสัมพันธ์กัน ความกดอากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศและลมเป็นองค์ประกอบ ของลมฟ้าอากาศซ่ึงส่งผลต่อสภาพอากาศ ของพ้ืนท่ีน้ัน ๆ เช่น ความแตกต่างของความกดอากาศ ท�ำให้เกิดลมแรง และอาจเกดิ เปน็ พายไุ ด้ ครใู ชค้ ำ� ถามกระตนุ้ ความสนใจวา่ มปี จั จยั ใดบา้ งทส่ี ง่ ผลตอ่ ความชน้ื และความชน้ื มคี วามสำ� คญั อยา่ งไร ตอ่ สภาพลมฟ้าอากาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

190 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ ค่มู อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 6.3 อากาศมีแรงกระทำ� ตอ่ วัตถหุ รอื ไม่ อยา่ งไร นกั เรียนจะไดเ้ รยี นรูเ้ กีย่ วกับแรงและทศิ ทางของแรงที่อากาศกระทำ� ต่อวัตถุ จุดประสงค์ สังเกตและอธบิ ายแรงและทิศทางของแรงท่ีอากาศกระท�ำตอ่ วัตถุ เวลาที่ใช้ใน 40 นาที การท�ำกจิ กรรม วัสดุและอุปกรณ์ วัสดทุ ี่ใชต้ ่อกลุ่ม รายการ ปริมาณ/กลมุ่ 1. ถุงพลาสตกิ ใส 1 ถงุ 2. ขวดโหลกน้ ลกึ 1 ขวด 3. ยางรัด 1 วง การเตรยี มตวั • เตรยี มสอื่ ประกอบการสอน เช่นภาพหรือวีดิทศั นแ์ สดงงผลของแรงดันตอ่ วตั ถุ ล่วงหนา้ สำ� หรับครู • เตรยี มอุปกรณ์ให้เพียงพอตอ่ การใชง้ านของนกั เรียน ข้อเสนอแนะ • ดงึ ถงุ พลาสติกท่ีสวมแนบในขวดโหลใหด้ ึงจากกน้ ขวดเพยี งเล็กนอ้ ย ในการท�ำกิจกรรม • ครูอาจให้นักเรียนท�ำกิจกรรมทางเลือกโดยติดเคร่ืองชั่งนิวตันไว้ท่ีก้นถุงพลาสติกเพื่อ สอ่ื การเรยี นรู/้ แหล่งเรียนรู้ เปรียบเทยี บค่าของแรงในการดงึ แต่ละคร้งั หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ 191 ค่มู ือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม กจิ กรรม ผลการท�ำกิจกรรม/การคาดคะเน การดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโดยไม่รีดถุง ดึงถงุ พลาสติกข้ึนจากก้นขวดโหลได้โดยง่าย ให้แนบสนทิ กับดา้ นในของขวด กดา้านรคในาขดอคงะขเนวดเเแมล่ือ้วรดีดึงถถุงุงพพลลาาสสตติกิกขให้ึน้แจนากบกส้นนขิทวกดับ ดเหึงมถอื ุงนพคลรางั้ แสรตกิกข้ึนจากก้นขวดโหลได้โดยง่าย กใหาแ้รนดบึงถสุงนพทิ ลกาบั สดต้าิกนขในึ้นขจอางกขกว้ดนขวดโหลโดยรีดถุง ดออึงกถแุงรพงลดึงามสาตกิกกขว้ึา่นคจรา้ังกแรกก้นขวดโหลได้แต่ต้อง การดึงถุงพลาสติกข้ึนจากก้นขวดโหลโดยรีดถุง • ดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลได้แต่ต้อง ให้แนบสนิทกับด้านในของขวดและจัดขวดโหลให้ อยู่ในลักษณะตา่ ง ๆ ออกแรงดึงมากกวา่ คร้งั แรก • เม่ือเอยี งขวดโหล • ดึงถุงพลาสติกข้ึนจากก้นขวดโหลได้แต่ต้อง • เมอ่ื ควำ่� ขวดโหล • เมือ่ วางขวดโหลในแนวระดับ ออกแรงดงึ มากกว่าครงั้ แรก • ดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลได้แต่ต้อง ออกแรงดึงมากกว่าครั้งแรก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

192 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ คูม่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยเรยี น 1. แรงที่ใช้ในการดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลก่อนและหลังการรีดถุงพลาสติกให้แนบไปกับขวดโหล มี ความแตกตา่ งกนั อย่างไร เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ แรงที่ใช้ดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลก่อนและหลังการรีดถุงพลาสติกมีความแตกต่างกัน โดยก่อนท่ีจะรีดถุงพลาสติกแนบกับขวดโหลสามารถดึงถุงพลาสติกออกได้ง่ายใช้แรงน้อย แต่ หลังจากรีดถุงและใช้หนังยางรัดดึงออกได้ยากกว่าต้องใช้แรงมากกว่า เพราะหลังรีดถุงอากาศ ระหว่างถุงด้านนอกกับผนังด้านในของขวดไม่มีหรือมีน้อยมาก อากาศภายนอกมีแรงดันต้าน การดงึ ถุงพลาสตกิ ออกจากขวด 2. เมือ่ จัดขวดโหลให้อยใู่ นลกั ษณะต่าง ๆ แรงท่ใี ชใ้ นการดึงถงุ พลาสติกออกจากขวดโหล เหมือนหรือแตกต่าง กนั อย่างไร แนวคำ� ตอบ แรงทใ่ี ชด้ งึ ถุงพลาสตกิ ข้ึนจากก้นขวดโหลในลกั ษณะตา่ ง ๆ ไม่แตกต่างกัน 3. จากกจิ กรรม สรุปได้วา่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ อากาศมแี รงกระทำ� ตอ่ ถงุ พลาสตกิ โดยเมอื่ รดี ถงุ พลาสตกิ ใหแ้ นบไปกบั ขวดทำ� ใหอ้ ากาศระหวา่ งถงุ กบั ขวดโหลมนี อ้ ยมาก อากาศทอ่ี ยใู่ นขวดโหลจงึ ดนั ถงุ ใหแ้ นบไปกบั ขวดโหลและตอ้ งออกแรงดงึ ถงุ พลาสตกิ มากกวา่ กอ่ นทจ่ี ะรดี ถงุ พลาสตกิ เมอ่ื จดั วางขวดโหลในลกั ษณะตา่ ง ๆ กย็ งั ตอ้ งออกแรงดงึ ถงุ พลาสติกมากกว่ากรณที ี่ไม่ไดร้ ดี เน่อื งจากอากาศจึงมแี รงกระทำ� ต่อถุงพลาสติกในทุกทิศทาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ 193 ค่มู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 6.4 เหตใุ ดลมจึงเคล่อื นทเ่ี ร็วต่างกัน นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับปัจจัยท่ีท�ำให้ลมมีการเคล่ือนที่เร็วหรือช้าต่างกัน ผ่านการสังเกตและวิเคราะห์จาก การท�ำกจิ กรรม จากนัน้ อธิบายสรปุ ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ อัตราเรว็ ลม จดุ ประสงค์ ทดลอง วเิ คราะห์และอธิบายปจั จยั ทมี่ ผี ลต่ออตั ราเรว็ ลม เวลาที่ใชใ้ น 1 ชั่วโมง 20 นาที การทำ� กจิ กรรม วัสดแุ ละอปุ กรณ์ วัสดทุ ีใ่ ชต้ ่อหอ้ ง รายการ ปริมาณ/หอ้ ง เทอรม์ อมเิ ตอร์ 1 อัน วัสดทุ ่ีใช้ต่อกลุ่ม ปรมิ าณ/กลุ่ม รายการ 4 ใบ 1. ขวดพลาสตกิ ขนาด 1,500 cm3 2. น้�ำเย็นจดั อุณหภมู ปิ ระมาณ 10 ํC น�้ำอณุ หภูมหิ ้อง อย่างละ 500 cm3 และนำ�้ ร้อนจัดอุณหภมู ปิ ระมาณ 70 ํC 6 แผน่ 3. แผน่ ใส 1 อัน 4. ธูป 4 ใบ 5. ขันพลาสติก 1 กลอ่ ง 6. ไม้ขดี ไฟ 1 ม้วน 7 เทปใส 1 อนั 8. คตั เตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

194 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ การเตรยี มตัว • เตรยี มอปุ กรณใ์ หเ้ พยี งพอตอ่ การทำ� กจิ กรรมของนกั เรยี น ครอู าจเตรยี มเจาะรบู นขวดพลาสตกิ ล่วงหนา้ สำ� หรบั ครู ให้นักเรยี นล่วงหนา้ • ครูเตรยี มน�้ำแขง็ เพ่อื ท�ำใหน้ ้ำ� เยน็ จัดอุณหภมู ปิ ระมาณ 10 องศาเซลเซียส ขอ้ ควรระวัง การใช้คตั เตอร์ในการเจาะรูบนขวดพลาสติกควรทำ� ดว้ ยความระมัดระวัง ข้อเสนอแนะ • กอ่ นปลอ่ ยควนั ธปู ใหล้ อยผา่ นเขา้ ไปในทอ่ ใส ควรเวน้ ระยะเวลาหลงั จากรนิ นำ้� ลงในขนั พลาสตกิ ในการทำ� กจิ กรรม ทงั้ 2 ใบประมาณ 20 วนิ าที เพอ่ื ใหอ้ ณุ หภมู อิ ากาศภายในขวดพลาสตกิ สอดคลอ้ งกบั อณุ หภมู ิ ส่ือการเรียนรู/้ น�้ำทรี่ ินลงในขนั แหล่งเรยี นรู้ • กิจกรรมมี 2 ตอน ครอู าจแบง่ ให้นกั เรยี นท�ำกล่มุ ละ 1 ตอน แล้วนำ� ผลการทดลองมาอภปิ ราย รว่ มกัน • ครูอาจใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ ทำ� ทงั้ 2 ตอน โดยกลุ่มใดทำ� การทดลองตอนท่ี 1 เสรจ็ สามารถ ท�ำกจิ กรรมตอนที่ 2 ได้โดยไม่ตอ้ งรอกลมุ่ อืน่ หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 สสวท. ตอนที่ 1 ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม ชุดทดลอง เวลาทีค่ วนั ธปู เคลื่อนทจี่ ากจุดกง่ึ กลางไปยงั ระยะ 10 cm. (วินาท)ี ชุดทดลองท่ี 1 3 ชดุ ทดลองท่ี 2 1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ 195 คูม่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. อากาศในทอ่ ใสมที ิศทางการเคล่ือนทีอ่ ยา่ งไร ทราบไดอ้ ย่างไร แนวคำ� ตอบ มที ิศทางเคลื่อนทีจ่ ากขันใบท่ี 1 ไปขนั ใบที่ 2 สังเกตจากการเคลอื่ นท่ขี องควันธูป 2. ความดนั อากาศในขวดใบใดมคี ่าสูงกวา่ เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ความดันอากาศในขวดใบท่ี 1 มีค่าสุงกวา่ เนื่องจากอณุ หภูมิอากาศมคี า่ ต่�ำกวา่ 3. การเคล่ือนทข่ี องอากาศในทอ่ ใสมคี วามสมั พนั ธ์กับความดนั อากาศอย่างไร แนวคำ� ตอบ อากาศเคลื่อนที่จากบรเิ วณทมี่ ีความดันอากาศสงู ไปยงั บริเวณที่มีความดนั อากาศต�่ำกวา่ 4. อัตราเรว็ ลมในชุดทดลองใดมีคา่ มากกวา่ เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ในชดุ ทดลองท่ี 2 มคี า่ มากกวา่ สงั เกตจากควนั ธปู ใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ ในการเคลอ่ื นทไี่ ปยงั เครอ่ื งหมาย ทร่ี ะยะ 10 cm. เพราะความแตกตา่ งของความดันอากาศในขวดทั้งสองของชุดการทดลองที่ 2 มี มากกว่า 5. จากกิจกรรมสรุปไดว้ า่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ความแตกตา่ งของความดนั อากาศสง่ ผลตอ่ อตั ราเรว็ ลม โดยเมอ่ื ความดนั อากาศระหวา่ งสองบรเิ วณ แตกตา่ งกันมาก อากาศจะเคล่ือนท่ดี ว้ ยอัตราเรว็ มาก ตอนที่ 2 ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม คาดคะแนวา่ ควันธูปจะเคลื่อนที่ช้าลง เม่ือเทยี บกบั ชุดทดลองที่ 2 ชดุ ทดลอง เวลาท่คี วนั ธูปเคล่ือนทจ่ี ากจุดกึ่งกลางไปยงั ระยะ 10 cm. (วินาที) ชดุ ทดลองที่ 2 1 ชดุ ทดลองที่ 3 3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

196 หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ คู่มอื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. หากพจิ ารณาเฉพาะชุดทดลองท่ี 2 และ 3 การทดลองนีม้ ตี วั แปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคุม คอื อะไร แนวค�ำตอบ ตวั แปรต้นคือความยาวของท่อใส ตัวแปรตามคืออัตราเรว็ ในการเคลือ่ นทข่ี องควนั ธูป หรอื อัตราเรว็ ลมในทอ่ ใส ตวั แปรควบคมุ คอื ขนาดของขวดนำ้� และขนั พลาสตกิ อณุ หภมู ขิ องนำ้� ในขนั ใบท่ี 1 และ 2 ของแตล่ ะ ชดุ ทดลอง 2. อตั ราเรว็ ลมในชุดทดลองใดมีค่ามากกว่า เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ อัตราเร็วลมในชุดทดลองท่ี 2 เร็วกว่าในชุดทดลองท่ี 3 เพราะว่ามีความยาวของท่อใสน้อยกว่า บริเวณทมี่ ีความดนั แตกต่างกนั อยใู่ กล้กันมากกวา่ ลมจงึ เคลอื่ นทเ่ี รว็ กวา่ 3. จากกจิ กรรมสรปุ ได้วา่ อย่างไร แนวค�ำตอบ ความแตกต่างของความดันอากาศ ส่งผลต่ออัตราเร็วของการเคลื่อนที่ของอากาศ โดยเม่ือ ความดนั อากาศแตกตา่ งกันมาก อากาศจะเคลื่อนทีด่ ว้ ยอตั ราเร็วมาก 4. จากกิจกรรมท้ัง 2 ตอนสรุปไดว้ า่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ อตั ราเรว็ ลมคอื ความแตกตา่ งของความดนั อากาศในขวดทงั้ สองของชดุ ทดลอง และ ระยะหา่ งระหวา่ งขวดทง้ั สองของชดุ ทดลองนนั้ โดยหาความแตกตา่ งของความดนั อากาศมคี า่ มาก อัตราเร็วลมจะมคี ่ามาก และระยะหา่ งมีคา่ น้อยอัตราเรว็ ลมจะมคี า่ มาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ 197 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เรอ่ื งที่ 4 ความชน้ื แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูดำ� เนนิ การดังนี้ 1. ให้นักเรียนดูภาพน�ำเร่ือง อ่านเนื้อหาน�ำเร่ืองและ ร้จู ักคำ� ส�ำคญั โดยครูอาจจะใชค้ �ำถามดังนี้ • นักเรียนเคยเหน็ ทะเลหมอกหรอื ไม่ ทะเลหมอก เกิดขึ้นชว่ งไหน (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ) • ทะเลหมอกเกิดขน้ึ ได้อย่างไร (นกั เรยี นตอบตาม ความเข้าใจ) • หยดน้�ำที่เกาะข้างแก้วน�้ำเย็นเกิดขึ้นได้อย่างไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) 2. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม หากพบวา่ นกั เรยี นยงั ทำ� กจิ กรรมทบทวนความรกู้ ่อนเรยี นไม่ถกู ตอ้ ง ครคู วร ทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อ ให้นักเรียนมีความรู้พ้ืนฐานท่ีถูกต้องและเพียงพอท่ี จะเรยี นเรื่องความช้ืนตอ่ ไป ความรูเ้ พ่มิ เติมสำ�หรบั ครู ภาพน�ำเรือ่ ง คอื ทะเลหมอก ซ่งึ เกดิ จากอุณหภูมิ อากาศลดลงและไอนำ้� ในอากาศเกดิ การควบแนน่ เปน็ ละอองน้ำ� จำ� นวนมากจนเกดิ เปน็ ทะเลหมอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

198 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรกู้ ่อนเรียน เขยี นเครื่องหมาย  หน้าข้อความทถี่ กู ต้อง £ นำ�้ ระเหยไดเ้ ม่ือเดือดเทา่ นั้น (นำ้� สามารถระเหยไดเ้ ม่อื ได้รบั ความร้อนในทกุ ช่วง)  เม่ือน้�ำระเหยจะกลายเป็นไอนำ้� อยใู่ นอากาศ £ เราสามารถมองเห็นไอน้�ำเป็นควันสีขาวลอยอยู่ได้ (เราไม่สามารถมองเห็นไอน�้ำด้วยตาเปล่าได้ ควันสีขาว ที่ลอยเหนือภาชนะที่บรรจุน้�ำร้อนคือ ละอองน้�ำขนาดเล็กจ�ำนวนมากท่ีเกิดจากการควบแน่นของไอน�้ำใน อากาศ) £ เมฆ และฝนเป็นรูปแบบหน่ึงของหยาดน้�ำฟ้า (ฝนเป็นหยาดน�้ำฟ้า เมฆไม่เป็นหยาดน้�ำฟ้า เน่ืองจากเมฆ ประกอบด้วยละอองน้�ำจ�ำนวนมากทไ่ี ม่ตกสพู่ ้ืน) 3. ตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกยี่ วกบั ความชน้ื โดยใหท้ ำ� กจิ กรรม รอู้ ะไรบา้ งกอ่ นเรยี น นกั เรยี นสามารถเขยี นตาม ความเข้าใจของนักเรียน ครูไม่เฉลยค�ำตอบแต่น�ำข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนไปใช้ในการวางแผน จดั การเรยี นรวู้ า่ ควรเนน้ ยำ้� หรอื อธบิ ายเรอื่ งใดเปน็ พเิ ศษ เมอื่ นกั เรยี นเรยี นจบเรอื่ งนแ้ี ลว้ นกั เรยี นจะมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ครบถว้ นตามจดุ ประสงคข์ องบทเรียน ตัวอย่างแนวคดิ คลาดเคล่ือนซึ่งอาจพบในเรือ่ งนี้ • อากาศชืน้ หนักกว่าอากาศแหง้ • ความช้นื จริง (ความชนื้ สัมบูรณ์) มคี า่ สงู ความช้นื สัมพัทธจ์ ะมีคา่ สงู ด้วย 4. ใหน้ กั เรยี นอา่ นและตอบคำ� ถามเกย่ี วกบั ปรมิ าณไอนำ้� ในอากาศ ความชน้ื สมั บรู ณ์ ปรมิ าณไอนำ�้ อมิ่ ตวั และความชนื้ สมั พทั ธ์ จากหนังสือเรียน จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับความหมายและความสัมพันธ์ของปริมาณไอน้�ำ ในอากาศ ความชน้ื สมั บรู ณ์ ปรมิ าณไอนำ�้ อม่ิ ตวั และความชน้ื สมั พทั ธ์ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ ไอนำ้� ในอากาศทำ� ใหอ้ ากาศมี ความชน้ื คา่ ความชนื้ สมั บรู ณแ์ สดงปรมิ าณไอนำ�้ ทม่ี อี ยจู่ รงิ ในอากาศโดยมหี นว่ ยเปน็ กรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ณ อณุ หภมู ใิ ด อุณหภูมิหนึ่ง อากาศสามารถรับไอน้�ำได้ในปริมาณจ�ำกัดโดยปริมาณไอน้�ำอ่ิมตัวหรือปริมาณไอน้�ำสูงสุดท่ีอากาศ รับได้ข้นึ อยู่กับอุณหภมู อิ ากาศ คา่ ความชืน้ สัมพทั ธแ์ สดงความสามารถของอากาศในการรับปรมิ าณไอนำ้� ณ ขณะนัน้ ว่าอากาศมีปริมาณไอน้�ำในอากาศเท่าไร เทียบกับความสามารถท่ีจะรับได้ท้ังหมด และจะสามารถรับได้อีกเท่าไร โดยแสดงค่าเปน็ เปอร์เซน็ ต์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 199 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยชวนคิด ในห้องขนาด 250 ลูกบาศกเ์ มตร มคี วามช้ืนสมั บูรณ์ 30 กรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ในหอ้ งน้ันจะมมี วลของ ไอน�ำ้ ในอากาศเท่าใด แนวค�ำตอบ ความชื้นสมั บูรณ ์ = มวลของไอนำ�้ (g) ปรมิ าตรอากาศ (m3) มวลของไอน้�ำ = 30 g/m3x 250 m3 = 7,500 g ในหอ้ งมมี วลของไอน�้ำในอากาศ 7,500 กรมั เฉลยคำ�ถามระหว่างเรียน • อากาศทมี่ อี ุณหภมู ิ 20 องศาเซลเซียส มปี ริมาณไอน้�ำอิ่มตวั เทา่ ใด แนวคำ� ตอบ ปรมิ าณไอน�้ำอ่มิ ตัวมคี ่าประมาณ 16 กรมั ต่อลกู บาศกเ์ มตร • อากาศอุณหภมู ใิ ดมปี รมิ าณไอน�ำ้ อ่ิมตัวสงู กวา่ กัน ระหว่างอากาศทอี่ ุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส หรืออากาศ ทอ่ี ณุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส แนวค�ำตอบ อากาศทอ่ี ณุ หภมู ิ 30 องศาเซลเซยี ส มปี รมิ าณไอนำ้� อมิ่ ตวั สงู กวา่ อากาศทอ่ี ณุ หภมู ิ 20 องศาเซลเซยี ส • อุณหภมู ิอากาศและปรมิ าณไอน�้ำอ่ิมตวั มคี วามสมั พนั ธ์กนั อย่างไร แนวคำ� ตอบ เม่อื อณุ หภมู อิ ากาศมีคา่ สงู ข้นึ ปริมาณไอน้�ำอิม่ ตัวจะมีคา่ สูงข้ึนดว้ ย เฉลยชวนคิด ณ อุณหภมู ิ 40 องศาเซลเซียส อากาศท่ีมีคา่ ความชืน้ สัมพัทธ์ 70 เปอรเ์ ซนต์ มปี รมิ าณไอน้�ำจรงิ เท่าใด และจะ สามารถรบั ไปน�้ำได้อกี เทา่ ใด แนวคำ� ตอบ ความชน้ื สัมพัทธ์ = ปรมิ าณไอนำ�้ ท่มี ีอยจู่ รงิ ในอากาศ x 100 ปริมาณไอนำ้� อมิ่ ตวั ณ อุณหภมู ิ ความดันและปรมิ าตรเดยี วกัน และจากกราฟ ปรมิ าณไอนำ�้ อิ่มตัว ณ อณุ หภมู ิ 40 ํC เท่ากับ 50 g/m3 ปรมิ าณไอน�้ำจรงิ = (70% x 50 g/m3)/100% = 35 g/ m3 ปรมิ าณไอน�ำ้ จรงิ 35 กรมั ต่อลกู บาศก์เมตร ดงั นน้ั จงึ สามารถรับไอน�ำ้ ไดอ้ กี 15 g/ m3 5. น�ำเข้าสู่กิจกรรมที่ 6.5 ปัจจัยที่มีผลต่อความช้ืนสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง โดยอธิบายความส�ำคัญของความชื้นสัมพัทธ์ ซง่ึ แสดงถงึ ความสามารถในการรบั ไอนำ้� ในอากาศจงึ ทำ� ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรน์ ำ� คา่ ความชน้ื สมั พทั ธไ์ ปใชป้ ระโยชนใ์ นการแปล ความหมายและทำ� นายลมฟา้ อากาศได้ ซงึ่ การศกึ ษาปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความชน้ื สมั พทั ธจ์ ะทำ� ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจกระบวนการ ทเ่ี กยี่ วกบั ลมฟา้ อากาศมากข้ึน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

200 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 6.5 ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ ความชื้นสมั พัทธม์ ีอะไรบา้ ง แนวการจดั การเรียนรู้ ครดู �ำเนนิ การดงั น้ี กอ่ นการทำ� กิจกรรม 1. ใหน้ กั เรยี นอา่ นวิธีด�ำเนนิ กจิ กรรมในหนังสือเรยี น และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังตอ่ ไปนี้ • กจิ กรรมนเี้ กย่ี วกับเรอื่ งอะไร (ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ ความชื้นสมั พัทธ)์ • กิจกรรมน้ีมีจุดประสงคอ์ ยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วัสดุและอปุ กรณ์พเิ ศษท่ใี ช้ในกจิ กรรมมีอะไรบา้ งและใชง้ านอย่างไร (ไซครอมิเตอรซ์ งึ่ มีวิธกี ารใชง้ านและข้อแนะน�ำ อยู่ในหนังสือเรียน) • วิธีด�ำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (ศึกษาการใช้ไซครอมิเตอร์ วางแผนการท�ำงาน ตรวจวัดและบันทึก ความช้ืนสัมพัทธ์โดยใช้ไซครอมิเตอร์ ตามสถานที่และเวลาที่ได้ออกแบบไว้ รวมท้ังบันทึกลักษณะทางกายภาพใน พ้นื ทที่ ีเ่ ลือก จากนั้นน�ำขอ้ มลู มาสรา้ งกราฟ) • ขอ้ ควรระวงั ในการทำ� กจิ กรรมมหี รอื ไมอ่ ยา่ งไร (การใชไ้ ซครอมเิ ตอร์ เพอ่ื วดั คา่ ความชน้ื สมั พทั ธแ์ ละอณุ หภมู อิ ากาศ ควรใช้อุปกรณ์ตามข้อแนะนำ� ในหนังสอื เรยี น) 2. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาและอภปิ รายวธิ กี ารใชไ้ ซครอมเิ ตอร์ จากหนงั สอื เรยี น โดยนกั เรยี นตอบคำ� ถามในเกรด็ นา่ รเู้ พอื่ ประเมนิ ความเขา้ ใจการใชไ้ ซครอมิเตอร์ 3. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั วางแผนเพอื่ เลอื กสถานทแี่ ละเวลาทใ่ี ชใ้ นการวดั อณุ หภมู อิ ากาศ และความชนื้ สมั พทั ธ์ รวมทงั้ ออกแบบ วิธีการบันทึกผลทส่ี งั เกตได้ ระหว่างการท�ำกิจกรรม 4. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ครูสังเกตการตรวจวัดความช้ืนสัมพัทธ์ของนักเรียนเพื่อให้ค�ำแนะน�ำและน�ำ ขอ้ มูลจากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั กิจกรรม 5. ใหน้ กั เรยี นเกบ็ ขอ้ มลู ลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ทท่ี นี่ กั เรยี นเลอื กศกึ ษา นำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการตรวจวดั มาสรา้ งกราฟเสน้ ท่ีแสดงการเปล่ียนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ในเวลาต่าง ๆ และเตรียมน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม โดยครูอาจแนะน�ำวิธี การสรา้ งกราฟให้แกน่ กั เรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ 201 คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ หลงั การท�ำกจิ กรรม 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม และน�ำผลงานติดแสดงหน้าห้องเรียนเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของ แตล่ ะกลุ่ม 7. ใหน้ ักเรยี นตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม จากนัน้ ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายคำ� ตอบเพอ่ื ให้ไดข้ ้อสรุปวา่ ปัจจัยท่มี ีผล ตอ่ ค่าความช้ืนสมั พัทธ์คือ อณุ หภมู ิอากาศ และลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ท่ี 8. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความช้ืนในหนังสือเรียน ตอบค�ำถามระหว่างเรียน และอภิปรายสรุปร่วมกัน เกยี่ วกบั ความชืน้ สัมพทั ธ์ การเกดิ ละอองน�ำ้ เมฆ หมอก น�้ำค้าง ตามตัวอย่าง เฉลยคำ�ถามระหว่างเรยี น • ถ้าค่าความชนื้ สมั พัทธ์รอ้ ยละ 85 อณุ หภูมิกระเปาะแห้งเป็น 30 องศาเซลเซียส อุณหภมู ิกระเปาะเปียกเป็น เท่าใด แนวค�ำตอบ อุณหภมู ิกระเปาะเปียกมีคา่ เท่ากับ 28 องศาเซลเซียส • ถ้าอากาศมคี วามช้ืนสมั พัทธต์ ่�ำ น�้ำจะระเหยได้มากขนึ้ หรือน้อยลงเปน็ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ ถ้าอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ต�่ำ น�้ำจะระเหยได้มากขึ้นเพราะความชื้นสัมพัทธ์ต่�ำแสดงว่าปริมาณ ไอน้�ำในอากาศมีอย่นู อ้ ย อากาศยงั สามารถรบั ไอนำ้� ได้อกี มาก จงึ ทำ� ใหน้ ้ำ� ระเหยไดม้ ากขนึ้ • ถา้ อณุ หภมู จิ ากเทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะแหง้ และเทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะเปยี กไมต่ า่ งกนั ความชนื้ สมั พทั ธใ์ น อากาศควรมคี า่ เทา่ ใด แนวค�ำตอบ ถ้าอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งและกระเปาะเปียกเท่ากันความช้ืนสัมพัทธ์ในอากาศ จะเท่ากับ 100 เปอร์เซนต์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

202 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน • หากปริมาณไอน้ำ� จริงในอากาศมคี า่ คงท่ี เม่อื อณุ หภูมลิ ดลง ความช้นื สมั พัทธ์จะมีค่าเพมิ่ ข้ึนหรือลดลง แนวคำ� ตอบ ความชื้นสัมพัทธ์หาได้จากอัตราส่วนระหวา่ งปริมาณไอนำ�้ จรงิ กบั ปรมิ าณไอนำ�้ อิ่มตวั เม่อื อณุ หภูมิ อากาศลดลงปรมิ าณไอน้�ำอิ่มตัวมีค่าลดลงดว้ ย จงึ ส่งผลให้ความชน้ื สมั พัทธ์มคี า่ เพ่มิ ขึ้น • เหตุใดบรเิ วณที่อย่ใู กล้แหล่งน�้ำจึงมคี วามชน้ื สัมพัทธส์ งู กวา่ บริเวณทอ่ี ยไู่ กลแหลง่ น้ำ� แนวค�ำตอบ บริเวณใกล้แหล่งน้�ำจะมีปริมาณไอน�้ำในอากาศมากกว่าอย่างไรก็ตามต้องเป็นในสภาพที่ไม่มี ปัจจยั อน่ื เข้ามาเกยี่ วข้อง เช่น บริเวณชายทะเล แม้ใกล้แหลง่ น�ำ้ แตล่ มอาจพดั พาความช้ืนออกไป • พ้ืนท่ีสองบริเวณมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากัน จะสามารถสรุปได้หรือไม่ว่าอากาศท้ังสองบริเวณมีความช้ืน เท่ากัน เพราะเหตใุ ด แนวคำ� ตอบ ไมส่ ามารถสรปุ ไดเ้ พราะความชนื้ สมั พทั ธเ์ ปน็ เพยี งการเปรยี บเทยี บระหวา่ งปรมิ าณไอนำ�้ ในอากาศ จริงกับปริมาณไอน้�ำอิ่มตัวในพื้นท่ีนั้น ๆ ถ้าความชื้นสัมพัทธ์เท่ากันแต่ความช้ืนอาจจะไม่เท่ากัน กไ็ ด้ เชน่ ความชน้ื สมั พทั ธ์ 80 เปอรเ์ ซนต์ ในพน้ื ทที่ มี่ อี ณุ หภมู อิ ากาศ 30 องศาเซลเซยี ส บรเิ วณนนั้ อากาศมคี วามชนื้ 24 กรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร แตใ่ นพนื้ ทที่ มี่ อี ณุ หภมู อิ ากาศ 40 องศาเซลเซยี ส บรเิ วณ นั้นอากาศมีความชื้น 40 กรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร • เหตุใดทะเลหมอกจงึ มกั พบในชว่ งเชา้ แนวคำ� ตอบ เพราะในชว่ งเช้าอากาศมอี ุณหภมู ติ �่ำจงึ ท�ำให้ปริมาณไอน้�ำอ่ิมตัวมคี า่ ต่�ำ ความชื้นสมั พทั ธส์ งู ไอน�้ำ สว่ นเกนิ ในอากาศจงึ ควบแนน่ เป็นละอองน�ำ้ เกิดเป็นหมอกหรือทะเลหมอก สว่ นในตอนกลางวัน แสงแดดจะท�ำใหห้ ยดน�ำ้ เกดิ การระเหยจึงมีโอกาสเกดิ หมอกไดน้ ้อยลง • เหตใุ ดผ้าท่ตี ากไวใ้ นบางวันจงึ แห้งช้ากวา่ ปกติ แนวค�ำตอบ ถ้าตากผ้าไว้แล้วผ้าแห้งช้ากว่าปกติแสดงว่าวันน้ันอากาศอาจจะมีความชื้นสัมพัทธ์สูงน�้ำจึงระเหย ไดน้ อ้ ย ท�ำใหผ้ า้ แหง้ ช้า • เหตใุ ดจึงพบหยดน้�ำเกาะบรเิ วณขา้ งแกว้ น�้ำเย็น แนวค�ำตอบ สาเหตทุ พี่ บหยดนำ้� เกาะบรเิ วณขา้ งแกว้ นำ้� เยน็ เปน็ เพราะอากาศทสี่ มั ผสั กบั แกว้ นำ้� มอี ณุ หภมู ลิ ดลง ต�ำ่ ทำ� ให้อากาศบริเวณนนั้ เกดิ การอิ่มตัว แลว้ ควบแน่นกลายเปน็ หยดน�้ำเกาะอยขู่ ้างแกว้ น้�ำ • เหตใุ ดความชนื้ สมั พัทธ์เฉลีย่ ในฤดูรอ้ น จึงต่�ำกว่าฤดูหนาว แนวคำ� ตอบ เน่ืองจากความช้ืนสัมพัทธ์ขึ้นอยู่กับปริมาณไอน�้ำอิ่มตัวในอากาศซึ่งข้ึนกับอุณหภูมิอากาศ ในฤดูหนาวอุณหภูมิอากาศต่�ำปริมาณไอน้�ำอ่ิมตัวจึงมีค่าต่�ำด้วย ส่งผลให้ความช้ืนสัมพัทธ์มีค่าสูง โดยเฉลย่ี แล้วความช้นื สมั พทั ธ์ในฤดูหนาวจงึ สงู กวา่ ในฤดรู อ้ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศ 203 ค่มู ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า อากาศมีความชื้นซึ่งสามารถแสดงค่าความช้ืน ในอากาศโดยใช้คา่ ความช้นื สมั บูรณแ์ ละความช้ืนสมั พัทธ์ ปัจจัยท่สี ง่ ผลตอ่ ความชืน้ สมั บรู ณ์คอื ปรมิ าณไอนำ�้ ในอากาศ ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความชน้ื สมั พทั ธค์ อื ปรมิ าณไอนำ�้ ในอากาศ และอณุ หภมู อิ ากาศ ทงั้ นส้ี ภาพแวดลอ้ มของพนื้ ทที่ ตี่ รวจวดั มีผลตอ่ ปรมิ าณไอน�้ำในอากาศ และอุณหภมู อิ ากาศดว้ ย เม่ืออากาศอมิ่ ตวั หรือมีความชืน้ สัมพัทธ์ 100% และอุณหภมู ิ อากาศลดลงอกี เลก็ นอ้ ย ไอนำ�้ ในอากาศจะเกดิ การควบแนน่ กลายเปน็ ละอองนำ้� เกดิ เปน็ เมฆ หมอก และนำ�้ คา้ ง อณุ หภมู ิ ขณะไอนำ�้ ในอากาศเกิดการควบแนน่ เรียก อุณหภูมจิ ดุ นำ�้ ค้าง 10. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเก่ียวกับเร่ืองน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนให้ ถูกตอ้ ง เช่น แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคิดทถ่ี ูกตอ้ ง อากาศชน้ื หนกั กว่าอากาศแหง้ อากาศชนื้ เบากวา่ อากาศแหง้ นำ้� ในสถานะแกส๊ มมี วล น้อยกว่าอากาศแหง้ ความชนื้ จรงิ (ความชน้ื สมั บรู ณ)์ มคี า่ สงู ความชน้ื สมั พทั ธ์ ค่าความช้ืนสัมพัทธ์แปรผันตามปริมาณไอน�้ำจริง จะมีคา่ สูงดว้ ย ในอากาศ (ความชื้นจริงหรือความช้ืนสัมบูรณ์) และ แปรผกผนั กบั ปรมิ าณไอนำ้� อมิ่ ตวั ในอากาศ ณ อณุ หภมู ิ และความดันน้ัน หากความช้ืนจริงมีค่าสูง แต่ความ ปริมาณไอน้�ำอิ่มตัวมีค่าสูงด้วยค่าความชื้นสัมพัทธ์ อาจมีค่าต่�ำได้ ดังน้ันไม่จ�ำเป็นท่ีเมื่อความชื้นจริงมีค่า สงู ค่าความชืน้ สัมพัทธจ์ ะมีค่าสูงตาม 11. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนเรื่องต่อไปว่า คา่ ความช้นื สมั พทั ธม์ คี วามสมั พันธ์กบั การเกดิ เมฆ ดงั ทไี่ ด้เรยี นมาแลว้ เมฆและฝน เปน็ องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศซง่ึ มคี วามสำ� คญั และสง่ ผลตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ นกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษาปจั จยั ทม่ี ี ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงเมฆและฝนเพมิ่ เติมในเรอ่ื งต่อไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

204 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 6.5 ปจั จัยใดมีผลต่อความช้ืนสัมพทั ธ์ นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์ ผ่านการวัดความช้ืนสัมพัทธ์ด้วย ไซครอมิเตอร์ใน สถานที่และเวลาต่าง ๆ จากนนั้ น�ำผลการท�ำกจิ กรรมมาวเิ คราะห์และอธบิ ายปจั จัยท่มี ีผลตอ่ ความชื้นสมั พทั ธ์ จุดประสงค์ วดั ความช้นื สมั พัทธแ์ ละอธิบายปจั จัยทม่ี ีผลต่อความช้นื สัมพทั ธ์ เวลาที่ใช้ใน 45 นาที ตรวจวัดเปน็ ระยะในรอบวัน การทำ� กิจกรรม วสั ดุและอปุ กรณ ์ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ต่อกลมุ่ รายการ ปริมาณ/กลุม่ ไซครอมิเตอร์ 1 อัน การเตรยี มลว่ งหนา้ • ครูเตรียมส่ือประกอบการสอน เช่นภาพหรือวีดิทัศน์ของสถานการณ์ท่ีเก่ียวกับปริมาณไอน�้ำ ในอากาศ ข้อควรระวัง ขอ้ เสนอแนะ • ครูเตรียมไซครอมิเตอรใ์ หเ้ พียงพอตอ่ การทำ� กจิ กรรมของนกั เรยี น ในการท�ำกิจกรรม นักเรียนศึกษาการใช้ไซครอมิเตอร์โดยละเอียดก่อนการท�ำกิจกรรมเพื่อให้ผลการทดลองไม่ คลาดเคล่อื น • ครูให้นักเรียนศึกษา ออกแบบและวางแผนการด�ำเนินกิจกรรมในชั่วโมงเรียน โดยตรวจวัด ความชน้ื สัมพัทธ์และเก็บข้อมูลเปน็ ระยะในรอบวัน • ครวู างแผนให้นกั เรียนทำ� กิจกรรมนีพ้ รอ้ มกบั กิจกรรม 6.2 • นักเรยี นสามารถวดั อุณหภูมอิ ากาศโดยใชเ้ ทอร์มอมเิ ตอร์กระเปาะแหง้ ในไซครอมิเตอร์ได้ • กิจกรรมน้ีอาจมีผลการทดลองคลาดเคลื่อน เพราะสภาพอากาศปกติความช้ืนสัมพัทธ์ ในช่วงเช้าจะมีค่าสูงเน่ืองจากอุณหภูมิอากาศมีค่าต่�ำ และในบริเวณท่ีอยู่ใกล้แหล่งน�้ำ จะมีความช้ืนสัมพัทธ์สูงกว่าบริเวณท่ีไม่มีแหล่งน�้ำอยู่ใกล้เคียง หากผลการท�ำกิจกรรม ของนกั เรยี นบางกลมุ่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ทฤษฎี อาจเนอื่ งจาก นกั เรยี นอา่ นคา่ อณุ หภมู ใิ นกระเปาะ เทอร์มอมิเตอร์ขณะท่ีอุณหภมู ิยงั มคี ่าไม่คงที่ นอกจากน้ียังมี ปัจจัยอื่นรบกวนพ้นื ท่ีที่ตรวจวดั เช่น สภาพอากาศแปรปรวนแตกตา่ งกนั มากในช่วงเช้าและเย็น เปน็ ตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศ 205 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ส่ือการเรยี นรู/้ แหลง่ เรยี นรู้ • หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 สสวท. ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม พ้นื ที่ 1 ในเรือนเพาะช�ำ สภาพแวดล้อมบรเิ วณทีต่ รวจวัด พื้นท่ที ีต่ รวจวัดอย่ใู นเรือนเพาะชำ� มีตน้ ไมม้ าก มีแสงแดดร�ำไร และมีการรดน้�ำต้นไม้เกือบตลอดเวลา ตารางอุณหภมู จิ ากเทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะแห้ง กระเปาะเปยี กและความชืน้ สัมพทั ธ์บริเวณในเรอื นเพาะช�ำ เวลา อณุ หภมู ิ (องศาเซลเซยี ส) ความชื้นสมั พัทธ์ (นาฬิกา) เทอร์มอมิเตอรก์ ระเปาะแหง้ เทอร์มอมเิ ตอร์กระเปาะเปยี ก (เปอร์เซนต์) 8.00 28.5 26.5 85 10.00 29.5 27.0 81 12.00 31.0 27.5 69 14.00 31.5 28.0 75 16.00 31.0 27.0 72 90 90 ความช้นื สัมพัทธุอณห ูภมิอากาศ °Cความช้นื สัมพทั ธ (%) 80 80 อุณหภมู อิ ากาศ 70 70 60 60 50 50 40 40 30 30 20 20 10 10 00 7.00 9.00 11.00 13.00 15.00 17.00 เวลา กราฟแสดงการเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ิอากาศและความช้ืนสมั พัทธบ์ รเิ วณเรือนเพาะชำ� ในเวลาตา่ งๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

