Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 13:36:53

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชีวติ 260 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม การสำรวจความรูก้ ่อนเรยี น นักเรยี นอาจตอบคำถามถกู หรือผิดก็ได้ขึน้ อย่กู บั ความรเู้ ดมิ ของนักเรยี น แตเ่ ม่ือเรียนจบบทเรียนแล้ว ใหน้ กั เรยี นกลบั มาตรวจสอบคำตอบอกี คร้ังและแก้ไขให้ถกู ต้อง ดังตวั อยา่ ง คำตอบมีไดห้ ลากหลายขนึ้ อยกู่ บั การสงั เกตของนกั เรียน เชน่ เป็ด มขี าและตนี สำหรับใชเ้ ดินบนพน้ื ดิน ซึ่งเหมาะสมกับการดำรงชวี ติ บนบก และตนี ของเปด็ ก็มีพังผดื ระหว่างนิว้ ชว่ ยในการว่ายนำ้ ซง่ึ เหมาะสมกับ การดำรงชวี ิตในนำ้ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

261 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชวี ิต - ความสัมพันธ์ด้านการกินกันเป็นอาหาร เช่น ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ปลากินพืชน้ำ - ความสัมพันธ์ด้านการเป็นที่อยู่อาศัย เช่น นกอาศัยอยู่บนต้นไม้ กบ อาศยั อยบู่ นใบบวั - ปลา สาหร่าย กบ เป็ด มีความสัมพันธ์กับน้ำ โดยใช้น้ำเป็นท่ีอยู่อาศัย และดำรงชีวติ - ต้นไม้และหญ้า มีความสัมพันธ์กับดินและแสง โดยหญ้าใช้ดินเป็นที่อยู่ อาศัยและใชแ้ สงในการสร้างอาหาร ต้นข้าว หนู งู เหยีย่ ว ต้นขา้ ว หนู งู เหย่ยี ว ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 สงิ่ มชี ีวิต 262 มนุษยไ์ มส่ ามารถนำนำ้ มาใช้ประโยชนไ์ ด้ น้ำเนา่ เสีย สง่ กลน่ิ เหม็น สิ่งมชี ีวติ ท่อี าศัยอยูใ่ นนำ้ จะตาย กำจัดขยะและไมท่ ิ้งขยะหรือสิ่งปฏิกลู ต่าง ๆ ลงไปในแหล่งน้ำ ร่วมกนั รณรงคใ์ ห้ช่วยกันดูแลรกั ษาแหลง่ น้ำ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

263 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชีวิต เรื่องที่ 1 โครงสร้างและลักษณะของส่งิ มชี ีวิตในแหล่งทีอ่ ยู่ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับโครงสร้าง และลักษณะของสิ่งมชี ีวิตท่ีเหมาะสมกับแหล่งท่ีอยตู่ ่าง ๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัว เพ่ือการดำรงชีวิตและ อยรู่ อดของส่งิ มชี ีวติ ในแต่ละแหลง่ ทอ่ี ยู่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สงั เกต รวบรวมขอ้ มูล และบรรยายโครงสร้างและ ลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตใน แหลง่ ที่อยู่ เวลา 3 ชว่ั โมง วสั ดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม ส่ือการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ - 1. หนงั สอื เรยี น ป.5 เล่ม 2 หนา้ 99-107 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 89-94 3. วดี ิทัศน์ เรอ่ื ง มารู้จักสตั ว์ในป่าชายเลน https://youtu.be/BAjQi-DJQn4 ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 สิ่งมีชีวติ 264 แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาที) ขัน้ ตรวจสอบความรู้ (10 นาท)ี 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตใน ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียง แหล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ โดยอาจให้นักเรียนสังเกตรูปสิ่งมีชีวิตหนึ่งชนิดใน รับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็นสำคัญ แหล่งท่ีอยู่ เช่น รูปยีราฟกำลังกินใบไม้ที่อยู่บนต้นไม้ จากน้ันอภิปราย และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ ให้กับ โดยใช้คำถาม ดงั นี้ นักเรียน แต่ชักชวนนักเรียน ไปหา 1.1 ส่ิงมีชีวิตที่นักเรียนเห็นในรูปมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามท่ีสังเกต คำตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เชน่ ยีราฟ ตน้ ไม)้ ในบทเรยี นน้ี 1.2 แหล่งที่อยู่ในรูปมีลักษณะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตามที่สงั เกตได้ เช่น เปน็ ท่งุ หญ้า มตี น้ ไม้สูง) 1.3 สิ่งมีชีวิตน้ีมีโครงสร้างและลักษณะเหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่น้ี อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ยีราฟมี คอยาว มีขา 4 ขา ทำให้สามารถกินใบไมจ้ ากตน้ ไมส้ งู ๆ ได้) 2. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเร่ืองโครงสร้างและ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ โดยใช้คำถามว่า โครงสร้างและ ลักษณะของส่ิงมีชีวิตชนิดอื่น ๆ เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ อยา่ งไร ขั้นฝึกทักษะจากการอ่าน (35 นาที) 3. ครูให้นกั เรียนอ่านช่อื เรอ่ื งและคิดกอ่ นอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า 99 แล้ว ร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพื่อหาแนวคำตอบตามความเข้าใจของกลุ่ม ครู บันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบหลัง การอ่านเรือ่ ง 4. นกั เรียนอา่ นคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรยี นอ่าน ไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากน้ันครูชักชวนให้นักเรียนอธิบาย ความหมายของคำสำคญั จากเน้ือเร่ืองที่จะอา่ น 5. นักเรียนอ่านเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 99-100 โดยครูฝึกทักษะการ อ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครู ตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดงั นี้ 5.1 แหลง่ ท่ีอยู่ คอื อะไร (บริเวณทีส่ ิ่งมชี วี ติ อาศยั อยู่) 5.2 แหลง่ ทอี่ ยใู่ นเรื่องนค้ี ือที่ใด (ปา่ ชายเลน) สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

265 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชีวิต 5.3 ป่าชายเลนมีลักษณะเป็นอย่างไร (มีลักษณะเป็นดินเลน มีน้ำท่วมถึง หากนักเรียนไม่สามารถตอบ สมำ่ เสมอ น้ำเป็นนำ้ กร่อย) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.4 นักเรียนรู้จักน้ำกร่อยหรือไม่ (นักเรียนตอบตามความเป็นจริง ซ่ึง อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน อาจจะร้จู ักหรือไม่รู้จกั ) แ ล ะ รั บ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง นักเรียน 5.5 น้ำกร่อยมีลักษณะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง ถ้านักเรียนยังตอบไม่ได้ ครูควรอธิบายเพิ่มเติมว่า น้ำกร่อย เป็นน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำทะเลและน้ำจืด หรือน้ำท่ีมีปริมาณ สารละลายเกลอื มากกว่าท่ีมีอยู่ในน้ำจืด แต่ไม่มากเท่ากับปริมาณที่ มอี ยู่ในนำ้ เคม็ ) 5.6 สิ่งมีชีวิตท่พี บในป่าชายเลนมอี ะไรบ้าง (ตน้ โกงกาง ตน้ แสม ต้นลำพู ตน้ เหงอื กปลาหมอ ปลาตนี ปกู า้ มดาบ ลิงแสม กุ้งดีดขัน) 5.7 พืชท่ีพบในป่าชายเลนมีลักษณะแตกต่างกับพืชท่ีอยู่บนบกหรือไม่ อย่างไร (แตกต่างกัน คือ พืชในป่าชายเลนจะมีรากย่ืนออกมาจาก ลำต้น หรือมีรากแทงขึ้นมาเหนือดิน แต่พืชที่อยู่บนบกจะมีรากอยู่ ใตด้ ิน) 5.8 ถ้าเรานำต้นไม้บริเวณรอบ ๆ โรงเรียนไปปลูกในป่าชายเลน ต้นไม้ เหล่านั้นจะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ต้นไม้เหล่าน้ันดำรงชีวิตอยู่ ไม่ได้ เพราะรากต้นไม้เหล่านั้นมีลักษณะแตกต่างกับรากพืชใน ปา่ ชายเลน ทำใหไ้ มเ่ หมาะสมกับการดำรงชวี ิตในปา่ ชายเลน) 5.9 พืชและสัตว์ต่าง ๆ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในป่าชายเลนได้อย่างไร (พืชและสัตว์เหล่านี้มีการปรับตัวหรือปรับโครงสร้างและลักษณะ ของร่างกายใหเ้ หมาะสมกับการดำรงชวี ติ ในปา่ ชายเลน) 6. ครูให้นักเรียนสังเกตโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน โดยใช้แอปพลิเคชัน “AR วิทย์ ป.5” สำหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง สามมิติ (AR) เรื่องโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ใน หนงั สอื เรียน หนา้ 99 เป็นสอื่ ประกอบเพ่ิมเติม 7. ครูอาจจะให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เร่ืองมารู้จักสัตว์ในป่าชายเลน เพ่ือ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะของ ส่งิ มชี ีวติ ในป่าชายเลน ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 ส่งิ มีชีวติ 266 ข้ันสรปุ จากการอ่าน (15 นาที) การเตรยี มตวั ลว่ งหน้าสำหรบั ครู เพอ่ื จดั การเรียนรใู้ นครง้ั ถัดไป 8. ครูให้นักเรียนร่วมกนั สรปุ เรื่องท่ีอ่านซึ่งควรสรุปได้ว่าส่ิงมชี ีวิตชนิดต่าง ๆ ในป่าชายเลนมีการปรับตัวหรือปรับโครงสร้างและลักษณะของร่างกาย ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะได้ทำ ใหเ้ หมาะสมกับการดำรงชีวติ ในแหลง่ ทีอ่ ยู่ กิจกรรมที่ 1 โครงสร้างและลักษณะของ สิ่งมีชีวิตเหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่อย่างไร 9. นกั เรียนตอบคำถามในรหู้ รือยงั ในแบบบันทกึ กจิ กรรม หนา้ 89 โดยครูอาจเตรียมส่ือการสอนสำหรับ 10. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายเพ่อื เปรยี บเทียบคำตอบของนักเรียนใน เลน่ เกม ดงั นี้ รู้หรือยัง กับคำตอบทเ่ี คยตอบและบนั ทึกไว้ในคิดก่อนอา่ น • รปู ส่ิงมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด เช่น กบ 11. ครูให้นักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องท่ีอ่าน ดังนี้ “พืชและสัตว์ในแหล่งท่ีอยู่ เป็ด นก มด ผ้ึง บัว สาหรา่ ย ฯลฯ อื่น ๆ มีการปรับตัวด้านโครงสร้างและลักษณะให้เหมาะสมกับ • รูปแหล่งที่อยู่ท่ีส่ิงมีชีวิตน้ันอาศัย แหลง่ ทอ่ี ยอู่ ยา่ งไร” อยู่ เช่น ดนิ แหล่งนำ้ ต้นไม้ ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยังไม่เฉลยคำตอบแต่ เพื่อให้นักเรียนสังเกตและจับคู่รูป ชักชวนให้นักเรยี นหาคำตอบจากการทำกิจกรรม ส่ิงมีชีวิตกับแหล่งท่ีอยู่ สำหรับนำเข้าสู่ กิจกรรมที่ 1 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

267 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชีวิต แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม ป่าชายเลน มีลกั ษณะเป็นดินเลน มีน้ำทว่ มถึงสมำ่ เสมอ นำ้ เป็นนำ้ กรอ่ ย ส่งิ มีชวี ติ ในป่าชายเลน เชน่ ตน้ โกงกาง ตน้ แสม ต้นลำพู ต้นลำแพน ตน้ เหงอื กปลาหมอ ปลาตนี ปกู ้ามดาบ ลิงแสม กุ้งดดี ขนั สงิ่ มีชวี ติ เหลา่ นนั้ มีโครงสร้างและลักษณะเหมาะสมกบั การดำรงชีวิตในแหลง่ ที่อยู่ เชน่ ตน้ โกงกาง มรี ากยืน่ ออกมาจากลำต้นและปักลงดินเลนเพือ่ ช่วยคำ้ ลำต้น ต้นแสมและตน้ ลำแพน มีรากแทงขึน้ มาเหนือดนิ เพอ่ื ช่วยในการหายใจ ตน้ แสมและต้นเหงือกปลาหมอมีต่อมขับเกลอื เพ่ือขบั เกลือสว่ นเกนิ ออก ปลาตนี ก็มีครีบอกทแี่ ขง็ แรง ใชใ้ นการวา่ ยน้ำและการเคล่ือนท่ีไปบนดนิ เลน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 ส่งิ มชี ีวิต 268 กจิ กรรมที่ 1 โครงสร้างและลักษณะของส่งิ มชี วี ติ เหมาะสมกับแหล่งทีอ่ ยู่อย่างไร กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้สังเกตและรวบรวมข้อมูล สอ่ื การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ หน้า 101-105 เก่ียวกับโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ หน้า 90-94 ต่าง ๆ เพื่อบรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ 1. หนังสือเรยี น ป.5 เลม่ 2 เหมาะสมกบั การดำรงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่นนั้ ๆ 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.5 เล่ม 2 เวลา 2 ชั่วโมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล และบรรยายโครงสร้างและ ลั ก ษ ณ ะ ข อ งส่ิ งมี ชี วิต ท่ี เห ม า ะ ส ม กั บ ก า รด ำร งชี วิ ต ใน แหลง่ ทอ่ี ยู่ วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม - ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

269 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สิ่งมีชวี ิต แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียง รับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็นสำคัญ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตใน และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ ให้กับ แหล่งทีอ่ ยตู่ ่าง ๆ โดยนำรปู สงิ่ มชี วี ิตชนิดต่าง ๆ เช่น กบ เปด็ นก มด บัว นักเรียน แต่ชักชวนนักเรียน ไปหา สาหร่าย ฯลฯ และแหล่งท่ีอยู่ที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นอาศัยอยู่ เช่น แหล่งน้ำ คำตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ บนพ้ืนดิน ต้นไม้ มาให้นักเรียนจับคู่รูปส่ิงมีชีวิตกับแหล่งที่อยู่น้ัน ๆ ในบทเรยี นนี้ จากนัน้ ให้นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายโดยใช้คำถามดงั ต่อไปน้ี 1.1 สิ่งมีชวี ติ ท่นี กั เรียนเห็นในรูปมีอะไรบา้ ง (นักเรียนตอบตามที่สังเกตได้) 1.2 สิ่งมีชีวิตเหล่านี้มีโครงสร้างและลักษณะใดที่เหมาะสมกับการ ดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่ และเหมาะสมอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง โดยครูนำรูปสิ่งมีชีวิตและแหล่งท่ีอยู่ที่ นักเรียนจบั คไู่ ว้มาถามทลี ะค)ู่ 2. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 1 โดยใช้คำถามว่า ส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ จะมีโครงสร้างและลักษณะแตกต่างกัน หรอื ไม่ อย่างไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากน้ันร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั นี้ 3.1 กจิ กรรมน้ีนักเรยี นจะได้เรียนเร่ืองอะไร (โครงสรา้ งและลักษณะของ สง่ิ มชี ีวติ ท่ีเหมาะสมกบั การดำรงชีวิตในแหล่งท่อี ยู่) 3.2 นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ ร่ืองนด้ี ว้ ยวิธีใด (การสงั เกตและรวบรวมขอ้ มลู ) 3.3 เมือ่ เรยี นแลว้ นักเรียนจะทำอะไรได้ (บรรยายโครงสร้างและลักษณะ ของสิ่งมีชีวิตท่เี หมาะสมกับการดำรงชวี ิตในแหล่งท่ีอยู่) 4. นกั เรียนบันทึกจดุ ประสงคล์ งในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หน้า 90 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม จากน้ันร่วมกัน อภปิ รายเพ่ือสรุปขั้นตอนการทำกจิ กรรม โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้ 5.1 นักเรียนต้องทำอะไรเป็นอันดับแรก (เลือกส่ิงมีชีวิต 1 ชนิด จาก แหล่งที่อยู่หน่ึง ๆ ในท้องถิ่นของตนเอง สังเกตและวาดรูปสิ่งมีชีวิต ที่แสดงให้เห็นโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต พร้อมระบุชื่อ แหล่งที่อยนู่ ั้น) 5.2 นักเรียนจะต้องทำอะไรต่อไป (รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้าง และลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ิตทเี่ ลือก) ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 ส่ิงมชี ีวิต 270 5.3 นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลหรือสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้าง ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ และลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ได้จากที่ใดบ้าง (อินเทอร์เน็ต หนังสือ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทน่ี ักเรยี นจะได้ สอบถามครูหรอื ผ้ปู กครอง) ครูอาจแนะนำแหล่งสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเพ่ิมเติมให้ ฝกึ จากการทำกิจกรรม นักเรียน ซ่งึ อาจใช้คำว่า “การปรับตวั ของสิ่งมีชวี ิต หรืออากาศร้อน กบั การปรบั ตวั ของสิ่งมชี วี ิต” สำหรับการคน้ หาขอ้ มลู S1 สังเกตโครงสร้างและลักษ ณ ะของ ส่ิงมชี ีวิตท่ีเลือกในทอ้ งถนิ่ ของตนเอง 5.4 เม่ือรวบรวมข้อมูลแล้ว นักเรียนจะต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกัน อภิปรายว่า โครงสร้างและลักษณะใดของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับ S8 ลงความเห็นจากข้อมูลที่ได้จากการ การดำรงชวี ติ ในแหลง่ ท่อี ยู่ และเหมาะสมอย่างไร บันทึกผล) สั ง เก ต แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เก่ี ย ว กั บ โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ี 5.5 นักเรียนต้องอ่านใบความรู้เร่ืองอะไร (โครงสร้างและลักษณะของ เหมาะสมกบั การดำรงชีวิตในแหลง่ ทีอ่ ยู่ สิ่งมชี วี ิตในแหลง่ ทอี่ ย่ตู ่าง ๆ) C2 วเิ คราะหแ์ ละบรรยายเกี่ยวกับโครงสรา้ ง 5.6 เม่ืออ่านใบความรู้แล้ว นักเรียนจะต้องทำอะไร (อภิปรายเก่ียวกับ และลักษณะของส่ิงมีชวี ิตท่ีเหมาะสมกับ โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ การดำรงชวี ิตในแหลง่ ทอ่ี ยู่ตา่ ง ๆ ได้ นำเสนอ) C4 การส่ือสารโดยนำเสนอข้อมูลจากการ 6. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเริ่ม อ่านใบความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและ ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของกจิ กรรม ลกั ษณะร่างกายของสิ่งมชี ีวติ ทเี่ หมาะสม กับแหลง่ ท่อี ยู่ ใหผ้ ูอ้ ่นื เข้าใจ 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถาม ดังตอ่ ไปนี้ C5 การทำงานร่วมกับผู้อ่ืนในการสังเกต 7.1 ส่ิงมีชีวิตที่นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกสังเกตมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบ รวบ รวม ข้อมูล และอ ภิ ป รายเพ่ื อ ตามผลการทำกิจกรรมในห้องเรยี น เช่น นกกางเขน) บ ร ร ย า ย โค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง 7.2 สิ่งมีชีวิตท่ีเลือกมีแหล่งที่อยู่ท่ีใด (นักเรียนตอบตามผลการทำ สิง่ มีชีวติ ในแหลง่ ทอ่ี ยู่ กิจกรรมในหอ้ งเรียน เช่น บนต้นไม้) 7.3 ส่ิงมีชีวิตน้ันมีโครงสร้างและลักษณะที่เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่น้ี C6 การใช้เทคโนโลยีการสารสนเทศและ อย่างไร (นักเรียนตอบตามที่สังเกต เช่น นกมีปีก มีขา 2 ขา การส่อื สารในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ มีนิ้วตีน 4 นิ้ว อยู่ด้านหน้า 3 น้ิว ด้านหลัง 1 นิ้ว ทำให้นกบนิ ไปยึด โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ี เกาะกับตน้ ไม้ได)้ เหมาะสมกบั แหล่งทอ่ี ยู่ 7.4 ข้อมูลจากใบความรู้ มีแหลง่ ทอี่ ยู่แบบใดบ้าง (แหล่งนำ้ ขัว้ โลกเหนือ ทะเลทราย) 7.5 แหล่งท่อี ยูแ่ ตล่ ะแหล่งมีลกั ษณะเป็นอย่างไร - แหล่งน้ำมีลักษณะเป็นอย่างไร (มีน้ำใส มีพืชน้ำและสัตว์น้ำ อาศัยอยู่ มดี ินท่ีชนื้ แฉะอยูใ่ ต้นำ้ ) - บริเวณข้ัวโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร (อากาศหนาวเย็น ตลอดปี มีหมิ ะปกคลมุ ) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

271 คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สิ่งมีชวี ิต - บริเวณทะเลทรายมีลักษณะเป็นอย่างไร (อุณหภูมิสูงหรือ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อากาศร้อนในเวลากลางวันแต่จะมีอุณหภูมิต่ำหรืออากาศ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว หนาวจัดในเวลากลางคืน พ้ืนที่มีความแห้งแล้ง และมีทราย คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน ปกคลุมทวั่ บริเวณ) คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง อดทน และรับฟังแนวความคิด 7.6 ในแหล่งน้ำมีส่ิงมีชีวิตอะไรบ้าง (ปลา กุ้ง หอย กบ ผักตบชวา ของนักเรียน ผกั กระเฉด) ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ สำหรบั ครู 7.7 สิง่ มีชีวิตที่อยู่ในแหล่งน้ำมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ในแหล่งที่อยู่อย่างไร (ปลามีครีบและกบมีพังผืดเชื่อมระหว่างนิ้ว ในการเลือกสิ่งมีชีวิตนักเรียนอาจจะ ช่วยในการวา่ ยน้ำ ภายในก้านใบของผักตบชวามีช่องอากาศจำนวน เลือกสัตว์เลี้ยงท่ีบ้านของตนเอง เช่น แมว มาก และผักกระเฉดมนี วมสีขาวห้มุ ลำตน้ ชว่ ยใหล้ ำตน้ ลอยนำ้ ได้) เปอร์เซีย สุนัขพันธ์ุไซบีเรียน ซึ่งนักเรียน อาจจะระบุแหล่งท่ีอยู่ตามการสังเกตของ 7.8 บริเวณขั้วโลกมีส่ิงมีชีวิตอะไรบ้าง (หมีขั้วโลก นกฮูกขั้วโลก นักเรียน และอาจจะไม่สามารถบอกได้ว่า นกเพนกวิน หมาป่าข้ัวโลก) โครงสร้างและลักษณะน้ันเหมาะสมกับ การดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่อย่างไร ซ่ึงครู 7.9 ส่ิงมีชีวิตที่อยู่บริเวณขั้วโลกมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับการ ควรหาวิธีอธิบายเพ่ิมเติม โดยอาจหารูป ดำรงชวี ติ ในแหลง่ ทอี่ ยอู่ ย่างไร (หมขี ั้วโลก มีขนหนาปกคลุมรา่ งกาย สนุ ัขที่มีโครงสรา้ งและลักษณะแตกต่างกัน และมีช้ันไขมันหนาใต้ผิวหนัง เพื่อช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ขนสีขาว เช่น สุนัขพันธุ์ท่ีมีขนส้ันและขนยาว ช่วยให้กลมกลืนกับแหล่งท่ีอยู่ซ่ึงมีหิมะปกคลุม นกฮูกขั้วโลก มีขน มาให้นักเรียนดูเปรียบเทียบกัน และถาม ดกแน่นท่ีอุ้งเท้า เพ่ือให้เกาะบนก่ิงไม้ท่ีมีหิมะปกคลุม นกเพนกวิน นักเรียนว่าสุนัขสองพันธุ์มีโครงสร้างและ มีช้ันไขมันหนาใต้ผิวหนัง มีขนแน่นปกคลุมร่างกาย เพ่ือช่วยให้ ลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และ ร่างกายอบอุ่น หมาป่าขั้วโลกมีขนสีขาว มีใบหูและจมูกสั้น เพ่ือลด ถามต่อไปว่า โครงสร้างและลักษณะนั้น ๆ การระบายความร้อน) ข อ ง สุ นั ข แ ต่ ล ะ พั น ธุ์ เห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร ดำรงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่แต่ละแหล่งอย่างไร 7.10 บรเิ วณทะเลทรายมีสิ่งมชี ีวติ อะไรบ้าง (อูฐ สุนัขจง้ิ จอกทะเลทราย ซึ่งแต่ละคำถามครูอาจจะคอยชี้แนะเพ่ือ กระบองเพชร) นำไป สู่คำตอบ และความเข้าใจของ นกั เรยี น 7.11 ส่ิงมีชีวิตที่อยู่บริเวณทะเลทรายมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับการ ดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่อย่างไร (อูฐ มีโหนกสำหรับเก็บไขมันไว้ใช้ เมื่อไม่มีอาหาร มีขนตายาวเพ่ือป้องกันฝุ่นทรายเข้าตา มีขายาว เพื่อให้ลำตัวอยู่ห่างจากพื้นทรายที่ร้อน มีเท้าที่มีพ้ืนท่ีกว้างเพ่ือ ไม่ให้จมลงไปในทราย สุนัขจ้ิงจอกทะเลทราย มีขนท่ีใบหูเพ่ือ ป้องกันไม่ให้ทรายเข้าหู มีใบหูใหญ่และมีจมูกยาวช่วยระบาย ความร้อนในร่างกาย กระบองเพชร มีการลดรูปใบให้มีขนาดเล็ก แหลม แข็งคล้ายหนามเพ่ือลดการสูญเสียน้ำ มีการกักเก็บน้ำ ภายในลำตน้ ทำให้มลี ำตน้ อวบน้ำ) 7.12 จากรูปนก ไก่ เป็ด มีโครงสร้างและลักษณะใดท่ีแตกต่างกัน (นิ้วตีนของนก ไก่ เปด็ มโี ครงสรา้ งและลกั ษณะแตกตา่ งกนั ) ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สง่ิ มชี ีวติ 272 7.13 ลักษณะน้ิวตีนของนก ไก่ เป็ด แตกต่างกันอย่างไร แต่ละ โครงสร้างและลักษณะเหมาะสมกับการดำรงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ อย่างไร (นกมีน้ิวตีนข้างหน้า 3 น้ิว ข้างหลัง 1 น้ิว ช่วยให้เกาะ กิ่งไม้ได้แน่น ไก่มีนิ้ว 4 นิ้ว น้ิวด้านหลังยกสูง ตีนใหญ่หนา แข็งแรง ช่วยให้คุ้ยเข่ียหาอาหารบนดินได้สะดวก เป็ดมีตีนที่มี พังผืดระหว่างน้วิ ชว่ ยในการว่ายน้ำ) 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า สิ่งมีชีวิตมีโครงสร้าง และลักษณะของร่างกายที่เหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลจาก การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพ่ือให้สามารถดำรงชีวิตและอยู่รอดได้ ในแหลง่ ทีอ่ ยู่น้นั ๆ (S13) 9. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร แล้วร่วมกันอภิปรายคำตอบ โดยครู อาจใช้คำถามเพมิ่ เติมในการอภปิ รายเพ่ือให้ได้แนวคำตอบที่ถกู ต้อง 10. นักเรียนอ่าน ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปท่ีได้จากการ อภิปราย 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเก่ียวกับเร่ืองที่สงสัยหรืออยากรู้ เพ่ิมเติมใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกยี่ วกบั คำถามท่นี ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใด แลว้ ให้บนั ทกึ ในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หน้า 94 13. นักเรียนอา่ น เกร็ดนา่ รู้ ในหนงั สือเรยี น หนา้ 106 และอภิปรายร่วมกัน เก่ียวกับโครงสร้างและลักษณะของแมงมมุ มด 14. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 107 ครูนำ อภิปรายเพ่ือนำไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับส่ิงที่ได้เรียนรู้ในเรื่องน้ี จากน้ันครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเน้ือเร่ือง ซึ่งเป็นคำถาม เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเน้ือหาในบทถัดไป ดังน้ี “สิ่งมีชีวิตที่ ดำรงชีวิตอย่ใู นแหลง่ ท่อี ยู่เดียวกนั จะมคี วามสัมพนั ธ์กบั สิง่ มชี ีวิตด้วยกัน หรือไม่ อย่างไร” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง ซ่ึง จะหาคำตอบได้จากการเรยี นในบทต่อไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

273 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชวี ิต แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม สังเกต รวบรวมข้อมูล และบรรยายโครงสร้างและ ลักษณะของส่ิงมีชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกับการดำรงชีวิตในแหล่งทีอ่ ยู่ นกั เรยี นตอบตามส่ิงมีชีวิตท่ีแต่ละกลุ่มเลือก เชน่ นกกางเขน บนตน้ ไม้ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชีวติ 274 นกกางเขน มีขาและตนี ซ่ึงมีนิ้วข้างหน้า 3 นิ้ว ข้างหลงั 1 น้วิ ทำใหย้ ึดเกาะก่ิงไมไ้ ด้ ปลามีครีบ กบมีพังผดื เช่ือมระหว่างน้ิว คลา้ ยใบพาย ช่วยในการว่ายนำ้ ผกั ตบชวา ภายในกา้ นใบและลำตน้ มีช่องอากาศจำนวนมาก ผักกระเฉด มีนวม สขี าวหุ้มลำตน้ ช่วยให้ลำต้นลอยน้ำได้ดี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

275 ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชวี ติ - หมีขว้ั โลก มีขนหนาปกคลุมร่างกาย มีช้นั ไขมนั หนาใต้ผิวหนงั ช่วยให้รา่ งกายอบอุ่น มขี นสีขาวเพ่อื ให้กลมกลืนกับแหล่งท่ีอยู่ - นกฮูกข้วั โลก มีขนดกแน่นทอี่ ุ้งเทา้ เพ่ือให้ยนื บนก่ิงไม้ท่ีมีหิมะปกคลุมได้ - นกเพนกวนิ มชี ้ันไขมันหนาใตผ้ ิวหนัง มีขนแน่นปกคลุมรา่ งกาย ชว่ ยให้รา่ งกายอบอ่นุ - หมาปา่ ขั้วโลกมใี บหแู ละจมูกส้ัน ช่วยลดการระบายความร้อน - อฐู มีโหนกไว้เกบ็ ไขมันไว้ใช้เม่อื ไม่มอี าหาร มขี นตายาวเพ่อื ป้องกนั ฝ่นุ ทรายเข้าตา มีขา ยาวเพื่อใหล้ ำตัวอยู่หา่ งจากพน้ื ทรายทรี่ ้อน มเี ทา้ ท่ีมีพน้ื ท่ีกว้างเพื่อไม่ให้จมลงไปในทราย - สนุ ัขจ้ิงจอกทะเลทราย มขี นทใ่ี บหูเพื่อปอ้ งกันไมใ่ ห้ทรายเข้าหู มีใบหใู หญแ่ ละจมกู ยาว ชว่ ยระบายความร้อนในรา่ งกาย - กระบองเพชร มกี ารลดรปู ใบใหม้ ีขนาดเลก็ แหลม แข็งคล้ายหนามเพ่ือลดการสญู เสียนำ้ มีการกกั เก็บน้ำภายในลำตน้ ทำให้มลี ำตน้ อวบนำ้ แตกตา่ งกัน โดยนกมีน้ิวตนี ข้างหน้า 3 นิ้ว ขา้ งหลัง 1 น้ิว ช่วยใหเ้ กาะก่ิงไม้ได้ สว่ นไกม่ ีน้วิ 4 นวิ้ โดยน้ิวตีนด้านหลงั ยกสูง นว้ิ ตนี มักใหญห่ นา ทำให้คุ้ยเขี่ย หาอาหารได้สะดวก สว่ นเปด็ มตี ีนทมี่ ีพงั ผดื ระหวา่ งน้ิว ช่วยในการวา่ ยน้ำ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 สิง่ มชี ีวิต 276 สิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่มีโครงสร้างและลักษณะเหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ โดย สิง่ มีชีวิตที่อยู่ในน้ำจะมีโครงสร้างและลกั ษณะร่างกายทีช่ ่วยในการว่ายน้ำหรือช่วย ในการลอยน้ำ สิ่งมีชีวิตท่ีอยู่บริเวณขั้วโลกมีโครงสร้างและลักษณะร่างกายท่ีช่วย รักษาอุณหภูมิหรือลดการระบายความร้อนออกจากร่างกาย สัตว์ที่อยู่บริเวณ ทะเลทรายมีโครงสร้างและลักษณะร่างกายที่ช่วยระบายความร้อน ป้องกันฝุ่น ทราย ส่วนพืชจะมีใบขนาดเล็ก คล้ายหนาม เพ่ือลดการคายน้ำ สิ่งมีชีวิตจำพวก นกก็มลี กั ษณะนวิ้ ตีนแตกตา่ งกันไปตามการดำรงชีวติ ในแหล่งท่ีอยู่ สิ่งมีชีวิตมีโครงสรา้ งและลกั ษณะของรา่ งกายเหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ตา่ ง ๆ ซง่ึ เป็นผลมาจากการปรับตัวของสงิ่ มีชีวติ เพอ่ื ให้สามารถดำรงชวี ิตและอยู่รอดได้ ในแหล่งท่ีอยนู่ ้ัน ๆ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

277 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ คำถามของนกั เรียนทตี่ ้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง √ √ √ √ √√ √ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชีวิต 278 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรียนทำได้ ดงั น้ี 1. ประเมินความร้เู ดิมจากการอภิปรายในช้นั เรียน 2. ประเมินการเรยี นรู้จากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจัดการเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 1 โครงสรา้ งและลักษณะของสง่ิ มชี ีวติ เหมาะสม กบั แหล่งทอี่ ยู่อยา่ งไร ระดบั คะแนน 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ รหสั สิ่งทีป่ ระเมนิ ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร รวมคะแนน สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

279 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชวี ติ ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะ ระดบั ความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต การบรรยายรายละเอียด ส าม า ร ถ ใช้ ป ร ะ ส า ท สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส เก่ียวกับโครงสร้างและ สัมผัสเก็บรายละเอียด เก็บรายละเอียดข้อมูล เก็บรายละเอียด ข้อมูล ลกั ษณะของส่งิ มชี ีวติ ข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้าง เก่ียวกับโครงสร้างและ เก่ียวกับโครงสร้างและ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตได้ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตได้ สิ่งมีชีวิตได้ด้วยตนเอง จากการช้ีแนะของครูหรือ เพยี งบางลกั ษณะ แมว้ ่าจะ โด ยไม่ เพิ่ ม เติ ม ค วาม ผู้อ่ืน หรือมีการเพ่ิมเติม ได้รับคำชี้แนะจากครูหรือ คดิ เหน็ ความคิดเหน็ ผู้อื่น S8 การลง ลงความเห็นจากข้อมูล สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ความเห็นจาก ทีไ่ ดจ้ ากการสังเกตและ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ขอ้ มูล ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ว่ า และการรวบรวมข้อมูล และการรวบรวมข้อมูลว่า และการรวบรวมข้อมูลว่า โครงสร้างและลักษณะ ว่ า โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ โครงสร้างและลักษณะใด โครงสร้างและลักษณะใด ใด ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ที่ ลกั ษณะใดของส่ิงมีชีวติ ที่ ของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสม ของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับ เห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร กั บ ก า ร ด ำ ร ง ชี วิ ต ใ น การดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่ ดำรงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ ดำรงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ แหล่งท่ีอยู่ และเหมาะสม และเหมาะสมอย่างไรได้ และเหมาะสมอย่างไร และเหมาะสมอยา่ งไร ได้ อย่างไร ได้อย่างถูกต้อง เพียงบางส่วน แม้ว่าจะได้ อย่างถกู ต้อง ด้วยตนเอง จากการช้ีแนะของครูหรือ รับคำช้ีแนะจากครูหรือ ผู้อ่นื ผอู้ นื่ S13 การ ตีความหมายข้อมูลจาก สามารถตีความหมาย สาม ารถตี ค วาม ห ม าย ส าม ารถ ตี ค วาม ห ม าย ตคี วามหมายข้อมูล การสังเกตและรวบรวม ขอ้ มูลจากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกตและ และลงข้อสรปุ ข้อมูลเก่ยี วกับโครงสรา้ ง รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง โครงสร้างและลักษณะ โครงสร้างและลักษณ ะ โครงสรา้ งและลักษณะของ สิ่งมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งท่ี ของส่ิงมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ส่ิงมีชีวิตในแห ล่งท่ี อยู่ ต่าง ๆ และลงข้อสรุป อยู่ต่าง ๆ และลงข้อสรุป ตา่ ง ๆ และลงขอ้ สรุปได้ว่า ต่าง ๆ และลงขอ้ สรุปได้ว่า ได้ว่า สิ่งมีชีวิต แต่ละ ไดว้ ่าสง่ิ มีชีวติ แต่ละชนิด ส่ิงมีชีวิต แต่ละช นิดมี สิ่ งมี ชี วิต แ ต่ ล ะ ช นิ ด มี ชนิดมีโครงสร้างและ มีโครงสร้างและลักษณะ โครงสร้างและลักษณ ะ โครงสร้างและลักษณ ะ ลักษณะเหมาะสมกับ เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ เหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ เหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ แหล่งท่ีอยู่น้ัน ๆ ซึ่ง น้ัน ๆ ซ่ึงเป็ นผลจาก นั้น ๆ ซึ่งเป็นผลจากการ นั้น ๆ ซึ่งเป็นผลจากการ เป็นผลจากการปรับตัว การป รับ ตัว เพื่ อการ ปรับตัว เพ่ือการดำรงชีวิต ปรับตัว เพื่อการดำรงชีวิต ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สงิ่ มชี ีวติ 280 ทกั ษะ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) กระบวนการทาง เพื่อการดำรงชีวิตและ ด ำ ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ก า ร อ ยู่ พอใช้ (2) แ ล ะ ก า ร อ ยู่ ร อ ด ได้ เ พี ย ง วทิ ยาศาสตร์ การอยู่รอด รอดได้ ด้วยตนเอง บางส่วน แม้ว่าจะได้รับ และการอยู่รอดได้ จาก คำชแ้ี นะจากครูหรือผู้อ่ืน การชแ้ี นะจากครูและผู้อื่น ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ้ กณฑ์การประเมนิ ดังนี้ ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 พอใช้ (2) C2 การคิด ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ สามารถวิเคราะห์และ สามารถวเิ คราะห์และบรรยาย สามารถวิเคราะห์และ อยา่ งมี บ ร ร ย า ย เกี่ ย ว กั บ บ ร ร ย า ย เ กี่ ย ว กั บ เก่ี ย ว กั บ โค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ บ ร ร ย า ย เ กี่ ย ว กั บ วิจารณญาณ โครงสร้างและลักษณะ โครงสร้างและลักษณะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ งสิ่ งมี ชี วิ ต ท่ี โครงสร้างและลักษณะ ของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสม ของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสม เหมาะสมกับการดำรงชีวิตใน ของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสม กั บ ก า ร ด ำ ร ง ชี วิ ต กั บ ก า ร ด ำ ร งชี วิ ต ใน แห ล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ ได้ โดย กั บ ก า ร ด ำ ร งชี วิ ต ใน ในแหลง่ ทีอ่ ย่ตู ่าง ๆ ได้ แหล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ ได้ด้วย อาศัยการชี้แนะจากครูหรือ แหล่งทีอ่ ยตู่ ่าง ๆ ได้เพียง ตนเอง ผอู้ ่นื บ างส่วน แม้ ว่าจะได้ รับคำช้ีแนะจากครูหรือ ผู้อ่นื C4 การส่อื สาร นำเสนอข้อมูลจากการ สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมูลจาก สามารถนำเสนอข้อมูล อ่านใบความรู้เกี่ยวกับ จากการอ่านใบความรู้ การอ่านใบความรู้เก่ียวกับ จากการอ่านใบความรู้ โครงสร้างและลักษณะ เก่ียวกับโครงสร้างและ โครงสร้างและลักษณะของ เก่ียวกับโครงสร้างและ ของส่ิงมีชีวิตที่เหมาะสม ลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ี ส่ิ งมี ชี วิ ต ท่ี เห ม า ะ ส ม กั บ ลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ี กับแหล่งที่อยู่ โดยเขียน เหมาะสมกับแหล่งที่อยู่ แหล่งที่อยู่ โดยเขียนบรรยาย เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ บรรยาย หรือบรรยาย โดยเขียนบรรยาย หรือ หรอื บรรยายด้วยคำพูดเพ่ือให้ โดยเขียนบรรยาย หรือ ด้วยคำพูดเพื่อให้ผู้อื่น บ ร ร ย า ย ด้ ว ย ค ำ พู ด ผู้อ่ืนเข้าใจได้ โดยอาศัยการ บ ร ร ย า ย ด้ ว ย ค ำ พู ด เขา้ ใจ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วย ชีแ้ นะจากครหู รือผูอ้ ่ืน เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้เพียง ตนเอง บางส่วน แม้ว่าจะได้รับ คำช้ีแนะจากครหู รอื ผอู้ ่ืน C5 ความ ทำงานร่วมกับผู้อื่นใน สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นใน สามารถทำงานร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

281 ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สิ่งมีชวี ิต ทักษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษท่ี 21 ผู้ อื่ น ใ น ก า ร สั ง เก ต พอใช้ (2) ผู้ อื่ น ใ น ก า ร สั ง เก ต ร่วมมอื การสังเกต อภิปรายและ อภิปรายและการแสดง อภิปรายและการแสดง การแสดงความคิดเห็น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ พ่ื อ การสังเกต อภิปรายและการ ความคิดเห็นเพ่ือบรรยาย C6 การใช้ เพื่อบรรยายโครงสร้าง บรรยายโครงสร้างและ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เห็ น เพื่ อ โค ร ง ส ร้ า งแ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ เทคโนโลยี แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตใน บ ร ร ย า ย โค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ใ น สารสนเทศและ ส่ิ ง มี ชี วิ ต ใน แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ แหล่งที่อยู่ต่าง ๆ และ ลักษณะของส่ิงมีชีวิตในแหล่ง แหล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ และ การส่ือสาร ต่าง ๆ และลงความเห็น ลงความเห็นว่าส่ิงมีชีวิต ท่ีอยู่ต่าง ๆ และลงความเห็น ลงความเห็นว่าส่ิงมีชีวิต ว่าสิ่ งมี ชี วิต ใน แต่ ล ะ ใ น แ ต่ ล ะ แ ห ล่ ง ท่ี อ ยู่ มี วา่ สิ่งมีชีวติ ในแต่ละแหล่งทอ่ี ยู่ ใน แต่ละแห ล่งที่อยู่มี แหล่งที่อยู่มีโครงสร้าง โครงสร้างและลักษณะ มี โค รงส ร้างแ ละลั ก ษ ณ ะ โค ร ง ส ร้ า งแ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ และลักษณะเหมาะสม เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่แต่ละ เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ กั บ แ ห ล่ งที่ อ ยู่ แ ต่ ล ะ แ ต่ ล ะ แ ห ล่ ง รว ม ทั้ ง แหล่ง รวมท้ังยอมรับความ แต่ละแหล่ง แต่ไม่ค่อย แหล่ง รวมท้ังยอมรับ ยอมรับความคิดเห็นของ คิ ด เห็ น ข อ ง ผู้ อ่ื น ใน บ า ง สนใจความคิดเห็นของ ความคดิ เห็นของผู้อนื่ ผู้อ่ื น ต้ังแต่ เริ่ม ต้ น จ น ช่วงเวลาที่ทำกจิ กรรม ผู้อ่นื สำเรจ็ ก า ร ใ ช้ เท ค โ น โ ล ยี ส า ม า ร ถ ใ ช้ เท ค โ น โ ล ยี ส า ม า ร ถ ใ ช้ เท ค โ น โ ล ยี ส า ม า ร ถ ใ ช้ เท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศเพื่อสืบค้น ส า ร ส น เท ศ เพ่ื อ สื บ ค้ น สารสนเทศเพ่ือสืบค้นข้อมูล ส า ร ส น เท ศ เพื่ อ สื บ ค้ น ขอ้ มลู เก่ียวกับโครงสรา้ ง ข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้าง เกี่ ย ว กั บ โค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้าง แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง สิ่ งมี ชี วิ ต ท่ี และลกั ษณะของส่ิงมีชวี ิต ส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับ สิ่งมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับ เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ จาก ท่เี หมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ แหลง่ ที่อยู่ แหล่งที่อยู่ ไดด้ ้วยตนเอง การช้แี นะของครูหรือผู้อ่นื ได้เพียงบางส่วน แม้ว่า จะได้รับคำชี้แนะจากครู หรือผ้อู น่ื ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 สิง่ มีชีวิต 282 เร่อื งท่ี 2 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวิตกบั ส่งิ มชี ีวติ ในเร่ืองนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่ หนึ่ง ๆ เพอ่ื ประโยชน์ต่อการดำรงชีวติ เช่น ความสัมพันธด์ ้าน การกินกันเป็นอาหาร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย วางไข่ และเล้ียงดูลูกอ่อน ส่ิงมีชีวิตท่ีมีการกินกันเป็นอาหารจะกิน ต่อกันเป็นทอด ๆ ในรูปแบบของโซ่อาหารซ่ึงจะมีผู้ผลิตและ ผู้บริโภค จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สังเกตและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ ส่งิ มีชวี ติ ในแหล่งท่อี ยู่ เวลา 2 ช่วั โมง วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม สารคดีเกีย่ วกับส่งิ มชี ีวิตชนดิ ตา่ ง ๆ ในแหลง่ ทอี่ ยู่ สื่อการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น ป.5 เลม่ 2 หนา้ 108-114 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หน้า 95-99 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

283 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาท)ี ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ใน ก ารต รว จ ส อ บ ค ว าม รู้ ส่ิงมีชีวิต โดยให้นักเรียนเขียนช่ือสิ่งมีชีวิตที่พบบริเวณโรงเรียนให้ได้มาก ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน ทส่ี ุด จากนั้นนำอภิปรายโดยใช้คำถาม ดงั นี้ และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ 1.1 ส่ิงมีชีวิตที่พบในบริเวณโรงเรียนมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม ชักชวนใหน้ ักเรยี นไปหาคำตอบด้วย ขอ้ มลู จริง) ตนเองจากการอ่านเน้อื เรื่อง 1.2 สง่ิ มชี ีวิตแต่ละชนดิ มคี วามสัมพนั ธก์ ันหรือไม่ อย่างไร (นกั เรยี นตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง) 2. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้คำถามว่าส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่หน่ึง ๆ มี ความสัมพันธ์กันหรอื ไม่ อยา่ งไร ขัน้ ฝึกทักษะจากการอา่ น (40 นาที) 3. ครูให้นักเรียนอ่านช่ือเร่ือง และคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า 108 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือหาแนวคำตอบตามความเข้าใจของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบ ภายหลังการอา่ นเร่ือง 4. นกั เรียนอา่ นคำสำคญั ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ (หากนักเรียนอ่าน ไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากน้ันครูชักชวนให้นักเรียนอธิบาย ความหมายของคำสำคญั จากเนอื้ เร่ืองทจี่ ะอา่ น 5. นักเรียนอ่านเนื้อเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 108 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน ตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูตรวจสอบ ความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดงั น้ี ย่อหนา้ ที่ 1-2 5.1 สิ่งมีชีวิตที่พบในทุ่งนามีอะไรบ้าง (หญ้า ควาย นกเอี้ยง แมลงกุดจ่ี หนอน) 5.2 สิ่งมีชีวิตเหล่าน้ีมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง (ควายและหนอนกิน หญ้า นกเอ้ียงกินหนอนและแมลง แมลงกุดจ่ีกินมูลควาย วางไข่ และเลย้ี งดลู กู ออ่ นในกอ้ นมลู ควาย) ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิง่ มชี ีวติ 284 5.3 การย่อยสลายมูลควายมีประโยชน์อย่างไร (การย่อยสลายมูลควาย หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ทำให้เกิดธาตุอาหารในดิน ซึ่งต้นหญ้าจะได้รับธาตุอาหารและ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว เจรญิ เติบโตเปน็ อาหารของควายและหนอนต่อไป) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 5.4 ถา้ ไม่มเี ห็ด รา จะเกิดอะไรขน้ึ เพราะเหตใุ ด (มูลควายจะกองทับถม แ ล ะ รั บ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง จำนวนมากข้ึน เพราะไม่มีเห็ด ราช่วยย่อยสลายมูลควาย และ นักเรียน ตน้ หญา้ จะไม่มีธาตุอาหาร สตั วต์ า่ ง ๆ กไ็ มม่ อี าหาร) ย่อหนา้ ท่ี 3-5 5.5 ส่ิงมีชีวิตท่ีมีการกินกันเป็นอาหารโดยการกินต่อกันเป็นทอด ๆ เรยี กว่าอะไร (โซ่อาหาร) 5.6 โซ่อาหารประกอบดว้ ยอะไรบ้าง (ผผู้ ลติ และผูบ้ ริโภค) 5.7 ผู้ผลิตและผู้บริโภคแตกต่างกันอย่างไร (ผู้ผลิตเป็นส่ิงมีชีวิตที่สร้าง อาหารเองได้ ส่วนผู้บริโภคเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้อง กินสงิ่ มีชวี ิตอ่นื เปน็ อาหาร) 5.8 สิ่งมชี ีวิตทเ่ี ปน็ ผผู้ ลิตมอี ะไรบา้ ง (พืช สาหร่าย แบคทเี รียบางชนดิ ) 5.9 สิ่งมีชวี ิตที่เป็นผ้บู ริโภคมอี ะไรบ้าง (สัตว์ตา่ ง ๆ) 5.10 นักเรียนสามารถเขียนโซ่อาหารได้อย่างไร (เขียนโดยใช้ลูกศร แสดงทิศทางการถ่ายทอดพลังงาน โดยให้หัวลูกศรชี้ไปทาง สงิ่ มชี ีวิตที่เปน็ ผบู้ ริโภค) ครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน ออกมาเขียนโซ่อาหารบนกระดาน พร้อมทั้งระบุสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและส่ิงมีชีวิตที่เป็นผู้บริโภค หรืออาจ ให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมติ โดยครูทำลูกศรและบัตรภาพสิ่งมีชีวิต 5 ชนิดที่นอกเหนือจากตัวอย่างในเร่ืองที่อ่าน แล้วสุ่มนักเรียน 5 คน ออกมาแสดงเป็นส่ิงมีชีวิตในโซ่อาหาร โดยให้นักเรียนแต่ละคนถือบัตร ภาพสิ่งมีชีวิต 1 ชนิด พร้อมลูกศร จากน้ันให้เพื่อนนักเรียนที่เหลือ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง 5.11 ถ้าส่ิงมีชีวิตบางชนิดในทุ่งนาแห่งนี้ย้ายที่อยู่หรือตายไป จะส่งผล กระทบตอ่ โซ่อาหารหรือไม่ อย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ ของตนเอง เช่น ส่งผลกระทบ โดยถ้าไม่มีหนอน นกเอี้ยงก็จะไม่มี อาหาร ทำใหน้ กเอี้ยงมีจำนวนลดลง อาจยา้ ยท่ีอยู่ หรอื ตายไป) 5.12 ครใู ห้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้ แอปพลิเคชัน “AR วิทย์ ป.5” สำหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง สามมิติ (AR) เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ในหนังสือเรียน หนา้ 108 เป็นส่ือประกอบเพ่ิมเติม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

285 คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชวี ิต ขัน้ สรุปจากการอ่าน (10 นาที) การเตรยี มตัวล่วงหน้าสำหรับครู เพือ่ จดั การเรียนรู้ในครง้ั ถดั ไป 6. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ เรอ่ื งที่อ่าน ซึง่ ควรสรปุ ได้วา่ ส่ิงมีชวี ติ ในแหลง่ ทอี่ ยู่ หน่ึง ๆ จะมีความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกันในด้านต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ต่อ ใน ค รั้งถั ด ไป นั ก เรีย น จ ะ ได้ ท ำ การดำรงชีวิต เช่น การกินกันเป็นอาหาร เป็นที่อยู่อาศัย หลบภัย วางไข่ กิจกรรมท่ี 2 ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับ และเล้ียงดูลูกอ่อน โดยสิ่งมีชีวิตจะมีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ส่ิงมีชีวิตอย่างไร ซึ่งนักเรียนจะต้องสังเกต ในรปู แบบโซอ่ าหาร ซง่ึ ประกอบดว้ ยสิ่งมชี วี ิตที่เป็นผู้ผลติ และผู้บริโภค และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวติ กับ ส่ิงมีชีวิต จากการชมสารคดเี ก่ียวกบั ส่ิงมีชีวิต 7. นักเรียนตอบคำถามในรู้หรอื ยงั ในแบบบนั ทึกกิจกรรม หน้า 95 ชนิดต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่ โดยครูเตรียมส่ือ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียนใน เพ่ือจัดการเรยี นการสอน ดงั นี้ ร้หู รือยงั กับคำตอบที่เคยตอบและบนั ทึกไวใ้ นคดิ กอ่ นอ่าน 1. บัตรภาพแหล่งท่ีอยู่แห่งหน่ึงซึ่งมี 9. ครูให้นักเรียนตอบคำถามท้ายเร่ืองที่อ่าน ดังนี้ “นอกจากในทุ่งนาแล้ว ส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ เช่น รูปป่า มีต้นไม้ แหล่งน้ำ มีหนอนอยู่บนต้นไม้ มีแม่นกกำลัง สิง่ มชี วี ิตในแหลง่ ทอ่ี ยู่อืน่ ๆ มีความสมั พันธ์กันอย่างไร” ปอ้ นหนอนให้แก่ลูก ในแหลง่ นำ้ มกี บกำลงั ใช้ ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยังไม่เฉลยคำตอบแต่ ลิ้นตวัดกินแมลง เป็นตน้ เพ่ือทบทวนความรู้ พ้นื ฐานและนำเขา้ สู่กิจกรรม ชักชวนใหน้ กั เรยี นหาคำตอบจากการทำกจิ กรรม 2. สารคดีเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ใน แหล่งที่อยู่ ที่เห็นรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตในด้านต่าง ๆ เช่น ที่อยู่อาศัย การกินกัน เป็นอาหาร ตัวอย่างสารคดีเช่น ความลับ แห่งพงไพร (ช่ือตอนสารคดียอดนักเจาะ นกหัวขวานดำ) ชีวิตสัตว์มหศั จรรย์ (ชื่อตอน สัตว์มหัศจรรย์ตอนการเอาชนะความแห้ง แล้งในแทนซาเนีย หรือช่ือตอนสารคดี แพรี่ด๊อก&อาร์มาดิลโล่ยักษ์) สุดยอดสารคดี เปิดโลกกว้าง (ช่ือตอนสารคดีนักล่าแห่ง เวหา) สำรวจโลก (ช่ือตอนสารคดีสำรวจโลก สญั ชาตญาณนกั ลา่ ตอน นักล่าในปา่ ฝน) ครูควรศึกษาสารคดีมาล่วงหน้า และ เลือกเปิดช่วงที่เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง สง่ิ มีชวี ิตกบั สิง่ มชี วี ติ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 สง่ิ มีชีวติ 286 แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม กินกันเปน็ อาหาร เปน็ ทอ่ี ยู่อาศัย หลบภัย วางไข่และเล้ียงดลู ูกอ่อน สง่ิ มีชวี ิตมกี ารกินตอ่ กันเป็นทอด ๆ ผูผ้ ลิต เป็นสิ่งมชี ีวิตที่สร้างอาหารเองได้ สว่ นผบู้ รโิ ภค เป็นสิ่งมชี ีวติ ท่ี สรา้ งอาหารเองไม่ได้ ต้องกนิ ส่ิงมีชวี ิตอ่ืนเป็นอาหาร สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

287 คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชวี ติ กิจกรรมท่ี 2 สิ่งมชี วี ติ มีความสัมพนั ธก์ บั สง่ิ มีชีวติ อย่างไร กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้สังเกตความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต จากการชมสารคดีเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ชนิดต่าง ๆ ในแหล่งท่ีอยู่ และเขียนโซ่อาหาร เพื่ออธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวติ และระบุบทบาท หน้าทข่ี องส่ิงมชี วี ติ ในโซอ่ าหาร เวลา 1 ชัว่ โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สังเกตและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ สงิ่ มชี ีวติ ในแหลง่ ทอี่ ยู่ วสั ดุ อุปกรณ์สำหรับทำกิจกรรม สื่อการเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ สงิ่ ท่ีครตู อ้ งเตรยี ม/หอ้ ง 1. หนังสือเรยี น ป.5 เลม่ 2 หน้า 110-112 สารคดีเกยี่ วกบั สิง่ มชี วี ติ ชนดิ ต่าง ๆ ใน 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.5 เล่ม 2 หน้า 96-99 แหล่งทอ่ี ยู่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S6 การจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมลู S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมือ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมชี ีวิต 288 แนวการจดั การเรยี นรู้ ใ น ก า ร ท บ ท ว น ค ว า ม รู้ พ้ื น ฐ า น ค รู ค ว ร ใ ห้ เว ล า นั ก เรี ย น คิ ด อ ย่ า ง 1. ครูทบทวนความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ เห ม าะ ส ม รอ ค อ ย อ ย่ างอ ด ท น สิ่งมีชีวิต โดยนำบัตรภาพแหล่งที่อยู่แห่งหน่ึงซึ่งมีส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ นักเรียนต้องตอบคำถามเหล่านี้ได้ เช่น ป่า มีต้นไม้ แหล่งน้ำ มีหนอนอยู่บนต้นไม้ มีแม่นกกำลังป้อนหนอน ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้อง ให้แก่ลูก ในแหล่งน้ำมีกบกำลังใช้ล้ินตวัดกินแมลง จากน้ันครูให้นักเรียน ให้ความรู้ที่ถกู ต้องทันที รว่ มกันอภปิ รายโดยใช้คำถามดงั ต่อไปน้ี 1.1 ในปา่ แห่งน้ีมสี ง่ิ มีชีวิตชนดิ ใดบา้ ง (ตน้ ไม้ หนอน นก กบ แมลง) 1.2 สิ่งมีชีวติ มีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง (ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ์กัน โดยกนิ กนั เปน็ อาหาร เป็นทอี่ ยู่อาศัย ใช้เลี้ยงดูลกู อ่อน) 1.3 จากรูปสามารถเขียนโซอ่ าหารได้อยา่ งไรบ้าง (แมลง กบ ตน้ ไม้ หนอน นก) 2. ครูใช้คำถามเพ่ือเชื่อมโยงความรู้พื้นฐานของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 2 โดยใช้คำถามว่าในแหล่งที่อยู่อื่น ๆ ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในด้าน ใดบ้าง และมีโซ่อาหารเปน็ อยา่ งไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากน้ันร่วมกันอภิปราย เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชวี ติ กับสง่ิ มีชวี ติ ) 3.2 นกั เรยี นจะได้เรียนร้เู รื่องน้ดี ว้ ยวิธีใด (การสงั เกต) 3.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมชี ีวติ กับส่ิงมชี วี ติ ในแหล่งที่อยู่) 4. นกั เรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 96 5. นกั เรยี นอา่ นส่งิ ทตี่ ้องใช้ในการทำกจิ กรรม 6. นักเรียนอ่านทำอย่างไร โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม จากน้ันร่วมกัน อภิปรายเพ่ือสรุปขน้ั ตอนการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้ 6.1 นักเรียนจะได้ชมสารคดีเกี่ยวกับอะไร (สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ใน แหลง่ ท่อี ย)ู่ 6.2 เมื่อชมสารคดีแล้วนักเรียนต้องสังเกตอะไรและทำส่ิงใด (สังเกต ชนิดของสิ่งมีชีวิต และระบุความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ สง่ิ มีชวี ติ ในด้านตา่ ง ๆ) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

289 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชีวติ 6.3 เม่ือชมสารคดีจบแล้วนักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกันอภิปราย หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตในด้านการกินกันเป็น คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว อาหาร บันทกึ ผล) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 6.4 เม่ืออภิปรายแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (เขียนโซ่อาหารและ อดทน และรับฟังแนวความคิด นำเสนอ) ของนักเรียน 6.5 นักเรียนจะนำเสนอโซ่อาหาร ในรูปแบบใด (นักเรียนตอบตาม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ ความคิดของตนเอง โดยนักเรียนสามารถนำเสนอได้หลายรูปแบบ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรียนจะได้ เชน่ เขยี นแผนภาพ แสดงบทบาทสมมติ วาดรูป นิทาน เปน็ ต้น) ฝึกจากการทำกจิ กรรม 7. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนเร่ิม ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนของกิจกรรม S1 สังเกตชนิดของส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ ระหวา่ งส่ิงมชี ีวิตกบั สิง่ มีชีวติ 8. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ดงั ต่อไปนี้ S6 การนำข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาเขียนผัง 8.1 ในสารคดีมีสงิ่ มชี ีวติ ใดบา้ ง (นกั เรียนตอบตามทส่ี ังเกตได้) มโนทศั น์และสอื่ ให้ผู้อ่ืนเขา้ ใจ 8.2 ส่ิงมีชีวิตเหล่าน้ันมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามที่สังเกตได)้ S8 ชมสารคดีแล้วลงความเห็นเกี่ยวกับ 8.3 สิ่งมีชีวิตเหล่าน้ีสามารถอยู่ตามลำพังหรือไม่มีความสัมพันธ์กับ ความสัมพันธ์ระห ว่างส่ิงมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิตอื่นได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ส่ิงมชี วี ติ ในดา้ นตา่ ง ๆ ของตนเอง) 8.4 ส่ิงมีชีวิตท่ีมีการกินกันเป็นอาหารมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามที่ C2 วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ ธิ บ า ย เกี่ ย ว กั บ สงั เกตได)้ ความสัมพันธ์ระห ว่างส่ิงมีชีวิตกับ 8.5 นักเรียนเขียนโซ่อาหารได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามผลการทำ สงิ่ มีชีวติ ในด้านตา่ ง ๆ จากสารคดไี ด้ กจิ กรรม) C4 นำเสนอโซ่อาหารในรูปแบบตา่ ง ๆ 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า ในแหล่งที่อยู่หน่ึง ๆ ส่ิงมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในด้านต่าง ๆ เช่น การกินกัน C5 ร่วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่าง เป็นอาหาร เป็นท่ีอยู่อาศัย ที่หลบภัย ที่วางไข่ และท่ีเลี้ยงดูลูกอ่อน โดย ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในด้านการกินกัน การกินกันเปน็ อาหารจะมีการกินในรปู แบบโซ่อาหาร (S13) เป็นอาหาร 10. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร แล้วร่วมกันอภิปรายคำตอบ โดยครู อาจใช้คำถามเพิม่ เตมิ ในการอภปิ รายเพ่ือให้ไดแ้ นวคำตอบท่ีถกู ต้อง 11. นักเรียนอ่าน ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปท่ีได้จากการ อภปิ ราย 12. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกต้ังคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 ส่งิ มีชีวิต 290 คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกยี่ วกบั คำถามทีน่ ำเสนอ 13. ครูนำอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในข้ันตอนใด แล้วบนั ทกึ ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 99 14. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 113 ครูนำ อภิปรายเพ่ือนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งท่ีได้เรียนรู้ในเรื่องน้ี จากน้ันครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเน้ือเร่ือง ซึ่งเป็นคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเนื้อหาในบทถัดไป ดังน้ี “นอกจากส่ิงมีชีวิต จะมีความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตด้วยกันแล้ว สิ่งมีชีวิตยังมีความสัมพันธ์ กับสิ่งไม่มีชีวิตด้วยหรือไม่” นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง ซง่ึ จะหาคำตอบได้จากการเรยี นในบทตอ่ ไป การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรบั ครู เพือ่ จัดการเรยี นรู้ในครง้ั ถัดไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน เรื่องท่ี 3 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ส่ิงไม่มีชีวิต โดยครูอาจเตรียมสื่อการสอน เช่น วีดิทัศน์หรือรูปภาพถ้ำพระยานคร (ชมพระท่ีนั่งคูหาคฤหาสน์ ถ้ำพระยานคร ประจวบครี ีขันธ์) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

291 คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชวี ิต แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม สังเกตและอธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวติ กบั สิ่งมีชีวิตในแหลง่ ที่อยู่ นักเรียนตอบชื่อของสงิ่ มชี ีวิตตามทีส่ งั เกตได้จากสารคดี นักเรียนตอบตามที่สังเกตได้จากสารคดี ซึ่งอาจตอบได้ว่าส่ิงมีชีวิตมี ความสัมพันธ์กันในการเป็นที่อยู่อาศัย ท่ีหลบภัย วางไข่ เลี้ยงดูลูกอ่อน และการกินกันเป็นอาหาร ซึ่งอาจไม่พบความสัมพันธ์ครบทุกด้านตามที่ กล่าวมา ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 สิง่ มชี ีวติ 292 นักเรยี นตอบชอ่ื ส่งิ มชี ีวติ ท่ีมีความสมั พนั ธ์กันในดา้ นการกินกนั เป็นอาหาร ตามทีส่ ังเกตไดจ้ ากสารคดี เชน่ แมลง นกจับแมลงสฟี า้ ท้องขาว ดอกไม้ แมงกระชอน นกกระรางหัวขวาน นักเรียนตอบตามที่สังเกตได้จากสารคดีและครตู รวจสอบ ความถกู ตอ้ งของการเขียนโซ่อาหาร เช่น 1. ดอกไม้  แมลง  นกจบั แมลงสีฟ้าทอ้ งขาว 2. แมงกระชอน  นกกระรางหัวขวาน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

293 คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชวี ิต นกั เรยี นตอบช่ือของสิ่งมีชีวิตตามท่ีสังเกตได้จากสารคดี ซึ่งอาจตอบได้ว่า ข้าว เปน็ ผู้ผลิต เพราะเปน็ สิ่งมีชีวิตทีส่ รา้ งอาหารเองได้ หอยเปน็ ผู้บริโภค เพราะเปน็ สง่ิ มีชีวิตท่ีกนิ สงิ่ มชี ีวิตอน่ื เป็นอาหาร นักเรยี นตอบตามท่ีสังเกตได้จากสารคดี ซึ่งอาจตอบได้ว่า สง่ิ มชี ีวติ มีความสมั พันธ์กัน ในด้านต่าง ๆ เช่น ตน้ ขา้ วเปน็ อาหารและที่อยู่อาศัยของหนอน ต้นข้าวเป็นอาหาร ของหอย สง่ิ มีชีวิตที่มีการกินตอ่ กนั เป็นทอด ๆ ในรปู แบบโซอ่ าหาร ในแหลง่ ท่อี ยู่หน่งึ ๆ สิง่ มีชีวิตจะมคี วามสมั พนั ธซ์ ่งึ กันและกันในด้านตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เปน็ ทอ่ี ยู่อาศัย ท่ีหลบภัย ที่วางไข่และเลย้ี งดูลูกอ่อน และมีการกนิ กันเปน็ อาหารในรปู แบบ โซอ่ าหาร ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 สง่ิ มีชีวติ 294 คำถามของนักเรียนที่ต้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง √ √ √ √ √√ √ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

295 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 สิ่งมีชีวติ แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรขู้ องนักเรยี นทำได้ ดังน้ี 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภปิ รายในชนั้ เรยี น 2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจดั การเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทำกิจกรรมท่ี 2 สิง่ มีชีวติ มีความสมั พันธก์ บั สิง่ มีชวี ิตอยา่ งไร ระดบั คะแนน 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง รหัส ส่งิ ทป่ี ระเมนิ ระดับคะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S6 การจดั กระทำและสอื่ ความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรุป ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความรว่ มมือ รวมคะแนน ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สิง่ มีชีวิต 296 ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมนิ ดังน้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาท ส าม า ร ถ ใช้ ป ร ะ ส า ท สามารถใช้ ป ระสาท รายละเอียดเก่ียวกับ สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด สัมผัสเก็บรายละเอียด ช นิ ด ข อ งสิ่ งมี ชี วิต ขอ้ มูลเก่ียวกับชนิดของ ข้อมูลเก่ียวกับชนิดของ ข้อมูลเก่ียวกับชนิดของ และความสัมพันธ์ ส่ิ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ความสัมพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมชี วี ติ ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตได้ สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตได้ สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตได้ ด้วยตนเอง โดยไม่เพิ่ม จากการชี้แนะของครู เพียงบางส่วน แม้ว่าจะ ความคดิ เห็น หรอื ผู้อนื่ ได้รับคำชี้แนะจากครู หรือผู้อื่น S6 การจัดกระทำ การนำข้อมูลท่ีได้จาก สามารถนำข้อมูลท่ีได้ สามารถนำข้อมูลที่ได้ สามารถนำข้อมูลที่ได้ และสื่อความหมาย การสังเกตชนิดของ จากการสังเกตชนิ ด จากการสังเกตชนิดของ จากการสังเกตชนิดของ ขอ้ มลู ส่ิ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ส่ิ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ความสัมพั นธ์ด้าน ความสัมพันธ์ด้านการ ความสัมพันธด์ า้ นการกิน ความสัมพันธ์ด้านการ การกินกันเป็นอาหาร กินกันเป็นอาหารของ กั น เป็ น อ า ห า ร ข อ ง กินกันเป็นอาหารของ ของสิ่งมีชีวิตแต่ละ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมา สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมา ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมา ช นิ ด ม า เ ขี ย น เขียนโซ่อาหาร และส่ือ เขียนโซ่อาหาร และส่ือ เขียนโซ่อาหาร และส่ือ โซ่อาหาร และส่ือให้ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่าง ให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่าง ให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้เพียง ผู้อื่นเข้าใจ ถกู ตอ้ งได้ดว้ ยตนเอง ถูกต้อง จากการช้ีแนะ บางส่วน แม้ว่าจะได้รับ ของครหู รือผู้อ่ืน ค ำ ช้ี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผูอ้ ืน่ S8 ก า ร ล ง ล งค ว า ม เห็ น จ า ก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น ค ว า ม เห็ น จ า ก ข้อมูลในสารคดีได้ว่า จากข้อมูลในสารคดีได้ ข้อมูลในสารคดีได้ว่า จากข้อมูลในสารคดีได้ ขอ้ มลู ส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ว่าส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ใน ว่าส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ใ น แ ห ล่ ง ท่ี อ ยู่ มี ใ น แ ห ล่ ง ท่ี อ ยู่ มี แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ มี ใ น แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ มี ความสัมพันธ์กันใน ความสัมพั น ธ์กัน ใน ความสัมพันธ์กันในด้าน ความสมั พนั ธ์กันในด้าน ด้านตา่ ง ๆ ด้านต่าง ๆ ได้อย่าง ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ต่าง ๆ ได้เพียงบางส่วน ถู ก ต้ อ งแ ล ะ ชั ด เจ น และชัด เจน จากการ แม้ว่าจะได้รับคำช้ีแนะ ด้วยตนเอง ช้ีแนะของครหู รือผู้อน่ื จากครหู รือผูอ้ นื่ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

297 คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สิ่งมีชีวิต ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S13 ก า ร ตี ค ว า ม ตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย หมายข้อมูลและ จากการชมสารคดี ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ช ม ข้อมูลจากการชมสารคดี ข้อมูลจากการชมสาร ลงขอ้ สรุป โ ด ย สั ง เ ก ต ส า ร ค ดี โด ย สั ง เก ต โดยสังเกตความสัมพันธ์ ค ดี โ ด ย สั ง เ ก ต ความสัมพั น ธ์ของ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ของส่ิงมีชีวิตในแหล่ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง สง่ิ มชี ีวติ ในแหล่งทอ่ี ยู่ ส่ิงมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ทอ่ี ยู่ และลงข้อสรุปไดว้ ่า ส่ิงมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ และลงข้อสรุปได้ว่า และลงข้อสรุปได้ว่า ส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่มี และลงข้อสรุป ได้ว่า สงิ่ มชี ีวติ ในแหล่งที่อยู่ สง่ิ มชี ีวิตในแหล่งท่ีอยู่มี ความสัมพันธ์กันในด้าน สิ่งมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่มี มีความสัมพันธ์กันใน ความสัมพั น ธ์กัน ใน ต่าง ๆ จากการช้ีแนะ ความสัมพนั ธ์กันในด้าน ดา้ นตา่ ง ๆ ด้ าน ต่ าง ๆ ได้ ด้ ว ย ของครูหรือผอู้ ืน่ ต่าง ๆ ได้เพียงบางส่วน ตนเอง แม้ว่าจะได้รับคำช้ีแนะ จากครหู รอื ผ้อู นื่ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 สิง่ มีชีวติ 298 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั น้ี ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 พอใช้ (2) C2 การคดิ การวิเคราะห์และ สามารถวิเคราะห์และ ส า ม า ร ถ วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ สามารถวิเคราะห์และ อย่างมี อ ธิ บ าย เก่ี ย ว กั บ อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ อธิบายเก่ียวกับความสัมพันธ์ อ ธิ บ า ย เ ก่ี ย ว กั บ วิจารณญาณ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง ระหว่างสิ่งมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตได้ ได้จากการชี้แนะของครูหรือ สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตได้ กับส่งิ มชี วี ิตได้ ด้วยตนเอง ผอู้ ่นื เพียงบางส่วน แม้ว่าจะ ได้รับคำชี้แนะจากครู หรอื ผู้อนื่ C4 การสื่อสาร เขียนและนำเสนอ ส า ม า ร ถ เขี ย น แ ล ะ สามารถเขียนและนำเสนอโซ่ ส า ม า ร ถ เขี ย น แ ล ะ โซ่อาหาร เพื่อให้ นำเสนอโซ่อาหาร เพื่อให้ อาหาร เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ น ำ เส น อ โ ซ่ อ า ห า ร ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจ ผู้อ่นื เข้าใจได้ดว้ ยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ เพื่ อให้ ผู้อื่น เข้าใจได้ ผูอ้ ่นื เพียงบางส่วน แม้ว่าจะ ได้รับคำชี้แนะจากครู หรือผู้อ่นื C5 ความ ทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทำงานร่วมกับ ร่วมมอื ใน ก ารอ ภิ ป รา ย ผู้ อ่ื น ใน ก ารอ ภิ ป ราย ในการอภิปราย นำเสนอ ผู้อ่ืน ใน การอภิป ราย นำเสนอ รวมท้ั ง นำเสนอ รวมท้ังยอมรับ รวมทั้งยอมรับความคิดเห็น นำเสนอ รวมท้ังยอมรับ ย อ ม รั บ ค ว า ม ความคิดเห็นของผู้อ่ืน ของผอู้ ื่นในบางช่วงเวลาที่ทำ ความคิดเห็นของผู้อื่น คดิ เห็นของผู้อื่น ตัง้ แตเ่ ริม่ ตน้ จนสำเร็จ กิจกรรม ในบางช่วงของการทำ กิ จ ก รรม แ ต่ ไม่ ค่ อ ย สนใจความคิดเห็นของ ผูอ้ ่ืน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

299 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชวี ิต เรอื่ งท่ี 3 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ กบั สิง่ ไม่มชี ีวติ ในเร่ืองน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับความสัมพันธ์ ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิต และการดูแลรักษา สง่ิ แวดล้อมในแหล่งท่ีอยทู่ ่ีมีผลตอ่ การดำรงชีวิตของสิ่งมชี ีวติ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต ในแหลง่ ทอ่ี ยู่ 2. สำรวจ วิเคราะห์ และบอกแนวทางการดูแลรักษา ส่งิ แวดลอ้ มที่มผี ลต่อการดำรงชีวิตของสง่ิ มชี วี ติ เวลา 3 ช่วั โมง วัสดุ อปุ กรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม สือ่ การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ - 1. หนังสอื เรียน ป.5 เล่ม 2 หน้า 115-121 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 100-105 ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 ส่งิ มีชีวิต 300 แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาที) ข้ันตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตและ ในการตรวจสอบความรู้ ครู สง่ิ ไม่มีชวี ติ โดยใชค้ ำถามดงั นี้ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวนักเรียนมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความ ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน เข้าใจของตนเอง) ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง 1.2 สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเรามีอะไรบ้างที่เป็นส่ิงมีชีวิต (นักเรียนตอบ จากการอ่านเนอื้ เรือ่ ง ตามความเขา้ ใจของตนเอง) 1.3 สง่ิ แวดล้อมรอบ ๆ ตวั เรามีอะไรบ้างที่เปน็ สงิ่ ไม่มชี วี ิต (นักเรยี นตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง) 1.4 นักเรียนคิดว่าในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับ ส่งิ ไม่มีชวี ิตหรือไม่ อย่างไร 2. ครูเช่ือมโยงความรเู้ ดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต โดยใช้คำถามว่า สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับ สงิ่ ไม่มชี วี ติ ใดบ้าง ขนั้ ฝึกทกั ษะจากการอ่าน (35 นาที) 3. ครูให้นักเรียนอ่านชื่อเร่ืองและคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า 115 หากนักเรียนไม่สามารถตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือหาแนวคำตอบตามความเข้าใจของกลุ่ม คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใช้เปรียบเทียบคำตอบหลัง คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด การอ่านเร่ือง อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน แ ล ะ รั บ ฟั งแ น ว ค ว าม คิ ด ข อ ง 4. นักเรียนอ่านเนื้อเร่ืองในหนังสือเรียนหน้า 115 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน นักเรยี น ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูตรวจสอบ ความเขา้ ใจจากการอา่ น โดยใช้คำถามดังน้ี 4.1 นักเรียนเคยไปเที่ยวถ้ำหรือไม่ (นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของ ตนเองซงึ่ อาจจะเคยไปหรอื ไมเ่ คยไป) 4.2 ถ้ำท่ีนักเรียนเคยไปมีลักษณะเป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ประสบการณ์ของตนเอง) 4.3 ภายในถ้ำพบสง่ิ มชี ีวติ อะไรบ้าง (ค้างคาว แมลง แมงมุม) 4.4 ถ้ำโดยท่ัวไปกับถ้ำพระยานครแตกต่างกันอย่างไร (ถ้ำโดยท่ัวไปมืด สนิท มีความช้ืนสูง ถ้าเข้าไปลึก ๆ จะรู้สึกหายใจไม่สะดวก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

301 ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชวี ิต แต่ถ้ำพระยานคร ผนังถ้ำด้านบนยุบตัว ทำให้มีแสง น้ำ อากาศเข้า ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม ไปได้ ภายในถ้ำจึงมอี ากาศถ่ายเทด)ี 4.5 สิ่งมีชีวิตที่พบในถ้ำที่มืดสนิทกับถ้ำพระยานครเหมือนหรือแตกต่างกัน 1. นักเรียนหลายคนอาจจะเคยไปเท่ียว อย่างไร (แตกต่างกัน ส่ิงมีชีวิตท่ีพบในถ้ำท่ีมืดสนิท ได้แก่ค้างคาว ถ้ำที่มีแสงสว่างภายใน เนื่องจาก ซ่ึงต้องอยู่ในท่ีมืดเวลากลางวัน ส่วนส่ิงมีชีวิตท่ีพบในถ้ำพระยานคร มีการติดหลอดไฟฟ้าในถ้ำ ทำให้ ได้แก่ ต้นไม้และสัตว์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งไม่สามารถเจริญเติบโตและ ไม่เห็นสภาพจริงของถ้ำ ซึ่งครูควร ดำรงชวี ติ อยู่ในถำ้ ทม่ี ดื สนทิ ได)้ อธิบายเพิ่มเติมว่า ถ้ำที่เกิดขึ้นตาม 4.6 เพราะเหตุใด ในถ้ำพระยานครจึงพบพืชและสัตว์หลายชนิด ธรรมชาติท่ัวไปจะมืดสนิท ไม่มีแสง เจริญเติบโตและดำรงชีวิตอยู่ได้ (เพราะภายในถ้ำมีแสง ดิน สว่างจากภายนอกเขา้ ไปแต่ท่ีภายใน ธาตุอาหาร อากาศ และน้ำ ซึ่งเหมาะสมกับการเจริญเติบโตและ ถำ้ มแี สงสว่างเพราะมาจากหลอดไฟฟา้ การดำรงชวี ติ ของตน้ ไมแ้ ละสัตวช์ นดิ ตา่ ง ๆ) 2. ครูอาจเปิดวีดิทัศน์หรือนำรูปภาพถ้ำ ขนั้ สรุปจากการอ่าน (15 นาที) พระยานคร เพื่อให้นักเรียนเห็นภาพ ได้ชดั เจนมากข้นึ 5. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่อ่านซึ่งควรสรุปได้ว่า แสง น้ำ อากาศ มี ความสำคญั ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชีวิตของสิ่งมชี วี ิต การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ สำหรับครู เพ่ือจัดการเรยี นรใู้ นครง้ั ถดั ไป 6. นกั เรยี นตอบคำถามในร้หู รอื ยงั ในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หน้า 100 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียนใน ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ กิจกรรมที่ 3 สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับ รหู้ รอื ยัง กับคำตอบทเี่ คยตอบและบันทึกไว้ในคดิ ก่อนอ่าน สิ่งไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่อย่างไร โดยครู 8. ครูให้นักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องท่ีอ่าน ดังน้ี “ส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ มี เตรียมส่ือการเรยี นการสอน ดงั นี้ ความสัมพันธก์ บั ส่งิ ไม่มีชีวิตอย่างไร” 1. ป้ายช่ือสิ่งมีชีวิต เชน่ เสือ มด นก ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยังไม่เฉลยคำตอบแต่ ปลา ต้นไม้ อยา่ งละ 1 ชดุ ชกั ชวนใหน้ กั เรยี นหาคำตอบจากการทำกิจกรรม 2. ป้ายชื่อสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน น้ำ แสง อากาศ อย่างละ 5-6 ชดุ สำหรับใช้สำหรับเล่มเกม เพ่ือใช้ นำเขา้ สู่การทำกจิ กรรม ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่งิ มีชีวติ 302 แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม แสง น้ำ อากาศ ดนิ และธาตุอาหาร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

303 คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชีวติ กจิ กรรมท่ี 3 สิ่งมชี ีวิตมีความสมั พันธก์ บั ส่งิ ไมม่ ชี วี ติ ในแหล่งท่อี ยอู่ ยา่ งไร กิ จ ก ร ร ม นี้ นั ก เรี ย น จ ะ ได้ อ่ า น ใบ ค ว า ม รู้ เกี่ ย ว กั บ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่ รวมทั้งสำรวจและวิเคราะหป์ ญั หาส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ินท่ีมี ผลต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต เพ่ืออธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่ และบอก แนวทางในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อการดำรงชีวิต ของส่ิงมีชวี ติ เวลา 2 ช่วั โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกบั สิ่งไมม่ ีชีวิตใน 1. หนงั สือเรยี น ป.5 เลม่ 2 หน้า 116-120 แหลง่ ทีอ่ ยู่ 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.5 เลม่ 2 หนา้ 100-105 2. สำรวจ วิเคราะห์ และบอกแนวทางการดูแลรักษา สง่ิ แวดล้อมท่มี ผี ลตอ่ การดำรงชวี ติ ของสงิ่ มีชวี ิต ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S6 การจัดกระทำและสื่อความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมอื C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 5 สง่ิ มชี ีวิต 304 แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน สิ่งไม่มีชีวิต ครใู ห้นักเรียนเล่มเกม โดยสร้างสถานการณ์ว่าห้องเรียนเป็น ให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง แหล่งที่อยู่หนึ่งซึ่งประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต และกำหนด จากการอ่านเนอื้ เร่ือง บทบาทให้นักเรียน 5-6 คน เป็นสิ่งมีชวี ิตคนละ 1 ชนิด เช่น เสือ มด นก ปลา ตน้ ไม้ ส่วนคนที่เหลือกำหนดให้เป็นสิง่ ไม่มชี ีวิต เชน่ น้ำ ดนิ อากาศ แสง อย่างละ 5-6 คน จากนั้นให้นักเรียนที่มีบทบาทเป็นสิ่งมีชีวิตว่ิงไป หาส่ิงไม่มีชีวิตที่คิดว่าจะมีความสัมพันธ์กับตน นักเรียนสามารถวิ่งไปหา เพื่อนท่ีมีบทบาทเป็นส่ิงไม่มีชีวิตได้มากกว่า 1 จากน้ันให้นักเรียนรว่ มกัน อภิปรายโดยใชค้ ำถามดังต่อไปนี้ 1.1 เสือมีความสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิตอะไรบ้าง อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเขา้ ใจของตนเอง) ใชค้ ำถามเดยี วกนั กับขอ้ 1.1 แต่เปล่ียนสง่ิ มีชวี ิตตามที่ครกู ำหนด 1.2 นักเรียนคิดว่าถ้าขาดสิ่งไม่มีชีวิตอย่างใดอย่างหนึ่งไป จะมีผลต่อ สิง่ มีชวี ติ อย่างไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 1.3 นักเรียนคิดว่าถ้าส่ิงไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่นี้เปล่ียนแปลงไป (เพิ่มขึ้น หรือลดลง) จะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่นั้นหรือไม่ อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 2. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรมและทำเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเขา้ ใจจดุ ประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ดังน้ี 2.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนเร่ืองอะไร (ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมชี ีวิตกบั สิ่งไม่มชี ีวิต) 2.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองนี้ด้วยวิธีใด (รวบรวมข้อมูล สำรวจ และ วิเคราะห์) 2.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง สงิ่ มีชีวติ กับส่ิงไม่มชี ีวิต และบอกแนวทางการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ท่ีมผี ลตอ่ การดำรงชวี ติ ของส่งิ มชี วี ิต) 3. นกั เรยี นบนั ทึกจดุ ประสงค์ลงในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 100 4. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ตอนท่ี 1 โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปข้ันตอนการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ต่อไปน้ี (ครูอาจชว่ ยเขยี นสรปุ เปน็ ข้ันตอนส้ัน ๆ บนกระดาน) สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

305 ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 ส่ิงมีชีวิต 4.1 นักเรียนต้องอ่านใบความรู้เร่ืองอะไร (ความสัมพันธ์ระหว่าง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ สิ่งมชี ีวิตกับสิง่ ไมม่ ีชวี ติ ในแหลง่ ที่อยู่) ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทนี่ ักเรยี นจะได้ 4.2 เมื่ออ่านใบความรู้แล้ว นักเรยี นต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกันอภปิ ราย ฝึกจากการทำกจิ กรรม และเขียนผังมโนทัศน์เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งไมม่ ีชวี ติ ในแหลง่ ท่อี ยู่) S6 การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล จ า ก ก า ร น ำ ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร อ่ า น 5. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนท่ี 1 แล้ว ใบความรู้มาเขียนผังมโนทัศน์และสื่อให้ ให้นกั เรยี นเริ่มปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนของกิจกรรม ผ้อู ่ืนเข้าใจ 6. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถาม S8 ลงความเห็นข้อมูลได้ว่าส่ิงมีชีวิตมี ดังต่อไปนี้ ความสมั พันธก์ ับสิ่งไมม่ ีชวี ิตอย่างไรบา้ ง 6.1 จากใบความรู้สิ่งมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่นี้มีอะไรบ้าง (มนุษย์ ปลา เป็ด ไก่ ววั มด บัว ต้นไม้ หญา้ ผัก ไสเ้ ดอื นดิน) C2 วิเคราะห์และอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ 6.2 ส่งิ ไมม่ ชี วี ติ ในแหล่งที่อยนู่ ้มี ีอะไรบ้าง (ดิน อากาศ นำ้ ดวงอาทติ ย์) ร ะ ห ว่ า ง สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ ส่ิ ง ไม่ มี ชี วิ ต ใ น 6.3 มนุษย์มีความสัมพันธ์กับส่ิงไม่มีชีวิตเหล่าน้ีหรือไม่ อย่างไร (มนุษย์ แหล่งทีอ่ ยู่ ใช้แสงในการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ใช้ดินในการปลูกสร้างบ้านเรือน ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ทำของใช้ต่าง ๆ ใช้น้ำในการดำรงชีวิตและทำ C5 ร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับความสัมพันธ์ กิจกรรมต่าง ๆ และใช้แกส๊ ออกซิเจนในอากาศเพ่ือหายใจ) ระหวา่ งส่งิ มีชีวิตและสงิ่ ไม่มชี วี ติ 6.4 สตั ว์มีความสัมพันธ์กบั ส่ิงไมม่ ีชีวิตเหล่าน้ีหรือไม่ อย่างไร (สัตวใ์ ช้ดิน เป็นท่ีอยู่อาศัย แหล่งอาหาร ใช้อากาศในการหายใจ ใช้น้ำเป็นที่อยู่ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อาศัย) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 6.5 พืชมีความสัมพันธ์กับส่ิงไม่มีชีวิตเหล่าน้ีหรือไม่ อย่างไร (พืชใช้ดิน คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน เป็นที่ยึดเกาะของราก เป็นแหล่งธาตุอาหารและน้ำ ใช้แสง คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ และน้ำ ในการสร้างอาหาร อดทน และรับฟังแนวความคิด ใชแ้ ก๊สออกซิเจนในการหายใจ และใชน้ ้ำเปน็ ทอี่ ยู่อาศยั ) ของนกั เรียน 6.6 ถ้าดินเส่ือมโทรมหรือขาดธาตุอาหารจะส่งผลกระทบต่อ การดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิตอย่างไร (พืชจะไม่สามารถเจริญเติบโต และดำรงชีวติ ได้) 6.7 ถ้าน้ำเน่าเสียจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิตอย่างไร (น้ ำ เน่ า เสี ย สั ต ว์ น้ ำ แ ล ะ พื ช น้ ำ ไ ม่ มี ท่ี อ ยู่ อ า ศั ย แ ล ะ ไม่ ส า ม า ร ถ ดำรงชีวิตได้ มนุษย์ไม่มีน้ำสำหรับใช้ในการดำรงชีวิตหรือทำ กจิ กรรมต่าง ๆ) 6.8 ถ้าอากาศเป็นพิษจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต อย่างไร (ถ้าอากาศเป็นพิษส่ิงมีชีวิตอาจหายใจเอาสารพิษเข้าสู่ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 ส่งิ มีชีวิต 306 ร่างกาย มนุษย์และสัตว์อาจเจ็บป่วยและเป็นโรค พืชอาจไม่ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ เจรญิ เติบโตหรอื มลี ักษณะผดิ ปกต)ิ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรียนจะได้ 6.9 ถ้าไม่มีแสงจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิตอย่างไร (ถ้าไม่มีแสงพืชจะไม่สามารถสร้างอาหารได้ สัตว์และมนุษย์จะขาด ฝกึ จากการทำกิจกรรม อาหาร) 7. ครูเชื่อมโยงความรู้ท่ีได้จากกิจกรรมท่ี 2 โดยใช้คำถามว่า ถ้าสิ่งไม่มีชีวิต S8 ลงความเห็นข้อมูลได้ว่าส่ิงแวดล้อมมีผล ในแหล่งที่อยู่เกิดการเปล่ียนแปลงจะส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่าง ต่อการดำรงชี วิตของส่ิงมีชีวิต ถ้า ส่งิ มีชีวิตและสง่ิ มชี ีวิตในแหล่งท่อี ยนู่ ้ันหรอื ไม่ อย่างไร สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป จะส่งผลต่อ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์ การดำรงชีวิตของส่งิ มีชวี ติ อยา่ งไร กับสิ่งไม่มีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้อากาศในการหายใจ ใช้น้ำและดนิ เป็นท่ีอยู่อาศัย (S13) C2 วิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และบอก 9. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร ตอนที่ 1 แล้วร่วมกันอภิปรายคำตอบ ผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตเม่ือสิ่งแวดล้อม โดยครูอาจใช้คำถามเพ่ิมเติมในการอภิปรายเพ่ือให้ได้แนวคำตอบที่ เกิดการเปลี่ยนแปลง และแนวทางใน ถกู ตอ้ ง การดแู ลรักษาสิง่ แวดลอ้ ม 10. ครูเช่ือมโยงความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรมตอนที่ 1 ไปสู่ตอนท่ี 2 โดย ใช้คำถามว่า ส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองมีปัญหาอะไรบ้าง และ C4 นำเสนอข้อมูลจากการสืบค้นและอภิปราย นกั เรยี นจะมีสว่ นร่วมในการดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดล้อมอย่างไร แนวทางในการแก้ไขปัญหาและดูแล 11. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนท่ี 2 โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม รักษาส่งิ แวดลอ้ มในรูปแบบต่าง จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปข้ันตอนการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ต่อไปนี้ (ครูอาจช่วยเขียนสรุปเปน็ ข้นั ตอนสนั้ ๆ บนกระดาน) C5 ร่วมกันสืบค้นข้อมูลและอภิปรายแนวทาง 11.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้ทำอะไร (สำรวจและรวบรวมข้อมูล ในการแก้ไขปัญ หาและดูแลรักษ า สง่ิ แวดล้อม เกยี่ วกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิน่ ) 11.2 หลังจากน้ันนักเรียนต้องทำอะไร (เลือกปัญหาท่ีเกิดข้ึนใน ทอ้ งถิน่ 1 ปัญหา) 11.3 นักเรียนจะต้องทำอย่างไรกับปัญหาที่เลือก (วิเคราะห์ปัญหาน้ัน ว่าเกิดข้ึนได้อยา่ งไร และส่งผลต่อสิง่ มชี วี ิตในทอ้ งถิ่นอย่างไร) 11.4 จากน้ันนักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (ร่วมกันหาแนวทาง ใน ก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห า แ ล ะ ดู แ ล รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใน ท้ อ ง ถิ่ น อภิปราย บันทกึ ผล และนำเสนอ) 11.5 นักเรียนจะนำเสนอในรูปแบบใด (ทำโปสเตอร์ เขียนแผนภาพ แสดงบทบาทสมมต)ิ 12. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนท่ี 2 แล้ว ใหน้ ักเรยี นเรมิ่ ปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอนของกจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

307 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 ส่ิงมีชีวติ 13. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ คำถามดงั ต่อไปน้ี คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 13.1 ในท้องถิ่นของนักเรียนมีปัญหาอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามผล คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน การทำกิจกรรม เชน่ น้ำเนา่ เสีย) คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 13.2 นักเรียนเลือกวิเคราะห์ปัญหาอะไร เพราะเหตุใดจึงเลือกปัญหา อดทน และรับฟังแนวความคิด นั้น (นักเรียนตอบตามผลการทำกิจกรรม เช่น ปัญหาน้ำเน่าเสีย ของนักเรียน เพราะคนในทอ้ งถน่ิ ไดร้ บั ผลกระทบโดยตรง) 13.3 ปัญหาน้ันเกิดข้ึนได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามผลการทำ กิจกรรม เช่น คนในชุมชนไม่ดูแลรักษาแหล่งน้ำ ทิ้งขยะ หรือ ส่งิ ปฏิกูลลงแหล่งนำ้ ) 13.4 ปญั หาน้ันส่งผลต่อส่งิ มีชีวิตในท้องถน่ิ อย่างไร (นักเรียนตอบตาม ผลการทำกิจกรรม เช่น ปลาตาย น้ำเสียส่งกล่ินเหม็นรบกวน คนท่ีอยใู่ นท้องถน่ิ ขาดนำ้ ด่ืม นำ้ ใช้) 13.5 นักเรียนมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาและดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม ในท้องถ่ินอยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ชักชวนคนในท้องถิ่นให้ช่วยกันดูแลรักษาแหล่งน้ำ ร่วมมือกัน เก็บขยะข้ึนจากแหล่งน้ำ ทำส่ือประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์ท่ีมีรูปภาพขยะลอยอยู่ในแหล่งน้ำ เพื่อ ส่ือถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น พร้อมกับเขียนคำขวัญหรือข้อความ เชิญชวนให้ทกุ คนช่วยกนั รักษาแหลง่ นำ้ ) 14. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า ส่ิงแวดล้อมมีผลต่อ การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ถ้าส่ิงแวดล้อมเกิดการเปล่ียนแปลงอาจ ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต เราจึงควรช่วยกันดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมในท้องถ่ินให้อยู่ในสภาพที่ดีและเหมาะสมกับการดำรงชีวิต ของส่ิงมีชวี ติ (S13) 15. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร ตอนที่ 2 แล้วร่วมกันอภิปราย คำตอบ โดยครูอาจใช้คำถามเพิ่มเติมในการอภิปรายเพ่ือให้ได้แนว คำตอบท่ถี ูกตอ้ ง 16. นักเรียนอ่าน ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุปท่ีได้จากการ อภิปราย 17. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกต้ังคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพ่ิมเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 สงิ่ มีชีวติ 308 คำถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกบั คำถามที่นำเสนอ 18. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในข้ันตอนใด แลว้ ให้บันทกึ ในแบบบนั ทึกกจิ กรรม หน้า 105 19. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเร่ืองนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 121 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับสิ่งท่ีได้เรียนรู้ในเร่ืองนี้ จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเน้ือเรื่อง ดังนี้ “เรา สามารถนำความรู้จากส่ิงที่เรียนไป ใช้ประโยชน์สำห รับกา ร ดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง” นักเรียนสามารถตอบตามความ เข้าใจของตนเอง ซง่ึ จะหาคำตอบไดจ้ ากการเรยี นในบทตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

309 คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 สิ่งมีชีวติ แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มีชวี ิตกับสิ่งไมม่ ีชวี ิตในแหลง่ ที่อยู่ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี