คมู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เลม ๒ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวช้ีวดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จดั ทาํ โดย สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ
คําชี้แจง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ เลม ๒ ขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีจุดเนนเพ่ือตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูวิทยาศาสตร ที่เชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ ใชกระบวนการสืบเสาะหาความรูและการแกปญหาท่ีหลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะ แหงศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งในปการศึกษา ๒๕๖๑ นี้ โรงเรียนจะตองใชหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนท่ีเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดของ หลักสตู รเพอื่ ใหโรงเรียนไดใชส าํ หรบั จัดการเรียนการสอนในชน้ั เรียน คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๕ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมน้ี สสวท. ไดพัฒนาขึ้น เพื่อนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษา ปท่ี ๕ เลม ๒ โดยภายในคูมือครปู ระกอบดวยผังมโนทัศน ตัวช้ีวัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ งระหวางเนื้อหาและกจิ กรรมในหนังสือเรียนกบั มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การสํารวจตรวจสอบ การฝกปฏิบตั ิ การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง การสืบคนขอมูล และการอภิปราย โดยมีเปาหมายใหนักเรียนพัฒนาท้ัง ดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการ สืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การสื่อสาร การแกปญหา ตลอดจนการนําความรูไปใชใน ชีวิตประจําวันอยางมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหงการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษท่ี ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ นกั วชิ าการ และครผู สู อน จากหนว ยงานและสถานศกึ ษาท้งั ภาครฐั และเอกชน จงึ ขอขอบคุณไว ณ ทน่ี ี้ สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรเลมน้ี จะเปนประโยชนแกครูและ ผูเก่ียวของทุกฝาย ที่จะชวยใหการจัดการศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมี ขอเสนอแนะใดทจ่ี ะทําใหคูมือครูเลมน้สี มบูรณย่งิ ข้ึน โปรดแจง สสวท. ทราบดว ย จะขอบคุณย่ิง (ศาสตราจารยชกู จิ ลิมปจ าํ นงค) ผูอํานวยการสถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สารบัญ หนา คาํ ช้ีแจง เปาหมายของการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร......................................................................................... ก คุณภาพของนักเรียนวิทยาศาสตร เม่ือจบช้ันประถมศึกษาปท ่ี 6...................................................................... ข ทกั ษะท่ีสําคัญในการเรยี นรูวิทยาศาสตร ..........................................................................................................ง ผังมโนทัศน (concept map) รายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เลม 2............................... ซ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2............................................................................ ฌ ขอแนะนําการใชค ูมือครู................................................................................................................................... ฏ การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตรใ นระดับประถมศึกษา ............................................................................ บ การจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนการสบื เสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร............................................................. บ การจัดการเรยี นการสอนทีส่ อดคลอ งกบั ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร ................................................................. ผ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรวู ิทยาศาสตร............................................................................................. พ ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเน้อื หาและกจิ กรรม ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5 เลม 2........................... ม กับตัวชวี้ ัด กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 รายการวสั ดุอปุ กรณวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2................................................................................................... ล หนว ยท่ี 4 วัฏจักร 1 ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนวยท่ี 4 วัฏจักร 1 บทที่ 1 วัฏจกั รน้าํ 5 บทนีเ้ ร่ิมตนอยางไร 8 เรอ่ื งที่ 1 แหลงนํา้ 12 กจิ กรรมท่ี 1.1 นาํ้ แตล ะแหลงบนโลกมีอยเู ทา ใด 16 กิจกรรมที่ 1.2 ทาํ อยา งไรจึงจะใชน ้ําอยา งประหยดั และอนรุ กั ษแหลงนาํ้ ในทองถ่ินได 30 เรอื่ งที่ 2 เมฆ หมอก นา้ํ คา ง และน้าํ คางแขง็ 46
สารบญั กจิ กรรมที่ 2 เมฆ หมอก นาํ้ คาง และนาํ้ คางแข็งเกิดขน้ึ ไดอ ยางไร หนา เรือ่ งที่ 3 หยาดน้าํ ฟา 50 65 กิจกรรมท่ี 3 ฝน หิมะ และลูกเห็บเกดิ ขน้ึ ไดอยางไร 69 เรื่องท่ี 4 การหมนุ เวยี นของนํ้า 79 83 กิจกรรมที่ 4 วฏั จักรน้าํ เปนอยา งไร 105 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 วัฏจักรน้าํ 106 แนวคําตอบในแบบฝกหดั ทายบท 110 บทที่ 2 วฏั จกั รการปรากฏของกลุมดาว 113 บทนี้เร่มิ ตน อยางไร 117 เร่อื งที่ 1 ดาวเคราะหแ ละดาวฤกษ 121 136 กิจกรรมที่ 1 มองเหน็ ดาวเคราะหและดาวฤกษไดอ ยางไร 140 เร่อื งที่ 2 กลมุ ดาวบนทอ งฟา 150 171 กิจกรรมที่ 2.1 เหตใุ ดจงึ เห็นกลมุ ดาวเปนรูปรางตาง ๆ 173 กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักรการปรากฏของกลุมดาวเปน อยางไร 176 กจิ กรรมทา ยบทที่ 2 วฏั จกั รการปรากฏของกลุมดาว แนวคําตอบในแบบฝก หดั ทายบท 177 บรรณานกุ รมหนว ยที่ 4 วฏั จักร 177 179 หนวยท่ี 5 ส่งิ มชี ีวิต 182 187 ภาพรวมการจัดการเรยี นรูประจาํ หนว ยท่ี 5 สงิ่ มีชีวติ 193 บทท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสิง่ มชี ีวติ 215 บทนเ้ี ร่มิ ตน อยางไร 228 เรือ่ งท่ี 1 การถา ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของสิ่งมชี วี ิต กจิ กรรมท่ี 1.1 ลักษณะทางพันธกุ รรมของพชื มีอะไรบา ง กิจกรรมท่ี 1.2 ลกั ษณะทางพันธุกรรมของสัตวม ีอะไรบา ง กิจกรรมที่ 1.3 ลกั ษณะทางพันธกุ รรมของคนในครอบครวั เปน อยา งไรบา ง
สารบัญ กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรมของสง่ิ มีชวี ติ หนา แนวคาํ ตอบในแบบฝก หดั ทา ยบท 249 บทท่ี 2 สงิ่ มีชีวติ กับส่ิงแวดลอม 250 บทน้ีเริ่มตนอยางไร 254 เรอื่ งท่ี 1 โครงสรางและลกั ษณะของสิง่ มีชวี ิตในแหลง ท่ีอยู 257 263 กจิ กรรมที่ 1 โครงสรางและลักษณะของสง่ิ มีชีวิตเหมาะสมกับแหลงที่อยอู ยา งไร 268 เรอื่ งที่ 2 ความสัมพันธร ะหวางสง่ิ มชี วี ติ กับสิ่งมีชวี ิต 282 287 กจิ กรรมท่ี 2 สิ่งมชี วี ิตมีความสมั พนั ธกบั สิ่งมีชวี ติ อยางไร 299 เรื่องที่ 3 ความสมั พนั ธระหวางสิ่งมีชีวิตกับส่ิงไมม ชี ีวติ 303 319 กจิ กรรมที่ 3 สง่ิ มชี วี ิตมคี วามสมั พนั ธก ับสิง่ ไมมชี วี ิตในแหลงทีอ่ ยูอยางไร 320 กิจกรรมทายบทที่ 2 สงิ่ มีชวี ติ กับสง่ิ แวดลอม 324 แนวคาํ ตอบในแบบฝก หดั ทา ยบท 325 บรรณานุกรมหนวยที่ 5 สง่ิ มีชีวิต 336 แนวคาํ ตอบในแบบทดสอบทายเลม 338 บรรณานุกรม คณะทํางาน
ก คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 เปาหมายของการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเก่ียวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติแลวนําผลท่ีไดมาจัดระบบ หลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด นน่ั คอื ใหเกิดการเรียนรูทัง้ กระบวนการและองคความรู การจดั การเรียนรวู ทิ ยาศาสตรใ นสถานศึกษามเี ปาหมายสาํ คญั ดังน้ี 1. เพื่อใหเขา ใจแนวคดิ หลักการ ทฤษฎี กฎและความรูพน้ื ฐานของวทิ ยาศาสตร 2. เพื่อใหเ ขา ใจขอบเขตธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร และขอ จาํ กดั ของวทิ ยาศาสตร 3. เพื่อใหม ที ักษะทสี่ าํ คญั ในการสบื เสาะหาความรแู ละพฒั นาเทคโนโลยี 4. เพ่ือใหตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ ส่ิงแวดลอม 5. เพ่ือนําความรู แนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สังคมและการดาํ รงชีวิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การสอื่ สาร และความสามารถในการประเมนิ และตัดสนิ ใจ 7. เพ่ือใหเปนผูท่ีมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยา งสรา งสรรค สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูม อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ข คุณภาพของนักเรียนวิทยาศาสตร เมื่อจบช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 6 นักเรียนท่ีเรียนจบชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ควรมีความรู ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดังนี้ 1. เขาใจโครงสราง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของส่ิงมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตใน แหลง ทอ่ี ยู การทําหนาทข่ี องสวนตา ง ๆ ของพชื และการทาํ งานของระบบยอยอาหารของมนุษย 2. เขาใจสมบัติและการจําแนกกลุมของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย การเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลงที่ผันกลับไดและผนั กลับไมไ ด และการแยกสารอยางงาย 3. เขาใจลักษณะของแรงโนมถวงของโลก แรงลัพธ แรงเสียดทาน แรงไฟฟาและผลของแรงตาง ๆ ผลท่ี เกดิ จากแรงกระทําตอวัตถุ วงจรไฟฟา อยา งงาย ปรากฏการณเบ้ืองตนของเสยี ง และแสง 4. เขา ใจปรากฏการณการขึน้ และตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร องคประกอบ ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ การข้ึน และตกของกลุมดาวฤกษ การใชแผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชนของเทคโนโลยี อวกาศ 5. เขาใจลักษณะของแหลงน้ํา วัฏจักรนํ้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง นํ้าคางแข็ง หยาดนํ้าฟา กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใชประโยชนหินและแร การเกิดซากดึกดําบรรพ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณเ รอื นกระจก 6. คน หาขอมูลอยา งมีประสทิ ธิภาพและประเมนิ ความนาเช่ือถือ ตดั สนิ ใจเลือกขอมูลใชเหตุผลเชิงตรรกะ ในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทํางานรวมกัน เขาใจสิทธิและหนาที่ ของตน เคารพสิทธขิ องผอู ่นื 7. ต้ังคําถามหรือกําหนดปญหาเกี่ยวกับส่ิงท่ีจะเรียนรูตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ คาดคะเน คําตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานที่สอดคลองกับคําถามหรือปญหาท่ีจะสํารวจตรวจสอบ วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการ เกบ็ รวบรวมขอ มลู ทงั้ เชิงปริมาณและคณุ ภาพ 8. วิเคราะหขอมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธของขอมูลที่มาจากการสํารวจตรวจสอบใน รูปแบบที่เหมาะสม เพื่อสื่อสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบไดอยางมีเหตุผลและหลักฐาน อา งองิ 9. แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น ในส่ิงที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตาม ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอมูลท่ีมีหลักฐานอางอิง และรับฟง ความคดิ เหน็ ผูอ่นื 10. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย จนงานลลุ วงเปน ผลสาํ เรจ็ และทาํ งานรวมกับผอู ืน่ อยา งสรางสรรค สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ค คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 11. ตระหนกั ในคุณคาของความรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการดํารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกยอง และเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคนและศึกษาหาความรู เพมิ่ เติม ทาํ โครงงานหรอื ชิน้ งานตามทีก่ ําหนดใหห รอื ตามความสนใจ 12. แสดงถงึ ความซาบซึ้ง หวงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ มอยางรคู ณุ คา สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูม อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ง ทักษะที่สําคัญในการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ทักษะสําคัญท่ีครูจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับนักเรียนเม่ือมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอื่นๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร ประกอบดวย ทกั ษะการสังเกต (Observing) เปน ความสามารถในการใชป ระสาทสมั ผสั อยางใดอยางหน่ึง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผสู งั เกต ประสาทสัมผสั ท้งั 5 ไดแ ก การดู การฟงเสียง การดมกลิน่ การชิมรส และการสมั ผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งตาง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใชออกมาเปน ตวั เลขไดถูกตองและรวดเร็ว พรอมระบุหนว ยของการวดั ไดอ ยางถูกตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย เก็บรวบรวมไวใ นอดตี ทกั ษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปน ความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม สิ่งตาง ๆ ท่ีสนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากน้ียังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หน่ึงของส่งิ ตา ง ๆ ที่ตองการจาํ แนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พื้นที่ที่วัตถุครอบครอง ในท่ีน้ีอาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหลานี้อาจมีความสัมพันธกัน ดังนี้ การหาความสัมพันธร ะหวา งสเปซกบั สเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ที่ ที่ วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
จ คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 การหาความสมั พันธร ะหวางสเปซกับเวลา เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ (Relationship between Space and Time) สัมพันธกันระหวางพ้ืนที่ท่ีวัตถุครอบครอง เมื่อเวลาผา นไป ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคํานวณเพ่ือบรรยายหรือระบุรายละเอยี ดเชงิ ปรมิ าณของส่งิ ที่สังเกตหรอื ทดลอง ทักษะการจัดกระทําและส่ือความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปน ความสามารถในการนาํ ผลการสงั เกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบที่ มคี วามหมายหรือมีความสมั พนั ธกันมากขน้ึ จนงายตอ การทาํ ความเขาใจหรอื เห็นแบบรูปของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพ่อื สอื่ สารใหผ ูอ ื่นเขา ใจความหมายของขอมลู มากขนึ้ ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองท่ีไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณที่ แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการต้ังสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนดําเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพ้ืนฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความท่ีบอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซ่ึงอาจเปนไปตามที่ คาดการณไวหรือไมก็ได ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของส่งิ ตา ง ๆ ท่อี ยูใ นสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง ใหเ ขาใจตรงกัน และสามารถสงั เกตหรอื วดั ได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ทั้งตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน ซ่ึงอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับการทดลอง ไดแก ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีตองควบคมุ ใหคงที่ ซึง่ ลวนเปนปจจยั ท่เี ก่ียวขอ งกับการทดลอง ดงั นี้ ตัวแปรตน (Independent Variable) หมายถงึ ส่ิงท่เี ปน ตนเหตทุ ําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง จึงตอง จดั สถานการณใหม ีส่ิงนแ้ี ตกตางกัน ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง ส่ิงท่ีเปนผลจากการจัดสถานการณบางอยางให แตกตา งกนั และเราตองสังเกต วดั หรอื ติดตามดู สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูม ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ฉ ตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งตาง ๆ ท่ีอาจสงผลตอการจัด สถานการณ จงึ ตองจดั ส่ิงเหลานี้ใหเหมือนกันหรือเทากัน เพ่ือใหม่ันใจวาผลจากการจัดสถานการณเกิดจากตัว แปรตนเทาน้ัน ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลอ งกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึง ความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองไดละเอียด ครบถว น และเทย่ี งตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรปุ ความสมั พันธข องขอ มูลทั้งหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชสิ่งท่ีทํา ข้ึนมาเพ่ือเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณที่ศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจในรูป ของแบบจําลองแบบตา ง ๆ ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะท่ีจําเปนแหงศตวรรษที่ 21 ซ่ึงสอดคลองกับสมรรถนะที่ควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศกึ ษาจะเนนใหครูสงเสรมิ ใหน ักเรยี นมที ักษะ ดังตอไปนี้ การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ มีการคิดอยางเปนระบบ วิเคราะห ประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณแ ละกระบวนการเรยี นรู การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแกปญหาที่ไมคุนเคย หรือ ปญ หาใหม โดยอาจใชค วามรู ทักษะ วธิ ีการและประสบการณท เี่ คยรูมาแลว หรอื การสืบเสาะหาความรู วิธีการ ใหมมาใชแกปญหาก็ได นอกจากน้ียังรวมถึงการซักถามเพื่อทําความเขาใจมุมมองท่ีแตกตาง หลากหลาย เพอื่ ใหไ ดว ิธแี กป ญ หาทด่ี ีย่งิ ขน้ึ การสื่อสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการส่ือสารไดอยางชัดเจน เชื่อมโยง เรียบเรียงความคิดเเละมุมมองตาง ๆ แลวส่ือสารโดยการใชคําพูด หรือการเขียน เพ่ือใหผูอื่นเขาใจได สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ช คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 หลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงคนอกจากน้ียังรวมไปถึงการฟงอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหเขาใจ ความหมายของผสู ง สาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุมตาง ๆ ท่ี หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีที่จะประนีประนอม เพ่ือใหบรรลุ เปาหมายการทาํ งาน พรอ มทง้ั ยอมรับและแสดงความรับผดิ ชอบตอ งานทท่ี าํ รวมกัน และเห็นคุณคาของผลงาน ทพ่ี ัฒนาขน้ึ จากสมาชิกแตล ะคนในทมี การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคที่หลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกลั่นกรอง ทบทวน วิเคราะห และประเมินแนวคิด เพื่อปรับปรุงใหไดแนวคิดท่ีจะสงผลให ความพยายามอยา งสรางสรรคนเ้ี ปนไปไดม ากท่สี ุด การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง ความสามารถในการการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเปนเคร่ืองมือสืบคน จัดกระทํา ประเมินและส่ือสารขอมูลความรูตลอดจนรูเทาทันส่ือโดยการใชส่ือตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมมี ประสิทธิภาพ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ซ ผงั มโนทัศน (concept map) รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5 เลม 2 เน้ือหาการเรยี นรวู ิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 5 เลม 2 ประกอบดวย หนวยท่ี 4 วฏั จักร หนวยท่ี 5 สงิ่ มีชวี ติ ไดแก ไดแ ก แหลงน้ํา ลกั ษณะทางพันธกุ รรม ของสิ่งมีชวี ติ เมฆ หมอก น้ําคาง และ น้าํ คา งแขง็ โครงสรา งและลกั ษณะ ของส่ิงมีชวี ติ ในแหลงท่ีอยู หยาดนาํ้ ฟา ความสัมพนั ธร ะหวาง การหมุนเวียนของนํ้า สง่ิ มีชีวติ กับส่ิงมีชีวิต ดาวเคราะหและดาวฤกษ ความสัมพนั ธระหวา ง ส่ิงมีชีวติ กับสิ่งไมมชี ีวิต กลุมดาวบนทองฟา สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ฌ คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ตวั ชวี้ ดั ชน้ั ป สาระการเรยี นรูแกนกลาง ว 1.1 ป.5/1 • สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตวมีโครงสรางและลักษณะท่ี บรรยายโครงสรางและลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่ เหมาะสมในแตละแหลงที่อยู ซ่ึงเปนผลมาจากการ เหมาะสมกับการดํารงชีวิตซึ่งเปนผลมาจาก ปรับตัวของส่ิงมีชีวิต เพื่อใหดํารงชีวิตและอยูรอด การปรบั ตวั ของสิ่งมชี ีวติ ในแตละแหลง ท่ีอยู ไดในแตละแหลงท่ีอยู เชน ผักตบชวามีชองอากาศ ในกานใบ ชวยใหลอยนํ้าได ตนโกงกางท่ีขึ้นอยูใน ปา ชายเลนมีรากค้ําจุนทําใหลําตนไมลม ปลามีครีบ ชวยในการเคลื่อนที่ในนํ้า ว 1.1 ป.5/2 • ในแหลงที่อยูหน่ึง ๆ ส่ิงมีชีวิตจะมีความสัมพันธ อธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับ ซึ่งกันและกันและสัมพันธกับส่ิงไมมีชีวิต เพ่ือ สิ่งมีชวี ิต และความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับ ประโยชนตอการดํารงชีวิต เชน ความสัมพันธกัน สิ่งไมมชี ีวติ เพ่อื ประโยชนตอการดํารงชวี ติ ดานการกินกันเปนอาหาร เปนแหลงที่อยูอาศัย ว 1.1 ป.5/3 หลบภยั และเล้ยี งดูลูกออน ใชอ ากาศในการหายใจ เขียนโซอาหารและระบุบทบาทหนาที่ของ สง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี ปนผผู ลิตและผูบรโิ ภคในโซอ าหาร • ส่ิงมีชีวิตมีการกินกันเปนอาหารโดยกินตอกันเปน ทอด ๆ ในรูปแบบของโซอาหารทําใหสามารถระบุ ว 1.1 ป.5/4 บทบาทหนา ทข่ี องสงิ่ มีชีวติ เปน ผูผลติ และผูบริโภค ต ร ะ ห นั ก ใ น คุ ณ ค า ข อ ง ส่ิ ง แ ว ด ล อ ม ท่ี มี ต อ การดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีสวนรวม ในการดแู ลรกั ษาส่งิ แวดลอ ม ว 1.3 ป.5/1 • สิ่งมีชีวิตท้ังพืช สัตว และมนุษย เม่ือโตเต็มท่ีจะมี อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถายทอด การสืบพันธุเพือ่ เพมิ่ จํานวนและดํารงพันธุ โดยลูกท่ี จากพอแมส ูลูกของพืช สัตว และมนุษย เกิดมาจะไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ว 1.3 ป.5/2 จากพอแมทําใหมีลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเฉพาะ แสดงความอยากรูอยากเห็นโดยการถาม แตกตา งจากสิง่ มีชีวิตชนิดอนื่ คําถามเกี่ยวกับลักษณะที่คลายคลึงกันของ • พืชมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เชน ตนเองกับพอแม ลกั ษณะของใบ สีดอก • สัตวมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เชน สีขน ลักษณะของขน ลกั ษณะของหู สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ญ ตวั ชี้วดั ชนั้ ป สาระการเรียนรูแกนกลาง • มนุษยมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เชน เชิงผมท่ีหนาผาก ลักยิ้ม ลักษณะหนังตา การหอล้ิน ลักษณะของติง่ หู ว 3.1 ป.5/1 • ดาวท่ีมองเห็นบนทองฟาอยูในอวกาศซึ่งเปน เปรยี บเทยี บความแตกตา งของดาวเคราะหและ บริเวณท่ีอยูนอกบรรยากาศของโลกมีท้ังดาวฤกษ ดาวฤกษจ ากแบบจาํ ลอง และดาวเคราะห ดาวฤกษเปนแหลงกําเนิดแสง จึงสามารถมองเห็นได สวนดาวเคราะหไมใช แหลงกําเนิดแสง แตสามารถมองเห็นไดเนื่องจาก แสงจากดวงอาทิตยตกกระทบดาวเคราะหแลว สะทอนเขา สูตา ว 3.1 ป.5/2 • การมองเห็นกลุมดาวฤกษมีรูปรางตาง ๆ เกิดจาก ใชแผนท่ีดาวระบุตําแหนงและเสนทางการขึ้น จินตนาการของผูสงั เกต กลุม ดาวฤกษตาง ๆ ท่ีปรากฏ และตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟา และ ในทองฟาแตละกลุมมีการเรียงตัวของดาวฤกษ อธิบายแบบรูปเสนทางการข้ึนและตกของกลุม คงท่ีจึงมีรูปรางเหมือนเดิม และมีเสนทางการขึ้น ดาวฤกษบนทองฟา ในรอบป และตกตามเสนทางเดิมทุกคืน และจะปรากฏ ตําแหนงเดิม การสังเกตตําแหนงและการข้ึนและ ตกของดาวฤกษและกลุม ดาวฤกษส ามารถทําไดโดย ใชแผนทีด่ าวซ่ึงระบุมุมทิศและมุมเงยที่กลุมดาวน้ัน ปรากฏ ผูสังเกตสามารถใชมือในการประมาณคา ของมมุ ทิศและมมุ เงยเมอื่ สงั เกตดาวในทองฟา ว 3.2 ป.5/1 • โลกมีทั้งน้ําจืดและน้ําเค็มซ่ึงอยูในแหลงนํ้าตาง ๆ เปรียบเทียบปริมาณนํ้าในแตละแหลงและระบุ ที่มีทั้งแหลงน้ําผิวดิน เชน ทะเล มหาสมุทร บึง ปริมาณนํ้าท่ีมนุษยสามารถนํามาใชประโยชน แมน้ํา และแหลงน้ําใตดิน เชน น้ําในดิน และ ได จากขอมลู ท่รี วบรวมได น้ําบาดาล นํ้าทั้งหมดของโลกแบงเปนนํ้าเค็ม ประมาณรอยละ 97.5 ซ่ึงอยูในมหาสมุทรและ แหลงนํ้าอ่ืน ๆ และที่เหลืออีกประมาณรอยละ 2.5 เปนนํ้าจืด ถาเรียงลําดับปริมาณน้ําจืดจากมากไป นอยจะอยูท่ี ธารน้ําแข็งและพืดน้ําแข็ง น้ําใตดิน ช้ันดินเยือกแข็งคงตัวและน้ําแข็งใตดิน ทะเลสาบ ความช้ืนในดิน ความช้ืนในบรรยากาศ บึง แมน้ํา และน้ําในสิง่ มีชวี ติ สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ฎ คูม อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ตวั ชี้วดั ชนั้ ป สาระการเรยี นรูแกนกลาง ว 3.2 ป.5/2 • นํ้าจืดท่ีมนุษยนํามาใชไดมีปริมาณนอยมาก จึงควร ตระหนักถึงคุณคาของน้ําโดยนําเสนอแนวทาง ใชน้ําอยา งประหยดั และรวมกันอนรุ กั ษน ้าํ การใชน ้าํ อยา งประหยดั และการอนุรักษน า้ํ ว 3.2 ป.5/3 • วัฏจกั รนา้ํ เปนการหมุนเวียนของนํา้ ท่ีมีแบบรปู ซํ้าเดมิ สรา งแบบจําลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน้ํา และตอ เนื่องระหวางน้ําในบรรยากาศ น้ําผิวดิน และ ในวัฏจักรนา้ํ นํ้าใตดิน โดยพฤติกรรมการดํารงชีวิตของพืชและ สัตวสง ผลตอ วฏั จักรน้ํา ว 3.2 ป.5/4 • ไอน้ําในอากาศจะควบแนนเปนละอองนํ้าเล็ก ๆ โดย เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก มีละอองลอย เชน เกลือ ฝุนละออง เกสรดอกไม นํ้าคาง และนา้ํ คา งแขง็ จากแบบจาํ ลอง เปนอนุภาคแกนกลาง เมื่อละอองน้ําจํานวนมาก เกาะกลุมรวมกันลอยอยูสูงจากพ้ืนดินมาก เรียกวา เมฆ แตละอองนํ้าท่ีเกาะกลุมรวมกันอยูใกลพื้นดิน เรียกวา หมอก สวนไอนํ้าที่ควบแนนเปนละอองน้ํา เกาะอยูบนพ้ืนผิววัตถุใกลพ้ืนดิน เรียกวา นํ้าคาง ถาอุณห ภูมิใก ลพื้นดิน ต่ํากว าจุดเยื อกแข็ ง นํ้าคางก็จะกลายเปน นาํ้ คางแข็ง ว 3.2 ป.5/5 • ฝน หิมะ ลูกเห็บ เปนหยาดน้ําฟาซ่ึงเปนน้ําท่ีมี เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และ สถานะตาง ๆ ที่ตกจากฟาถึงพ้ืนดิน ฝนเกิดจาก ลกู เหบ็ จากขอมลู ท่ีรวบรวมได ละอองน้ําในเมฆที่รวมตัวกันจนอากาศไมสามารถ พยุงไวไดจึงตกลงมา หิมะเกิดจากไอน้ําในอากาศ ระเหิดกลับเปนผลึกน้ําแข็ง รวมตัวกันจนมีนํ้าหนัก มากขึ้น จนเกินกวาอากาศจะพยุงไว จึงตกลงมา ลูกเห็บเกิดจากหยดน้ําท่ีเปลี่ยนสถานะเปนนํ้าแข็ง แลวถูกพายุพัดวนซ้ําไปซ้ํามาในเมฆฝนฟาคะนอง ที่มีขนาดใหญแ ละอยูใ นระดับสงู จนเปนกอนนํ้าแข็ง ขนาดใหญขน้ึ แลวตกลงมา สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูม ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ฏ ขอ แนะนําการใชคมู อื ครู คมู อื ครูเลม นจี้ ัดทาํ ข้นึ เพอ่ื ใชเ ปน แนวทางการจัดกิจกรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียน จะไดฝกทักษะจากการทํากจิ กรรมตาง ๆ ทงั้ การสังเกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การอภิปราย การทาํ งานรวมกัน ซ่ึงเปนการฝก ใหน กั เรยี นชางสงั เกต รูจักต้ังคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพ่ือตอบปญหาตาง ๆ ไดดว ยตนเอง ทงั้ น้ีโดยมเี ปา หมายเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรูครูจึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูจากส่ือและแหลงการ เรียนรูตาง ๆ และเพ่ิมเติมขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพ่ือใหนักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรูดวย ตนเอง เพื่อใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมนี้มากที่สุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละหัวขอ และขอ เสนอแนะเพิม่ เติม ดงั น้ี 1. สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรูแกนกลางเปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรที่ปรากฏใน มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปนสําหรับเปนพื้นฐาน เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพ้ืนฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน โดยสอดคลองกับสาระและ ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระ ทปี่ รากฏอยูตามสาระการเรียนรูโ ดยสถานศึกษาสามารถพฒั นาเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซ่ึง ประกอบดวยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ทั้งนี้เพ่ือเอ้ือตอการจัดการเรียนรู บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 2. ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู ระจาํ หนวย ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนว ยมีไวเพ่ือเช่ือมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัดท่ีจะไดเรียนในแตละกิจกรรมของหนวยน้ัน ๆ และเปนแนวทางใหครูนําไปปรับปรุงและ เพ่ิมเตมิ ตามความเหมาะสม 3. จุดประสงคก ารเรียนรู แตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียนท้ัง สวนนําบท นําเร่ือง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูท่ีสอดคลองกับตัวช้ีวัดช้ันปเพ่ือให นักเรียนเกิด การเรียนรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ฐ คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ในสถานการณใ หม มที ักษะในการใชเทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม สามารถอยใู นสังคมไทยไดอยางมีความสุข 4. บทนี้มอี ะไร สวนท่ีบอกรายละเอยี ดในบทนัน้ ๆ ซงึ่ ประกอบดว ยชอ่ื เรื่อง คาํ สาํ คัญ และช่อื กิจกรรม เพ่ือครูจะ ไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตละบท 5. ส่อื การเรยี นรูและแหลงเรยี นรู สวนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูที่ตองใชสําหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมน้ัน ๆ โดยสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต ส่ือส่ิงพิมพ สื่อโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ ทางวทิ ยาศาสตรเพื่อเสรมิ สรา งความม่นั ใจในการสอนปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตรส ําหรับครู 6. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 ทักษะท่ีนักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเปน ทักษะที่นักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะท่ีชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพือ่ ใหทนั ตอ การเปลย่ี นแปลงของโลก สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ฑ วีดทิ ัศนตวั อยางการปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตรสําหรับครู เพื่อฝก ฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต าง ๆ มดี ังน้ี รายการวีดทิ ศั นตัวอยา ง ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code การปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตรสําหรบั ครู วิทยาศาสตร วีดิทศั น การสงั เกตและ การสังเกตและ http://ipst.me/8115 การลงความเหน็ จากขอ มลู การลงความเห็นจากขอมลู ทาํ ไดอยา งไร วดี ิทัศน การวัดทําไดอ ยางไร การวัด http://ipst.me/8116 วดี ิทัศน การใชตวั เลขทาํ ไดอยา งไร การใชจํานวน http://ipst.me/8117 วีดทิ ัศน การจําแนกประเภททําได การจําแนกประเภท http://ipst.me/8118 อยา งไร วดี ิทศั น การหาความสมั พันธระหวา ง การหาความสัมพันธ http://ipst.me/8119 สเปซกับสเปซทาํ ไดอยางไร ระหวา งสเปซกบั สเปซ วดี ทิ ัศน การหาความสมั พนั ธร ะหวา ง การหาความสัมพันธ http://ipst.me/8120 สเปซกบั เวลาทาํ ไดอยา งไร ระหวา งสเปซกบั เวลา วีดิทัศน การจดั กระทาํ และสอื่ การจัดกระทําและสื่อ http://ipst.me/8121 ความหมายขอมลู ทําได ความหมายขอมูล http://ipst.me/8122 อยา งไร การพยากรณ วดี ทิ ศั น การพยากรณทําไดอยางไร สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ฒ คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 รายการวดี ทิ ัศนตวั อยาง ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code http://ipst.me/8123 การปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตรสําหรบั ครู วทิ ยาศาสตร วีดิทัศน ทาํ การทดลองไดอยา งไร การทดลอง วดี ทิ ัศน การตงั้ สมมตฐิ านทําได การตั้งสมมติฐาน http://ipst.me/8124 อยา งไร วีดทิ ัศน การกาํ หนดและควบคมุ ตัว การกําหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 แปรและ ตัวแปรและ การกําหนดนิยามเชิง การกาํ หนดนยิ ามเชิง ปฏบิ ตั กิ าร ปฏบิ ตั กิ ารทําไดอ ยางไร การตีความหมายขอมลู และ http://ipst.me/8126 ลงขอสรปุ วดี ิทัศน การตีความหมายขอมูลและ ลงขอสรุปทําไดอยางไร วดี ิทศั น การสรางแบบจาํ ลองทําได การสรา งแบบจาํ ลอง http://ipst.me/8127 อยางไร สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ณ 7. แนวคดิ คลาดเคลอื่ น ความเช่ือ ความรู หรือความเขาใจท่ีผิดหรือคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เน่ืองจาก ประสบการณในการเรยี นรทู ่ีรับมาผิดหรือนําความรูท่ีไดรับมาสรุปตามความเขาใจของตนเองผิด แลว ไมส ามารถอธิบายความเขาใจนั้นได ดังน้ันเม่ือเรียนจบบทน้ีแลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ นักเรียนใหเ ปนแนวคดิ ท่ีถกู ตอง 8. บทนเี้ รมิ่ ตน อยา งไร แนวทางสําหรับครูในการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรเพ่ือสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผล ครูควรกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนน้ัน ๆ โดยและใหนักเรียน ตอบคําถามสํารวจความรูกอนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนและยังไมเฉลย คาํ ตอบทถ่ี ูกตอง เพอื่ ใหน ักเรยี นไปหาคาํ ตอบจากเรอ่ื งและกิจกรรมตาง ๆ ในบทน้นั 9. เวลาที่ใช การเสนอแนะเวลาท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนวาควรใชประมาณก่ีช่ัวโมง เพื่อชวยใหครู ไดจัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปล่ียนเวลาไดตาม สถานการณและความสามารถของนักเรียน 10. วัสดุอปุ กรณ รายการวัสดุอุปกรณท้ังหมดท้ังหมดสําหรับการจัดกิจกรรม โดยอาจมีท้ังวัสดุส้ินเปลือง อุปกรณ สําเรจ็ รูป อุปกรณพ น้ื ฐาน หรืออ่นื ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนา สาํ หรบั ครู เพ่ือจัดการเรียนรใู นคร้งั ถัดไป การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับการจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป เพ่ือครูจะไดเตรียมส่ือ อุปกรณ เครื่องมือตา ง ๆ ท่ตี องใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพที่ใชการไดดีและมีจํานวนเพียงพอกับนักเรียน โดย อาจมีบางกิจกรรมตอ งทําลวงหนา หลายวนั เชน การเตรียมถงุ ปรศิ นาและขาวโพดคว่ั หรือส่ิงทก่ี ินได ขอ เสนอแนะเพิม่ เตมิ นกั เรียนในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา มีกระบวนการคดิ ทเ่ี ปนรูปธรรม ครูจึงควรจัดการเรียนการ สอนท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดปฏิบัติหรือทําการทดลองดวยตนเอง ซ่ึงเปนวิธีหนึ่งท่ีนักเรียนจะไดมี ประสบการณต รง ดังนน้ั ครูจงึ ตองเตรียมตวั เองในเร่ืองตอ ไปนี้ 11.1 บทบาทของครู ครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูชี้นําหรือผูถายทอดความรูเปนผู ชวยเหลือ โดยสงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลงการ เรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลท่ีถูกตองแกนักเรียน เพ่ือใหนักเรียนไดนําขอมูลเหลาน้ันไปใช สรางสรรคค วามรูของตนเอง 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนใหมีความพรอมในการทํา กิจกรรมตา ง ๆ แตบางคร้ังนักเรียนไมเขาใจและอาจจะทํากิจกรรมไมถูกตอง ดังน้ันครูจึง ตอ งเตรียมตัวเอง โดยทําความเขาใจในเร่อื งตอไปน้ี สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ด คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 การสืบคนขอมูลหรือการคนควาดวยวิธีการตาง ๆ เชน สอบถามจากผูรูในทองถ่ิน ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อานหนังสือหรือเอกสารเทาท่ีหาได นั่นคือการใหนักเรียนเปนผูหา ความรแู ละพบความรูหรือขอมลู ดว ยตนเอง ซ่งึ เปน การเรยี นรูดวยวธิ ีแสวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวิธี เชน ใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองท่ีไดรับ มอบหมายใหไ ปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากน้ีอาจใหวาดรูป หรือตัด ขอ ความจากหนงั สือพิมพ แลว นาํ มาติดไวใ นหอ ง เปน ตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออื่น ๆ เพื่อสรางองคความรู เปนสิ่งสําคัญย่ิงตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดท้ังใน หองเรียน นอกหองเรียนหรือที่บาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง อาจใชอุปกรณท่ีดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติ ขอสําคัญ คือ ครูตอง ใหนักเรียนทราบวา ทําไมจึงตองทํากิจกรรมนั้น และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจากการ ทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซ่ึงจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรพ รอมกับเกิดคา นยิ ม คุณธรรม เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตรด ว ย 12. แนวการจดั การเรยี นรู แนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรที่มุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวย ตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการทาง วิทยาศาสตรไ ปใช วธิ ีการจัดการเรียนรูท่ี สสวท. เห็นวาเหมาะสมท่ีจะนํานักเรียนไปสูเปาหมายที่กําหนด ไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสํารวจ ตรวจสอบ และอภิปรายซักถามระหวา งครูกับนักเรียนเพื่อนาํ ไปสูขอมูลสรปุ ขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามความ เหมาะสมเพอ่ื ใหบรรลจุ ุดมงุ หมาย โดยจะคํานึงถงึ เรื่องตาง ๆ ดังตอไปนี้ 12.1 นกั เรียนมสี วนรวมในกิจกรรมการเรียนรู ครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการ เรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ ใชเทคนิคตาง ๆ เชน การใชคําถาม การเสริมแรงมาใชใหเปนประโยชน เพ่ือใหการเรียน การสอนนาสนใจและมีชีวิตชวี า 12.2 การใชคําถาม เพื่อนํานักเรียนเขาสูบทเรียนและลงขอสรุป โดยไมใชเวลานานเกินไป ท้ังน้ี ครูตองวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใชคําถามที่มีความยากงาย พอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน 12.3 การสํารวจตรวจสอบซํ้า เปนส่ิงจําเปนเพ่ือใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู ครูควรเนน ยาํ้ ใหนักเรียนไดส าํ รวจตรวจสอบซํา้ เพอื่ นาํ ไปสขู อ สรปุ ทีถ่ กู ตอ งและเช่ือถอื ได สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ต 13. ขอ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ขอเสนอแนะสําหรับครูที่อาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณที่ เหมาะสมหรือใชแทน ขอควรระวัง วิธกี ารใชอ ุปกรณใ หเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรมเพ่ือ ลดขอผิดพลาด ตวั อยา งตาราง และเสนอแหลงเรยี นรูเพอื่ การคน ควาเพ่มิ เติม 14. ความรูเพ่มิ เติมสาํ หรบั ครู ความรูเพิ่มเติมในเน้ือหาท่ีสอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกขึ้น เพื่อเพ่ิมความรูและความม่ันใจใน เร่ืองที่จะสอนและแนะนํานักเรียนที่มีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน เพราะไมเ หมาะสมกบั วยั และระดับชัน้ 15. อยาลืมนะ สวนทีเ่ ตอื นไมใหครูเฉลยคําตอบทีถ่ กู ตอง กอนท่ีจะไดรับฟงความคิดและเหตุผลของนักเรียน เพ่ือใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรูความเขาใจในเร่ืองน้ันอยางไร บา ง โดยครูควรใหค ําแนะนําเพือ่ ใหน กั เรียนหาคาํ ตอบไดดวยตนเอง นอกจากน้ันครูควรใหความสนใจ ตอคําถามของนักเรยี นทุกคนดวย 16. แนวการประเมนิ การเรยี นรู การประเมินการเรียนรูของนักเรียนที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน คําตอบของนักเรียนระหวาง การจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ ทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 ท่ไี ดจากการทาํ กิจกรรมของนกั เรียน 17. กิจกรรมทายบท สวนท่ีใหน ักเรยี นไดส รุปความรู ความเขา ใจ ในบทเรียน และไดต รวจสอบความรูในเนื้อหาท่ี เรยี นมาท้งั บท หรืออาจตอยอดความรใู นเรอ่ื งนน้ั ๆ ขอ แนะนําเพิม่ เตมิ 1. การสอนอาน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตวั หนงั สอื ถา ออกเสยี งดว ย เรยี กวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคําวา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อา นรหสั อานลายแทง ปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะที่สําคัญ จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแกนักเรียนเปนอยางมาก เน่ืองจากการอานเปนกระบวนการสําคัญท่ีทําใหผูอาน สรา งความหมายหรือพฒั นาการวิเคราะห ตีความในระหวางอาน ผูอานจะตองรูหัวเร่ือง รูจุดประสงคการอาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือที่อานและจําเปนตองใชประสบการณเดิมที่เปน ประสบการณพื้นฐานของผูอาน ทําความเขาใจเร่ืองท่ีอาน ทั้งนี้นักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานท่ี สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ถ คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 แตกตางกัน ขึ้นอยูกับองคประกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรอื ความสนใจเร่อื งทอ่ี า น ครคู วรสงั เกตนักเรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซ่ึงครจู ะตองพจิ ารณาทง้ั หลักการอา น และความเขา ใจในการอา นของนักเรยี น การรูเรือ่ งการอาน (Reading literacy) หมายถงึ การเขา ใจขอ มลู เน้ือหาสาระของสิง่ ท่ีอา น การใช ประเมนิ และสะทอนมุมมองของตนเองเกย่ี วกับสิง่ ที่อานอยางต้งั ใจเพอ่ื บรรลุเปาหมายสว นตัวของตนเองหรือ เพือ่ พฒั นาความรแู ละศักยภาพของตนเองและนําความรแู ละศกั ยภาพน้นั มาใชในการแลกเปลยี่ นเรยี นรูใน สงั คม (PISA, 2018) กรอบการประเมนิ ผลนักเรียนเพื่อใหม สี มรรถนะการอา นในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ สรุปไดด ังแผนภาพดานลา ง การรูเ ร่ืองการอาน (Reading literacy) ใชเนื้อหาสาระภายในส่ิงที่อา น ใชค วามรู ความคดิ เจตคตขิ องตนเองเช่ือมโยงกบั (Use content primarily within the text) เน้ือหาสาระของสิ่งทอ่ี าน (Draw primarily upon outside knowledge) การคนหาและการคดั เลือก (Access and retrieve) การเชื่อมโยงและการแปลความ (integrate and interpret) การสะทอนและประเมินผล (Reflect and evaluate) จากกรอบการประเมินดังกลาวจะเห็นไดวา การรูเรื่องการอานเปนสมรรถนะท่ีสําคัญท่ีครูควรสงเสริมให นักเรียนมีความสามารถใหครอบคลุม ต้ังแตการคนหาขอมูลในสิ่งที่อาน เขาใจเนื้อหาสาระที่อานไปจนถึง ประเมินคาเน้ือหาสาระท่ีอานได การเรียนการสอนวิทยาศาสตรจําเปนตองอาศัยการอานเพื่อหาขอมูล ทําความเขาใจเนื้อหาสาระของสิ่งท่ีอาน รวมทั้งประเมินส่ิงท่ีอานและนําเสนอมุมมองของตนเองเก่ียวกับสิ่งที่ อา น นกั เรียนควรไดร บั สง เสริมการอานดงั ตอไปน้ี 1. นักเรยี นควรไดรับการฝก การอานขอความแบบตอเนอ่ื งจําแนกขอความแบบตางๆ กัน เชน การบอก การพรรณนา การโตแ ยง รวมไปถงึ การอา นขอ เขียนที่ไมใ ชขอความตอเนื่อง ไดแก การอานรายการ ตาราง แบบฟอรม กราฟ และแผนผัง เปนตน ซงึ่ ขอ ความเหลาน้ีเปน ส่ิงท่นี กั เรยี นไดพ บเห็นใน สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ท โรงเรยี น และจะตองใชใ นชีวิตจรงิ เมือ่ โตเปน ผใู หญ ซึ่งในคูมือครเู ลม นี้ตอ ไปจะใชคําแทนขอความทงั้ ท่ี เปนขอ ความแบบตอเนื่องและขอความที่ไมใชข อ ความตอเน่อื งวา ส่งิ ท่ีอา น (Text) 2. นกั เรียนควรไดรับการฝกฝนใหมีความสามารถในการประเมนิ ส่งิ ทอ่ี า นวา มคี วามเหมาะสมสอดคลอง กบั ลักษณะของขอ เขยี นมากนอยเพียงใด เชน ใชน วนิยาย จดหมาย หรือชวี ประวตั ิเพ่ือประโยชน สวนตัว ใชเอกสารราชการหรือประกาศแจงความเพื่อสาธารณประโยชน ใชร ายงานหรือคูมอื ตางๆ เพ่ือการทาํ งานอาชีพ ใชต าํ ราหรอื หนงั สอื เรยี น เพ่ือการศึกษา เปน ตน 3. นกั เรียนควรไดร บั การฝกฝนใหมีสมรรถนะการอานเพื่อเรยี นรู ในดา นตา ง ๆ ตอไปนี้ 3.1 ความสามารถทีจ่ ะคน หาเน้ือหาสาระของสงิ่ ท่ีอา น (Retrieving information) 3.2 ความสามารถท่จี ะเขา ใจเน้ือหาสาระของสิ่งท่ีอา น (Forming a broad understanding) 3.3 ความสามารถในการแปลความของส่ิงทอ่ี าน (Interpretation) 3.4 ความสามารถในการประเมนิ และสามารถสะทอนความคดิ เห็นหรอื โตแยง จากมุมมองของตน เกีย่ วกบั เนื่อหาสาระของส่งิ ท่ีอา น (Reflection and Evaluation the content of a text) 3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเหน็ หรอื โตแยง จากมุมมองของตน เกยี่ วกับรูปแบบของสิ่งทอี่ าน (Reflection and Evaluation the form of a text) ท้งั นี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธกี ารสอนแบบตา ง ๆ เพื่อเปนการฝก ทักษะการอานของนักเรยี น ดงั นี้ เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) การสอนอานทีม่ งุ เนน ใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กล่ันกรองและตรวจสอบขอมูลที่ไดจากการอาน ดวยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเน้ือหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ข้ันตอนการจดั การเรียนการสอน ดงั น้ี 1. ครจู ดั แบงเนอ้ื เรื่องท่ีจะอา นออกเปน สวนยอ ย และวางแผนการสอนอา นของเนื้อเร่ืองทั้งหมด 2. นาํ เขา สูบทเรยี นโดยชกั ชวนใหนักเรยี นคดิ วานักเรียนรูอะไรเก่ยี วกับเรื่องท่จี ะอานบาง 3. ครใู หนักเรยี นสังเกตรปู ภาพ หวั ขอ หรืออืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วกับเนื้อหาท่ีจะเรยี น 4. ครูต้ังคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องท่ีกําลังจะอาน ซ่ึงอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เก่ยี วกบั อะไร โดยครพู ยายามกระตนุ ใหน กั เรียนไดแ สดงความคดิ เหน็ หรือคาดคะเนเน้ือหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนส่ิงที่ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภปิ รายแลวเขียนแนวคดิ ของนกั เรียนแตล ะคนไวบนกระดาน 6. นักเรียนอานเน้ือเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเองตรง กับเนอ้ื เรือ่ งที่อา นหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเรื่องท่ีอานมีเน้ือหาตรงกับที่คาดคะเนไวใหนักเรียน แสดงขอความทีส่ นับสนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเนื้อเรือ่ ง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยางไรบาง สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ธ คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 8. ทําซํ้าขั้นตอนเดิมในการอานเน้ือเร่ืองสวนอ่ืน ๆ เม่ือจบท้ังเร่ืองแลว ครูปดเร่ืองโดยการทบทวน เน้อื หาและอภปิ รายถึงวธิ ีการคาดคะเนของนักเรียนที่ควรใชสาํ หรับการอานเรื่องอ่นื ๆ เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) การสอนอา นทม่ี ุงเนนใหน ักเรยี นไดเชอ่ื มโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปนรูปธรรมและ เปนระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอะไรบางเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะอาน นักเรียนตองการรูอะไร เก่ียวกับเร่ืองที่จะอา น นักเรียนไดเรยี นรอู ะไรบางจากเร่อื งท่ีอาน) โดยมีขนั้ ตอนการจดั การเรียนการสอน ดังน้ี 1. นําเขาสูบทเรียนดวยการกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยการใชคําถาม การนําดวยรูปภาพหรือ วีดิทศั นท ่ีเกยี่ วกับเน้อื เรอ่ื ง เพอ่ื เชือ่ มโยงเขาสูเร่ืองทีจ่ ะอา น 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีขั้นตอน ดงั นี้ ขั้นที่ 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ข้ัน K มาจาก know (What we know) เปนข้ันตอนท่ีให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่จะอาน แลวบันทึกส่ิงที่ตนเองรูลงใน ตารางชอง K ข้ันตอนน้ีชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ต้ังคาํ ถามกระตุนใหน กั เรียนไดแ สดงความคดิ เห็น ขัน้ ที่ 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ข้ันตอนท่ีใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตองการรูเกี่ยวกับเรื่องท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรียนรวมกนั กาํ หนดคาํ ถาม แลวบันทึกส่งิ ทต่ี องการรูลงในตารางชอง W ขั้นที่ 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เปน ข้ันตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเนื้อเรื่อง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามท่ีกําหนดไวในตารางชอง W จากนั้นนําขอมูลท่ีไดจากการอานมา จัดลาํ ดับความสําคญั ของขอมลู และสรปุ เนื้อหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครแู ละนักเรียนรวมกันสรุปเนือ้ หา โดยการอภิปรายหรือตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนกั เรยี นอาจรว มกันอภิปรายเกย่ี วกบั การใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) การสอนอา นท่ีมุงเนนใหน ักเรยี นมคี วามเขา ใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพ่ือใหไดมา ซ่ึงแนวทางในการหาคําตอบ ซ่ึงนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเร่ืองท่ีจะเรียนและประสบการณเดิม ของนักเรียน โดยมขี ้นั ตอนการจดั การเรียนการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเรื่องท่ีนักเรียนควรรูหรือเรื่องใกลตัวนักเรียน เพื่อชวยให นักเรยี นเขา ใจถงึ การจัดหมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเช่ือมโยงกับเร่ืองทจี่ ะอา นตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเก่ียวกับการอานและการต้ังคําถาม ตามหมวดหมู ไดแก คําถามที่ตอบโดยใชเนื้อหาจากเรื่องท่ีอาน คําถามท่ีตองคิดและคนควา คําถามที่ ไมมคี ําตอบโดยตรง ซ่ึงจะตอ งใชค วามรเู ดิมและสิ่งท่ีผูเ ขยี นเขียนไว 3. นักเรียนอา นเนอื้ เร่ือง ต้ังคาํ ถามและตอบคาํ ถามตามหมวดหมู และรวมกนั อภิปรายเพื่อสรปุ คําตอบ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 น 4. ครแู ละนกั เรียนรว มกันอภิปรายเกี่ยวกบั การใชเทคนิคนดี้ ว ยตนเองไดอ ยา งไร 5. ครูและนักเรยี นอาจรวมกันอภิปรายเก่ียวกับการใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน 2. การใชงานสื่อ QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาท่ีตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคลื่อนท่ีหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสอ่ืน ๆ ที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคล่ือนที่) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สาํ หรับผลิตภณั ฑของ Apple Inc.) ขน้ั ตอนการใชง าน 1. เปด โปรแกรมสําหรับอาน QR Code 2. เล่อื นอปุ กรณอ ิเล็กทรอนิกส เชน โทรศพั ทเ คลื่อนที่ แท็บเล็ต เพอ่ื สองรปู QR Code ไดท ง้ั รูป 3. เปดไฟลห รือลงิ กท ่ีขนึ้ มาหลงั จากโปรแกรมไดอาน QR CODE **หมายเหตุ อปุ กรณท ่ีใชอา น QR CODE ตองเปด Internet ไวเ พ่อื ดึงขอมูล 3. การใชงานโปรแกรมประยุกตความจรงิ เสริม (ภาพเคล่ือนไหว 3 มติ ิ) โปรแกรมประยุกตค วามจรงิ เสรมิ (AR) เปนโปรแกรมที่สรางข้ึนเพื่อเปนส่ือเสริมชวยใหนักเรียนเขาใจ เน้ือหาสาระของบทเรียนอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น สําหรับระดับประถมศึกษาปท่ี 5 จะใชงานผานโปรแกรม ประยกุ ต “AR วิทย ป.5” ซ่ึงสามารถดาวนโหลดไดทาง Play Store หรอื App Store **หมายเหตุ เน่ืองจากโปรแกรมมีขนาดไฟลที่ใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพื้นท่ีจัดเก็บในอุปกรณ อเิ ล็กทรอนกิ สไ มเพียงพออาจตองลบขอมลู บางอยางออกจากอุปกรณกอนติดตง้ั โปรแกรม ข้นั ตอนการตดิ ต้งั โปรแกรม 1. เขาไปที่ Play Store ( ) หรอื App Store ( ) 2. คน หาคาํ วา “AR วทิ ย ป.5” 3. กดเขา ไปทโี่ ปรแกรมประยุกตที่ สสวท. พัฒนา 4. กด “ติดตง้ั ” และรอจนตดิ ตั้งเรียบรอ ย 5. เขาสูโปรแกรมจะปรากฏหนาแรก จากน้ันกด “วิธีการใชงาน” เพื่อศึกษาการใชงานโปรแกรมเบื้องตน ดว ยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธีการใชงานดวยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปด หนังสอื เรยี นหนา ทม่ี ีสญั ลักษณ AR 7. สองรูปท่ีอยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนตเิ มตร และเลือกดูสือ่ ในมมุ มองตาง ๆ ตามความสนใจ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บ คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรในระดบั ประถมศึกษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกี่ยวกบั สงิ่ ตา งๆ รอบตัว และเรียนรูไดด ีทีส่ ดุ ดวยการคน พบ จากการลงมอื ปฏิบัติดว ยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งหา ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนตน จึงควรใหโอกาสนักเรียนมีสวนรวม ในการลงมือปฏบิ ตั ิ การสํารวจตรวจสอบ การคนพบ การตงั้ คาํ ถามเพือ่ นาํ ไปสูการอภิปราย การแลกเปลี่ยนผล การทดลองดว ยคําพดู หรือภาพวาด การอภปิ รายเพอ่ื สรปุ ผลรวมกัน สําหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสูขั้นการคิดแบบนามธรรม มี ความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบเขาดวยกันอยางไร และทํางานอยางไร นักเรียนในชวงวัยน้ีตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบรวมมือ ดังน้ันจึง ควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซ่ึงจะเปนการสรางความสามัคคี และประสานสัมพันธ ระหวา งนกั เรยี นในระดับนด้ี ว ย การจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน การสบื เสาะหาความรูท างวทิ ยาศาสตร การสบื เสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตร หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัวอยาง เปนระบบ และเสนอคําอธิบายเกี่ยวกับสิ่งท่ีศึกษาดวยขอมูลท่ีไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสํารวจ การสืบคน การทดลอง การสรางแบบจําลอง นักเรียนทุกระดับช้ันควรไดรับโอกาสในการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรและพัฒนาความสามารถ ในการคิดและแสดงออกดวยวิธีการที่เช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซึ่งรวมท้ังการต้ังคําถาม การวางแผนและ ดําเนินการสืบเสาะหาความรู การใชเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเก่ียวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะห คําอธิบายท่ีหลากหลาย และการส่ือสารขอ โตแยงทางวทิ ยาศาสตร การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเนื่องกัน จากที่เนนครเู ปนสาํ คญั ไปจนถงึ เนนนกั เรยี นเปนสาํ คัญ โดยแบง ไดดงั นี้ • การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทาง (Structured Inquiry) ครูเปนผูต้ังคําถามและบอก วิธีการใหน ักเรยี นคน หาคําตอบ ครูชแ้ี นะนักเรยี นทกุ ขัน้ ตอนโดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร • การสืบเสาะหาความรูแบบทั้งครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) ครูเปนผูตั้งคําถาม และจัดหาวัสดุอุปกรณท่ีใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลอง ดวยตวั เอง สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ป • การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทํากิจกรรมตามที่ครู กาํ หนด นักเรียนพัฒนาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครูต้ังขึ้น นักเรียนตั้งคําถามในหัวขอท่ี ครูเลอื ก พรอ มทั้งออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตนเอง การสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหองเรยี น เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรูทาง วิทยาศาสตรตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับท่ีนักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี รูปแบบทห่ี ลากหลายตามบรบิ ทและความพรอ มของครูและนกั เรยี น เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Opened Inquiry) ที่นักเรียนเปนผูควบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองตั้งแตการสรางประเด็นคําถาม การสํารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายสง่ิ ทศี่ ึกษาโดยใชขอ มูล (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ท่ี ไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเช่ือมโยงความรูที่เก่ียวของหรือคําอธิบายอ่ืนเพื่อปรับปรุง คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอ่ืน นอกจากน้ี ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูท่ีตนเองเปนผูกําหนด แนวทางในการทํากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครสู ามารถแนะนํานักเรียนไดต ามความเหมาะสม การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมีลักษณะ สําคัญของการสบื เสาะ ดงั นี้ ภาพ วฏั จกั รการสืบเสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตรในหอ งเรยี น สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ผ คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 การจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลอ งกับธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร และกระบวนการทางวิทยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรท่ีมีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายที่บอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอ สรปุ แนวคิด หรอื คาํ อธบิ ายเหลาน้จี ะผสมกลมกลนื อยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณท่ีครูจดั ใหแ กนกั เรยี น ความสามารถในการสังเกตและการส่ือความหมายของนักเรียนในระดับนี้ คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและแนวคิด ทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเริ่มที่จะเขาใจวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตรทํางาน อยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรโดยผานการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเรื่องราวเก่ียวกับ นักวิทยาศาสตร และจากการอภิปรายในหอ งเรยี น นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากข้ึน สามารถ นาํ ความรูมาใชเพื่อกอใหเกิดความคาดหวังเกยี่ วกบั สิ่งตา ง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียนในระดับนี้ ควรเนนไปที่ทักษะการต้ังคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายท่ีมีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานที่ ปรากฏ และการสือ่ ความหมายเก่ยี วกบั ความคดิ และการสํารวจตรวจสอบของตนเองและของนักเรียนคนอื่นๆ นอกจากนี้เรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถเพิ่มความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน วิทยาศาสตร นักเรียนในระดับน้ีควรมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณเก่ียวกับ พยานหลักฐานและความสมั พันธระหวางพยานหลักฐานกับการอธิบาย การเรยี นรวู ิทยาศาสตรของนักเรยี นแตล ะระดับช้ันมพี ฒั นาการเปนลาํ ดบั ดงั น้ี ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1 สามารถ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 2 สามารถ • ตงั้ คําถาม บรรยายคาํ ถาม เขียนเก่ียวกบั • ออกแบบและดําเนนิ การสาํ รวจตรวจสอบ คาํ ถาม เพื่อตอบคําถามที่ไดต ั้งไว • บันทกึ ขอมลู จากประสบการณ สาํ รวจ • สอ่ื ความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ี ตรวจสอบชนั้ เรียน สงั เกต • อภปิ รายแลกเปล่ียนหลักฐานและความคิด • อา นและการอภิปรายเรอ่ื งราวตา ง ๆ • เรยี นรวู าทุกคนสามาเรียนรูวิทยาศาสตรไ ด เกีย่ วกบั วิทยาศาสตร สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ฝ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 สามารถ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 4 สามารถ • ตั้งคาํ ถามทส่ี ามารถตอบไดโดยการใช • ทําการทดลองอยางงาย ๆ • ใหเหตผุ ลเกย่ี วกับการสงั เกต การสอ่ื ฐานความรูท างวิทยาศาสตรและการสังเกต • ทาํ งานในกลมุ แบบรว มมือเพื่อสาํ รวจ ความหมาย • ลงมือปฏิบัตกิ ารทดลองและการอภิปราย ตรวจสอบ • คนหาแหลง ขอมูลท่เี ช่ือถือไดและ • คนหาขอ มูลและการส่อื ความหมายคาํ ตอบ • สรา งคําบรรยายและคาํ อธบิ ายจากส่ิงท่ี บรู ณาการขอมลู เหลาน้ันกบั การสังเกต ของตนเอง สงั เกต • ศกึ ษาประวตั ิการทํางานของ • นาํ เสนอประวัติการทาํ งานของ นักวทิ ยาศาสตร นักวทิ ยาศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 6 สามารถ • สาํ รวจตรอบสอบที่เนนการใชทกั ษะทาง ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 5 สามารถ • สํารวจตรอบสอบ วทิ ยาศาสตร • ตง้ั คําถามทางวทิ ยาศาสตร • ตีความหมายขอมลู และคิดอยางมี • รวบรวมขอ มูลทเ่ี ก่ยี วขอ ง การมองหา แบบแผนของขอมูล การสื่อความหมาย วิจารณญาณโดยมหี ลักฐานสนับสนนุ และการแลกเปล่ยี นเรียนรู คําอธบิ าย • เขา ใจธรรมชาตวิ ทิ ยาศาสตรจ ากประวตั ิการ • เขา ใจความแตกตางระหวา ง ทํางานของนักวิทยาศาสตรท ่ีมคี วามมานะ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี อตุ สาหะ • เขาใจการทํางานทางวิทยาศาสตรผาน ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ข อ ง นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร ทุกเพศท่มี หี ลายเช้ือชาติ วฒั นธรรม สามารถอานขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เนนการสืบเสาะหาความรูทาง วิทยาศาสตรและการจัดการเรียนรทู ี่สอดคลองกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตร จากคมู ือการใชหลักสูตร http://ipst.me/8922 สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
พ คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรูวทิ ยาศาสตร แนวคดิ สําคญั ของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และ ท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 ที่เนนนักเรียนเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เปด โอกาสใหนักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน หองเรยี น เพราะสามารถทําใหค รูประเมนิ ระดับพัฒนาการการเรยี นรขู องนักเรียนได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคน ควา กิจกรรมศึกษาปญ หาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไรก็ ตามในการทํากิจกรรมเหลานี้ตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ชนิ้ เดยี วกันไดส าํ เร็จในเวลาที่แตกตา งกนั และผลงานท่ีไดก อ็ าจแตกตางกนั ดวย เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมเหลานี้ แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรียนไดทําและผลงานเหลานี้ตองใช วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นึกคดิ ท่ีแทจ ริงของนกั เรยี นได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวธิ ี ในสถานการณต าง ๆ ทส่ี อดคลอ งกบั ชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเน่ือง เพื่อจะไดขอมูลท่ี มากพอท่ีจะสะทอนความสามารถทแ่ี ทจ ริงของนกั เรียนได จดุ มุงหมายหลกั ของการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. เพ่ือคนหาและวินิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญใน การสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพ่ือเปน แนวทางใหค รสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยา งเต็มศกั ยภาพ 2. เพือ่ ใชเปนขอมูลยอนกลับสําหรับนักเรียนวามกี ารเรยี นรอู ยางไร 3. เพ่ือใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดานการเรียนรูของนักเรียน แตล ะคน การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพอื่ ปรบั ปรุงการเรยี นการสอน และการประเมนิ เพอื่ ตัดสินผลการเรยี นการสอน การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพื่อบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมี พื้นฐานความรู ประสบการณ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดที่คลาดเคล่ือนอะไรบาง การประเมินแบบนี้สามารถ บงชไ้ี ดวา นกั เรยี นคนใดตองการความชวยเหลอื เปนพเิ ศษในเร่ืองท่ีขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพื่อพัฒนา ทักษะที่จําเปนกอนท่ีจะเรียนเร่ืองตอไป การประเมินแบบน้ียังชวยบงช้ีทักษะหรือแนวคิดที่มีอยูแลวของ นักเรียนอีกดวย การประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน เปนการประเมินในระหวางชวงท่ีมีการเรียนการสอน สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ฟ การประเมินแบบนจี้ ะชวยบงช้ีระดับทีน่ ักเรียนกําลงั เรียนอยใู นเรื่องทไี่ ดส อนไปแลว หรอื บง ช้ีความรูของนกั เรยี นตาม จุดประสงคการเรียนรูท่ีไดวางแผนไว เปนการประเมินที่ใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับครูวาเปนไปตาม แผนการที่วางไวหรือไม ขอมลู ท่ีไดจากการประเมินแบบนีไ้ มใ ชเพอ่ื เปาประสงคใ นการใหร ะดับคะแนน แตเพ่อื ชวยครู ในการปรบั ปรุงการสอน และเพือ่ วางแผนประสบการณต า งๆ ทจ่ี ะใหกับนักเรยี นตอไป การประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดข้ึนเม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนแลว สวนมากเปน “การสอบ” เพ่ือใหระดับคะแนนแกนักเรียน หรือเพื่อใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงชี้ ความกาวหนาในการเรียน การประเมินแบบนี้ถือวามีความสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผูบริหาร อาจารยแ นะแนว ฯลฯ แตก็ไมใชเปนการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครูตองระมัดระวัง เม่อื ประเมินผลรวมเพือ่ ตดั สนิ ผลการเรยี นของนกั เรียน ทง้ั น้เี พ่อื ใหเ กิดความสมดลุ ความยุตธิ รรม และเกดิ ความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอางอิง สวนมากการประเมินมักจะ อางอิงกลุม (norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุมหรือ คะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ การประเมินแบบกลุมน้ีจะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” อยางไรก็ตามการประเมินแบบ อิงกลุมนี้จะมีนักเรียนคร่ึงหน่ึงท่ีอยูต่ํากวาระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุม นอกจากน้ียังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ (criterion reference) ซ่ึงเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑท่ีตั้งเอาไวโดยไมคํานึงถึง คะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ ฉะน้ันจุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑท่ีบอกใหทราบวา ความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวาบรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยที่นักเรียนแตละคน หรือช้ันเรียนแตละช้ัน หรือ โรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสินวาประสบผลสําเร็จก็ตอเมื่อ นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละช้ัน หรือ โรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑท่ีตั้งไว ขอมูล ที่ใชสําหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน สามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรืออิงเกณฑ เทาท่ีผานมาการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนจะใช การประเมนิ แบบอิงกลมุ แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู การเรยี นรจู ะบรรลุตามเปาหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนรทู ีว่ างไว ควรมีแนวทางดังตอไปนี้ 1. วัดและประเมินผลทั้งความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมดา นวิทยาศาสตร รวมท้งั โอกาสในการเรียนรขู องนกั เรยี น 2. วิธีการวดั และประเมนิ ผลตองสอดคลองกบั มาตรฐานการเรียนรูท ี่กาํ หนดไว 3. เกบ็ ขอมลู จากการวัดและประเมินผลอยา งตรงไปตรงมา และตอ งประเมินผลภายใตข อมูลทีม่ ีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนําไปสูการแปลผลและลงขอสรุปที่ สมเหตุสมผล 5. การวดั และประเมนิ ผลตองมคี วามเทย่ี งตรงและเปน ธรรม ท้งั ในดานของวิธีการวัดและโอกาสของการประเมนิ สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ภ คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 วิธกี ารและแหลงขอ มลู ท่ีใชใ นการวดั ผลและประเมินผล เพือ่ ใหก ารวดั ผลและประเมินผลไดส ะทอนความสามารถท่ีแทจรงิ ของนักเรียน ผลการประเมนิ อาจ ไดม าจากแหลง ขอมลู และวธิ กี ารตา งๆ ดงั ตอไปนี้ 1. สังเกตการแสดงออกเปนรายบคุ คลหรอื รายกลุม 2. ช้นิ งาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณท ้ังแบบเปน ทางการและไมเปนทางการ 4. บนั ทกึ ของนกั เรยี น 5. การประชมุ ปรึกษาหารือรวมกันระหวางนักเรียนและครู 6. การวดั และประเมินผลภาคปฏิบตั ิ 7. การวัดและประเมินผลดา นความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูโดยใชแ ฟม ผลงาน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ม ตารางแสดงความสอดคลอ งระหวา งเนอ้ื หาและกจิ กรรม ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 เลม 2 กบั ตัวช้ีวัด กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 หนว ยการ ช่ือกจิ กรรม เวลา ตัวช้วี ดั เรียนรู (ชวั่ โมง) บทที่ 1 วัฏจักรนา้ํ หนวยท่ี 4 เร่อื งที่ 1 แหลง น้าํ 1 • เปรียบเทียบปริมาณนํ้าใน วัฏจักร 1 แ ต ล ะ แ ห ล ง แ ล ะ ร ะ บุ กิจกรรมที่ 1.1 น้าํ แตล ะแหลง บนโลกมี 2 ปริมาณนํ้าที่มนุษยสามารถ อยูเทาใด กิจกรรมท่ี 1.2 ทําอยางไรจงึ จะใชน ้าํ นํามาใชประโยชนได จาก อยา งประหยัดและอนรุ ักษแ หลงน้าํ ใน 1 ขอ มูลทร่ี วบรวมได ทองถน่ิ ได เรอื่ งท่ี 2 เมฆ หมอก นํ้าคาง และน้าํ คางแข็ง • ตระหนักถึงคุณคาของนํ้า กจิ กรรมที่ 2 เมฆ หมอก นาํ้ คาง และ โดยนําเสนอแนวทางการใช นาํ้ คา งแข็งเกิดขึน้ ไดอ ยางไร เรอ่ื งที่ 3 หยาดนํา้ ฟา 1 น้ําอยางประหยัดและการ กิจกรรมท่ี 3 ฝน หมิ ะ และลูกเหบ็ 2 อนุรักษน้ํา เกดิ ข้ึนไดอ ยางไร เร่ืองที่ 4 การหมนุ เวียนของนาํ้ 1 • เปรียบเทียบกระบวนการ กิจกรรมที่ 4 วัฏจกั รนาํ้ เปน อยา งไร 1 เกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง และ กจิ กรรมทายบทท่ี 1 วฏั จักรนํ้า นํา้ คา งแข็ง จากแบบจาํ ลอง บทที่ 2 วฏั จักรการปรากฏของกลุมดาว 1 • เปรียบเทียบกระบวนการ เรอื่ งท่ี 1 ดาวเคราะหและดาวฤกษ 2 เกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ 1 จากขอมลู ทีร่ วบรวมได กจิ กรรมที่ 1 มองเหน็ ดาวเคราะหแ ละ ดาวฤกษไดอยางไร • สรางแบบจําลองที่อธิบาย เรอ่ื งที่ 2 กลุมดาวบนทอ งฟา กิจกรรมที่ 2.1 เหตุใดจงึ เห็นกลมุ ดาว ก า ร ห มุ น เ วี ย น ข อ ง นํ้ า เปน รปู รางตาง ๆ กิจกรรมที่ 2.1 วัฏจักรการปรากฏของ ในวัฏจักรนาํ้ 0.5 • เปรียบเทียบความแตกตาง 0.5 ข อ ง ด า ว เ ค ร า ะ ห แ ล ะ 2 ดาวฤกษจากแบบจาํ ลอง • ใชแผนท่ีดาวระบุตําแหนง 1 และเสนทางการขึ้นและตก 1 ข อ ง ก ลุ ม ด า ว ฤ ก ษ บ น ทองฟา และอธิบายแบบรูป 2 สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ย คูม อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 หนวยการ ชือ่ กิจกรรม เวลา ตวั ชวี้ ัด เรียนรู (ชวั่ โมง) หนวยท่ี 5 กลุมดาวเปน อยางไร เสนทางการขึ้นและตกของ สิ่งมีชีวติ กิจกรรมทายบทท่ี 2 วัฏจกั รการปรากฏของกลมุ ดาว 1 กลุมดาวฤกษบนทองฟาใน รอบป บทที่ 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรมของสิ่งมชี ีวิต 1 • อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ ท า ง เรอื่ งท่ี 1 การถายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของ 1 พันธุกรรมที่มีการถายทอด ส่ิงมีชีวติ จากพอแมสูลูกของพืช สัตว กิจกรรมท่ี 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรม 2 และมนุษย ของพืชมีอะไรบา ง • แสดงความอยากรูอยาก 2 เห็นโดยการถามคําถาม กจิ กรรมท่ี 1.2 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม เ ก่ี ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ที่ ของสัตวมีอะไรบาง 1 คลายคลึงกันของตนเองกับ กิจกรรมที่ 1.3 ลกั ษณะทางพันธุกรรม พอแม 1 ของคนในครอบครัวเปนอยา งไร กจิ กรรมทายบทที่ 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรมของ ส่ิงมีชีวติ บทที่ 2 สิ่งมชี ีวิตกบั ส่ิงแวดลอม 1 • บรรยายโครงสรางและ เรือ่ งท่ี 1 โครงสรางและลกั ษณะของส่ิงมีชีวิตใน 1 ลักษณะของส่ิงมีชีวิต ที่ แหลง ท่ีอยู เหมาะสมกับการดํารงชีวิต กจิ กรรมท่ี 1 โครงสรางและลักษณะของ 2 ซึ่ ง เ ป น ผ ล ม า จ า ก ก า ร ส่ิงมีชีวิตเหมาะสมกบั แหลง ท่ีอยูอ ยา งไร ป รั บ ตั ว ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ใ น เรอ่ื งที่ 2 ความสัมพนั ธร ะหวางส่งิ มีชีวิตกับ 1 แตล ะแหลงท่ีอยู ส่งิ มีชีวิต • อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ กิจกรรมที่ 2 ส่ิงมชี ีวติ สัมพนั ธกบั สง่ิ มีชวี ติ 1 ร ะ ห ว า ง สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ อยางไร สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ เรื่องที่ 3 ความสมั พนั ธระหวางสิง่ มีชีวติ กับ 1 ร ะ ห ว า ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต กั บ ส่งิ ไมม ีชีวิต ส่ิงไมมีชีวิตเพ่ือประโยชน กิจกรรมท่ี 3 สงิ่ มีชีวติ สมั พนั ธกบั 2 ตอ การดาํ รงชวี ติ สง่ิ ไมม ีชีวติ ในแหลงท่ีอยูอยา งไร กจิ กรรมทายบทที่ 2 สงิ่ มชี ีวติ กับส่ิงแวดลอ ม 1 • เขียนโซอาหารและระบุ บทบาทหนาที่ของส่ิงมีชีวิต ท่ีเปนผูผลิตและผูบริโภคใน โซอ าหาร สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ร หนวยการ ชอ่ื กิจกรรม เวลา ตัวช้ีวดั เรียนรู รวมจํานวนช่ัวโมง (ช่วั โมง) • ต ร ะ ห นั ก ใ น คุ ณ ค า ข อ ง ส่ิ ง แ ว ด ล อ ม ท่ี มี ต อ ก า ร ดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดย มีสวนรวมในการดูแลรักษา สิง่ แวดลอ ม 40 หมายเหตุ: กจิ กรรม เวลาทใ่ี ช และสิง่ ที่ตองเตรยี มลว งหนา นั้น ครูสามารถปรับเปลีย่ นเพิ่มเตมิ ไดตามความ เหมาะสมของสภาพทองถ่ิน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ล คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 รายการวสั ดุอปุ กรณวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 2 ลาํ ดบั ท่ี รายการ จาํ นวน/กลมุ จํานวน/หอ ง จํานวน/คน หนวยท่ี 4 วฏั จกั ร 1 บีกเกอรข นาด 500 ลูกบาศกเ ซนติเมตร 1 ใบ 1 อนั 2 หลอดฉดี ยาขนาด 10 ลูกบาศกเซนติเมตร 1 คัน 20 ลติ ร 3 ชอ น 22 ขวด 4 น้าํ 1 อัน 1 ใบ 5 ขวดพลาสตกิ ขนาด 1,000 ลกู บาศกเ ซนติเมตร 1 อนั 1 ใบ 6 ใบเสรจ็ คาน้ํากอนทํากจิ กรรม 1 คนั 1 ฉบบั 1 แกว 1 ฉบับ 7 ใบเสรจ็ คานํ้าหลังทาํ กิจกรรม 1 ดอก 8 คตั เตอร 1 ขวด 9 กระปองทราย 2 แผน 1 กลอง 10 แทง แกว คน 1 กระบอก 11 แกวพลาสติกใส 12 ชอ นพลาสตกิ 13 น้าํ สีผสมอาหาร 14 กระติกนํา้ รอน 1 ใบ 1 กโิ ลกรมั 15 นาํ้ แขง็ 1 ถุง 16 เกลือแกง 1 กลกั 17 ธปู 1 มวน 9 ลกู 18 ไมข ีดไฟ 1 อนั 19 ขวดพลาสติก ขนาด 1,500-2,000 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร 20 กระดาษปรฟู 21 สีเมจิก 22 เทปใส 23 ลกู เตา วัฏจักรน้าํ 24 อุปกรณใหสญั ญาน เชน นกหวดี 25 ไฟฉายขนาดใหญ สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ว ลําดับท่ี รายการ จาํ นวน/กลุม จาํ นวน/หอง จํานวน/คน 1 กระบอก 26 ไฟฉายขนาดเล็ก 1 กลอ ง 1 ลกู 27 กลองกระดาษทึบพรอ มฝาปด 1 อนั 1 รปู 28 วัตถุทรงกลมขนาดเล็ก 5 ชุด 1 อัน 29 แวน กันแดด 1 เรือน 1 แผน 30 รูปกลุม ดาวของนกั ดาราศาสตร 1 วง 31 แผนทด่ี าว 32 เข็มทิศ 33 นาฬกิ า 34 กระดาษแกวสแี ดง 35 ยางรัดของ หนวยท่ี 5 สงิ่ มีชวี ิต 1 บัตรภาพตนพืชรนุ ลูก 1 ชดุ 1 ชุด 2 บัตรภาพตน พชื รุนพอแม 1 ชุด 1 กลอง 3 บัตรภาพครอบครัวของสัตว 1 เร่ือง 4 สไี ม 5 วีดทิ ัศน สารคดเี กี่ยวกับสิง่ มชี ีวติ ตาง ๆ ในแหลงที่อยู สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
1 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจักร หน่วยท่ี 4 วัฏจกั ร ภาพรวมการจดั การเรยี นรูป้ ระจำหน่วยที่ 4 วฏั จักร บท เร่อื ง กจิ กรรม ลำดบั การจดั การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด บทที่ 1 วัฏจกั รน้ำ เรื่องท่ี 1 แหลง่ น้ำ กจิ กรรมท่ี 1.1 น้ำแต่ • โลกปกคลมุ ไปดว้ ยนำ้ จดื และนำ้ เคม็ ซึ่ง ว.3.2 ละแหล่งบนโลกมีอยู่ อยู่ในแหลง่ น้ำตา่ ง ๆ เทา่ ใด ป.5/1 เปรียบเทยี บปรมิ าณ • นำ้ เคม็ และนำ้ จดื มปี ริมาณร้อยละ น้ำในแต่ละแหล่ง และระบุ กิจกรรมท่ี 1.2 ทำ 97.5 และ 2.5 ตามลำดบั ปริมาณนำ้ ทมี่ นุษยส์ ามารถ อย่างไรจึงจะใชน้ ำ้ นำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ จาก อย่างประหยดั และ • ปรมิ าณน้ำจดื เรยี งลำดับจากมากไป ข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ อนุรักษ์แหลง่ น้ำใน นอ้ ยไดด้ ังน้ี ธารน้ำแข็งและพืดนำ้ แขง็ ทอ้ งถิ่นได้ นำ้ ใตด้ นิ ช้ันดนิ เยือกแขง็ คงตัวและ ป.5/2 ตระหนักถึงคณุ คา่ ของ นำ้ แข็งใตด้ ิน ทะเลสาบ ความชื้นในดนิ น้ำโดยนำเสนอแนวทางการ ความชน้ื ในบรรยากาศ บงึ แม่น้ำ และ ใช้น้ำอย่างประหยัดและการ นำ้ ในสงิ่ มชี วี ิต อนุรักษ์นำ้ • นำ้ จดื ที่มนษุ ยน์ ำมาใชไ้ ดม้ ปี ริมาณนอ้ ย มาก จงึ ควรใช้น้ำอย่างประหยดั และ ร่วมกนั อนรุ ักษน์ ้ำเพอ่ื ให้มีนำ้ ไวอ้ ปุ โภค บริโภคตอ่ ไป • แหล่งน้ำในธรรมชาติ สามารถจำแนกได้ เปน็ 2 ประเภท คอื แหล่งนำ้ ผิวดนิ และแหลง่ น้ำใต้ดิน • แหล่งนำ้ ผวิ ดิน เช่น ทะเล มหาสมทุ ร บึง แม่น้ำ • แหลง่ น้ำใตด้ นิ ไดแ้ ก่ นำ้ ในดิน และน้ำ บาดาล • ไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเปน็ ละอองนำ้ เล็ก ๆ โดยมลี ะอองลอย เชน่ ฝุ่นละออง หรืออนุภาคอนื่ ๆ เป็นอนภุ าค แกนกลาง เมอ่ื ละอองนำ้ จำนวนมาก เกาะกลมุ่ รวมกันลอยอยู่ในทอ้ งฟ้า เรียกว่า เมฆ แตล่ ะอองน้ำท่ีเกาะกลุ่ม รวมกันอยใู่ กลพ้ นื้ โลก เรยี กว่า หมอก
คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วัฏจกั ร 2 บท เร่อื ง กิจกรรม ลำดบั การจัดการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด เรือ่ งที่ 2 เมฆ หมอก กิจกรรมท่ี 2 เมฆ ป.5/4 เปรยี บเทยี บ นำ้ ค้าง และนำ้ ค้าง หมอก นำ้ ค้าง และ • ไอน้ำท่ีควบแนน่ เป็นละอองนำ้ เกาะอยู่ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก แข็ง น้ำค้างแขง็ เกดิ ขนึ้ ได้ บนพ้นื ผิววตั ถใุ กล้พนื้ โลก เรียกวา่ น้ำคา้ ง และน้ำคา้ งแข็ง จาก อยา่ งไร น้ำค้าง ถ้าอณุ หภูมิใกล้พน้ื โลกต่ำกวา่ แบบจำลอง เรอ่ื งท่ี 3 หยาดน้ำฟ้า จดุ เยือกแข็ง น้ำค้างจะกลายเป็น กิจกรรมที่ 3 ฝน หิมะ น้ำค้างแข็ง ป. 5/5 เปรียบเทยี บ ลกู เห็บ เกดิ ข้นึ ได้ กระบวนการเกิดฝน หมิ ะ อย่างไร • ฝนเกดิ จากละอองนำ้ ในเมฆทีร่ วมตวั กัน และลกู เห็บ จากขอ้ มลู ท่ี จนอากาศไมส่ ามารถพยุงไวไ้ ด้จึงตกลง รวบรวมได้ มา • หิมะเกดิ จากไอนำ้ ในอากาศระเหดิ กลับ เป็นผลกึ นำ้ แข็ง รวมตวั กันจนมนี ำ้ หนัก มากขน้ึ จนเกนิ กวา่ อากาศจะพยงุ ไวจ้ งึ ตกลงมา • ลูกเหบ็ เกดิ จากหยดนำ้ ทีเ่ ปลีย่ นสถานะ เป็นนำ้ แข็งแล้วถกู พายุพดั วนซ้ำไปซ้ำมา ในเมฆฝนฟา้ คะนองทม่ี ีขนาดใหญแ่ ละ อยใู่ นระดับสูงจนเปน็ กอ้ นนำ้ แข็งขนาด ใหญข่ นึ้ แล้วตกลงมา เรื่องท่ี 4 การ กจิ กรรมท่ี 4 วฏั จกั ร • ทั้งฝน หมิ ะ และลูกเหบ็ เปน็ หยาดน้ำ ป.5/3 สร้างแบบจำลองที่ หมนุ เวยี นน้ำ น้ำเปน็ อยา่ งไร ฟา้ ซง่ึ เป็นนำ้ ท่ีมสี ถานะตา่ ง ๆ ทต่ี กจาก อธิบายการหมนุ เวยี นของน้ำ ฟ้าถงึ พื้นโลก ในวฏั จักรนำ้ • วัฏจกั รน้ำ เป็นแบบรูปการหมนุ เวยี น อย่างต่อเนอื่ งของน้ำผวิ ดิน น้ำใตด้ นิ น้ำในบรรยากาศ และนำ้ จากกิจกรรม ต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวติ • การเปลย่ี นทีอ่ ยขู่ องแหล่งน้ำจาก แหล่งนำ้ หนงึ่ ไปยังอกี แหลง่ หนงึ่ อาจมี การเปลยี่ นสถานะหรือไมเ่ ปลีย่ นสถานะ ก็ได้ การเปล่ยี นที่อยู่ของอนุภาคนำ้ จาก แหล่งนำ้ เดมิ ไปยงั แหล่งนำ้ ใหมไ่ มว่ ่าจะ เกิดขนึ้ ทีบ่ ริเวณใดในโลกจะมี กระบวนการเปลีย่ นแปลงทเี่ ปน็ แบบรปู คงท่ี สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วัฏจกั ร 6 บท เรื่อง กิจกรรม ลำดับการจัดการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั บทที่ 2 วัฏจักรการ เร่ืองที่ 1 ดาวเคราะห์ กิจกรรมท่ี 1 มองเห็น • ดาวฤกษ์เป็นแหล่งกำเนิดแสงจึง ว 3.1.1 เปรียบเทียบ ปรากฏของกล่มุ ดาว และดาวฤกษ์ ด า ว เค ร า ะ ห์ แ ล ะ ส า ม า ร ถ ม อ ง เห็ น ได้ ส่ ว น ความแตกต่างของ ดาวฤกษ์ได้อยา่ งไร ดาวเคราะห์ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสง ดาวเคราะห์ แต่สามารถมองเห็นได้เน่ืองจาก และดาวฤกษ์จาก แสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบ แบบจำลอง ดาวเคราะห์แลว้ สะทอ้ นเข้าสูต่ า เรื่องที่ 2 กลุ่มดาวบน กิจกรรมที่ 2.1 เหตุใด • การมองเห็ นกลุ่มดาวฤกษ์ มี ว. 3.1.2 ใช้แผนทดี่ าว ทอ้ งฟา้ จึงเห็น กลุ่มดาวเป็น รูปร่างต่าง ๆ เกิดจากจินตนาการ ระบตุ ำแหนง่ และ รูปร่างตา่ ง ๆ ของผูส้ งั เกต เสน้ ทางการข้ึนและ กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจักร ตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ ก า ร ป ร า ก ฏ ข อ ง • กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ท่ีปรากฏใน บนทอ้ งฟา้ และ กลุม่ ดาวเป็นอย่างไร ท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่ อธบิ ายแบบรปู ละดวงเรียงกันที่ตำแหน่งคงที่ เส้นทางการขน้ึ และ และมีเส้นทางการขึ้นและตก ตกของกลุ่มดาวฤกษ์ ตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซ่ึงจะ บนท้องฟา้ ในรอบปี ปรากฏตำแหนง่ เดมิ • การสังเกตตำแหน่ง การขึ้นและ ตกของดาวฤกษ์ และกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทำได้โดยใช้แผนท่ีดาว ซ่ึงระบุมุมทิศและมุมเงยท่ีกลุ่ม ดาวน้ันปรากฏ ผู้สังเกตสามารถ ใช้มือในการประมาณค่าของมุม เงยเม่ือสังเกตดาวบนท้องฟา้
ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 วัฏจกั ร 4 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
5 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร บทที่ 1 วัฏจักรน้ำ จดุ ประสงค์การเรยี นรูป้ ระจำบท บทนมี้ ีอะไร เมื่อเรียนจบบทน้ี นักเรียนสามารถ เรื่องที่ 1 แหลง่ นำ้ 1. เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแต่ละแหล่งและระบุ กิจกรรมที่ 1.1 นำ้ แต่ละแหล่งบนโลกมอี ย่เู ท่าใด ปริมาณนำ้ ที่มนษุ ย์สามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ กจิ กรรมที่ 1.2 ทำอย่างไรจึงจะใช้น้ำอย่างประหยัด 2. นำเสนอแนวทางการใช้น้ำอย่างประหยัดและ การอนรุ กั ษ์น้ำ และอนุรกั ษแ์ หลง่ นำ้ ในท้องถิน่ ได้ 3. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง เรอ่ื งท่ี 2 เมฆ หมอก น้ำคา้ ง และน้ำคา้ งแขง็ และน้ำคา้ งแข็ง กิจกรรมที่ 2 เมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง 4. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และ ลกู เห็บ เกิดขนึ้ ได้อยา่ งไร 5. สร้างแบบจำลองการหมุนเวียนของน้ำใน เรือ่ งท่ี 3 หยาดนำ้ ฟา้ วัฏจกั รน้ำ กิจกรรมที่ 3 ฝน หิมะ และลูกเหบ็ เกิดขน้ึ ไดอ้ ย่างไร เรอื่ งท่ี 4 การหมุนเวยี นของน้ำ เวลา 14 ชวั่ โมง กจิ กรรมที่ 4 วฏั จักรนำ้ เป็นอย่างไร แนวคิดสำคญั พ้ืนผิวโลกมีน้ำปกคลุมเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงเกือบท้ังหมด เป็นน้ำเค็ม ส่วนน้ำจืดที่นำมาใช้ได้มีปริมาณน้อยมาก เราจึงต้องใช้น้ำอย่างประหยัด น้ำจากแหล่งน้ำต่าง ๆ ท้ัง น้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน น้ำในบรรยากาศ และน้ำในส่ิงมีชีวิต เกิดการหมุนเวียนระหว่างแหล่งต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง ฝน หิมะ และลูกเห็บ เป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้เกิดการหมุนเวียน ของน้ำเปน็ วัฏจกั ร ส่อื การเรียนรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น ป.5 เล่ม 2 หนา้ 1 - 44 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 1 - 33 ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 วฏั จักร 6 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 รหัส ทักษะ 1.1 กจิ กรรมท่ี 4 1.2 2 3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวดั S3 การใชจ้ ำนวน S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง สเปซกับสเปซ สเปซกับเวลา S6 การจัดกระทำและส่อื ความหมายข้อมลู S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู S9 การตงั้ สมมติฐาน S10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ S11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C1 การสร้างสรรค์ C2 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร หมายเหต:ุ รหสั ทกั ษะที่ปรากฏน้ี ใช้เฉพาะหนงั สอื คูม่ ือครเู ลม่ นี้
7 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จกั ร แนวคดิ คลาดเคล่อื น แนวคิดคลาดเคล่ือนทอ่ี าจพบและแนวคดิ ทถี่ ูกต้องในบทท่ี 1 วฏั จกั รน้ำ มีดังต่อไปนี้ แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น แนวคิดท่ถี ูกต้อง วัฏจักรนำ้ เกีย่ วขอ้ งกบั การแข็งตัวและการหลอมเหลว วัฏจกั รนำ้ เก่ียวขอ้ งกับการระเหยของนำ้ การควบแน่นของ ของนำ้ (Brody, 1993) ไอน้ำ และหยาดนำ้ ฟ้า (ฝน หิมะ ลกู เห็บ) (UCAR, 2011) น้ำระเหยจากทะเลสาบและมหาสมุทรเท่านนั้ การระเหยของน้ำผิวดิน นอกจากจะมีการระเหยจากทะเลสาบ (Henriques, 2000) และมหาสมุทรแล้ว นำ้ ยงั ระเหยจากแหล่งน้ำผิวดินอ่นื ๆ เช่น บงึ ลำธาร แมน่ ้ำ และยังระเหยจากพืช และสัตว์ได้ (USGS, เมฆเปน็ แกส๊ (Philips, 1991) 1967 and The Hydrologic Cycle (Pamphlet), USGS, 1984)) น้ำเม่ือกลายเปน็ ไอหรือเดอื ดจะหายไปตลอดกาล (Philips, เมฆประกอบดว้ ยน้ำทงั้ ที่เป็นสถานะของเหลวและของแข็ง 1991) (NARST, 2000) น้ำเมื่อกลายเปน็ ไอ ไอนำ้ จะควบแนน่ เปน็ ละอองน้ำตกลงมา กลายเป็นฝน และการหมนุ เวยี นของนำ้ ในธรรมชาติจะมีการ หมนุ เวยี นเป็นวฏั จักร (NARST, 2000) ถา้ ครูพบว่ามีแนวคดิ คลาดเคลื่อนใดทย่ี งั ไม่ได้แก้ไขจากการทำกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูควรจัดการเรยี นรู้เพ่ิมเติมเพ่อื แก้ไข ตอ่ ไป ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 วฏั จักร 8 บทนีเ้ ร่มิ ต้นอยา่ งไร (1 ชัว่ โมง) 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเก่ียวกับวัฏจักร ซ่ึงเคยเรียน ใน ก าร ท บ ท ว น ค ว า ม รู้ ผ่านมาแล้วในช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 เร่ืองวัฏจักรชีวิตของพืชดอก พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียน และชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เร่ืองวัฏจักรชีวิตของสัตว์ โดยใช้คำถาม คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ดังน้ี อดทน นักเรียนต้องตอบคำถาม 1.1 วัฏจักรคืออะไร และปรากฏการณ์ใดบา้ งท่ีเป็นวัฏจักร (วัฏจักร เหล่านี้ได้ถูกต้อง หากตอบไม่ได้ คือช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์หรือกิจกรรมชุดหนึ่งซ่ึงเกิดขึ้น หรือลืม ครูต้องให้ความรู้ที่ และดําเนินติดต่อกันไปเป็นแบบรูปคงท่ีและหมุนเวียนกลับไปท่ี ถูกตอ้ งทนั ที จุดเริ่มต้นน้ันอีกต่อเน่ืองไปไม่มีส้ินสุด เช่น วัฏจักรชีวิต ของพชื ดอก วัฏจักรชวี ติ ของสตั ว์) 2. ครูชักชวนนักเรียนศกึ ษาเรื่องวฏั จักร โดยให้อ่านช่อื หน่วย และอ่าน คำถามสำคัญประจำหน่วยท่ี 4 คือ “วัฏจักรน้ำและวัฏจักร การปรากฏของกลุม่ ดาวเป็นอย่างไร และสำคญั กบั มนุษยอ์ ย่างไร” ครูให้นักเรียนตอบคำถาม โดยยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้ นักเรียนย้อนกลบั มาตอบอกี ครั้งหลังเรียนจบหน่วยนแ้ี ลว้ 3. ครูให้นักเรียนอ่านชื่อบท และจุดประสงค์การเรยี นรู้ประจำบท ใน หนงั สือเรียนหน้า 1 จากนั้นครใู ชค้ ำถามว่า 3.1 บทนี้จะได้เรยี นเรื่องอะไร (วฏั จกั รน้ำ) 3.2 จากจุดประสงค์การเรยี นรู้เมื่อเรียนจบบทนี้นักเรียนสามารถทำ อะไรได้บ้าง (จะสามารถเปรียบเทียบปริมาณน้ำในแต่ละแหล่ง แ ล ะ ร ะ บุ ป ริ ม า ณ น้ ำ ท่ี ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ น ำ ม า ใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ได้ นำเสนอแนวทางการใช้น้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้ำ เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคา้ ง และน้ำคา้ งแข็ง เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ รวมท้ังสร้าง แบบจำลองการหมนุ เวยี นของน้ำในวฏั จกั รนำ้ ) 4. นักเรียนอ่านชื่อบทและแนวคิดสำคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 2 จากน้นั ครูใช้คำถามว่า จากการอา่ นแนวคดิ สำคัญ นกั เรยี นคดิ ว่าจะ ได้เรียนเก่ียวกับเรื่องอะไรบ้าง (จะได้เรียนเกี่ยวกับปริมาณน้ำจืด น้ำเค็ม น้ำที่มนุษย์นำไปใช้ประโยชน์ การใช้น้ำอย่างประหยัด กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง ฝน หิมะ และ ลูกเห็บ และการหมนุ เวียนของน้ำเป็นวัฏจกั ร) สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
9 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 วัฏจกั ร ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และแสดงความคิดเห็นว่าเป็นรูป อะไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร จากน้ันให้อา่ นเนอ้ื เรื่องในหน้า 2 โดย ครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถ ของนักเรียน ครูใช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามว่า น้ำตกแห่งนี้ เป็นน้ำท่ีไดโนเสาร์เคยดื่มมาก่อน หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 5. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับวัฏจักรน้ำในสำรวจความรู้ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ก่อนเรยี น คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 6. นักเรียนทำสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 2-3 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของ อดทน และรับฟังแนวความคิด นักเรียน จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้ ของนักเรยี น นักเรียนตอบคำถาม โดยคำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และ คำตอบอาจถกู หรอื ผิดก็ได้ 7. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ สำหรับครู แนวคิดเกี่ยวกับวัฏจักรน้ำอย่างไร โดยอาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 คน เพือ่ จดั การเรียนร้ใู นครงั้ ถัดไป นำเสนอคำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้ นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังเรียนจบบทนี้แล้ว ทั้งนี้ ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้ ครูอาจบันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่น่าสนใจของ เรยี นเร่ืองท่ี 1 แหล่งนำ้ ครูนำรปู นักเรียน แล้วนำมาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อ แหลง่ น้ำตา่ ง ๆ ทใี่ กล้ตัวนักเรียน แก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนให้ถูกต้อง และต่อยอดแนวคิดท่ีน่าสนใจ เชน่ มหาสมุทร ทะเล บงึ แม่น้ำ ของนักเรียน น้ำในดิน น้ำบาดาล ธารนำ้ แข็ง เพ่ือให้นกั เรียนสังเกตและจัดกลุ่ม แหลง่ นำ้ ในการตรวจสอบความรู้ ของนักเรยี น ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381