206 หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ส่อื การเรียนร/ู้ • หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 สสวท. แหลง่ เรียนรู้ ตวั อย่างผลการทำ�กิจกรรม พนื้ ที่ 2 บริเวณกลางแจง้ สภาพแวดล้อมบรเิ วณทต่ี รวจวดั พื้นที่ทต่ี รวจวดั เปน็ บรเิ วณกลางแจ้ง พน้ื ปูนซีเมนต์ ไดร้ ับแสงตลอดเวลา ตารางอณุ หภมู จิ ากเทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะแหง้ กระเปาะเปยี กและความชนื้ สมั พทั ธบ์ รเิ วณกลางแจง้ ภายนอก อาคารเรยี น (นเาวฬลิกาา) อณุ หภมู (ิ องศาเซลเซยี ส) ความชน้ื สมั พัทธ์ เทอร์มอมเิ ตอร์กระเปาะแห้ง เทอรม์ อมิเตอรก์ ระเปาะเปียก 8.00 (เปอรเ์ ซนต์) 10.00 29.0 26.5 74 30.5 27.0 75 12.00 33.0 27.0 61 14.00 33.0 27.0 61 16.00 32.0 26.5 58 ความชนื้ สัมพทั ธ 80 80 อุณหภมู อิ ากาศ 70 70 ุอณห ูภมิอากาศ °C 60 60 50 50 ความช้นื สัมพทั ธ (%) 40 40 30 30 20 20 100 10 0 7.00 9.00 11.00 13.00 15.00 17.00 เวลา กราฟแสดงการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู อิ ากาศและความชนื้ สมั พทั ธบ์ รเิ วณพนื้ ปนู ซเี มนตก์ ลางแจง้ ในเวลาตา่ งๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ 207 ค่มู ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม 1. อณุ หภมู ิอากาศ และความช้ืนสมั พัทธใ์ นช่วงเวลาตา่ ง ๆ ในพ้ืนท่เี ดยี วกนั เปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไร (ตอบตามข้อมูลจรงิ ท่ีไดจ้ ากการตรวจวดั ) แนวค�ำตอบ อุณหภูมิอากาศมีค่าต่�ำในช่วงเช้าและเพิ่มสูงข้ึนจนกระท่ังช่วงบ่ายจากนั้นจึงมีค่าลดลง ความช้ืนสัมพัทธ์ในบางพื้นท่ีเช่นบริเวณเรือนเพาะช�ำ มีค่าสูงในช่วงเช้าและลดต�่ำลงจนกระท่ัง ชว่ งบา่ ยจากนนั้ จงึ มคี า่ สงู ขนึ้ สว่ นในบรเิ วณกลางแจง้ มคี า่ สงู ในชว่ งเชา้ และลดตำ่� ลงอกี ในชว่ งบา่ ย 2. อณุ หภมู อิ ากาศ และความชืน้ สมั พทั ธ์มีความสมั พันธก์ นั หรอื ไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ มแี นวโนม้ วา่ มคี วามสมั พนั ธก์ นั โดยเมอื่ อณุ หภมู อิ ากาศตำ่� ความชนื้ สมั พทั ธม์ คี า่ สงู อณุ หภมู อิ ากาศ สูงข้นึ ความชน้ื สัมพัทธ์มีคา่ ต่ำ� ลง อาจเนื่องจากอุณหภูมิอากาศมผี ลตอ่ ปรมิ าณไอน้�ำอิม่ ตวั จงึ สง่ ผล ตอ่ ค่าความชื้นสัมพทั ธ์ 3. ความชนื้ สมั พทั ธ์ในเวลาเดยี วกันแต่ละพนื้ ทแ่ี ตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ ในเวลาเดยี วกนั ในแตล่ ะพน้ื ทม่ี คี า่ ความชนื้ สมั พทั ธแ์ ตกตา่ งกนั เชน่ ณ เวลา 8:00 น. ความชนื้ สมั พทั ธ์ ในเรือนเพาะช�ำมคี ่า 85 เปอร์เซนต์ ในขณะที่บริเวณกลางแจง้ มีคา่ 74 เปอร์เซนต์ แมว้ ่าอุณหภูมิ อากาศจะไมแ่ ตกต่างกันมากโดยมีคา่ 28.5 และ 29 องศาเซลเซยี สตามล�ำดบั 4. ความชื้นสัมพทั ธก์ บั พ้ืนทีต่ รวจวัดมีความสัมพันธ์กนั หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ มีความสัมพันธ์กัน โดยพ้ืนที่ท่ีอยู่ใกล้แหล่งน�้ำจะมีความช้ืนสูงกว่าพื้นท่ีกลางแจ้ง เนื่องจากมี ปริมาณไอน้�ำจริงมากกว่า และพ้ืนท่ีที่อยู่ในบริเวณปิดจะมีความช้ืนสัมพัทธ์สูงกว่ากลางแจ้ง เนอ่ื งจากไอน้�ำจรงิ ไม่เคลื่อนยา้ ยจากบรเิ วณดงั กลา่ วมากนัก 5. จากกิจกรรมสรปุ ได้ว่าอย่างไร แนวค�ำตอบ ปจั จัยทมี่ ผี ลตอ่ ความชืน้ สัมพัทธไ์ ด้แก่ อณุ หภมู อิ ากาศ ลักษณะทางกายภาพพืน้ ท่ที ่ีตรวจวดั และ เวลาในการตรวจวัด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

208 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ ค่มู อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ความร้เู พ่มิ เตมิ สำ�หรบั ครู • ในสภาวะทีอ่ ากาศน่งิ ไมค่ ่อยมีลมพัดปริมาณไอน�ำ้ ในอากาศในพ้นื ที่ไม่เปล่ยี นแปลงมาก ความชื้นสมั พัทธ์จะขนึ้ อยู่กบั อณุ หภูมิอากาศ เมอ่ื อณุ หภูมอิ ากาศตำ�่ ในช่วงเช้า ความชนื้ สมั พทั ธม์ คี ่าสูง และเมือ่ อณุ หภมู ิอากาศสูงใน ชว่ งกลางวันหรอื บ่ายความชืน้ สมั พัทธจ์ ะมีค่าต�ำ่ เนอ่ื งจากอณุ หภมู อิ ากาศมผี ลตอ่ ปรมิ าณไอน�้ำอ่มิ ตัว • ความช้ืนสมั พัทธ์ ในสภาวะปกตมิ คี ่าสูงสดุ 100 เปอรเ์ ซนต์ แต่ในบางสภาวะอาจพบค่าความชื้นสมั พัทธ์สงู กวา่ 100 เปอรเ์ ซนต์ เราเรียกสภาวะนั้นว่าสภาวะอากาศอิม่ ตัวดว้ ยไอนำ้� ย่ิงยวด (supersaturated) ซึ่งอาจเกดิ ได้ จากการท่อี ากาศไมม่ ตี ัวกลางให้ไอน้ำ� เกาะตวั เพื่อควบแนน่ • อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการตรวจวดั ความชนื้ สัมพัทธ์ มหี ลากหลาย เชน่ ไซครอมิเตอร์ ไฮโกรมิเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ 209 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เร่อื งที่ 5 เมฆและฝน ความรเู้ พ่ิมเติมสำ�หรบั ครู ภาพน�ำเร่ือง คือ ภาพถ่ายผ่านดาวเทียมเหนือ แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำ� เนินการดังน้ี น่านฟ้าประเทศไทย โดยแสดงปริมาณเมฆท่ี 1. กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเมฆและฝน ปกคลุม โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ดังภาพน�ำเร่ือง หรือภาพ เคลื่อนไหวจากเว็บไซต์http://www.sattmet.tmd. go.th/satmet/mergesat.html ท่ีแสดงปริมาณเมฆ เหนอื พื้นท่ปี ระเทศไทย โดยอาจใชค้ �ำถามกระตนุ้ ความ สนใจดังน้ี • จากภาพบริเวณใดมีเมฆปกคลุม ทราบได้อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ) • นักเรียนคิดว่าพื้นท่ีใดน่าจะเกิดฝน เพราะเหตุใด (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ) 2. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้ว น�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยังท�ำ กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควร ทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพ่ือให้มี ความรู้พ้ืนฐานท่ีถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องเมฆ และฝนต่อไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

210 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรูก้ ่อนเรียน เขียนเครื่องหมาย  หน้าขอ้ ความทีถ่ ูกตอ้ ง 1. ข้อใดบา้ งตอ่ ไปนี้ทีจ่ ดั เปน็ หยาดนำ�้ ฟา้  น้�ำคา้ ง £ นำ้� ค้างแขง็  ฝน £ หมอก  เมฆ  หมิ ะ  ลกู เห็บ 2. ขอ้ ความต่อไปนขี้ ้อใดถูกตอ้ งบา้ ง £ เมฆเปน็ ไอนำ้� £ การควบแนน่ ของเมฆทำ� ใหเ้ กดิ ฝน  เมฆเปน็ กลมุ่ ของละอองน�ำ้  ละอองนำ�้ ท่รี วมตวั กนั จนมนี ้ำ� หนกั มากท�ำให้เกดิ ฝน 3. ตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับเมฆและฝนของนักเรียนโดยให้ท�ำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถ เขียนได้ตามความเข้าใจของนักเรียน ครูไม่เฉลยค�ำตอบแต่น�ำข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนไปใช้ ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย�้ำหรืออธิบายเรื่องใดเป็นพิเศษ เมื่อเรียนจบเรื่องน้ีแล้ว นักเรียนจะมี ความรู้ความเข้าใจครบถว้ นตามจุดประสงคข์ องบทเรยี น ตวั อยา่ งแนวคิดคลาดเคลื่อนซ่ึงอาจพบในเรือ่ งนี้ • เมฆมสี เี ขม้ หรอื ด�ำเนอื่ งจากมมี ลพิษอากาศอยใู่ นเมฆน้นั • ฝนตกเน่อื งจากเมฆมมี วลมาก 4. น�ำเข้าสู่การท�ำกิจกรรมท่ี 6.6 เมฆที่เห็นเป็นอย่างไร ครูต้ังค�ำถามกระตุ้นความสนใจว่า บางคร้ังเราสามารถท�ำนาย สภาพอากาศล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูลจากลักษณะเมฆในท้องฟ้าที่เราสังเกตได้ นักเรียนคิดว่าเมฆในแต่ละวันมีลักษณะ เหมือนกนั หรอื แตกต่างกนั อยา่ งไรบ้าง กิจกรรมเสริม ทำ�อย่างไรจงึ สังเกตเมฆได้ง่ายขนึ้ ตัวอย่างผลการท�ำกจิ กรรม ตารางช่วยนับจำ� นวนช่องท่มี เี มฆปรากฏ กระจกโคง้ สะทอ้ นภาพเมฆในทอ้ งฟา้ ตัวอย่างองค์ความรแู้ ละทักษะที่ได้จากกจิ กรรม นักเรียนจะไดเ้ รียนรู้เกีย่ วกับการออกแบบและสร้างอุปกรณท์ ช่ี ่วยในการวัดปริมาณฝน รวมท้งั ได้ใชแ้ นวคิดในการท�ำ เครอื่ งวัดฝนทเ่ี ปน็ ทรงกระบอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ 211 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 6.6 เมฆที่เห็นเป็นอย่างไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครดู �ำเนนิ การดังนี้ กอ่ นการท�ำกจิ กรรม 1. ให้นกั เรียนอ่านวธิ ีดำ� เนนิ กิจกรรมในหนงั สอื เรยี น และรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ดังตอ่ ไปน้ี • กิจกรรมนีเ้ กีย่ วกบั เร่ืองอะไร (ลักษณะเมฆ และการตรวจวดั ) • กิจกรรมนม้ี ีจุดประสงคอ์ ย่างไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีด�ำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (อภิปรายวิธีสังเกตเมฆบนท้องฟ้าตามความคิดของตนเอง สังเกต วาดภาพ และจำ� แนกเมฆตามเกณฑข์ องตนเอง ศกึ ษาการสงั เกตเมฆตามวธิ กี ารท่ีนา่ เช่ือถอื สงั เกตเมฆ และบันทึก ขอ้ มลู ) 2. ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันในประเด็นดังนี้ หากนักเรียนสังเกตเมฆในท้องฟ้า นักเรียนคิดว่าควรจะได้ข้อมูลอะไรบ้าง และจะมวี ธิ บี อกปริมาณเมฆในท้องฟ้าได้อยา่ งไร ระหว่างการทำ� กจิ กรรม 3. ให้นกั เรียนสังเกตและวาดภาพเมฆ จำ� แนกเมฆทีพ่ บตามเกณฑข์ องตนเอง และบอกปริมาณเมฆในทอ้ งฟ้าตามวธิ กี ารท่ี ได้อภิปรายรว่ มกนั จากข้อ 1 แล้วน�ำเสนอ 4. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาลกั ษณะของเมฆ การจ�ำแนกเมฆตามเกณฑ์มาตรฐานของนักวิทยาศาสตร์และวธิ ีการตรวจวดั ปริมาณ เมฆปกคลมุ จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นวางแผนการสงั เกตเมฆในชว่ งเชา้ กลางวนั และเยน็ ตามลำ� ดบั โดยนกั เรยี นอาจทำ� กจิ กรรม เสรมิ ท�ำอยา่ งไรจงึ สังเกตได้ง่ายข้ึน หลังการท�ำกจิ กรรม 5. ให้นักเรียนตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นน�ำเสนอ และอภิปรายค�ำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เมฆมีหลายรูป ร่างลักษณะ ในแต่ละช่วงเวลาของวัน ปรมิ าณเมฆและลกั ษณะเมฆแตกต่างกนั ไป 6. ให้นกั เรยี นอา่ นขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกับปัจจัยท่ที �ำให้เมฆเปล่ียนแปลงในหนังสอื เรียนและตอบค�ำถามระหว่างเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

212 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรยี น • เหตุใดเมฆท่อี ยรู่ ะดบั สงู จึงประกอบไปด้วยผลกึ น�ำ้ แข็งเกือบท้งั หมด แนวคำ� ตอบ เพราะบรเิ วณทม่ี คี วามสงู จากพน้ื ดนิ มากจะยง่ิ มอี ณุ หภมู ติ ำ่� จนทำ� ใหล้ ะอองนำ�้ กลายเปน็ ผลกึ นำ้� แขง็ • ในวนั ทีป่ ริมาณไอน�้ำในอากาศสูง เมฆที่พบน่าจะมลี ักษณะอย่างไร แนวค�ำตอบ เมฆท่พี บน่าจะมขี นาดใหญ่ เพราะมโี อกาสเกิดละอองนำ้� ในอากาศมาก • ในวันทมี่ ลี มแรง ปรมิ าณเมฆปกคลมุ นา่ จะเป็นอยา่ งไร แนวค�ำตอบ ในวันท่ีมีลมแรง จะมีปริมาณเมฆปกคลุมไม่คงท่ี เพราะเมฆจะถูกลมพัดพาไปตามกระแสลมหรือ ปริมาณเมฆปกคลมุ น้อย • เหตุใดจงึ บอกปริมาณฝนโดยใชห้ นว่ ยวัดความยาว เช่น มิลลิเมตร แนวค�ำตอบ เนื่องจากการวัดปริมาตรฝนท่ีตกจริงในพื้นท่ีท�ำได้ยาก จึงใช้เคร่ืองมือในการวัดฝนซ่ึงเม่ืออ่านค่า ความสงู ของฝนทต่ี กลงในภาชนะรปู ทรงกระบอก แมว้ า่ จะมขี นาดแตกตา่ งกนั กจ็ ะมสี ดั สว่ นแปรผนั ตามปริมาตรฝนที่ตกในพื้นทน่ี ้ัน จึงใช้หนว่ ยวดั ความยาวในการบอกปรมิ าณฝน • จากภาพ 6.25 ปรมิ าณฝนเฉลยี่ รายเดือนของประเทศไทยมคี า่ มากที่สดุ และน้อยทสี่ ดุ มคี ่าเทา่ ใดและตรงกบั เดือนอะไร เหตใุ ดจงึ เปน็ แนวค�ำตอบ ปริมาณน�้ำฝนเฉลี่ยรายเดือนมากท่ีสุด 253.0 มิลลิเมตร ในเดือนกันยายนและน้อยที่สุด 17.0 มิลลิเมตร ในเดือนมกราคม เนื่องจากในเดือนกันยายนเป็นช่วงฤดูฝน ส่วนในเดือนมกราคมเป็น ชว่ งฤดหู นาวซึง่ ปริมาณไอน�้ำในอากาศนอ้ ยฝนจึงตกนอ้ ย • จากภาพ 6.26 ปรมิ าณฝนเฉลี่ยมากทสี่ ดุ และน้อยทสี่ ุดในรอบปเี กดิ ในภาคใด เหตุใดจงึ เป็นเช่นน้นั แนวค�ำตอบ ภาคทม่ี ปี รมิ าณนำ�้ ฝนเฉลยี่ มากทสี่ ดุ ในรอบปี คอื ภาคใตฝ้ ง่ั ตะวนั ตก เพราะเปน็ พน้ื ทท่ี ตี่ ดิ กบั ทะเล ทำ� ใหค้ วามชน้ื ในอากาศสูงและเกดิ เมฆฝน ได้ง่าย รวมท้งั ได้รับอทิ ธพิ ลจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ซ่ึงเป็นมรสุมที่พัดพาความชื้นมาจากทะเลเข้าคลุมพ้ืนท่ี ท�ำให้ฝนตกหนัก ภาคท่ีมีปริมาณน้�ำฝน เฉลย่ี น้อยท่สี ดุ ในรอบปี คอื ภาคเหนือ เพราะเปน็ พน้ื ทอ่ี ยหู่ า่ งทะเล ท�ำให้มีความช้ืนในอากาศตำ่� และเกดิ เมฆฝนได้ยาก รวมทง้ั ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตน้ อ้ ย จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ฝนนอ้ ย กวา่ ภาคอน่ื ๆ ถงึ แมภ้ าคเหนอื จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื แตม่ รสมุ ดงั กลา่ วเปน็ มรสุมทีพ่ ัดพามาจากพนื้ ทวปี จงึ ไมไ่ ดน้ �ำความชนื้ มาดว้ ย • ปัจจยั ใดบา้ งทม่ี ผี ลตอ่ ปริมาณฝน แนวค�ำตอบ สภาพภมู ิประเทศและฤดูกาล • พืน้ ที่ท่นี กั เรียนอาศัยอยู่มีปรมิ าณฝนมากท่ีสดุ ในชว่ งเดอื นใด เหตุใดจงึ เป็นเช่นน้นั แนวค�ำตอบ ตอบตามภมู ภิ าคท่นี กั เรยี นอาศยั อยู่ เชน่ พน้ื ที่ทอี่ าศัยอยู่ คือภาคกลางของประเทศ มปี ริมาณฝน มากทสี่ ดุ ในช่วงเดอื นมิถนุ ายนเพราะไดอ้ ิทธิพลจากมรสุม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศ 213 คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 7. น�ำเข้าสู่การเรียนรู้เรื่องฝน โดยถามค�ำถามทบทวนความรู้ในประเด็น หยาดน้�ำฟ้าคืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร และให้ นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง 8. ให้นกั เรยี นอ่านข้อมูลเก่ียวกับฝน ในหนังสอื เรยี น แล้วตอบค�ำถามระหว่างเรียน จากนนั้ ร่วมกันอภิปรายค�ำตอบ 9. เปิดโอกาสให้นักเรียนทำ� กิจกรรมเสรมิ ปรมิ าณฝนวดั ได้อย่างไร กิจกรรมเสริม ปริมาณฝนวดั ได้อยา่ งไร ตวั อยา่ งผลการท�ำกจิ กรรม ตวั อยา่ งองคค์ วามร้แู ละทกั ษะทไ่ี ด้จากกิจกรรม นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับการออกแบบและสร้างอุปกรณ์ท่ีช่วย ในการวัดปริมาณฝน รวมท้ังได้ใช้แนวคิดในการท�ำเครื่องวัดฝน ท่เี ป็นทรงกระบอก 10. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ สงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ เมฆมหี ลายลกั ษณะ การจดั ประเภทเมฆจดั โดยใช้ ลกั ษณะและความสงู เปน็ เกณฑ์ เมฆและฝนมกี ารเปลยี่ นแปลงขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั ตา่ ง ๆ ปจั จยั ทที่ ำ� ใหเ้ มฆมกี ารเปลย่ี นแปลง ไดแ้ ก่ ปรมิ าณไอนำ�้ ในอากาศและสภาพแวดลอ้ มของพน้ื ทท่ี สี่ ง่ ผลตอ่ ปรมิ าณไอนำ�้ ในอากาศ อณุ หภมู อิ ากาศ ฤดแู ละ ลม นอกจากนี้ยงั มีปจั จยั ทีท่ �ำใหฝ้ นมกี ารเปล่ยี นแปลงเช่นปริมาณเมฆ ฤดกู าล พื้นที่หรือภมู ภิ าค และสภาพภมู ปิ ระเทศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

214 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 11. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเก่ียวกับเรื่องนี้ ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ ถกู ตอ้ ง เชน่ แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง เมฆมสี เี ขม้ หรอื ดำ� เนอ่ื งจากมมี ลพษิ อากาศอยใู่ นเมฆนนั้ เมฆมีสีเข้มหรือด�ำเน่ืองจากปริมาณละอองน�้ำหรือ เกล็ดน�้ำแข็งในเมฆน้ันมีปริมาณมากและมีความ ฝนตกเน่ืองจากเมฆมีมวลมาก หนาแนน่ มากจนแสงไมส่ ามารถลอดผา่ นกอ้ นเมฆมาได้ จงึ สงั เกตเห็นเมฆมีสีเขม้ หรอื ดำ� ฝนตกเนอื่ งจากขนาดของละอองนำ�้ ในเมฆมขี นาดใหญ่ ขนึ้ จนไม่สามารถลอยอยใู่ นอากาศได้ 12. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศ และความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบ ของลมฟ้าอากาศและการเกิดสภาพลมฟา้ อากาศอากาศลกั ษณะต่าง ๆ โดยครอู าจใช้คำ� ถามเพิ่มเตมิ เชน่ เมื่ออณุ หภมู ิ อากาศในพน้ื ทห่ี นงึ่ เปลยี่ นแปลงจะสง่ ผลตอ่ ความชน้ื ความกดอากาศ หรอื ลมอยา่ งไรบา้ ง องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศใด มคี วามสัมพนั ธก์ นั บ้าง และสัมพนั ธ์กันอย่างไร เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ว่า องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศมคี วามสมั พันธก์ นั และองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศดังกลา่ วท�ำใหพ้ ืน้ ที่นน้ั ๆ เกิดสภาพลมฟา้ อากาศอากาศในลักษณะต่าง ๆ 13. เช่ือมโยงเข้าสู่การเรียนรู้เร่ืองต่อไปคือ เรื่องการพยากรณ์อากาศ ว่านักอุตุนิยมวิทยาวิเคราะห์ข้อมูลการตรวจวัด องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศต่าง ๆ ดังกล่าว และน�ำข้อมูลมาใช้ในการพยากรณ์อากาศ ซ่ึงนักเรียนจะได้เรียนรู้ ในบทเรียนต่อไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี