Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-22 08:13:36

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ 265 ค่มู ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 10. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมท้ายบท ปฏิบัติตนอย่างไรเพ่ือรับมือกับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกในอนาคต ตอบค�ำถาม ท้ายกิจกรรม 11. ใหถ้ ามคำ� ถามส�ำคญั ของบทและหน่วย และใหน้ กั เรียนอภิปรายรว่ มกัน เฉลยคำ�ถามสำ�คญั ของบท • มนุษย์ได้รบั ผลกระทบจากพายุและการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศอย่างไรบา้ ง แนวค�ำตอบ ไดร้ ับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ผลกระทบทางบวก เชน่ ทำ� ให้ปรมิ าณฝนในพืน้ ท่เี พม่ิ ขึ้น สง่ ผลดีตอ่ อาชพี เกษตรกรรม และท�ำให้อุณหภูมิอากาศไมส่ ูงเกนิ ไป ผลกระทบทางลบ เชน่ พายุ ท�ำให้เกิดน้�ำท่วม อุณหภูมิอากาศสูงข้ึนท�ำให้เกิดโรคลมแดด ผลผลิตทางการเกษตรลดน้อยลง เน่ืองจากพชื พรรณทต่ี ้องการอณุ หภมู ิต�่ำไดร้ ับผลกระทบจากอณุ หภมู อิ ากาศท่ีสูงขน้ึ โรคบางชนิด ระบาดในพนื้ ท่ีท่ีไม่เคยระบาด • กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศเกิดขึน้ ได้อย่างไร แนวค�ำตอบ กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศเกดิ ขึ้นได้ ด้วยปัจจยั ตา่ ง ๆ เช่น พลงั งานจากดวงอาทิตย์ สภาพแวดลอ้ มของพนื้ ท่ี ความสงู ตำ่� ของพนื้ ที่ รวมทงั้ องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศไดแ้ ก่ อณุ หภมู ิ อากาศ ความช้ืน เมฆ และอื่นๆ ปจั จยั เหล่าน้ีมีผลท�ำให้ลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงไป • การเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศส่งผลตอ่ การด�ำรงชวี ิตอยา่ งไร แนวค�ำตอบ การเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศส่งผลต่อการด�ำรงชีวิตทั้งทางด้านบวกและด้านลบ ผลกระทบ ด้านบวกเช่น อากาศอบอุ่นเม่ืออุณหภูมิสูงขึ้น พื้นท่ีได้รับน้�ำเพิ่มข้ึนจากการเกิดฝน ลมแรงข้ึน ช่วยพัดพาความช้ืนเข้ามาในพ้ืนที่ ผลกระทบด้านลบเช่น อุณหภูมิเพ่ิมสูงขึ้นท�ำให้อากาศร้อน ฝนตกมากเกนิ ไปทำ� ใหน้ ำ�้ ทว่ ม ลมแรงเกนิ ไปทำ� ใหบ้ า้ นเรอื นพงั เสยี หาย อยา่ งไรกต็ ามเราควรตดิ ตาม การเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศเพ่ือวางแผนการดำ� รงชีวติ ประจ�ำวนั เพ่อื ใหไ้ ด้รับความสะดวกสบาย และปลอดภยั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

266 หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรม 6.10 ภมู อิ ากาศเปล่ยี นแปลงไดห้ รอื ไม่ นกั เรยี นจะได้เรียนรูเ้ กี่ยวกับสถานการณภ์ มู อิ ากาศของโลก จุดประสงค์ วเิ คราะห์ และอภิปรายข้อมลู ภูมิอากาศ พรอ้ มทัง้ อธิบายผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี ีวิตและสิ่งแวดล้อม เวลาที่ใช้ใน 45 นาที การท�ำกจิ กรรม วัสดแุ ละอปุ กรณ์ -ไม่ม-ี การเตรียมตัว ครูเตรยี มข้อมลู ท่เี กีย่ วกับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ เพ่อื ใหน้ ักเรยี น ศกึ ษาเพิม่ เติม ลว่ งหน้าสำ� หรับครู ขอ้ เสนอแนะ แบง่ กลมุ่ นักเรียนท�ำกจิ กรรมโดยเลือกศกึ ษาและวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากกราฟ แล้วนำ� ผลมาอภปิ ราย ในการทำ� กจิ กรรม ร่วมกันในชัน้ เรียน ส่ือการเรยี นร/ู้ หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ 267 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. อุณหภมู ิอากาศเฉลยี่ ของโลกมกี ารเปล่ียนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ มกี ารเปลย่ี นแปลงชว่ งปี พ.ศ.2443-2483อณุ หภมู อิ ากาศผวิ พน้ื ตำ่� กวา่ คา่ เฉลย่ี ชว่ งพ.ศ.2483-กอ่ น พ.ศ. 2523 มกี ารเปลยี่ นแปลงของอณุ หภมู อิ ากาศไมแ่ นน่ อน บางชว่ งอณุ หภมู สิ งู กวา่ คา่ เฉลยี่ บางชว่ ง อณุ หภมู ติ ำ่� กวา่ คา่ เฉลย่ี และหลงั พ.ศ. 2523 อณุ หภมู สิ งู กวา่ คา่ เฉลย่ี มาตลอดและมแี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ 2. ปรมิ าณหยาดน�้ำฟา้ เฉล่ียของโลกมกี ารเปลีย่ นแปลงหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ มีการเปลี่ยนแปลง ช่วงก่อน พ.ศ. 2493 มีปริมาณหยาดน้�ำฟ้าน้อยกว่าค่าเฉลี่ยแต่หลังจากน้ัน ปรมิ าณหยาดนำ้� ฟา้ มีแนวโนม้ สงู กวา่ คา่ เฉลยี่ จนถึงช่วง พ.ศ. 2523 - 2543 ปริมาณหยาดน�ำ้ ฟา้ น้อยกว่าคา่ เฉล่ยี และหลงั จากปี พ.ศ. 2543 ปรมิ าณหยาดน�้ำฟา้ มากกว่าค่าเฉลีย่ 3. อณุ หภมู ิอากาศเฉล่ีย ของประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ อุณหภูมิอากาศเฉลย่ี มกี ารเปลี่ยนแปลง โดยมแี นวโน้มสงู ข้ึนเรื่อยๆ 4. ลักษณะภมู อิ ากาศดังกล่าวสง่ ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ ใดบา้ ง อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ลกั ษณะภมู อิ ากาศดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ วา่ อณุ หภมู อิ ากาศมแี นวโนม้ สงู ขน้ึ ฝนตกมากขน้ึ สง่ิ มชี วี ติ ต่าง ๆ ทง้ั คน สัตว์ พืชตอ้ งปรับตวั ต่อการเปลย่ี นแปลงทกี่ ำ� ลังเกิดขึ้นน้ี 5. จากกจิ กรรมสรปุ ได้วา่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ ภูมิอากาศก�ำลังเปลี่ยนแปลง จากกราฟแสดงให้เห็นว่าอุณหภูมิอากาศมีแนวโน้มสูงข้ึน ปริมาณ หยาดนำ�้ ฟา้ เพิม่ มากขนึ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

268 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมท้ายบท ปฏิบัติตนอย่างไรเพ่ือรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในโลก อนาคต นักเรยี นจะไดน้ ำ� ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ รวมท้ังความรู้อน่ื ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งมาใช้ในการท�ำ กิจกรรม จดุ ประสงค์ 1. ออกแบบนวัตกรรมท่ใี ช้ภายใต้สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก เวลาท่ีใช้ใน 2. เสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก การท�ำกิจกรรม 2 ช่วั โมง วัสดุและอปุ กรณ์ -ไมม่ -ี การเตรยี มตัว ครูอาจหาตัวอย่างนวัตกรรมท่ีผลิตขึ้นใช้ภายใต้สถานการณ์การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก เพื่อ ล่วงหน้าส�ำหรบั ครู กระตุ้นความสนใจของนักเรียน ขอ้ เสนอแนะ ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนออกแบบนวัตกรรมและแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่พร้อมกับให้ ในการทำ� กิจกรรม นกั เรยี นแสดงเหตผุ ลและความเปน็ ไปได้ในการสร้างนวตั กรรมดังกล่าว สื่อการเรยี นร/ู้ หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 สสวท. แหล่งเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ 269 คู่มอื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ตวั อยา่ งท่ี 1 เลือกออกแบบนวัตกรรมเพ่ือรับมือกับผลกระทบท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกในการท�ำลูกบอลก�ำจัด ลูกน�้ำยุงลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

270 หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ คู่มอื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม 1. นวตั กรรมทช่ี ่วยลดปัจจัยทสี่ ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศนั้นลดปจั จยั ด้านใด และลดปัจจัยได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ - 2. นวตั กรรมทใ่ี ชภ้ ายใตส้ ถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกนน้ั ออกแบบเพอ่ื รบั มอื กบั ผลกระทบใด และ ใชป้ ระโยชน์ได้อย่างไร แนวค�ำตอบ ผลกระทบจากการระบาดของโรค โดยท�ำลูกบอลน้�ำที่น�ำไปใส่ในบริเวณน�้ำขังเพ่ือก�ำจัดลูกน้�ำยุง ลายและยบั ยงั้ การระบาดของโรคไขเ้ ลือดออก 3. จากกจิ กรรมสรปุ แนวทางการปฏบิ ัตติ นภายใต้สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศโลกไดว้ า่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกเป็นสิ่งที่เราทุกคนจะต้องร่วมมือกันช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลกให้เกิดช้าลง เช่นลดกิจกรรมที่ท�ำให้เกิดแก๊สเรือนกระจก และอีกส่วนหนึ่งต้องช่วย กนั หาทางปรับตัวใหอ้ ยกู่ บั สถานการณ์และผลกระทบทเ่ี กิดขึ้น ตวั อยา่ งผลการทำ�กิจกรรม ตัวอยา่ งท่ี 2 เ ลื อ ก อ อ ก แ บ บ น วั ต ก ร ร ม ท่ี ล ด ป ั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผ ล ใ ห ้ เ กิ ด การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก โดยสรา้ งบาเรยี โซลารเ์ ซลครอบ โลก ซ่ึงใช้เป็นแหล่งผลิตพลังงานหลักของโลกแทนเช้ือเพลิง เพื่อลดอัตราการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ อันเป็น สาเหตุหลกั ของการเพิม่ ขึน้ ของแก๊สเรอื นกระจก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ 271 คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. นวัตกรรมท่ชี ว่ ยลดปจั จัยท่สี ่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศน้ันลดปัจจัยดา้ นใด และลดปจั จัยไดอ้ ยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ลดปจั จยั ทท่ี ำ� ใหภ้ มู อิ ากาศโลกเกดิ การเปลย่ี นแปลง โดยลดปรมิ าณแกส๊ เรอื นกระจกทเ่ี กดิ จากการ ใช้ผลติ พลังงานตา่ งๆ 2. นวตั กรรมทใี่ ชภ้ ายใตส้ ถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลกนน้ั ออกแบบเพอ่ื รบั มอื กบั ผลกระทบใด และ ใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ - 3. จากกิจกรรมสรุปแนวทางการปฏิบตั ติ นภายใต้สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลกได้ว่าอย่างไร แนวค�ำตอบ เราควรศึกษาถึงสาเหตุ ปัจจัย และผลกระทบที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก เพื่อ หาทางแก้ไขสาเหตุและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และเรียนรู้ที่จะรับมือ ตอ่ สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

272 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ คมู่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบท 1. ปัจจยั ส�ำคัญทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ทั้งพายุฝนฟ้าคะนองและพายหุ มนุ เขตร้อนคอื อะไร * แนวค�ำตอบ อณุ หภูมอิ ากาศสงู ข้นึ ส่งผลใหเ้ กิดการระเหยของนำ้� ในปริมาณมาก 2. นำ� ข้อความต่อไปน้เี ตมิ ลงในตารางภายใต้หวั ข้อท่สี ัมพนั ธก์ ัน โดยสามารถใช้ข้อความซ้�ำได้* แนวคำ� ตอบ พายฝุ นฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตรอ้ น เกดิ ฝนตกนาน 1 - 2 ชว่ั โมง เกิดฝนตกตอ่ เน่อื งนานหลายวนั สง่ ผลกระทบเฉพาะถิ่น สง่ ผลกระทบระดับภูมิภาค เกิดขึ้นเหนือแผ่นดนิ , เกิดขึ้นเหนือมหาสมุทร เกดิ ขึน้ เหนอื มหาสมทุ ร เกดิ เมฆคิวมโู ลนมิ บัส เกิดเมฆคิวมโู ลนิมบสั 3. พจิ ารณากราฟการเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ผิ วิ หนา้ นำ�้ ทะเลระหวา่ งปี พ.ศ. 2423-2558 และตอบคำ� ถามตอ่ ไปนี้ (EPA, 2016) 3.1 จากขอ้ มูล อณุ หภูมิผวิ หน้าน�ำ้ ทะเลมกี ารเปลย่ี นแปลงหรอื ไม่ อย่างไร * แนวคำ� ตอบ อุณหภมู ผิ ิวหน้าน้ำ� ทะเลมีการเปลี่ยนแปลงโดยมแี นวโน้มสงู ข้ึน 3.2 การเปลย่ี นแปลงดงั กล่าวนักเรยี นคิดวา่ ส่งผลตอ่ การเกดิ พายหุ มุนเขตร้อนหรือไม่ อยา่ งไร** แนวคำ� ตอบ พายหุ มนุ เขตรอ้ นเกดิ จากอณุ หภมู ผิ วิ หนา้ นำ�้ ทะเลเพม่ิ สงู ขนึ้ นำ�้ ทะเลระเหยกลายเปน็ ไอ และพฒั นา เกดิ เปน็ พายหุ มนุ เขตรอ้ น หากอณุ หภมู ผิ วิ หนา้ นำ้� ทะเลมแี นวโนม้ สงู ขนึ้ การเกดิ พายหุ มนุ เขตรอ้ น กม็ แี นวโน้มท่ีจะเกิดบอ่ ยข้ึนและรุนแรงข้นึ ดว้ ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ 273 คู่มือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 4 พิจารณากราฟปริมาณการปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศโดยกิจกรรมของมนุษย์ ต่อปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2493 - 2554 แลว้ ตอบคำ� ถามตอ่ ไปนี้ 4.1 หากไม่มีการจัดการเกี่ยวกับการปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แนวโน้มการปลดปล่อยแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์สบู่ รรยากาศจะเป็นอยา่ งไร * แนวค�ำตอบ แนวโนม้ การปลดปลอ่ ยแก๊สคาร์บอนไดออกไซดส์ ู่บรรยากาศจะเพิม่ ข้นึ เรอื่ ย ๆ 4.2 จากการเรียนรู้เกี่ยวกับวัฏจักรคาร์บอนและจากข้อมูลในกราฟ หากต้องการลดปริมาณแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ในบรรยากาศควรมีวิธีการอยา่ งไรบ้าง * แนวค�ำตอบ วิธีลดปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศ ท�ำไดโ้ ดยการปลกู ป่าเพือ่ เพม่ิ การดูดซบั แก๊ส คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศ และลดการใช้เชอ้ื เพลิงซากดกึ ดำ� บรรพ์ 5. นกั เรยี นมขี อ้ เสนอแนะ แนวทางการปฏบิ ตั ติ นภายใตส้ ถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศแกบ่ คุ คลทอี่ าศยั อยใู่ น พน้ื ทต่ี อ่ ไปนีอ้ ยา่ งไร 5.1 บคุ คลท่อี าศยั อยูใ่ กลพ้ น้ื ทีช่ ายฝ่ังทะเล ** แนวคำ� ตอบ ถ้าอุณหภูมิอากาศของโลกสูงขึ้นอาจท�ำให้น้�ำแข็งขั้วโลกหลอมเหลวและและส่งผลให้ระดับทะเล สูงขึ้น ผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลควรระวังเรื่องน้�ำกัดเซาะชายฝั่งและการเพ่ิมข้ึน ของระดับทะเล แนะน�ำว่าไม่ควรสร้างบ้านใกล้ชายฝั่งทะเลมากเกินไปและควรอนุรักษ์พ้ืนท่ี ปา่ ชายเลน หรอื ท�ำปะการังเทยี ม 5.2 บุคคลในทอ้ งถนิ่ ของนักเรียน** แนวคำ� ตอบ ในยา่ นชมุ ชนทม่ี ผี คู้ นอยอู่ าศยั กนั หนาแนน่ ควรระมดั ระวงั โรคทม่ี ยี งุ เปน็ พาหะ เชน่ โรคไขเ้ ลอื ดออก โรคลมแดดเมือ่ ทำ� งานกลางแดดจดั ซงึ่ ปอ้ งกนั ไดโ้ ดยหาเครือ่ งปอ้ งกันแดด เชน่ ร่ม หมวก และทา ครีมกนั แดดเพอื่ ปอ้ งกันผวิ ไหม้เกรียม การแกป้ ญั หาในระดับทอ้ งถน่ิ ทำ� ไดโ้ ดยชว่ ยกันปลกู ปา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

274 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เ ฉลยแบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วย 1. ข้อใดเปน็ สาเหตหุ ลกั ท่ีทำ� ใหร้ งั สีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ผ่านมายงั พ้นื ผิวโลกไดน้ ้อยลง * ก. เมฆในชนั้ โทรโพสเฟยี ร์ ช่วยสะท้อนรงั สีอัตราไวโอเลต ข. โอโซนในชัน้ สตราโตสเฟยี ร์ ชว่ ยดูดกลนื รังสอี ัตราไวโอเลต ค. แก๊สออกซเิ จนในช้นั โทรโพสเฟียร์ ชว่ ยดดู กลืนรังสีอตั ราไวโอเลต ง. อากาศท่ีแตกตัวเปน็ ประจใุ นชนั้ เทอร์โมสเฟียร์ ชว่ ยสะทอ้ นรังสอี ตั ราไวโอเลต เฉลย ขอ้ ข. โอโซนในชัน้ สตราโตสเฟยี ร์ ช่วยดูดกลนื รังสอี ัตราไวโอเลต 2. บรรยากาศชัน้ ใดท่มี แี ก๊สไนโตรเจนหนาแนน่ ท่สี ดุ * ก. มีโซสเฟยี ร์ ข. เทอร์โมสเฟียร์ ค. โทรโพสเฟียร์ ง. สตราโตสเฟียร์ เฉลย ข้อ ค. ชน้ั โทรโพสเฟียรม์ คี วามหนาแนน่ ของอากาศสูงท่สี ดุ ซึ่งในอากาศประกอบด้วยแก๊สไนโตรเจนประมาณ 78% 3. “ผิวโลกที่มีลักษณะแตกต่างกัน สามารถดูดกลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ได้แตกต่างกัน”ข้อใดไม่ใช่ ปรากฏการณท์ ีเ่ กิดจากค�ำกลา่ ว ข้างตน้ ** ก. ความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศในบริเวณต่าง ๆ ข. ความแตกต่างของความชื้นในบรเิ วณต่าง ๆ ค. ปรากฏการณเ์ รือนกระจก ง. การเกิดลม เฉลย ข้อ ค. ปรากฏการณเ์ รือนกระจกเกิดจากแก๊สเรอื นกระจกดูดกลืนความร้อนไวใ้ นช้ันบรรยากาศโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ 275 คู่มือครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 4. สถานการณ์ใดทแี่ สดงว่าอากาศมคี วามดัน * ก. หายใจไมอ่ อกเม่ืออยใู่ นทสี่ งู ข. การดดู ของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ ค. เมื่อโยนของขึน้ ไปในอากาศ ของจะตกลงสู่พ้ืนเสมอ ง. บรรยากาศยงั คงหอ่ หมุ้ โลกไมห่ ลุดลอยออกไป เฉลย ขอ้ ข ความดนั อากาศภายนอกหลอดกาแฟมีค่ามากกวา่ ภายในหลอดจึงทำ� ใหข้ องเหลวเคลื่อนทเี่ ข้าไปในหลอด กาแฟได้ 5. นักเรียน 4 คน ท�ำการทดลอง ณ สถานท่ีต่างกัน โดยน�ำเทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน อันแรกหุ้มด้วยส�ำลีชุบน�้ำ อีกอันหนึง่ ไมห่ ้มุ นำ� เทอรม์ อมิเตอรท์ ง้ั คูไ่ ปวางไว้ในสถานที่ตา่ งกนั 4 แห่ง หลงั จากน้ัน 3 นาที อา่ นอณุ หภูมิของ เทอรม์ อมิเตอร์ทั้งสองได้ผลตามตาราง ** สถานทท่ี ดลอง อณุ หภูมจิ ากเทอร์มอมิเตอร์ อุณหภูมิจากเทอรม์ อมิเตอร์ ไมห่ มุ้ สำ� ลชี ุบน้ำ� ( ํC) ห้มุ ส�ำลีชบุ น�ำ้ ( ํC) A 26.0 25.0 B 26.0 24.0 C 28.0 26.5 D 28.0 26.0 จากข้อมลู แสดงวา่ อากาศทใ่ี ด มีปรมิ าณไอน�้ำใกลป้ ริมาณไอน้ำ� อม่ิ ตัวมากทส่ี ุด ก. A ข. B ค. C ง. D เฉลย ข้อ ก ปริมาณไอน้�ำในอากาศมีมาก จึงท�ำให้น้�ำในส�ำลีที่หุ้มเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกระเหยไปได้น้อย คา่ อุณหภูมิจึงมีคา่ ลดลงไม่มาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

276 หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 6. นำ� เครอ่ื งวดั ปริมาณฝน 2 อนั ซงึ่ มีขนาดตา่ งกนั วัดปรมิ าณฝนในบรเิ วณเดียวกนั เครอื่ งวัดปรมิ าณฝนอนั หนึง่ วดั ปรมิ าณฝนได้ ดงั ภาพ - 20 mm - 15 mm - 10 mm เครื่องวัดปริมาณฝนอกี อันหนึง่ ซึง่ มีขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางแคบกว่าจะวัดปรมิ าณฝนไดต้ ามภาพใด ** ง. ก. ข. ค. - 20 mm - 20 mm - 20 mm - 20 mm - 15 mm - 15 mm - 15 mm - 15 mm - 10 mm - 10 mm - 10 mm - 10 mm เฉลย ข้อ ข ระดับความสูงของน�้ำในภาชนะเท่ากันแม้ภาชนะมีขนาดแตกต่างกัน เพราะภาชนะขนาดใหญ่ย้อมมี ปากภาชนะกว้างจึงรับน้�ำได้มาก ส่วนภาชนะขนาดเล็กมีปากแคบรับน้�ำได้น้อย ปริมาณน�้ำที่ได้รับจะมีสัดส่วน สอดคล้องกับความสงู ของน้ำ� ในภาชนะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ 277 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ คำ� พยากรณ์อากาศประจ�ำวนั ใหข้ ้อมลู ดังน้ี ลมตะวันตกเฉียงเหนือในระดับบนยังคงพัดผ่านเทือกเขาหิมาลัยเข้ามาปกคลุมภาคเหนือ และมีลมตะวันออกพัดน�ำ ความช้ืนจากทะเลจนี ใตเ้ ขา้ มาปกคลุมภาคใต้ 7. ขอ้ มลู จากคำ� พยากรณ์ดังกลา่ ว ไม่ควรเกดิ ลักษณะอากาศแบบใด ** ก. ภาคเหนอื อุณหภูมิสูงข้ึน ข. ภาคเหนือลมแรง ค. ภาคใตม้ ีเมฆมาก ง. ภาคใตท้ ะเลมีคลืน่ สงู เฉลย ข้อ ก อุณหภูมิของภาคเหนือควรต่�ำลงเนื่องจากลมตะวันตกเฉียงเหนือพัดพาอากาศเย็นจากเทือกเขาหิมาลัย มาปกคลุม 8. เราใชเ้ กณฑ์ในข้อใดจ�ำแนกชนดิ ของพายุหมุนเขตรอ้ น * ก. บริเวณท้องถน่ิ ทเี่ กดิ ข. ความเรว็ ลมสงู สุดใกล้ศนู ย์กลาง ค. ความเร็วในการเคลือ่ นท่ขี องพายุ ง. ความกวา้ งของรศั มกี ารพัดรอบศูนย์กลาง เฉลย ข้อ ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

278 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ คู่มือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 9. จากภาพ ข้อความใดแสดงกระบวนการในวฏั จกั รคารบ์ อนไดถ้ ูกต้อง * ก. A คอื กระบวนการหายใจ ข. B คือการสังเคราะหด์ ้วยแสง ค. C คอื กระบวนการหายใจ ง. D คือการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง เฉลย ข้อ ค 10. พจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี A. อุณหภมู ิอากาศสง่ ผลต่อการเกดิ เมฆ B. ปรมิ าณเมฆปกคลมุ ส่งผลตอ่ อุณหภมู อิ ากาศ C. ไอน�ำ้ ในอากาศทร่ี วมตวั กนั อย่างหนาแน่นเกดิ เปน็ เมฆ ขอ้ ความใดถูกต้อง * ก. A และB ข. A และC ค. B และ C ง. A B และC เฉลย ขอ้ ก เมฆเกิดจากละอองน้ำ� รวมตวั กัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 279 คู่มือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 11. จากภาพ อตั ราเร็วลมในบริเวณใดมคี า่ น้อยทส่ี ดุ * * ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 เฉลย ขอ้ ค บริเวณ 3 มบี ้านบงั ลม 12. เหตกุ ารณ์ใดไม่ได้เปน็ ผลมาจากการเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศโลก * ก. การกัดเซาะชายฝั่งเพ่ิมมากขน้ึ ข. จ�ำนวนวนั ทฝ่ี นตกหนกั มเี พิม่ ข้ึน ค. กลางวันมคี วามยาวนานขึน้ ง. ดอกไม้บางพื้นที่บานเร็วข้นึ เฉลย ขอ้ ค สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

280 หน่วยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ใชข้ ้อมูลต่อไปน้ี ตอบคำ� ถามขอ้ 13-14 ช่วงเวลาการหลอมเหลวของนำ้� แขง็ ในทะเลอารก์ ตกิ ทะเลอาร์กติกบางส่วนปกคลุมด้วยน้�ำแข็งตลอดทั้งปี อย่างไรก็ตามน�้ำแข็งดังกล่าวจะมีการหลอมเหลวและแข็งตัวขึ้น อยู่กับฤดูกาล ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้�ำแข็งแห่งชาติสหรัฐเก็บข้อมูลการหลอมเหลวของน�้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยวันที่ น้�ำแขง็ เร่มิ ตน้ การหลอมเหลวและสน้ิ สดุ การหลอมเหลวในแต่ละปี แสดงไดด้ งั กราฟ 1 พ.ค. เริ่มตน้ การหลอมเหลว 31 พ.ค. 30 มิ.ย. 30 ก.ค. คกวาามรหยลาวอนมาเหนลขวอง 29 ส.ค. 28 ก.ย. 28 ต.ค. สนิ้ สดุ การหลอมเหลว 2523 2528 2535 2538 2543 2548 2553 2558 ปี พ.ศ. ภาพกราฟวนั ที่นำ�้ แข็งเร่ิมตน้ การหลอมเหลวและสิ้นสดุ การหลอมเหลว ระหว่างปี พ.ศ. 2523 - 2558 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ 281 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ กนั ยายน 2523 กันยายน 2558 ภาพ ปรมิ าณน�ำ้ แข็งปกคลมุ บริเวณทะเลอารก์ ติก ในเดือนกนั ยายน ปี พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2558 13. จากข้อมูลในสถานการณท์ ก่ี ำ� หนดให้ สามารถลงข้อสรุปต่อไปน้ี ได้หรอื ไมไ่ ด้ จงเขยี นวงกลมล้อมรอบคำ� ว่า “ได้” หรอื “ไมไ่ ด้” ในแต่ละข้อสรุป ** ขอ้ สรุป ได้หรอื ไมไ่ ด้ 13.1 ระยะเวลาการหลอมเหลวของน�ำ้ แขง็ ในแต่ละปียาวนานข้นึ ได/้ ไมไ่ ด้ 13.2 ปริมาณนำ้� แขง็ ในทะเลอารก์ ติกลดลง ได/้ ไม่ได้ เฉลย 13.1 ได ้ 13.2 ได้ เพราะชว่ งเวลาการหลอมเหลวของน้�ำแข็งยาวนานขึ้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

282 หนว่ ยที่ 6 | กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 14. ปริมาณน้�ำแข็งปกคลุมบริเวณทะเลอาร์กติก ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ควรเป็นอย่างไร เมอ่ื เทียบกบั เดอื นกันยายน ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ตามล�ำดับ เพราะเหตใุ ด ** เฉลย ปริมาณน�ำ้ แขง็ ปกคลมุ บรเิ วณทะเลอาร์กตกิ ในเดอื นพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 ควรมปี ริมาณมากกวา่ ในเดอื น กนั ยายน ปี พ.ศ. 2522 และปรมิ าณนำ้� แขง็ ปกคลมุ บรเิ วณทะเลอารก์ ตกิ ในเดอื นพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2558 ควรมี ปรมิ าณมากกวา่ ในเดอื นกนั ยายน ปี พ.ศ. 2558 เนอ่ื งจากเปน็ ชว่ งเรม่ิ ตน้ ของการหลอมเหลวของนำ�้ แขง็ อยา่ งไร กต็ าม ปริมาณนำ้� แขง็ ปกคลมุ เดอื นพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 ควรมีปริมาณมากกว่า ปี พ.ศ. 2558 15. การเกบ็ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การหลอมเหลวของนำ้� แขง็ ขว้ั โลก มหี ลากหลายวธิ ี เชน่ การใชด้ าวเทยี ม การเกบ็ ขอ้ มลู จาก สถานทจี่ ริง การตดิ ต้งั สถานีตรวจวัด ข้อสรปุ ใดถูกตอ้ ง * ก. การเก็บขอ้ มูลเพอ่ื ศกึ ษาการหลอมเหลวของนำ้� แขง็ ข้วั โลก ควรเกบ็ ขอ้ มูลจากบรเิ วณขั้วโลกกเ็ พียงพอ ข. การเก็บข้อมูลไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งใชน้ ักวทิ ยาศาสตรเ์ ทา่ น้นั บคุ ลากรในท้องถิ่นสามารถเก็บข้อมลู ได้ ค. การเกบ็ ข้อมลู จากดาวเทียมกใ็ ห้ขอ้ มูลทีค่ รบถ้วนเพียงพอ ไม่จำ� เปน็ ต้องเก็บขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการอ่ืน ง. ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของนำ้� แขง็ ขวั้ ดลกแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะฤดู จงึ ควรเปลย่ี นวธิ กี ารตรวจวดั องค์ ประกอบลมฟา้ อากาศทกุ ฤดู เฉลย ข้อ ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 6 | กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ 283 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ภาคผนวก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

284 ภาคผนวก คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ บรรณานุกรม ดุสติ วรี ะไวทยะ. (2555). วิธกี ารใชป้ รอทวดั ไข้ด้วยตวั เอง. สืบค้นเมือ่ 18 พฤศจกิ ายน 2560, จาก http://www.today- health.org/family-health/สขุ ภาพแม่และเดก็ /วิธีการใช้ปรอทวดั ไข้ดว้ ยตัวเอง.html ผ้จู ดั การออนไลน.์ (2558). วศิ วกรแจงถนนยกตวั เมอื งสุรินทร์เป็นผลจาก \"ความร้อน”. สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2560. จาก http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9580000055299 ศนู ย์ฝกึ อบรมเทคนิคการผลิตขวดแก้ว. (2554). กระบวนการผลิตบรรจุภัณฑแ์ กว้ . สืบคน้ เม่ือ 18 ตลุ าคม 2560, จาก http://www.thaiglass.co.th/th/technical_trainning_center.php สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2557). หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เลม่ 1 กลุม่ สาระเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (พิมพ์คร้งั ท่ี 5). กรงุ เทพฯ: สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2556). หนังสือเรียนรายวิชาเพม่ิ เตมิ ฟิสิกส์ เล่ม 4 ช้ันมธั ยมศกึ ษา ปที ี่ 4-6 กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว. ส�ำนกั กษาปณ.์ (2557). กระบวนการผลติ เหรยี ญกษาปณ.์ สืบค้นเมอ่ื 18 ตลุ าคม 2560, จาก http://www.royalthai- mint.net/ewtadmin/ewt/mint_web/ewt_news.php?nid=345 สำ� นักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย (สกว). (2558). นกั วิจัย สกว.แนะซอ่ มถนนเสี่ยงยกตัวช่วงร้อนจดั . สบื คน้ เม่อื 23 เมษายน 2560, จาก https://www.trf.or.th/index.php/2013-12-23-04-39-53/6490-2015-05-21-04-15- 20 อ้อยใจ ออ่ งหรา่ ย. (2557). เร่อื งนา่ รู้ เมื่อตอ้ งวัด…อุณหภมู .ิ วารสาร metrology info. 16(81), 16 – 21. A student’s guide to global climate change. (2017). Melting Glaciers. Retrieved October 18, 2017, from https://archive.epa.gov/climatechange/kids/impacts/signs/glaciers.html Walker, J. S. (2008). Physics. 4th ; Pearson Education. California. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 285 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ คณะผู้จัดทำ� คณะท่ปี รกึ ษา ลมิ ปิจำ� นงค์ ผู้อ�ำนวยการสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มุสิกลุ ผ้ชู ่วยผู้อ�ำนวยการสถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศาสตรจารย์ ดร.ชูกิจ ดร.กุศลิน คณะผู้จัดทำ� คู่มือครู เตมยี สถติ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ถิรสิริ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางชตุ ิมา คอู มรพฒั นะ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววราภรณ์ เหมะรัต สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางกิง่ แกว้ ชาลี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวดวงกมล แสงมงคลพิพฒั น ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวธนพรรณ ลายคราม สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวสนุ สิ า จันเลน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวกมลนารี หาญพิพฒั น์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.นิพนธ์ สมสมยั สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.เบญ็ จวรรณ ธญั ญะคปุ ต ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวสณุ สิ า บัวอนิ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.ชลติ า ศรีนาราง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.เสาวลักษณ ์ บริบูรณ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาววมิ ลมาศ คุ้มโหมด สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวกมลชนก ด�ำแก้ว สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศุภณัฐ นายจริ วฒั น ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

286 ภาคผนวก คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ คณะผู้พิจารณาคมู่ อื ครู รองศาสตราจารย์ ดร.เทยี นทอง ทองพนั ช่ัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกภมู ิ จันทรขันต ี คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อัครินทร์ อนิ ทนเิ วศน์ วทิ ยาลยั พลงั งานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชยี งใหม่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชุมพล คุณวาส ี นักวชิ าการอสิ ระ นายพงศกร จวิ าภรณ์คุปต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ดร.อภชิ าติ พยคั ฆิน วทิ ยาลยั การฝึกหดั ครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร นางสาวจุฑารตั น์ จรงิ ธนสาร โรงเรยี นสตรีศรีสุรโิ ยทัย กรุงเทพมหานคร ดร.พิรุณ ศริ ศิ กั ด์ิ โรงเรียนราชินบี น กรงุ เทพมหานคร นางสาววรรณวีร ์ เหมือนประยรู โรงเรียนพระตำ� หนกั สวนกหุ ลาบ กรุงเทพมหานคร นางสาวกชพร อารชั กุล โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสนี) 2 กรงุ เทพมหานคร นางเฉลิมศร ี จกั ษพุ า โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวัดนนทบุรี นางทัศนภรณ์ แสงศรีเรือง โรงเรยี นบา้ นโนนรงั วทิ ยาคาร จงั หวดั ขอนแกน่ นางพชรมน นวลด ี โรงเรียนหันคาพทิ ยาคม จงั หวัดชัยนาท นางออ่ นพกั ร ์ หนเู งิน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 2 จงั หวัดกระบี่ นางจติ ติมา วัฒราช โรงเรียนโคกสวา่ งคุ้มวิทยานุสรณ์ จงั หวดั อุบลราชธานี นายรังสิมนั ต ์ จนั ทรเ์ รอื ง โรงเรยี นวัดนำ้� พุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี นายธงไชย ภู่ถนนนอก โรงเรียนหลม่ เก่าพทิ ยาคม จงั หวัดเพชรบรู ณ์ นักวชิ าการอสิ ระ คณะบรรณาธิการ ศรสำ� ราญ มหาวิทยาลัยทักษณิ ประสิทธิ์พงศ์ นักวิชาการอสิ ระ รศ.เรณ ู แต้มบรรจง นักวิชาการอิสระ ผศ.ดร.สิงหา ทองแถม นกั วชิ าการอสิ ระ ผศ.ดร.จินดา ธนะ หมอ่ มหลวงพณิ ทอง นางสาวบศุ ราศิริ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 287 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ คณะผทู้ ดลองใช้ พึง่ พทิ ยานนั ต ์ โรงเรยี นหนั คาพิทยาคม จังหวัดชยั นาท สุขรอด โรงเรยี นศรีส�ำโรงชนูปถัมภ์ จงั หวดั สุโขทัย นางสาวร่งุ รตั น ์ ปะรา โรงเรยี นป่าพะยอมพทิ ยาคม จงั หวดั พัทลุง นางรววี รรณ การประสพ โรงเรียนดอนจานวิทยาคม จงั หวัดกาฬสินธ์ุ นายภานวุ ัฒน ์ ศริ สิ ุทธิ์ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านตาหลังใน จังหวดั สระแกว้ นางสาวณชิ ชา ตบ๊ิ กวาง โรงเรยี นนำ้� ดบิ วิทยาคม จังหวัดล�ำพูน นายปกรณ์เกียรติ โฮนอก โรงเรียนนครระยองวทิ ยาคม (วัดโขดใต้) จงั หวัดระยอง นางสาวอมั พิกา หลงกาสา โรงเรยี นอนุบาลบางสะพานนอ้ ย จังหวดั ประจวบครี ีขันธุ์ นายวันเฉลมิ จอ้ ยจ�ำรสั โรงเรียนบีคอนเฮาส์แย้มสอาดรังสติ จงั หวัดปทมุ ธานี นางสาวองั สนา นายกีรติ คณะท�ำงานฝ่ายเสริมวิชาการ นางสาวรัชดากรณ ์ สนุ าว ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี