โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา 137 ทรายสชี น้ั ที่ 1 ท่ีเทลงอนั ดับแรกจะอย่ดู ้านลา่ งสดุ ของภาชนะ ทรายสีชน้ั ที่ 2 ทเ่ี ทถัดมา จะอยบู่ นทรายสชี นั้ ที่ 1 และทรายสชี น้ั ท่ี 3 ทเี่ ทเปน็ ลำ� ดบั สดุ ทา้ ยจะอยชู่ น้ั บนสดุ ของภาชนะ โดยทรายแต่ละสีจะมีการกระจายตัวทว่ั ภาชนะตามแนวราบของพื้นภาชนะ คำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ทรายทเ่ี ทใสใ่ นภาชนะใสแต่ละสมี กี ารกระจายตัวอย่างไร แนวค�ำตอบ ทรายมีการกระจายตัวทั่วภาชนะเป็นชั้นวางตัวในแนวนอนขนานกับ ก้นภาชนะ 2. ทรายสมี ีการล�ำดบั การวางตัวอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ เรียงล�ำดับตามสีที่เทลงไป โดยชั้นทรายสีแรกท่ีเทลงไปในภาชนะ ใสมกี ารสะสมตวั กอ่ นดา้ นลา่ งสดุ และชน้ั ทรายสสี ดุ ทา้ ยมกี ารสะสมตวั ในลำ� ดบั สดุ ทา้ ย ด้านบนสุด 3. นักเรียนสามารถลำ� ดับเหตุการณ์การเกิดช้ันทรายไดอ้ ย่างไร แนวค�ำตอบ ทรายสีชั้นที่ 1 มีการสะสมตะกอนเป็นช้ันด้านล่างสุดก่อนท่ีจะมีชั้น ทรายสีช้ันท่ี 2 วางตัวปิดทับ และทรายสีชั้นท่ี 3 ตกสะสมตัวหลังสุดปิดทับ ดา้ นบนของทรายสชี นั้ ที่ 2 3. ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอผลการทดลองและรว่ มกนั อภปิ รายผลพรอ้ มตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรมโดย มแี นวทางการอภิปรายและตอบคำ� ถามด้านบน 4. นักเรียนสืบค้นเก่ียวกับหลักฐานหรือลักษณะทางธรณีท่ีใช้ในการล�ำดับเหตุการณ์ทาง ธรณีวิทยา เพอ่ื ตอบคำ� ถามดงั ต่อไปน้ี หลกั ฐานใดบา้ งท่สี ามารถนำ� มาอธิบายการลำ� ดับเหตุการณท์ างธรณีในพืน้ ที่ แนวค�ำตอบ การล�ำดับชัน้ หิน โครงสร้างทางธรณี 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการท�ำกิจกรรมท่ี 4.1 เชื่อมโยงสู่การล�ำดับช้ันหินใน หนงั สือเรียนหน้า 125 โดยใชค้ ำ� ถามต่อไปนี้ การตกสะสมตวั ของตะกอนในธรรมชาตมิ ีลักษณะอย่างไร เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ ในธรรมชาติตะกอนมีการสะสมตัวในแนวนอนขนานหรือเกือบขนานกับ พนื้ ผิวโลก อนั เนือ่ งมาจากแรงโน้มถว่ งของโลก และแพร่ขยายท่วั แอง่ สะสมตะกอน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
138 บทท่ี 4 | การลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 นักเรียนคิดว่าสาเหตุใดบ้างท่ีท�ำให้ช้ันหินมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น ช้ันหินคดโคง้ การเอยี งเทของชนั้ หิน แนวค�ำตอบ การเปล่ียนแปลงของชั้นหินเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น การเคลื่อนท่ีของ แผ่นธรณี การทรุดตวั ของพื้นท่ี การแทรกดันของหนิ อัคนีมวลไพศาล จากรูป 4.1 ในหนังสือเรียนหน้า 126 หินชั้นใดมีการสะสมตัวก่อนตามล�ำดับ และ ทราบได้อย่างไร แนวค�ำตอบ ชั้นหินตะกอนที่อยู่ล่างสุดเกิดจากการตกสะสมตัวก่อนจะมีอายุแก่กว่า ตะกอนทว่ี างตัวอยู่ดา้ นบน 6. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปกฎช้ันแนวนอนและกฎการล�ำดับชั้นตามประเด็น ดังต่อไปน้ี นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดส้ งั เกตการวางตวั ของชนั้ ตะกอนทกี่ �ำลงั สะสมตวั ในหลายบรเิ วณพบวา่ ชั้นตะกอนมีการวางตัวในแนวนอนหรือเกือบขนานกับพื้นโลก และกระจายตัวอยู่ทั่ว แอ่งสะสมตะกอนเรยี กว่า กฎช้ันแนวนอน ตะกอนมกี ารสะสมตวั ในแอง่ สะสมตะกอน โดยตะกอนทมี่ กี ารสะสมตวั กอ่ นจะวางตวั เปน็ ชั้นอยู่ด้านล่างสุดของแอ่งสะสมตะกอนและตะกอนที่สะสมตัวภายหลังจะวางตัวเป็นช้ัน ปดิ ทบั ดา้ นบน ดงั นน้ั ชน้ั ตะกอนทวี่ างตวั อยลู่ า่ งสดุ ของแอง่ สะสมตะกอนจะมอี ายแุ กท่ สี่ ดุ และช้ันตะกอนทว่ี างตัวอยูบ่ นสดุ จะมอี ายุออ่ นสดุ เรียกว่า กฎการลำ� ดับชน้ั 7. ครูอภิปรายค�ำถามในหนังสือเรียนหน้า 127 เพ่ือเช่ือมโยงสู่เหตุการณ์ทางธรณีวิทยาต่าง ๆ เชน่ การเกิดรอยเลอ่ื นตัดผ่าน การแทรกดันของหนิ อัคนี ทส่ี ่งผลตอ่ การลำ� ดบั ชน้ั หิน และให้ นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมที่ 4.2 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทท่ี 4 | การล�ำดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยา 139 กจิ กรรม 4.2 การเปล่ยี นแปลงทางธรณีท่ีส่งผลตอ่ ลำ� ดบั ชน้ั หนิ จดุ ประสงคก์ ิจกรรม 1. ออกแบบและสร้างแบบจำ� ลองตามสถานการณ์ท่ีกำ� หนดให้ 2. อธิบายลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยาตามแบบจ�ำลองท่ีสร้างขน้ึ วสั ด-ุ อปุ กรณ์ 1. ดินนำ้� มนั สีตา่ งกนั จ�ำนวน 4 กอ้ น ขนาดกว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 10 เซนตเิ มตร หนา 2 เซนตเิ มตร 2. ไมบ้ รรทัดแขง็ 1 อนั การเตรียมตัวล่วงหนา้ ในการสร้างแบบจ�ำลองครูควรให้นักเรียนท�ำเป็นกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รว่ มกนั ขอ้ เสนอแนะส�ำหรับครู 1. ในกรณีดินน�้ำมันแข็งเกินไปอาจน�ำไปแช่ดินน�้ำมันในน�้ำร้อนประมาณ 1 นาทีเพื่อ ให้งา่ ยตอ่ การสร้างแบบจำ� ลอง 2. หากดินน้�ำมันอ่อนเกินไปจนไม่สามารถตัดแบ่งได้ อาจน�ำไปแช่ในน�้ำเย็นประมาณ 1 นาที เพ่อื ให้แข็งและคงรูปไวไ้ ด้ในขณะตัดแบง่ 3. ควรกำ� หนดใหด้ นิ นำ�้ มนั แตล่ ะสแี ทนชน้ั หนิ ตะกอนและหนิ อคั นี พรอ้ มตง้ั ชอ่ื หนิ แตล่ ะชนดิ 4. ในการสรา้ งชน้ั หนิ โดยใชด้ นิ นำ�้ มนั ควรใหด้ นิ นำ้� มนั แตล่ ะชน้ั หนาประมาณ 2 เซนตเิ มตร 5. ครูควรให้นกั เรยี นสร้างรอยแตก รอยแยก หรือรอยเล่อื นโดยใชอ้ ปุ กรณใ์ นชัน้ เรยี น เชน่ ไมบ้ รรทัด 6. ในการสร้างการแทรกดันของหินอัคนี ครูอาจแนะน�ำให้นักเรียนตัดแบ่งแบบจ�ำลอง ออกเป็นสองส่วนแยกออกจากกันก่อนเพื่อเป็นตัวแทนของการเกิดรอยแตกหรือ รอยแยกในชนั้ หนิ ตะกอนกอ่ นทจ่ี ะมกี ารแทรกดนั ของหนิ อคั นี คอื ดนิ นำ้� มนั สที ี่ 4 โดย น�ำดินน�้ำมันสีท่ี 4 ท่ีใช้แทนหินอัคนีแทรกตรงกลางระหว่างก้อนดินน�้ำมันของ แบบจำ� ลองท้ังสองสว่ นทต่ี ดั แบ่งไว้ และประกบเขา้ ดว้ ยกันอีกครง้ั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
140 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 7. ในการสรา้ งรอยเล่อื นตัดผ่านพนังหินอคั นี ครคู วรใหน้ ักเรียนตัดแบ่งแบบจำ� ลองกอ่ น อีกคร้งั โดยครั้งนี้ก�ำหนดใหต้ ดั แบง่ พนังหินอัคนี (ดินน�้ำมนั สที ่ี 4) ออกเป็นสองส่วน แยกออกจากกันในลักษณะใด ๆ ก็ได้ เพ่ือเป็นตัวแทนของการเกิดรอยแตกหรือ รอยแยกในลำ� ดบั ชั้นหินกอ่ นที่จะมีการเลอ่ื นตัวตามระนาบรอยแตกหรือรอยแยกนนั้ 8. ในการเลื่อนตัวของแบบจ�ำลอง ดินน�้ำมันถูกแบ่งออกเป็น 2 ก้อน ควรให้ด้านใด ดา้ นหน่ึงของดินนำ�้ มนั เลอ่ื นเพียงดา้ นเดยี ว สถานการณ์ \"นักธรณีวิทยาส�ำรวจพื้นที่หน่ึงพบหินอัคนีตัดแทรกเข้าไปในชั้นหินตะกอน 3 ชนิด ท่ีวางตัวซอ้ นทบั กันในแนวราบ และในพนื้ ท่เี ดยี วกนั น้ียังพบรอยเล่อื นตัดผา่ นหินอคั นี\" วิธกี ารท�ำกจิ กรรม 1. วิเคราะหส์ ถานการณท์ ่กี ำ� หนดให้ ร่างภาพและออกแบบแบบจ�ำลองตามสถานการณ์ โดยใชอ้ ปุ กรณ์ที่ก�ำหนดให้ 2. สร้างแบบจ�ำลองตามที่ออกแบบไว้โดยใช้วัสดุที่ก�ำหนดให้ พร้อมบันทึกลักษณะของ แบบจ�ำลองของชน้ั หินแตล่ ะชัน้ 3. นำ� เสนอแบบจ�ำลองและบรรยายล�ำดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาทลี ะล�ำดับ ตวั อย่างการทำ� กิจกรรม (1) (2) 1. ดินน�้ำมันทั้ง 3 สีแทนหินตะกอน 2. ถ้าดินน�้ำมันแข็งเกินไปอาจแช่ วางตวั ซอ้ นทับกัน นำ้� รอ้ นประมาณ 1 นาที (3) (4) 3. ใช้ไม้บรรทัดหรือคัตเตอร์ตัด 4. ใช้ดินนำ�้ มันสที ่ี 4 (หนิ อคั นี) แทรก ดนิ น้�ำมันท้งั 3 ชนั้ ใส่ตรงกลางระหว่างดินน�ำ้ มัน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทท่ี 4 | การลำ� ดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา 141 (5) 5. ใช้ไมบ้ รรทัดตัดผา่ นหินอัคนี ตัวอย่างผลการทำ� กิจกรรม ในการตัดผ่านของรอยเลื่อน ผลการทดลองอาจแบ่งได้เป็น 4 กรณี คือ กรณีท่ี 1 รอยเลื่อนปกติโดยส่วนที่อยู่ข้างบนระนาบรอยเล่ือนเคล่ือนตัวลดระดับลงสัมพันธ์กับส่วนที่ อยู่ข้างลา่ งท่เี คล่ือนตัวข้ึน กรณที ี่ 2 เป็นรอยเลื่อนย้อนโดยสว่ นขา้ งบนเลอ่ื นยอ้ นขึ้น กรณีท่ี 3 รอยเลอื่ นในแนวระดบั ไปทางซ้าย และกรณที ี่ 4 รอยเลอื่ นในแนวระดบั ไปทางขวา (1) (2) รูป 1 รอยเล่อื นปกติ รปู 2 รอยเล่อื นยอ้ น (3) (4) รูป 3 รอยเลอื่ นตามแนวระดบั รปู 4 รอยเล่ือนตามแนวระดับ (เลอ่ื นซ้าย) (เลอ่ื นขวา) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
142 บทท่ี 4 | การล�ำดบั เหตุการณ์ทางธรณีวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 อภปิ รายและสรุปผล ǰ ǰ ǰ ตัวอย่างบนั ทึกลำ� ดบั เหตกุ ารณข์ องสถานการณจ์ ากกจิ กรรม จากกิจกรรมท่ี 4.2 ดนิ นำ�้ มนั เป็นตัวแทนของหินตะกอนและหินอัคนี โดยหนิ ตะกอน แต่ละชนิดแทนด้วยดินน้�ำมันในสีแตกต่างกัน หินตะกอนชนิดท่ี 1 มีการสะสมตัวก่อนและ อยลู่ า่ งสดุ จากนน้ั ถกู ปดิ ทบั ดว้ ยหนิ ตะกอนชนดิ ท่ี 2 และ 3 ตามลำ� ดบั ดงั นนั้ หนิ ตะกอนชนดิ ท่ี 1 จึงมอี ายุแกท่ ่สี ุด และหินตะกอนชนิดที่ 2 มอี ายุแก่กวา่ หนิ ตะกอนชนิดท่ี 3 เม่อื มกี ารแทรกดนั ของหนิ อัคนี คอื ดนิ น้�ำมันสที ี่ 4 ผ่านหินตะกอนทงั้ 3 ชนิด ท�ำให้ หนิ อคั นดี งั กลา่ วมอี ายอุ อ่ นกวา่ หนิ ตะกอน ตอ่ มามกี ารเกดิ รอยเลอื่ นผา่ นหรอื ตดั พนงั หนิ อคั นี รอยเลอื่ นดังกล่าวจงึ มอี ายอุ อ่ นท่ีสุด คำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. จากแบบจ�ำลองของนักเรียน เหตุการณใ์ ดเกดิ ก่อนระหว่างหินอคั นี หินตะกอน และ รอยเล่อื น เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ หินตะกอนมีการสะสมตัวก่อน เน่ืองจากตะกอนน้ันมีการสะสมตัว ในแนวนอนและขนานกับผิวโลก ต่อมาเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงมีการแทรกดัน ของหินอคั นีเขา้ มาในพนื้ ที่ และมีรอยเลือ่ นตดั ผา่ นหนิ อัคนี 2. แบบจ�ำลองล�ำดับชั้นหินของนักเรียน มีล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอย่างไร อธิบายพร้อมใหเ้ หตุผลประกอบ แนวค�ำตอบ หินตะกอนมีการสะสมตัวก่อน ต่อมามีการแทรกดันของหินอัคนีแล้วมี รอยเล่ือนตัดผ่านหินอัคนี เนื่องจากกฎชั้นแนวนอนที่กล่าวว่า ตะกอนจะทับถมเป็น ชั้นในแนวนอนและขนานหรือเกือบขนานกับพ้ืนผิวโลก ซ่ึงในกิจกรรมมีหินตะกอน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา 143 วางตวั ซอ้ นทบั กนั โดยกฎการลำ� ดบั ชนั้ ทวี่ า่ ชนั้ หนิ ทวี่ างตวั อยดู่ า้ นลา่ งจะมอี ายแุ กก่ วา่ ช้นั หนิ ทวี่ างตวั ปดิ ทับอยู่ ดังนนั้ หนิ ตะกอนสแี รกทนี่ ักเรียนก�ำหนดจะมีอายุแกท่ ส่ี ดุ เม่ือมีเหตกุ ารณอ์ นื่ ๆ แทรกเข้ามาทหี ลงั ย่อมเป็นล�ำดับเหตกุ ารณ์ถดั ไป 8. ให้นกั เรียนนำ� เสนอแบบจำ� ลองและร่วมกันอภิปรายผลพร้อมตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรมโดยมี แนวทางการอภิปรายและตอบคำ� ถามดา้ นบน 9. ครูควรให้ความรู้เพิ่มเติมว่าในธรรมชาติรอยเลื่อนอาจ เกิดได้หลายรูปแบบซ่ึงอาจจะไม่ตัดผ่านชั้นหินอัคนี ตัวอย่าง ดังรูป รอยเล่ือนมีการตัดผ่านในแนวดิ่งโดยมีการตัดผ่าน หินตะกอนท้งั 3 ชั้น แต่ไม่ตดั ผา่ นหนิ อคั นี ซ่ึงกรณดี งั กล่าวอาจ จะบอกไดย้ ากวา่ เหตกุ ารณใ์ ดเกดิ ขนึ้ กอ่ นกนั ซงึ่ อาจตอ้ งใชข้ อ้ มลู ทางธรณวี ิทยาอ่นื ๆ ประกอบรว่ มด้วย 10. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลการทำ� กจิ กรรม 4.2 เพอ่ื เชอื่ มโยงไปสกู่ ฎความสมั พนั ธก์ าร ตดั ผา่ น โดยใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหร์ ปู 4.3 (ก) การแทรกตวั ของหนิ อคั นใี นชน้ั หนิ ตะกอน ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 129 โดยใช้คำ� ถามต่อไปนี้ จากรูปประกอบด้วยหินประเภทใดบา้ ง แนวค�ำตอบ หนิ ตะกอนและหินอัคนี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
144 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตุการณท์ างธรณีวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 หนิ ชั้นใดเกดิ ขนึ้ ก่อน ทราบได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ หนิ ตะกอนชน้ั ลา่ งสุด เพราะหนิ ตะกอนท่อี ย่ชู ้ันลา่ งสดุ จะมอี ายุแก่ที่สดุ นกั เรยี นล�ำดบั เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร พรอ้ มบอกเหตผุ ล แนวค�ำตอบ จากรูปเหตุการณ์ที่ 1 เกิดขึ้นก่อนเน่ืองจากเป็นหินตะกอนท่ีถูกแทรกเข้ามา ของหนิ อัคนี เปน็ ไปตามกฎการล�ำดบั ชัน้ เมื่อมีการแทรกดนั ของหนิ อคั นใี นช้นั หินตะกอนจึง ทำ� ใหเ้ ราทราบวา่ หนิ อคั นนี นั้ มอี ายอุ อ่ นสดุ ในพน้ื ท่ี ซงึ่ เปน็ ไปตามกฎความสมั พนั ธก์ ารตดั ผา่ น 11. ครอู ธิบายเพ่มิ เตมิ ว่า โดยท่วั ไปการลำ� ดับช้นั หินนน้ั เปน็ การลำ� ดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยาท่ี มีความต่อเน่อื งกนั ของการสะสมตวั ของหินในช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกัน ความรเู้ พ่มิ เติมของครู การลำ� ดบั ชน้ั หนิ ในระดบั ชนั้ เรยี นนจี้ ะเรยี นกฎ 3 ขอ้ คอื กฎชนั้ แนวนอน การการลำ� ดบั ชน้ั กฎความสมั พนั ธก์ ารตดั ผา่ น แตย่ งั มกี ฎของการลำ� ดบั ชนั้ หนิ อกี เชน่ กฎการสบื สตั วชาติ (Law of Faunal Succession) อธบิ ายวา่ ซากดกึ ดำ� บรรพช์ นดิ ตา่ ง ๆ ท่ีถูกเก็บรักษาไว้ในชั้นหินมีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหน่ึงเป็นล�ำดับ ตลอดระยะเวลาทางธรณีวิทยา ท�ำให้สามารถทราบอายุของช้ันหินได้จากชนิดของ ซากดึกดำ� บรรพท์ พี่ บในชน้ั หินโดยเปรียบเทียบจากลำ� ดับวิวฒั นาการของสง่ิ มีชีวิตบนโลก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา 145 กฎชน้ั ตอ่ เนอื่ ง (Law of lateral continuity) เปน็ อธบิ ายการตกสะสมตวั ในแนวราบที่ มีการกระจายตัวต่อเนื่องตลอดท้ังแนวในแอ่งสะสมตะกอน ตัวอย่างเช่น การสะสมตัว อยา่ งตอ่ เนอื่ งในอทุ ยาน แกรนดแ์ คนยอน รฐั อรโิ ซนา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า สงั เกตไดว้ า่ บาง บรเิ วณทช่ี น้ั หนิ ขาดหายไปเนอ่ื งจากการผพุ งั หรอื ถกู กดั เซาะ แตย่ งั พบวา่ ชนั้ หนิ มคี วามเชอ่ื มโยง กนั ทงั้ สองดา้ นของหนา้ ผาชนั ตลอดทงั้ แนวเปน็ ชน้ั หนิ เดยี วกนั 12. ครนู ำ� เขา้ สบู่ ทเรยี นเรอ่ื งโครงสรา้ งทางธรณที ส่ี ง่ ผลตอ่ การลำ� ดบั ชน้ั หนิ โดยใหน้ กั เรยี นทบทวน ความร้เู กี่ยวกบั การลำ� ดับช้ันหนิ จากรปู ตวั อยา่ งและตอบคำ� ถามดงั ต่อไปน้ี จากรปู ให้ลำ� ดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาจากเหตุการณท์ ่ีเกิดขนึ้ กอ่ นไปเหตกุ ารณ์ท่ีเกิด ขึ้นหลังสุด แนวคำ� ตอบ ก ข ค ง จ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
146 บทที่ 4 | การลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 จากรูปล�ำดับช้ันหินต่อเน่ืองคู่ใดท่ีมีช่วงเวลาแตกต่างกันมากท่ีสุด เพราะเหตุใด (ตอบตามความคดิ ของนกั เรียน) แนวค�ำตอบ ชัน้ หนิ ค และ ง 13. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ นอกจากจะใชก้ ารลำ� ดบั ชน้ั หนิ มาลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาแลว้ นกั ธรณวี ทิ ยายงั ใชโ้ ครงสรา้ งทางธรณมี าเปน็ หลกั ฐานประกอบดว้ ย เชน่ รอยเลอ่ื น ชน้ั หนิ คดโคง้ รอยช้ันไม่ต่อเน่ือง ซ่ึงนักเรียนจะได้ศึกษาเร่ืองรอยชั้นไม่ต่อเนื่องตามกิจกรรมที่ 4.3 ในหนงั สือเรียนหนา้ 130 และตอบค�ำถามทา้ ยกิจกรรม กิจกรรม 4.3 เหตกุ ารณ์ท่หี ายไป จดุ ประสงคก์ ิจกรรม 1. สรา้ งแบบจ�ำลองเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยาจากสถานการณท์ ่ีก�ำหนดให้ 2. อธิบายลำ� ดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยาและการเกดิ รอยชั้นไม่ตอ่ เน่อื ง วสั ด-ุ อปุ กรณ์ 1. แบบจ�ำลองการวางตัวของช้นั หินจากกิจกรรม 4.2 2. ดินน�ำ้ มนั (สที ี่แตกต่างจากกิจกรรม 4.2) 1 กอ้ น 3. ไมบ้ รรทัดแข็ง 1 อนั การเตรียมตวั ลว่ งหนา้ ครูแจ้งนักเรียนล่วงหน้าในการใช้แบบจ�ำลองจากกิจกรรม 4.2 ในกิจกรรม 4.3 สถานการณ์ \"จากแบบจ�ำลองช้ันหินในกิจกรรม 4.2 ถ้าชั้นหนิ ตะกอนดังกล่าวหยุดการสะสมตัว เป็นระยะเวลายาวนาน และในช่วงระยะเวลาท่ีมีการหยุดสะสมตัวน้ันมีกระบวนการผุพัง กร่อน และปรากฏร่องรอยบนหินช้ันบนสุด จากนนั้ ในเวลาต่อมาเร่มิ มตี ะกอนใหม่มาสะสม ตวั บนชั้นหนิ ที่ถูกกรอ่ นไป\" วิธีการท�ำกจิ กรรม 1. รา่ งภาพ และออกแบบแบบจำ� ลองตามสถานการณท์ ีก่ ำ� หนดให้ 2. สร้างแบบจ�ำลองตามท่ีออกแบบไว้ทีละข้ันตอน โดยใช้อุปกรณ์ที่ก�ำหนดให้ พร้อมบันทกึ ลักษณะของแบบจำ� ลองในแต่ละขั้น 3. น�ำเสนอแบบจำ� ลองเพือ่ บรรยายลำ� ดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวทิ ยาตามล�ำดับ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา 147 ตวั อยา่ งการท�ำกิจกรรม (1) (2) 1. แบบจ�ำลองจากกิจกรรม 4.2 ใช้ 2. ร่องรอยที่สร้างขึ้นแสดงการกร่อน ไม้บรรทดั สร้างรอยชน้ั ไม่ตอ่ เนอ่ื ง ของหิน 3. วางดินน้�ำมันก้อนใหม่ซ้อนทับ ร่องรอยการกร่อนของหินแสดง การสะสมตัวใหมข่ องตะกอน (3) จากกจิ กรรม ดนิ นำ�้ มนั ชนั้ บนสดุ ทถ่ี กู ไมบ้ รรทดั ตดั นน้ั เปน็ ตวั แทนของหนิ ตะกอนทถ่ี กู กรอ่ นไปทำ� ใหเ้ หน็ เปน็ รอ่ งรอยการผพุ งั และดนิ นำ้� มนั กอ้ นใหมท่ ว่ี างซอ้ นลงไปแทนการสะสมตวั ของตะกอนใหม่บนร่องรอยที่เกิดการกร่อนน้ัน โดยล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาท่ีเกิดขึ้น เปน็ ไปดังรปู 12 3 ตัวอยา่ งบันทกึ ลำ� ดับเหตุการณข์ องสถานการณจ์ ากกจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
148 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตุการณท์ างธรณีวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 คำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. การที่ช้ันของดินน�้ำมันในแบบจ�ำลองบางลงหรือหายไปนั้นเทียบได้กับเหตุการณ์ใด ในทางธรณวี ิทยา แนวคำ� ตอบ การหายไปหรือบางลงของดินนำ�้ มันเปรียบได้กบั การผพุ ังและกร่อนไป ของช้นั หินอาจจะเน่ืองมาจากกระแสนำ�้ ลม หรอื ธารน้�ำแขง็ 2. จากแบบจ�ำลองบรเิ วณใดท่ีช้ันหนิ มกี ารหยุดสะสมตวั ของตะกอน แนวค�ำตอบ ชั้นหินบนสดุ (คำ� ตอบขึน้ อยู่กับแบบจำ� ลองของนักเรียน) 3. กอ่ นทจ่ี ะมตี ะกอนใหมม่ าปดิ ทบั มเี หตกุ ารณใ์ ดเกดิ ขน้ึ ทบี่ รเิ วณใด สงั เกตไดจ้ ากอะไร แนวคำ� ตอบ มกี ารกรอ่ นบนผวิ หนา้ ของชนั้ หนิ เดมิ สงั เกตไดจ้ ากรอ่ งรอยขรขุ ระบนชน้ั หนิ 4. การเติมดินน้�ำมนั ไปเป็นช้ันบนสุดของแบบจำ� ลองเทยี บได้กับเหตกุ ารณใ์ ดใน ทางธรณีวทิ ยา แนวคำ� ตอบ การสะสมตวั ของตะกอนชนดิ ใหมท่ สี่ ะสมตวั ทบั ถมบนชนั้ หนิ ตะกอนทถี่ กู กรอ่ นไป 14. ใหน้ ักเรยี นน�ำเสนอแบบจำ� ลองและร่วมกนั อภิปรายผลพรอ้ มตอบค�ำถามท้ายกิจกรรมโดยมี แนวทางการอภิปรายและตอบคำ� ถามดา้ นบน 15. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เรอื่ งรอยชนั้ ไมต่ อ่ เนอ่ื งดงั น้ี บรเิ วณทชี่ น้ั หนิ มกี ารหยดุ สะสมตวั และมรี อ่ งรอย การผกุ ร่อนของหินนัน้ ทำ� ให้เกดิ ร่องรอยท่หี ายไป เรียกวา่ รอยชัน้ ไม่ตอ่ เน่อื ง 16. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องลักษณะโครงสร้างทางธรณีท่ีมีผลต่อการล�ำดับชั้นหินจากหนังสือ เรียนหน้า 130-133 และร่วมกนั อภปิ ราย โดยใช้คำ� ถามดงั ตอ่ ไปน้ี เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยาใดบ้างทที่ ำ� ให้เกดิ การหยุดสะสมตัวของตะกอน แนวค�ำตอบ กระบวนการท่ีหยุดการสะสมตัวของตะกอนอาจมีได้หลายสาเหตุ เช่น การแทรกดันของหินอัคนี การยกตัวของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลง การข้ึนลงของ น�้ำทะเล การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ท�ำให้พ้ืนที่นั้นไม่เหมาะสมกับการสะสมตะกอน รอยช้นั ไมต่ ่อเน่ืองท่ีเกดิ ข้นึ สามารถสังเกตไดจ้ ากหลักฐานใด แนวค�ำตอบ สังเกตไดจ้ ากรอ่ งรอยการกรอ่ นของชั้นหนิ หรือหาอายขุ องชั้นหิน จากรปู บริเวณใดเปน็ รอยชั้นไมต่ อ่ เนอ่ื ง แนวคำ� ตอบ รอยชน้ั ไมต่ อ่ เนอ่ื งในรปู เปน็ บรเิ วณเสน้ สขี าวทห่ี นิ ชดุ เดมิ เกดิ การเปลย่ี นแปลง รูปร่างไป สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 4 | การล�ำดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา 149 รปู รอยชน้ั ไมต่ อ่ เนอ่ื ง บรเิ วณ Catskill รฐั นวิ ยอรก์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ทมี่ า: the U.S. Geological Survey ความรเู้ พม่ิ เติมสำ� หรบั ครู รอยชน้ั ไมต่ อ่ เนอ่ื ง แบง่ ออกได้ 4 ประเภทดงั น้ี 1. รอยชนั้ ไมต่ อ่ เนอื่ งคงระดบั (disconformity) เป็นบริเวณท่ีช้ันหินมีรอยขรุขระมี ลกั ษณะสงู -ตำ�่ ไมม่ กี ารเอยี งเทของชน้ั หนิ เกิดจากการผุกร่อนหรือไม่มีการทับถม ของตะกอน แสดงใหเ้ หน็ ถึงการขาดชว่ ง ในการสะสมตวั ของตะกอน (1) 2. ร อ ย ชั้ น ไ ม ่ ต ่ อ เ น่ื อ ง บ น หิ น อั ค นี (nonconformity) เป็นบริเวณรอยต่อ ของหินตา่ งประเภทกนั ซึ่งเกดิ จากการ แทรกดันตวั ของแมกมาเข้ามาในพ้ืนท่ี (2) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
150 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 3. รอยชั้นไม่ต่อเน่ืองเชิงมุม (angular unconformity) เปน็ บรเิ วณทห่ี นิ ชดุ ลา่ ง มีการวางตัวเอียงเทกับช้ันหินชุดบน (3) 4. รอยช้ันไมต่อเน่ืองแบบวางตัวขนาน ǰúšćîðŘ (paraconformity) เป็นบริเวณท่ีเห็น Ý ǰúšćîðŘ รอยชนั้ ไมต่ ่อเนื่องไม่ชัดเจน แต่สามารถ Ü Ù บง่ บอกไดจ้ ากชอ่ งวา่ งของอายขุ องชน้ั หนิ ×Ö (4) แนวทางการวัดและประเมินผล การวดั และประเมินผล KPA ประเมนิ จาก 1. ผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 4.1 4.2 และ 4.3 และ K: การล�ำดับชั้นหนิ การตอบค�ำถามท้ายกจิ กรรม P: 2. การร่วมอภปิ รายเพอ่ื สรปุ องคค์ วามรู้ 1. การหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา 3. แบบฝึกหัด 2. การสร้างแบบจำ� ลอง 3. การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ประเมนิ จาก 1. การอธิบายความสัมพันธ์ของล�ำดับชั้นหินกับ ล�ำดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวทิ ยาในอดตี 2. การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม 4.1 4.2 และ 4.3 และการตอบคำ� ถาม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การล�ำดับเหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา 151 KPA การวัดและประเมนิ ผล A: 1. การใช้วิจารณญาณ จากการวิเคราะห์และ 1. การใช้วิจารณญาณ 2. ความเชอ่ื มั่นต่อหลกั ฐาน อธิบายการล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา 3. การยอมรับความเหน็ ตา่ ง ในอดีตจากหลกั ฐานทางธรณวี ิทยาท่ีพบ 2. ความใจกว้าง และการยอมรับความเห็นต่าง จากการร่วมอภิปราย และการตอบค�ำถาม โดยมีหลักฐานหรอื เหตผุ ลสนับสนุน หมายเหต ุ K คือ ด้านความรู้ P คือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์/ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 A คือ จิตวิทยาศาสตร์ /เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 4.2 อายทุ างธรณีวิทยา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายวธิ กี ารหาอายุทางธรณวี ิทยาท้งั อายุเปรียบเทยี บและอายุสัมบรู ณ์ 2. อธิบายความหมายและการใชซ้ ากดกึ ด�ำบรรพ์ดัชนใี นการหาอายทุ างธรณีวิทยา สอื่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวิชาเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org แนวการจดั การเรยี นรู้ 1. น�ำเข้าสู่บทเรียน โดยทบทวนความรู้เดิมเรื่องการล�ำดับชั้นหิน ซากดึกด�ำบรรพ์ และ รอยช้ันไม่ต่อเนื่องเพ่ือท่ีจะเชื่อมโยงไปสู่เร่ืองอายุทางธรณีวิทยา โดยร่วมกันอภิปรายใน ประเดน็ ค�ำถามต่อไปน้ี โลกของเรามีอายุเท่าไร นกั วทิ ยาศาสตรส์ ามารถหาอายุของโลกได้อย่างไร แนวค�ำตอบ โลกของเราก�ำเนิดมาเม่ือ 4.5 พันล้านปีก่อน นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษา หลักฐานทางธรณีวิทยา เช่น หิน ซากดึกด�ำบรรพ์ โครงสร้างทางธรณีต่าง ๆ รวมถึง อกุ กาบาตเหลก็ ในระบบสรุ ิยะ ในการหาอายขุ องโลก การลำ� ดับช้นั หนิ สามารถนำ� มาหาอายุทางธรณวี ทิ ยาไดห้ รอื ไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ การล�ำดับช้ันหินถูกน�ำมาใช้ในการหาอายุทางธรณีวิทยาได้ โดยการบอก ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา เช่น กฎการลำ� ดับชนั้ ชัน้ ทมี่ กี ารสะสมตวั ก่อนอยลู่ ่างสุด จะมอี ายุแกก่ กวา่ ชนั้ หินท่ีซ้อนทับอย่ดู า้ นบน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
152 บทท่ี 4 | การล�ำดับเหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 2. ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาเกย่ี วกบั การหาอายทุ างธรณวี ทิ ยา ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 134 และรว่ มกนั อภิปรายรว่ มกันโดยใช้ประเดน็ ค�ำถามต่อไปน้ี นักวิทยาศาสตร์สามารถหาอายุทางธรณวี ทิ ยาได้ก่ีแบบ อะไรบ้าง แนวค�ำตอบ อายทุ างธรณวี ทิ ยามี 2 แบบ คือ อายเุ ปรยี บเทยี บ อายสุ ัมบูรณ์ 3. ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี นใหศ้ กึ ษาการหาอายเุ ปรยี บเทยี บเพอื่ เรยี งล�ำดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยา ของพน้ื ท่ี โดยนักเรยี นได้ปฏิบตั กิ จิ กรรมที่ 4.4 กจิ กรรม 4.4 อายเุ ปรยี บเทียบ จดุ ประสงคก์ ิจกรรม 1. วเิ คราะห์แผนภาพเพอื่ หาอายุเปรยี บเทยี บของพ้ืนที่ตวั อย่าง 2. อธบิ ายล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณวี ทิ ยาของพ้นื ที่ตัวอยา่ ง วัสด-ุ อปุ กรณ์ 1. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม วิธีการท�ำกิจกรรม 1. วิเคราะหแ์ ผนภาพเหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยาท่ี 1 และ 2 2. เรียงล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาจากแผนภาพท่ีก�ำหนดโดยเรียงจากอายุแก่สุด ถึงอายุออ่ นที่สดุ พร้อมอธิบายเหตุผล 3. วเิ คราะหร์ ปู ลำ� ดบั ชนั้ หนิ และวาดภาพแสดงลำ� ดบั ชน้ั หนิ จากรปู ตามลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ ทางธรณีวิทยา พรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ล ขอ้ เสนอแนะสำ� หรบั ครู 1. เตรียมแผนภาพจากภาพตัวอย่างโดยขยายขนาดเทา่ กับขนาด A4 และจ�ำนวนกลมุ่ ของนกั เรียน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา 153 ตัวอยา่ งบนั ทึกผลในกิจกรรม 1. แผนภาพเหตุการณ์ทางธรณีวทิ ยาที่ 1 สญั ลกั ษณ์ หนิ ปูน (limestone) หินทราย (sandstone) หินทรายแป้ง (siltstone) หินดนิ ดาน (shale) หนิ อัคนีแทรกซอน (intrusive igneous rock) อายุอ่อนสดุ เหตุผล ก ชั้น ง เป็นหินตะกอนท่ีมีการตกสะสมตัวก่อนจึงมีอายุแก่ที่สุดและ จ ถกู ปดิ ทบั ดว้ ยชนั้ หนิ ตะกอน ค และ ข จากนน้ั มกี ารแทรกตวั ของหนิ ข จ ซ่ึงเป็นพนังหินอัคนี ต่อมาเกิดการกร่อนจนได้พ้ืนที่ราบอีกครั้ง ค ก่อนจะมีการสะสมตัวของช้ันหิน ก ช้ันหิน ก จึงมีอายุอ่อนท่ีสุด ง อายแุ กส่ ดุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
154 บทที่ 4 | การลำ� ดบั เหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 2. แผนภาพเหตุการณท์ างธรณีวิทยาท่ี 2 สัญลักษณ์ จ ข ค หนิ ปูน (limestone) ข ก หินทราย (sandstone) ค หนิ ทรายแป้ง (siltstone) หินอคั นแี ทรกซอน (intrusive igneous rock) ก ง อายอุ อ่ นสุด ง จ ก เหตผุ ล ข ชั้นหินตะกอน ง มกี ารสะสมตวั กอ่ นจึงมีอายแุ กท่ ่ีสดุ และถูก ค ชัน้ หินตะกอน ค และ ข สะสมตัวปิดทับตามลำ� ดับ จากน้ันมีการ ง แทรกขนึ้ มาของพนงั หินอคั นี ก ผา่ นหนิ ตะกอนทงั้ 3 ชนิด จากนั้น มรี อยเล่ือนปกติ จ ตดั ผา่ นชัน้ หนิ ตะกอนและหนิ อัคนี ก่อนจะมกี าร อายุแก่สุด กร่อนของพ้นื ที่จนเป็นท่ีราบ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 4 | การลำ� ดบั เหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา 155 3. รูปลำ� ดับชั้นหนิ ท่ี 3 ชั้นหินบรเิ วณเกาะบอร์เนียว ประเทศมาเลเซยี ทมี่ า: สุคนธเ์ มธ จิตรมหันตกุล วาดภาพลำ� ดับเหตุการณ์ที่ 3 อายุอ่อนสุด ช ฉ จ ง ค ข ก อายแุ กส่ ุด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
156 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 เหตผุ ล ชั้นหิน ก เป็นหนิ ตะกอนท่ีมีการะสมตวั กอ่ นและมกี ารสะสมตวั ของหินตะกอนชัน้ ข ค ง จ ฉ ปิดทับซ้อนขึ้นมา ช้ันหินตะกอน ก จึงมีอายุแก่สุด จากนั้นมีรอยเล่ือนปกติ ช ตดั ผ่านช้ันหนิ ทุกช้นั ท�ำใหร้ อยเลอื่ นเป็นเหตุการณท์ มี่ ีอายอุ ่อนสดุ อภิปรายและสรปุ ผลกิจกรรม การหาอายเุ ปรยี บเทยี บสามารถหาไดโ้ ดยใชก้ ารลำ� ดบั ชนั้ หนิ ซงึ่ พจิ ารณาจากหลกั ฐาน ทางธรณวี ิทยา เช่น ลักษณะหิน โครงสรา้ งทางธรณี ซากดกึ ดำ� บรรพ์ โดยอายเุ ปรียบเทียบ จะบอกไดเ้ พยี งวา่ ชน้ั หนิ หรอื เหตกุ ารณธ์ รณวี ทิ ยาใดเกดิ กอ่ นหรอื เกดิ ภายหลงั ซงึ่ ไมส่ ามารถ บอกอายไุ ด้เปน็ ตัวเลขหรืออาจจะระบเุ ป็นช่วงเวลาตามมาตราธรณกี าล 4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื สรปุ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั อายเุ ปรยี บเทยี บ โดยใชป้ ระเดน็ ค�ำถามดงั นี้ หลักฐานทางธรณวี ิทยาใดบ้างท่นี ำ� มาใชใ้ นการหาอายเุ ปรียบเทียบ แนวค�ำตอบ ซากดึกด�ำบรรพ์ ลักษณะของหนิ โครงสรา้ งทางธรณี กฎการล�ำดับชัน้ สามารถนำ� มาบอกอายุเปรียบเทยี บได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ ช้ันหินตะกอนท่ีอยู่ด้านล่างมีอายุแก่กว่าชั้นหินตะกอนท่ีปิดทับอยู่ด้านบน การแทรกดันของหนิ อัคนีหรือรอยเล่อื นสามารถน�ำมาอธิบายการหาอายเุ ปรยี บเทียบได้ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ การแทรกตวั ของหินอคั นีหรือรอยเล่อื นตดั ผ่านช้ันหนิ เป็นเหตุการณ์ทีเ่ กิด ข้นึ ภายหลงั ทำ� ใหท้ ราบว่าหินอัคนหี รือรอยเล่อื นน้ันมีอายุออ่ นกว่าชัน้ หินเดิม อายุเปรียบเทียบสามารถบอกลำ� ดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยาไดห้ รือไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ อายเุ ปรยี บเทยี บสามารถบอกลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาไดว้ า่ ชนั้ หนิ หรอื เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาใดมอี ายแุ กห่ รอื ออ่ นกวา่ กนั แตไ่ มส่ ามารถบอกอายเุ ปน็ ตวั เลขได้ 5. ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ การหาอายสุ มั บรู ณข์ องชน้ั หนิ ซงึ่ สามารถบอกเปน็ ตวั เลขได้ ตามหนงั สอื เรยี น หน้า 134 โดยใชป้ ระเด็นตอ่ ไปน้ี อายุสมั บูรณแ์ ตกต่างจากอายุเปรยี บเทียบอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ อายเุ ปรยี บเทยี บไมส่ ามารถบอกอายเุ ปน็ ตวั เลขได้ แตอ่ ายสุ มั บรู ณส์ ามารถ บอกอายุของหินไดโ้ ดยการหาไดจ้ ากธาตุกัมมนั ตรังสีของแรท่ อ่ี ยใู่ นหนิ นกั วิทยาศาสตรใ์ ช้วิธกี ารใดในการหาอายุสัมบูรณ์ของหิน แนวคำ� ตอบ นกั วทิ ยาศาสตรใ์ ชธ้ าตกุ มั มนั ตรงั สที อ่ี ยใู่ นแรป่ ระกอบหนิ โดยการคำ� นวณหา ระยะเวลาทธ่ี าตกุ มั มนั ตรงั สใี นแรส่ ลายจากครง่ึ ชวี ติ ของธาตกุ มั มนั ตรงั สที อ่ี ยใู่ นแรป่ ระกอบหนิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การล�ำดับเหตุการณท์ างธรณีวิทยา 157 หินทกุ ชนดิ สามารถนำ� มาหาอายุสัมบูรณไ์ ด้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ไมไ่ ดท้ กุ ชนดิ เพราะการหาอายสุ มั บรู ณน์ นั้ สามารถหาไดจ้ ากธาตกุ มั มนั ตรงั สี ทอ่ี ยูใ่ นแรป่ ระกอบหนิ บางชนิดเท่านั้น ยกตวั อย่างแรป่ ระกอบหนิ ทส่ี ามารถหาอายสุ มั บูรณไ์ ด้ แนวค�ำตอบ เซอร์คอน ไมกา ฮอร์นเบลนด์ ถา้ นกั วทิ ยาศาสตรต์ อ้ งการหาอายสุ มั บรู ณข์ องหนิ แกรนติ ซงึ่ มแี รป่ ระกอบหนิ เปน็ ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ ไมกา นกั เรยี นคิดวา่ นกั วทิ ยาศาสตรจ์ ะใชแ้ ร่ชนิดใดในการหาอายุหนิ แกรนติ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำตอบ ไมกา เพราะองค์ประกอบทางแรท่ ม่ี ีส่วนประกอบธาตกุ ัมมันตรังสอี ยู่ 6. ครทู บทวนเร่ืองการคำ� นวณหาอายขุ องตวั อยา่ งหนิ จากครึ่งชีวติ โดยใช้ตัวอย่างคำ� ถามดังนี้ แร่ชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบของธาตุกมั มนั ตรงั สี ซึง่ มีครง่ึ ชวี ิต 10,000 ปี ปจั จบุ นั เหลือ ธาตกุ ัมมนั ตรังสีตัง้ ต้นอยรู่ อ้ ยละ 25 แรต่ วั อยา่ งมอี ายเุ ท่าไร แนวค�ำตอบ đüúćñćŠ îĕðǰ đüúćñćŠ îĕðǰ ǰ¸ ǰ¸ íćêÖč öĆ öîĆ êøÜĆ ÿêĊ ÜĚĆ êšî íćêÖč öĆ öîĆ êøÜĆ ÿêĊ ĚĆÜêîš íćêčÖöĆ öĆîêøĆÜÿĊêĆÜĚ êîš đĀúĂČ Ă÷øŠĎ Ăš ÷úąǰ đĀúČĂĂ÷øĎŠ šĂ÷úąǰ จากตัวอย่างธาตุกัมมันตรังสีหน่ึงมีปริมาณของไอโซโทปอยู่ร้อยละ 100 เม่ือเวลาผ่านไป 10,000 ปี ธาตกุ มั มันตรังสีจะสลายไปคร่งึ หนง่ึ จะเหลอื ปริมาณไอโซโทปอยูร่ อ้ ยละ 50 ของปรมิ าณ เดิม และเม่ือเวลาผ่านไปอีก 10,000 ปี ธาตุกัมมันตรังสีดังกล่าวจะเหลือปริมาณไอโซโทปอยู่ รอ้ ยละ 25 ของปรมิ าณเดิมแสดงวา่ ธาตกุ มั มนั ตรังสผี า่ นครง่ึ ชีวติ ไปจ�ำนวน 2 ชว่ ง ดังนั้นจงึ ค�ำนวณ หาอายุของแร่ได้โดยน�ำจ�ำนวนครึ่งชีวิตมาคูณกับจ�ำนวนช่วงชีวิต 10,000 × 2 ปี = 20,000 ปี ดงั นน้ั แรม่ ีอายุ 20,000 ปี 7. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปการหาอายทุ างธรณีวิทยาโดยมีแนวทางการสรปุ ดังน้ี การหาอายุทางธรณีวิทยามี 2 แบบ คือ อายุเปรียบเทียบและอายุสัมบูรณ์ โดยอายุ เปรยี บเทยี บเปน็ การบอกเชงิ เปรยี บเทยี บหาอายแุ กก่ วา่ หรอื ออ่ นกวา่ กนั แตอ่ ายสุ มั บรู ณ์ สามารถหาอายไุ ดจ้ ากธาตกุ ัมมนั ตรังสใี นแรป่ ระกอบหนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
158 บทท่ี 4 | การล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณวี ทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 ความรเู้ พิ่มเตมิ ส�ำหรับครู กรณศี กึ ษา การหาอายสุ มั บรู ณ์ นกั ธรณีวทิ ยาไดห้ าอายุหนิ ภเู ขาไฟและหนิ อัคนี บรเิ วณจังหวัดตาก ล�ำปาง และแพร่ ในแนวโครงสร้างสุโขทัยเน่ืองจากแนวโครงสร้างดังกล่าวเป็นบริเวณที่ท่ีมีการระเบิดของ ภูเขาไฟและการแทรกดันตัวของหินอัคนี ซ่ึงท�ำให้เกิดแหล่งแร่ชนิดต่าง ๆ ทั้งแร่โลหะและ แรอ่ โลหะ โดยการศกึ ษาพน้ื ทด่ี งั กลา่ วใชว้ ธิ กี ารเกบ็ ตวั อยา่ งหนิ เชน่ หนิ แกรนติ หนิ ไรโอไลต์ หนิ แอนดีไซต์ และนำ� ไปหาอายุหนิ โดยใช้วธิ กี ารหากมั มนั ตรงั สีของแร่ประกอบหิน โดยการ วเิ คราะหไ์ อโซโทปของธาตยุ เู รเนยี มและธาตตุ ะกวั่ U238 / Pb205 และการหาอตั ราการสลายตวั ของธาตยุ ูเรเนยี มเป็นธาตุตะกว่ั ทอี่ ยใู่ นเซอร์คอน (zircon) ซึง่ เป็นแร่ประกอบหินดงั กล่าว ตวั อยา่ งหนิ จากพนื้ ทศี่ ึกษา ชนดิ หนิ อายขุ องเซอรค์ อน (ล้านป)ี โดยใช้ U238/Pb206 ST-2 หนิ ไรโอไลต์ 231±3 ST-3 หนิ แกรนติ 228±3 ST-4 หินไรโอไลต์ 224±4 ST-5 หนิ แอนดีไซต์ 247±5 ST-6 หินแกรนติ 224±4 หินอัคนีชนิดต่าง ๆ ในแนวโครงสร้างสุโขทัย จึงท�ำให้ทราบว่าอายุแนวโครงสร้าง สุโขทยั อย่ใู นชว่ งประมาณ 250-220 ลา้ นปี ข้อมลู จาก: กรมทรัพยากธรณี (2548) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา 159 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการหาอายุทางธรณีวิทยาจากซากดึกด�ำบรรพ์ โดยทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิดและรูปแบบของซากดึกด�ำบรรพ์เพ่ือเชื่อมโยงเข้าสู่ ความรู้เก่ยี วกบั ซากดึกดำ� บรรพ์ดัชนี โดยใช้ประเด็นค�ำถามดังนี้ ซากดึกด�ำบรรพท์ ีน่ ักเรียนร้จู กั มีอะไรบ้าง แนวค�ำตอบ ตามความคิดของนกั เรยี น เช่น ไดโนเสาร์ แอมโมไนต์ ซากดกึ ด�ำบรรพ์คอื อะไร และมีกระบวนการเกิดไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ ซากดึกด�ำบรรพ์เป็นซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตท้ังพืชและสัตว์ท่ีถูกเก็บ รักษาไว้ในช้ันหิน เมื่อส่ิงมีชีวิตตายไปและถูกปิดทับถมจากตะกอนอย่างรวดเร็วท�ำให้ ถูกเก็บรักษาไว้ในหินซึ่งจะคงสภาพให้เห็นท้ังหมด หรือบางส่วน หรือเพียงร่องรอย ซึ่งกระบวนการนีเ้ รียกวา่ กระบวนการเกดิ ซากดกึ ด�ำบรรพ์ (fossilization) ซากดกึ ด�ำบรรพถ์ ูกเกบ็ รักษาไวใ้ นรปู แบบใดบา้ ง แนวค�ำตอบ ซากดึกด�ำบรรพ์ถูกเก็บรักษาไว้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ร่องรอย รอยพิมพ์ โครงร่างของสิ่งมีชีวิต ส่วนใหญพ่ บในรปู แบบโครงรา่ งแขง็ เช่น ฟัน กระดกู เปลือกหอย และล�ำต้นของต้นไม้ และบางส่วนยังพบในรูปโครงร่างอ่อนนุ่ม เช่น ช้างแมมมอธที่ถูก แช่แขง็ ในน�้ำแขง็ หรอื ซากสตั ว์ทอี่ ยู่เกลอื หนิ 9. ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ เกย่ี วกบั การใชซ้ ากดกึ ด�ำบรรพด์ ชั นเี พอื่ หาอายทุ างธรณวี ทิ ยาในหนา้ 139- 141 โดยใชป้ ระเดน็ ค�ำถามดังน้ี ซากดึกด�ำบรรพด์ ชั นีคืออะไร ซากดกึ ด�ำบรรพ์ดชั นแี ตกตา่ งจากซากดกึ ด�ำบรรพ์อยา่ งไร ซากดึกด�ำบรรพ์ดัชนีน�ำมาหาอายทุ างธรณวี ทิ ยาได้อยา่ งไร 10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเก่ียวกับการหาอายุทางธรณีวิทยาโดยใช้ ซากดกึ ดำ� บรรพด์ ชั นตี ามแนวทางการสรุปดงั น้ี แนวทางการอภปิ ราย ซากดกึ ดำ� บรรพเ์ ปน็ รอ่ งรอย โครงรา่ งของสง่ิ มชี วี ติ ซากดกึ ดำ� บรรพท์ พ่ี บมหี ลายชนดิ ตง้ั แต่ สัตว์บก สัตว์น้�ำ พืช เช่น ไดโนเสาร์ นก หอย แอมโมไนต์ ฟิวซูลินิด ไทรโลไบต์ เฟิร์น รอยตนี ไดโนเสาร์ ซากดึกด�ำบรรพด์ ชั นี มีลกั ษณะเฉพาะ กระจายอยู่ท่ัวไป ววิ ัฒนาการจนกระท่ังสูญพันธ์ุ ในช่วงเวลาสั้น ๆ ซึ่งมีความส�ำคัญในการช่วยหาอายุทางธรณีวิทยาได้ เช่น ฟิวซูลินิด (parafusulina bosei) มีช่วงอายุในยุคคาร์บอนิเฟอรัสถึงเพอร์เมียน ซึ่งจะไม่พบ ซากดกึ ด�ำบรรพด์ ังกล่าวในหินชว่ งอายุอืน่ ช้ันหินท่ีพบซากดึกด�ำบรรพ์ดัชนีจะมีอายุของการสะสมตัวใกล้เคียงกับอายุท่ีได้จาก ซากดึกด�ำบรรพ์ดชั นีนนั้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
160 บทที่ 4 | การลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 11. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพือ่ เช่ือมโยงซากดึกด�ำบรรพด์ ัชนีกับการหาอายุทาง ธรณวี ทิ ยาทงั้ อายเุ ปรยี บเทยี บและอายสุ มั บรู ณ์ โดยใหน้ กั เรยี นวเิ คราะห์ รปู 4.8 ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 141 โดยใช้ประเด็นค�ำถามต่อไปน้ี นกั เรยี นทราบอายขุ องช้ันหิน ก หรอื ไม่ และทราบไดอ้ ย่างไร แนวคำ� ตอบ ทราบจากซากดกึ ดำ� บรรพฟ์ วิ ซนู ดิ ทม่ี อี ายใุ นชว่ งยคุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั ถงึ เพอรเ์ มยี น แนวทางการวดั และประเมินผล KPA การวัดและประเมินผล K: อายทุ างธรณีวทิ ยา ประเมนิ จาก 1. ผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 4.4 และการตอบ ค�ำถามทา้ ยกจิ กรรม 2. การร่วมอภิปรายเพือ่ สรปุ องค์ความรู้ 3. แบบฝกึ หดั P: ประเมนิ จาก 1. การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ 1 การแปลความจากหลกั ฐานทางธรณีวิทยาได้ 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ 2. ผลงานจากกิจกรรม 4.4 และการตอบค�ำถาม ปญั หา ระหว่างนำ� เสนอผลงาน 3. การวเิ คราะห์สถานการณท์ ่กี �ำหนดให้ A: การรว่ มอภิปราย และการตอบค�ำถาม 1. การใชว้ ิจารณญาณ 2. ความเช่ือมน่ั ต่อหลกั ฐาน 3. ความใจกวา้ ง หมายเหตุ K คือ ด้านความรู้ P คือ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร/์ ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 A คือ จติ วิทยาศาสตร์ /เจตคติทางวิทยาศาสตร์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา 161 ความรูเ้ พิม่ เตมิ สำ� หรบั ครู ซากดึกด�ำบรรพ์ เป็นซากและรอ่ งรอยของสิ่งมชี ีวิตของพชื หรือสตั วท์ ถี่ ูกเก็บรกั ษาไว้ ในช้ันหินซง่ึ มรี ูปแบบต่าง ๆ เช่น ร่องรอย โครงรา่ งของสงิ่ มชี ีวิต ฟัน เปลอื กหอย ล�ำตน้ ของ ตน้ ไม้ (ก) กระดกู (ข) รอ่ งรอยชอนไช (ค) รอยตนี ไดโนเสาร์ (ง) รอยเปลอื กหอย ซากชา้ งแมมมอธ ท่ีพบในธารน้�ำแข็งและซากแมลงท่ีพบในยางไม้หรืออ�ำพันก็จัดเป็นซากดึกด�ำบรรพ์อีกด้วย ซากดกึ ดำ� บรรพ์นั้นจะถกู เกบ็ รักษาด้วยกระบวนการเกิดซากดกึ ด�ำบรรพ์ (fossilization) (ก) (ข) (ค) (ง) รูปแสดงซากดกึ ด�ำบรรพโ์ ครงรา่ งแขง็ (ก) ไม้กลายเป็นหินมคี วามยาว 72.22 เมตร ท่ปี จั จุบนั อย่ใู น เขตวนอทุ ยานไมก้ ลายเปน็ หนิ อำ� เภอบา้ นตาก จงั หวดั ตาก (ข) ซากดกึ ดำ� บรรพไ์ ดโนเสารภ์ เู วยี งโกซอรสั สิรินธรเน เป็นไดโนเสาร์กลุ่มกินพืช บริเวณพิพิธภัณฑ์สิรินธร อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ (ค) รอ่ งรอยการชอนไช (ง) รอยตนี ไดโนเสาร์ วนอุทยานภแู ฝก จังหวดั ขอนแกน่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
162 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 4.3 การเทยี บสัมพันธท์ างลำ� ดับช้ันหิน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. วเิ คราะห์และอธิบายข้อมูลทางธรณีวทิ ยา เพอ่ื เชอ่ื มโยงและล�ำดบั เหตกุ ารณใ์ นอดีต 2. อธบิ ายล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาด้วยมาตราธรณกี าล ส่อื การเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก ดาราศาตร์ และอวกาศ เลม่ 1 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครูน�ำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เกี่ยวกับการล�ำดับชั้นหิน โครงสร้างทางธรณี อายทุ างธรณีวทิ ยา ซากดึกด�ำบรรพ์ และล�ำดับเหตุการณท์ างธรณขี องพื้นที่ โดยใช้ประเดน็ ค�ำถามต่อไปนี้ ขอ้ มูลทางธรณีวทิ ยาใดบา้ งท่ใี ชเ้ พือ่ ศกึ ษาและเชอื่ มโยงความสัมพนั ธ์ของแต่ละพื้นท่ี แนวค�ำตอบ การล�ำดับชน้ั หิน โครงสร้างทางธรณี อายุทางธรณีวทิ ยา ซากดึกดำ� บรรพ์ จากรูปนกั เรียนคดิ ว่าชนั้ หินแต่ละชนั้ ของแต่ละพืน้ ทมี่ ีความเชื่อมโยงกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ ตามความคดิ ของนักเรียน 2. ให้นกั เรียนศกึ ษาการเทียบสัมพันธ์ทางลำ� ดับช้ันหนิ ตามกิจกรรม 4.5 ในหนงั สอื เรียนหนา้ 142-145 และตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม รปู อทุ ยานแห่งชาติแกรนดแ์ คนยอน ทม่ี าของรปู : นพวัชร เจริญสนิ พร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยา 163 กจิ กรรม 4.5 การลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยา จุดประสงค์กิจกรรม 1. ระบุลำ� ดบั ช้ันหนิ ของแตล่ ะพื้นทีท่ ่กี ำ� หนด 2. อธบิ ายและสรุปความสมั พันธ์ระหว่างพ้ืนที่ทีก่ ำ� หนดจากชนดิ หิน อายหุ นิ ซากดกึ ดำ� บรรพด์ ชั นี และล�ำดับชน้ั หนิ ตอนที่ 1 สถานการณ์ \"นักธรณีวิทยาได้ส�ำรวจพ้ืนท่ี 2 แห่ง คือ พื้นที่ ก และ ข ซ่ึงอยู่ห่างกันประมาณ 15 กิโลเมตร ตามแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก และเก็บข้อมูลเก่ียวกับชนิดหินและ ล�ำดับชั้นหิน ดังรูป และพบว่าพ้ืนท่ีท้ัง 2 แห่ง มีช้ันหินปูนอายุประมาณ 250 ล้านปี ชัน้ หินทรายแปง้ (siltstone) อายุประมาณ 150 ล้านป\"ี Āĉîìøć÷ǰ TBOETUPOF Āĉîìøć÷ĒðÜŜ ǰ TJMUTUPOF ǰ Āîĉ éîĉ éćîǰ TIBMF Āîĉ ðĎîǰ MJNFTUPOF óîĚČ ìĊęǰÖ óîĚČ ìĊǰę × จากขอ้ มลู ในสถานการณ์ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. วิเคราะห์แผนภาพและบรรยายล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีทั้งสอง จากสถานการณแ์ ละรปู ทีก่ �ำหนด พน้ื ที่ ก มหี นิ ปนู อยลู่ า่ งสดุ มอี ายุ 250 ลา้ นปี มหี นิ ดนิ ดานปดิ ทบั หนิ ปนู มหี นิ ทรายแปง้ อายุ 150 ลา้ นปี ปิดทับหนิ ดินดาน และหนิ ทรายวางตวั อยบู่ นสุดของพน้ื ที่ ก พนื้ ที่ ข มหี นิ ปนู อยลู่ า่ งสดุ มอี ายุ 250 ลา้ นปี มหี นิ ดนิ ดานปดิ ทบั หนิ ปนู มหี นิ ทรายแปง้ อายุ 150 ลา้ นปี ปดิ ทบั หินดินดาน และหินทรายวางตวั อยบู่ นสดุ ของพืน้ ท่ี ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
164 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 2. ลากเส้นเชื่อมโยงชนิดหินท่ีมีอายุเดียวกัน โดยเชื่อมขอบบน ขอบล่างของชั้นหินทั้ง สองพน้ื ที่ ที่มีขอ้ มูลสมั พันธก์ ัน Āĉîìøć÷ǰ TBOETUPOF Āĉîìøć÷ĒðŜÜǰ TJMUTUPOF ǰ Āîĉ éîĉ éćîǰ TIBMF Āîĉ ðĎîǰ MJNFTUPOF óîĚČ ìĊęǰóÖîĚČ ìĊǰę Ö óîĚČ ìĊęǰó×îĚČ ìĊǰę × 3. ตัง้ สมมติฐานแสดงความสมั พันธ์ของทัง้ 2 พนื้ ท่ี พรอ้ มระบุเหตุผลประกอบ พนื้ ทีท่ งั้ สองแห่งอาจเกดิ ในชว่ งเวลาเดยี วกนั ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มเดียวกนั เนื่องจากพ้นื ทท่ี ัง้ 2 แห่ง มลี �ำดบั ช้นั หินเหมอื นกนั และมอี ายุเดยี วกนั ค�ำถามท้ายกจิ กรรม 1. พืน้ ทีท่ ง้ั 2 แหง่ มีลำ� ดบั ชัน้ หินเหมอื นหรอื แตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ เหมือนกัน เพราะ มลี �ำดบั ชัน้ หินปูน หินดนิ ดาน หินทรายแปง้ และ หนิ ทราย เรียงลำ� ดับจากด้านล่างไปดา้ นบนเหมือนกนั 2. จากขอ้ มลู ทงั้ 2 พน้ื ที่ หนิ ดินดานและหนิ ทรายมีชว่ งอายุประมาณเท่าใด ทราบได้ อย่างไร แนวค�ำตอบ หินดินดานมชี ว่ งอายุระหวา่ ง 250 – 150 ล้านปี เพราะวางตวั อยูเ่ หนอื ช้ันหินปูนซ่ึงมีอายุ 250 ล้านปี และมีช้ันหินทรายแป้งอายุ 150 ล้านปี ปิดทับอยู่ หินทรายอายุนอ้ ยกว่า 150 ลา้ นปี เพราะหินทรายวางตัวปิดทบั อย่บู นช้นั หินทราย แป้งซึง่ มอี ายุ 150 ล้านปี 3. พน้ื ทท่ี ัง้ 2 แหง่ มีความสมั พนั ธก์ ันหรือไม่ เพราะเหตุใด แนวค�ำตอบ มคี วามสมั พันธก์ นั เพราะมีชนดิ หิน อายขุ องหนิ และมลี ำ� ดบั ชั้นหิน เหมือนกัน 4. ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการเทียบสัมพันธ์ทางล�ำดับชั้นหินของทั้ง 2 พ้ืนท่ีตาม กจิ กรม 4.5 ตอนท่ี 1 และตอบคำ� ถามท้ายกจิ กรรมขา้ งตน้ 5. ครูให้นกั เรียนศกึ ษาการเทยี บสัมพนั ธ์ทางลำ� ดับชั้นหิน ของหลายพื้นที่ตามกจิ กรรม 4.5 ตอน 2 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 4 | การลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา 165 ตอนที่ 2 สถานการณ์ \"ต่อมานักธรณีวิทยาได้ส�ำรวจพ้ืนที่ ค เพ่ิมเติม ซึ่งอยู่ห่างจากพื้นท่ี ข ออกไปทาง ทิศตะวันออกอีก 10 กิโลเมตร พบว่ามีล�ำดับช้ันหินคล้ายคลึงกัน และในชั้นหินดินดาน (shale) มซี ากดึกดำ� บรรพ์ดชั นขี องแอมโมนอยด์ อายรุ ะหว่าง 220-205 ล้านป\"ี ดังรปู Āîĉ ìøć÷ǰ TBOETUPOF Āĉîìøć÷ĒðÜŜ ǰ TJMUTUPOF ǰ Āîĉ éîĉ éćîǰ TIBMF óîĚČ ìĊęǰÖ óîĚČ ìĊęǰ× óîĚČ ìĊęǰÙ Āîĉ ðîĎ ǰ MJNFTUPOF ĒĂöēöîĂ÷éŤǰ Ăć÷øč ąĀüŠćÜǰǰúćš îðŘǰ จากขอ้ มูลในสถานการณใ์ หน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. วเิ คราะหแ์ ละบรรยายลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาของพน้ื ท่ี ค จากสถานการณแ์ ละ รปู ท่กี ำ� หนด พืน้ ท่ี ค มีหนิ ปูนอยูด่ า้ นสุด มีหินดนิ ดานอายุระหว่าง 220 – 205 ลา้ นปี ปดิ ทับ ดว้ ยหนิ ปูน มีหินทรายแป้งและหนิ ทรายปิดทบั อยบู่ นสดุ 2. ลากเส้นเช่ือมโยงชนิดหินที่มีอายุเดียวกัน โดยเช่ือมขอบบน ขอบล่างของช้ันหิน ทงั้ สามพนื้ ที่ ท่ีมีข้อมลู สัมพันธก์ นั Āĉîìøć÷ǰ TBOETUPOF Āĉîìøć÷ĒðŜÜǰ TJMUTUPOF ǰ Āîĉ éîĉ éćîǰ TIBMF Āîĉ ðîĎ ǰ MJNFTUPOF óóîĚČ ìîĚČ ìĊęǰÖĊęǰÖ óóîĚČ îĚČ ììĊęǰĊǰę×× óóîĚČîĚČ ììĊǰęĊǰę ÙÙ ĒĂöēöîĂ÷éŤǰ Ăć÷øč ąĀüŠćÜǰǰúćš îðŘǰ 3. ตั้งสมมตฐิ านแสดงความสมั พนั ธ์ของท้ัง 3 พื้นท่ี พรอ้ มระบเุ หตุผลประกอบ แนวค�ำตอบ พนื้ ท่ที ง้ั 3 แห่งอาจเกดิ ในช่วงเวลาและภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกนั เน่อื งจากพน้ื ท่ีท้งั 3 แหง่ มีล�ำดับช้นั หนิ เหมือนกนั และมีอายเุ ดยี วกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
166 บทท่ี 4 | การลำ� ดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 4. น�ำข้อมูลลำ� ดบั ชนั้ หนิ ของท้ัง 3 พนื้ ที่มารวมกนั จัดเรยี งลำ� ดับการเกิด และแสดงใน แบบจำ� ลองชัน้ หนิ ทีก่ ำ� หนด โดยวาดภาพสัญลกั ษณ์หนิ และระบชุ อ่ื หนิ หนิ ทราย หินทรายแปง้ หินดินดานพบซากดึกด�ำบรรพแ์ อมโมนอยด์ หินปูน รปู แบบจ�ำลองแสดงภาพรวมล�ำดับชัน้ หินของพ้ืนท่ีทง้ั 3 แห่ง 5. อธบิ ายลำ� ดบั เหตุการณ์ทางธรณีของพื้นทท่ี งั้ 3 แหง่ แนวค�ำตอบ หินปูนมีการเกิดสะสมตัวมีอายุประมาณ 250 ล้านปี ในเวลาต่อมา มกี ารสะสมตวั ของหนิ ดนิ ดานทอ่ี ายุ 220-205 ลา้ นปี ทม่ี ซี ากดกึ ดำ� บรรพแ์ อมโมนอยด์ จากนนั้ มกี ารสะสมตวั ของหนิ ทรายแปง้ ทม่ี อี ายุ 150 ลา้ นปี และมหี นิ ทรายตกตะกอน ในลำ� ดบั สุดท้ายของชุดหนิ น้ี โดยหินทรายทพ่ี บในพนื้ ท่ี ก และ ข มกี ารกร่อนหายไป อาจเนอื่ งจากการกดั เซาะของกระแสลม หรอื กระแสนำ้� ในชว่ งเวลานน้ั ๆ และปจั จบุ นั พ้ืนท่ที ง้ั 3 แหง่ อยู่ต่างบริเวณกนั อาจเป็นผลจากกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณี ตา่ ง ๆ ค�ำถามทา้ ยกิจกรรม 1. พนื้ ทท่ี ั้ง 3 แห่ง มีลำ� ดบั ชั้นหินเหมือนหรือแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ พ้นื ท่ีทง้ั 3 แหง่ มลี ำ� ดบั ชั้นหินเหมือนกนั คอื ชัน้ ลา่ งเป็นหินปูนปดิ ทับ ดว้ ยหนิ ดินดาน หนิ ทรายแป้ง และหนิ ทรายอยู่บนสุด 2. จากข้อมูลพ้นื ท่ี ค ช้นั หินดนิ ดานมอี ายปุ ระมาณเท่าไร ทราบได้อย่างไร แนวคำ� ตอบ ชน้ั หนิ ดนิ ดานมอี ายปุ ระมาณ 220-205 ลา้ นปี เนอ่ื งจากพบซากดกึ ดำ� บรรพ์ แอมโมนอยดม์ ีอายรุ ะหวา่ ง 220-205 ล้านปี 3. ชัน้ หินดนิ ดานในพืน้ ที่ ก ข และ ค มอี ายเุ หมือนกนั หรือไม่ เพราะเหตใุ ด แนวคำ� ตอบ อายหุ นิ ดนิ ดานทงั้ 3 พนื้ ทม่ี กี ารลำ� ดบั ชน้ั หนิ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั จงึ นา่ จะมอี ายุ ใกล้เคียงกันโดยมีอายุประมาณ 220-205 ลา้ นปี 4. จากตอนท่ี 1 และตอนที่ 2 ขอ้ มลู ใดบ้างท่สี นบั สนนุ ความสมั พนั ธ์ของพ้ืนทีท่ ้ัง 3 แห่ง แนวคำ� ตอบ ชนิดหิน อายหุ นิ ซากดึกด�ำบรรพ์ดัชนี และลำ� ดบั ช้ันหิน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทท่ี 4 | การลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา 167 3. ครูให้นักเรียนสืบค้นเก่ียวกับหลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีน�ำมาจัดเรียงเป็นมาตราธรณีกาล ในหนังสือเรียนหนา้ 145-147 และร่วมกนั อภปิ รายจากประเด็นคำ� ถามตอ่ ไปนี้ มาตราธรณีกาลคืออะไรและมคี วามสำ� คัญอยา่ งไร แนวค�ำตอบ มาตราธรณีกาลเป็นการล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาต้ังแต่ก�ำเนิดโลกถึง ปัจจุบันท่ีถูกแบ่งออกเป็นช่วงเวลาต่าง ๆ เพื่อน�ำมาอธิบายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต บนโลก ซึ่งทำ� ใหท้ ราบความเป็นมาของโลก นักวทิ ยาศาสตร์ศึกษาประวตั ิของโลกอนั ยาวนานได้อย่างไร แนวค�ำตอบ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาประวัติของโลกอันยาวนานได้จากหินและ ซากดึกด�ำบรรพ์ ซ่ึงหลักฐานดังกล่าวได้ถูกเก็บรักษาไว้มาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน ใน การศกึ ษาหนิ ทม่ี อี ายแุ กท่ ำ� ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรส์ ามารถคาดการณส์ ภาพแวดลอ้ มของพนื้ ทไ่ี ด้ นกั วิทยาศาสตรแ์ บง่ ชว่ งเวลาทางธรณีวทิ ยาไดอ้ ย่างไร พร้อมยกตวั อย่าง แนวค�ำตอบ นักวิทยาศาสตร์ใช้การเปล่ียนแปลงของส่ิงมีชีวิตมาในการแบ่งช่วงอายุทาง ธรณวี ิทยา เช่น การสญู พนั ธค์ ร้งั ยง่ิ ใหญข่ องไดโนเสารใ์ นยคุ ครเี ทเชียส ในชว่ งมหายคุ พาลโี อโซอิกสมู่ หายุคมโี ซโซอิก สงิ่ มีชีวิตมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ในชว่ งมหายคุ พาลีโอโซอิกสิง่ มีชวี ิตสว่ นใหญม่ โี ครงสรา้ งอย่างงา่ ย อาศัยอยู่ ในทะเล เม่ือใกล้จะส้ินมหายุคพาลีโอโซอิกมีวิวัฒนาการของสัตว์คร่ึงบกครึ่งน้�ำและ สตั วเ์ ลอื้ ยคลานทอ่ี าศยั บนบก นกั วทิ ยาศาสตรส์ มมตฐิ านการสนิ้ สดุ ของมหายคุ พาลโี อโซอกิ วา่ อาจเกดิ จากการเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มของมหาสมทุ ร เมอื่ เขา้ สมู่ หายคุ มโี ซโซอกิ เปน็ ยุคของสัตว์เล้ือยคลาน เช่น ไดโนเสาร์ และยังพบนก การสิ้นสุดของมหายุคซีมีโซโซอิก นน้ั นกั วทิ ยาศาสตร์สมมติฐานวา่ อาจเกดิ จากการชนของอุกกาบาตทำ� ใหเ้ กิดการปกคลมุ ของฝุ่นละอองในชน้ั บรรยากาศทำ� ให้อุณหภมู ิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกเปลย่ี นไป 4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับมาตราธรณกี าลโดยมีแนวทางให้มขี อ้ สรุปดงั ตอ่ ไปนี้ แนวทางการสรปุ นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดศ้ กึ ษาลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ ประวตั คิ วามเปน็ มาของโลก จาก หลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทพี่ บ เชน่ หนิ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ โครงสรา้ งทางธรณี อายทุ างธรณวี ทิ ยา ดงั คำ� กลา่ วทว่ี า่ การศกึ ษาธรณวี ทิ ยาเปน็ การศกึ ษาหลกั ฐานทพ่ี บในปจั จบุ นั เพอื่ ไขอดตี ทเี่ กดิ ขนึ้ เน่ืองจากการศึกษาประวัติความเป็นมาของโลกต้องอาศัยหลักฐานทางธรณีที่พบอยู่ทั่วโลก การเทียบสัมพันธ์จึงเป็นหลักการหนึ่งที่มีความส�ำคัญในการเชื่อมโยงหลักฐานที่พบในแต่ละ พน้ื ทขี่ องโลกเพอื่ ทจ่ี ะสามารถอธบิ ายลำ� ดบั เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ตามเวลาแตล่ ะชว่ งทเี่ กดิ ขนึ้ ตงั้ แต่ ก�ำเนิดโลกจนถึงปจั จบุ นั แลว้ นำ� มาจดั ทำ� เป็นมาตราธรณกี าล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
168 บทที่ 4 | การลำ� ดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 แนวทางการวัดและประเมินผล KPA การวดั และประเมนิ ผล K: การเทียบสัมพนั ธท์ างลำ� ดบั ชัน้ หิน ประเมนิ จาก 1. ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 4.5 และการตอบคำ� ถาม ท้ายกจิ กรรม 2. การรว่ มอภปิ รายเพอ่ื สรปุ องค์ความรู้ 3. แบบฝกึ หดั P: ประเมินจาก 1. การหาความสัมพนั ธข์ องสเปซกับเวลา 1. การอธบิ ายความสมั พนั ธท์ างธรณวี ทิ ยาระหวา่ ง 2. การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป พืน้ ทจ่ี ากกิจกรรม 4.5 3. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ 2. การแปลความจากหลกั ฐานทางธรณีวิทยาได้ 4. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและ 3. ผลงาน และการตอบค�ำถาม การแกป้ ัญหา A: ประเมนิ จาก 1. การใช้วิจารณญาณ 1. การสังเกตพฤตกิ รรมระหว่างการท�ำงานกลมุ่ 2. ความเชอื่ ม่นั ต่อหลกั ฐาน 2. การรว่ มอภปิ ราย และการตอบค�ำถาม 3. ความใจกวา้ ง 4. การยอมรบั ความเห็นต่าง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 4 | การล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา 169 ความรู้เพมิ่ เตมิ ส�ำหรบั ครู กรณีศึกษาล�ำดับเหตุการณ์ทาง ธรณวี ทิ ยา: สสุ านหอยแหลมโพธ์ิ สุสานหอยแหลมโพธิ์ ต้ังอยู่บ้านแหลมโพธ์ิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบ่ี ในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ หมู่เกาะพีพี เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหน่ึงท่ีได้รับความ สนใจจากนกั ท่องเทีย่ ว พื้นที่ดังกล่าวพบซากดึกด�ำบรรพ์ หอยขมน�้ำจืด เป็นจ�ำพวกหอยน้�ำจืดวงศ์ viviparidae โดยพบในชนั้ เปลอื กหอยสขี าว อมเทา สลบั กับชน้ั หินเคลย์ (claystone) ที่ พบเปลือกหอยชนิดเดียวกันอยู่ และยังมี ช้ันถ่านหินลิกไนต์สีด�ำแทรกสลับอยู่ด้วย มกี ารเอยี งเทของชน้ั หนิ ประมาณ 5 องศาไป ทางทศิ ตะวนั ออก สสุ านหอยแหลมโพธเ์ิ ดมิ ชอื่ สสุ านหอย 75 ลา้ นปี แตจ่ ากหลกั ฐานทคี่ น้ พบเพมิ่ เรอ่ื ย ๆ ท�ำให้อายุของสุสานหอยเปลี่ยนไปจึงได้ รูปสุสานหอยแหลมโพธ์ิ ทีม่ า: นพคณุ ศรพี ลงั เปลย่ี นชอ่ื เปน็ สสุ านหอยแหลมโพธดิ์ งั ปจั จบุ นั ลานหอยนำ�้ จดื นเี้ คยระบอุ ายใุ นชว่ งเทอรเ์ ชยี รี หรอื ปจั จบุ นั อยใู่ นชว่ งพาลโี อจนี โดยใชซ้ ากดกึ ดำ� บรรพข์ องหอยเปน็ ตวั กำ� หนดอายุ แตต่ อ่ มา ได้มีการพบซากดึกด�ำบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดในแอ่งสะสมตะกอน มีอายุ ประมาณ 40 ลา้ นปี แตย่ งั มกี ารศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง นกั ธรณวี ทิ ยายงั พบซากดกึ ดำ� บรรพเ์ รณู และสปอร์ของพืชโบราณท่สี ะสมตวั อยูใ่ นช้ันเดียวกับชั้นหอยโบราณกว่า 29 ชนิด ทีม่ ที ั้งพืช น้�ำ พืชป่าชายเลน พืชป่าดิบช้ืนและป่าสนเขา ดังน้ันจากข้อมูลซากเรณูและสปอร์จึงได้มี การเปล่ยี นแปลงช่วงอายุของช้ันหนิ ทแี่ คบลงเปน็ 40-20 ล้านปี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
170 บทที่ 4 | การล�ำดบั เหตุการณ์ทางธรณีวทิ ยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 รปู ล�ำดับเหตกุ ารณส์ �ำคัญของสุสานหอยแหลมโพธ์ิ ท่ีมา: กรมทรพั ยากรธรณี (2537) ในอดตี ขณะที่มกี ารสะสมตวั ของสสุ านหอยแหลมโพธ์ิ ภูมิลักษณห์ รอื สภาพแวดล้อม ในบริเวณน้เี ป็นแบบใด แนวค�ำตอบ ในอดีตขณะท่ีมีการสะสมตัวของสุสานหอยแหลมโพธ์ิ ภูมิลักษณ์หรือ สภาพแวดล้อมในบริเวณนเ้ี ป็นทะเลสาบนำ�้ จดื ปัจจุบันสุสานหอยแหลมโพธ์มิ ีภูมลิ ักษณห์ รอื สภาพแวดลอ้ มในบริเวณน้เี ป็นแบบใด แนวค�ำตอบ ปัจจุบันสุสานหอยแหลมโพธิ์มีภูมิลักษณ์หรือสภาพแวดล้อมแบบ การสะสมตะกอนแบบแนวชายฝ่ัง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา 171 แบบฝกึ หัดท้ายบท 1. จับคคู่ ำ� และความหมายของคำ� ให้ถูกตอ้ ง ค�ำ ตงอบ 1. คำ� ศัพท์ ความหมาย การลำ� ดบั ชนั้ หิน ก. บคุ คลทศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั ซากหรอื รอ่ งรอยสง่ิ มชี วี ติ ในอดตี ช 2. ซากดกึ ด�ำบรรพ์ ข. อายขุ องซากดกึ ดำ� บรรพ์ ลกั ษณะทางธรณี และ จ 3. ซากดึกด�ำบรรพด์ ัชนี เหตกุ ารณท์ างธรณตี า่ ง ๆ ในชน้ั หนิ เปรยี บเทยี บกบั ฉ 4. มาตราธรณีกาล ขอ้ มลู ซากดกึ ดำ� บรรพ์ ลกั ษณะทางธรณี และเหตกุ ารณ์ ค 5. รอยช้ันไมต่ อ่ เนื่อง ทางธรณวี ทิ ยาอน่ื ๆ ก 6. นักบรรพชวี ินวทิ ยา ค. รอ่ งรอยของกระบวนการทางธรณวี ทิ ยามารบกวน ทำ� ให้ ซ 7. อายุสมั บรู ณ์ ความตอ่ เนอ่ื งของชนั้ หนิ ขาดหายไป ข 8. อายเุ ปรียบเทียบ ง. การเรยี งลำ� ดบั ชน้ั หนิ ตามอายแุ ละลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา ญ 9. คร่ึงชวี ิต ทพ่ี บในชนั้ หนิ ฌ 10. การสลายตัวของ จ. ซากและร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏในหิน กมั มนั ตรังสี มีลักษณะเฉพาะ มีช่วงอายุส้ัน ๆ และแพร่กระจาย อยทู่ ว่ั โลก ฉ. ล�ำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาต้ังแต่ก�ำเนิดโลกถึง ปจั จบุ นั ทถี่ กู แบง่ ออกเปน็ ชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ช. ซากและรอ่ งรอยของสง่ิ มชี วี ติ ทป่ี รากฏอยใู่ นหนิ ซ. อายทุ างธรณวี ทิ ยาทบ่ี อกเปน็ ตวั เลข ฌ. ธาตุกัมมันตรังสีมีการปลดปล่อยพลังงานในรูปของ อนุภาคหรือรังสีต่าง ๆ จนได้ไอโซโทปของธาตุใหม่ ทเี่ สถยี รกวา่ ญ. เวลาทธี่ าตกุ มั มนั ตรงั สสี ลายตวั ลดลงเหลอื ครงึ่ หนง่ึ ของ จำ� นวนเดมิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
172 บทที่ 4 | การลำ� ดับเหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 2. จากรปู ใหน้ กั เรียนเรียงล�ำดบั ช้ันหนิ จากอายแุ ก่สุดไปอายอุ ่อนสุด และบอกเหตุผล ประกอบ 2.1 ง อายอุ ่อนสดุ ก ค ง ขก ค ข อายุแกส่ ุด สัญลกั ษณ์ หินทราย (sandstone) หนิ ทรายแปง้ (siltstone) หินดนิ ดาน (shale) หนิ อัคนีแทรกซอน (intrusive igneous rock) แนวคำ� ตอบ ชนั้ หนิ ทรายมกี ารตกสะสมตวั อยลู่ า่ งสดุ ปดิ ทบั ดว้ ยชนั้ ชนั้ หนิ ทรายแปง้ และหนิ ดนิ ดาน โดยช้ันหนิ ทรายมอี ายแุ กส่ ดุ จากกฎการล�ำดับช้ันที่ว่าชนั้ หนิ ทีว่ างตวั อยู่ลา่ งจะมีอายุแก่กว่าชัน้ หินที่วางตัวอยดู่ า้ นบน จากนั้นมีหนิ อคั นแี ทรกผา่ นมาใน พืน้ ทที่ �ำใหห้ นิ อคั นีมอี ายนุ อ้ ยสดุ ตามกฎความสมั พนั ธข์ องการตดั ผ่าน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 4 | การลำ� ดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา 173 2.2 ช อายอุ อ่ นสดุ ช ง จ ก ฉ ค ข จ สัญลกั ษณ์ หนิ ปูน (limestone) ฉง หินทราย (sandstone) ค หนิ ดนิ ดาน (shale) ข ก อายแุ ก่สุด หินกรวดมน (conglomerate) หนิ ทรายแปง้ (siltstone) หินอคั นีแทรกซอน (intrusive igneous rock) แนวค�ำตอบ ชั้นหินปูนโดยมีอายุแก่ที่สุดมีการสะสมตัวอยู่ล่างสุดถูกปิดทับด้วย หนิ ดนิ ดาน หนิ ทรายแปง้ และหนิ ทราย ซง่ึ ชน้ั หนิ ดงั กลา่ วเคยมกี ารวางตวั ในแนวนอน มากอ่ น กอ่ นทจ่ี ะเกดิ การเอยี งเทของชนั้ หนิ ซง่ึ อาจจะเกดิ ขนึ้ มาจากการแทรกดนั ของ หนิ อคั นี การกระทำ� ของแรงจากการเคลอื่ นทข่ี องแผน่ ธรณี การเกิดรอยเลอื่ นตัดผา่ น ตอ่ มามกี ารแทรกผา่ นของหนิ อคั นใี นชน้ั หนิ ปนู หนิ ดนิ ดาน หนิ ทรายแปง้ และหนิ ทราย ในเวลาตอ่ มาเกดิ การเปลยี่ นแปลงทางธรณที เี่ กดิ การผกุ รอ่ นของพน้ื ทที่ ำ� ใหม้ กี ารหยดุ การสะสมตัวของตะกอนไปในช่วงระยะเวลาหน่ึงท�ำให้เกิดเป็น รอยช้ันไม่ต่อเน่ือง ในบริเวณ ฉ เมื่อสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งจนท�ำให้เหมาะสมต่อการ สะสมตะกอนอกี ท�ำให้มีการสะสมตวั ของหนิ กรวดมนเปน็ ชัน้ หินท่ีมีอายอุ อ่ นท่ีสุด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
174 บทที่ 4 | การลำ� ดบั เหตุการณ์ทางธรณวี ิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 3. นกั เรยี นวเิ คราะห์สถานการณ์ท่กี �ำหนดให้ดังภาพ และตอบคำ� ถามดังตอ่ ไปน้ี ก. มีโครงสรา้ งทางธรณอี ะไรบา้ ง สญั ลักษณ์ ฉ หินโคลน (mudstone) หนิ ปนู (limestone) หนิ ทราย (sandstone) จ ช หินทรายแป้ง (siltstone) ค ง หินดินดาน (shale) ข หนิ อัคนแี ทรกซอน (intrusive igneous rock) ก รอยเล่อื น (fault) แนวค�ำตอบ ช้ันหนิ คดโคง้ รอยเลื่อน รอยช้ันไมต่ อ่ เนื่อง ข. ลำ� ดบั เหตุการณ์ทางธรณที ีเ่ กิดขนึ้ จากอายุแก่สดุ ไปยงั อายอุ ่อนสุด พรอ้ มบรรยาย เหตกุ ารณ์ท่เี กิดขึน้ แนวคำ� ตอบ ข ค ง ก จ ฉ ช เหตกุ ารณท์ างธรณขี องพน้ื ทบ่ี รเิ วณนมี้ กี ารตกสะสมตวั ของหนิ ดนิ ดานทมี่ อี ายแุ กท่ ส่ี ดุ ซงึ่ ปดิ ทบั ดว้ ยชน้ั หนิ ทรายแปง้ และหนิ ปนู ในระยะเวลาตอ่ มามกี ารแทรกดนั ของแมกมา เข้ามาท�ำให้ชั้นหินจากเดิมท่ีเคยวางตัวในแนวนอนขนานกับพ้ืนโลกมีการเปล่ียนรูป ท�ำใหช้ ้นั หินเกิดการคดโคง้ และอาจยกตัวสงู ขึน้ ในระยะเวลาหนึง่ เปลือกโลกเกดิ การ เปลีย่ นแปลงอีกคร้ังมีรอยเล่ือนตัดผา่ นหินอัคนี หนิ ดินดาน หินทรายแปง้ และหนิ ปนู ยังท�ำใหช้ นั้ หนิ ทศิ ตะวันออกเคลอื่ นที่สูง ในเวลาตอ่ มาพน้ื ทนี่ ม้ี ีการหยดุ สะสมตวั ของ ตะกอนเป็นระยะเวลานาน ในขณะเดียวกันผิวหน้าของหินมีการผุพัง และกร่อนไป ท�ำให้พบเป็นรอยช้ันไม่ต่อเนื่อง ในระยะเวลาหน่ึงพ้ืนที่เหมาะแก่การสะสมตัวของ ตะกอนอกี ครง้ั จึงมหี นิ โคลนและหนิ ทรายวางตัวปิดทับอยู่บนสดุ 4. บรเิ วณภเู ขาหนิ แหง่ หนงึ่ พบซากดกึ ดำ� บรรพฟ์ วิ ซลู นิ ดิ ในชนั้ หนิ ปนู และทบ่ี รเิ วณภเู ขา อีกลูกหนึ่งท่ีอยู่ใกล้กันพบซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสาร์ในช้ันหินทราย หินบริเวณภูเขา ลกู ใดมอี ายแุ ก่กวา่ ทราบไดอ้ ย่างไร แนวคำ� ตอบ ใชซ้ ากดกึ ดำ� รรพใ์ นการชว่ ยหาอายขุ องชนั้ หนิ ทง้ั 2 แหง่ โดยภเู ขาหนิ ปนู ทพ่ี บซากดกึ ดำ� บรรพฟ์ วิ ซลู นิ ดิ ทม่ี อี ายคุ ารบ์ อนเิ ฟอรสั ถึงเพอร์เมียนมีอายุแก่กว่าภูเขา หนิ ทรายที่พบซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสารใ์ นมหายุคมีโซโซอิก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทท่ี 4 | การลำ� ดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา 175 5. จากการส�ำรวจ�ำเขาลูกโกลน จังหวัดนครสวรรค์ พบหินปูนและหินดินดานเกิดสลับ ชั้นกัน ในชน้ั หินปนู พบซากดึกดำ� บรรพ์ฟวิ ซลู ินดิ ไบรโอซัว (bryozoa) หอยฝาเดยี ว หอยสองฝา และพบพนงั หนิ แอนดไี ซต์ (andesite dike) ซง่ึ เปน็ หนิ อคั นที ปี่ ระกอบดว้ ย ฮอร์นเบลนด์และแพลจิโอเคลสเฟลด์สปาร์ แทรกตัดผ่านหินปูนและหินดินดาน ขน้ึ มา นกั เรยี นจะน�ำหินประเภทใดไปหาอายสุ ัมบูรณ์ด้วยวธิ ีการใด แนวคำ� ตอบ หนิ แอนดไี ซต์ โดยใชธ้ าตกุ มั มนั ตรงั สที อ่ี ยใู่ นฮอรน์ เบลนดแ์ ละแพลจโิ อเคลส เฟลดส์ ปารภ์ ายในหนิ ในการคำ� นวณหาไอโซโทปของธาตุ 6. ถ้านักเรียนมีความสูง 160 เซนติเมตร ยืนอยู่บนหาดของอ่าวแห่งหน่ึงในบริเวณใกล้ กับหน้าผาฝงั่ ทศิ ตะวนั ตกดงั รูป สังเกตช้นั หนิ ของหนา้ ผา ก. พบช้ันหินโคลนสีด�ำในระดับสายตาหนาประมาณ 60 เซนติเมตร และพบ ซากดกึ ดำ� บรรพด์ ชั นหี อยนำ้� จดื ชนดิ หนง่ึ ซง่ึ มอี ายปุ ระมาณ 13 ลา้ นปี มอี ยจู่ ำ� นวน มากในช้นั หนิ ข. พบหนิ ทรายอยูเ่ หนือหินโคลนสีดำ� หนาประมาณ 40 เซนติเมตร ค. ใต้ชั้นหนิ โคลนสดี ำ� พบชน้ั หินดนิ ดานหนาประมาณ 20 เซนตเิ มตร ง. จากชัน้ หินดนิ ดานจนถงึ พื้นทย่ี ืนอยู่พบช้ันหินแปรหนาประมาณ 40 เซนติเมตร จากข้อ ก-ง ใหน้ กั เรียนตอบค�ำถามต่อไปน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
176 บทท่ี 4 | การลำ� ดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 6.1. จากซากดึกด�ำบรรพ์หอยน้�ำจืดที่พบในชั้นหินโคลนสีด�ำ นักเรียนคิดว่า สภาพแวดลอ้ มขณะที่มกี ารสะสมตวั ของตะกอนเป็นอยา่ งไร แนวค�ำตอบ ชั้นหินโคลนสดี �ำเคยมีสภาพแวดลอ้ มเป็นหนอง บึงนำ�้ จืด 6.2 ใหล้ �ำดับชนั้ หินจากสถานการณ์ที่ก�ำหนดให้พรอ้ มวาดภาพประกอบ แนวค�ำตอบ ล�ำดบั ช้นั หนิ เรียงจากบนลงลา่ ง หินทราย หนา 40 เซนตเิ มตร หนิ โคลนสีดำ� หนา 60 เซนตเิ มตร หินดินดาน หนา 20 เซนติเมตร หนิ แปร หนา 40 เซนติเมตร 6.3 ให้เรียงลำ� ดับอายขุ องชน้ั หินจากอายแุ ก่สุดไปอ่อนสุด และอธบิ ายเหตผุ ล ประกอบ แนวค�ำตอบ หินแปร หินดินดาน หินโคลนสีด�ำ หินทราย โดยหินแปร วางตัวอยู่ด้านล่างหินดินดาน หินโคลนสีด�ำ และหินทราย หินแปรจึงมีอายุแก่ ทส่ี ดุ ดังกฎการล�ำดบั ชัน้ 6.4 ถ้านักเรียนต้องการทราบอายุของช้ันหินโคลนสีด�ำ จะใช้วิธีการหาอายุแบบใด เพอื่ ใหท้ ราบอายุของช้ันหนิ โคลน พรอ้ มทั้งอธิบายเหตุผลประกอบ แนวคำ� ตอบ หินโคลนสดี �ำมีอายุประมาณ 13 ล้านปี เนอื่ งจากในชน้ั หนิ โคลน พบซากดกึ ดำ� บรรพด์ ชั นหี อยนำ้� จดื ชนดิ หนงึ่ ทม่ี กี ารตกสะสมตวั ของซากดกึ ดำ� บรรพ์ และถกู เกบ็ รกั ษาไวใ้ นชนั้ หนิ นน้ั ดงั นนั้ ชน้ั หนิ ทพ่ี บซากดกึ ดำ� บรรพน์ นั้ อยจู่ ะมอี ายุ เท่ากบั อายขุ องซากดึกดำ� บรรพ์นัน้ 6.5 ถ้าพบว่าหน้าผาฝั่งทิศตะวันออกมีล�ำดับชั้นหินเดียวกันกับหน้าผาที่ยืนอยู่ แต่มี หนิ แปรหนากวา่ ประมาณ 1 เมตร นกั เรยี นคดิ วา่ ลำ� ดบั ชนั้ หนิ ของหนา้ ผาทง้ั สอง ฝง่ั เคยเปน็ ผนื เดยี วกันหรอื ไม่ ทราบได้อย่างไร แนวคำ� ตอบ หนา้ ผาทงั้ สองฝง่ั อาจเคยเชอื่ มตดิ กนั มากอ่ น เนอื่ งจากลำ� ดบั ชนั้ หนิ ของหน้าผาฝั่งทิศตะวันตกมีล�ำดับช้ันหินเดียวกันกับล�ำดับชั้นหินของหน้าผาฝั่ง ทศิ ตะวนั ออก ทราบไดจ้ ากการใชห้ ลกั การการเทยี บสมั พนั ธท์ างล�ำดบั ชน้ั หนิ ดงั รปู สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 4 | การลำ� ดับเหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา 177 ล�ำดับช้นั หหนินา้ หผลนาาํทา้ ดผาับงาทชทัน้ศิางตหทะินศิวันตะตวกนั ตก ลำ� ดับชหน้ั นห้านิผหาลทนําาา้ดงผับทาชศิทน้ั ตาหงะทินวศินั ตอะอวกันออก จากรูปล�ำดับชั้นหินของทั้งสองด้านของหน้าผามีล�ำดับชั้นหินเดียวกันแต่อาจจะมี การยกตวั ของชน้ั หนิ ทางหนา้ ผาทศิ ตะวนั ออกทำ� ใหเ้ กดิ การเอยี งเทไปทางทศิ ตะวนั ตก ดงั นน้ั จงึ ใชห้ ลกั การการเทยี บสมั พนั ธท์ างลำ� ดบั ชนั้ หนิ ไดล้ ำ� ดบั ชนั้ หนิ ดงั นี้ หนิ แปรวางตวั อยลู่ า่ งสดุ และปิดทับด้วยหนิ ดนิ ดาน หนิ โคลนสดี �ำ และหนิ ทราย ตามลำ� ดับ ซ่งึ หน้าผาท้ังสองฝั่งอาจ เคยเชอ่ื มติดกันแต่เกดิ การผพุ ัง กรอ่ น และพัดพาไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก
179 ตัวอยา่ งเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที นี่ ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบให้เหมาะสมกับส่ิงท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมท้ังข้อดีและข้อจำ�กัดของ แบบทดสอบรูปแบบตา่ ง ๆ เปน็ ดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบที่มีตวั เลือก แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเป็นดงั น้ี 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เปน็ แบบทดสอบทมี่ กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถี่ กู เพยี งหนงึ่ ตวั เลอื ก องคป์ ระกอบหลกั ของแบบทดสอบแบบเลอื กตอบมี 2 ส่วน คือ ค�ำ ถามและตัวเลือก แต่บางกรณอี าจ มีส่วนของสถานการณ์เพิ่มขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดยี่ ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชนั้ โครงสร้างดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเดี่ยวทไี่ ม่มสี ถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
180 แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเดีย่ วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเปน็ ชดุ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 …………………………………………………………….................. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
181 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ชน้ั สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธข์ิ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอื้ หา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ได้ นอกจากนนี้ ักเรียนท่ไี ม่มคี วามรู้สามารถเดาคำ�ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผิด เปน็ แบบทดสอบทมี่ ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เท่านน้ั มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาว่าถูกหรือผิด ดงั ตวั อย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182 แบบทดสอบแบบถกู หรือผิด คำ�สั่ง ให้พิจารณาว่าขอ้ ความต่อไปนีถ้ ูกหรือผดิ แลว้ ใส่เครื่องหมาย หรือ หน้า ข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบนี้สามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเนื้อหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เป็นเทจ็ โดยสมบูรณใ์ นบางเน้อื ท�ำ ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจบั คู่ ประกอบด้วยสว่ นทีเ่ ป็นค�ำ สัง่ และข้อความ 2 ชดุ ท่ีใหจ้ บั คู่กัน โดยข้อความชดุ ท่ี 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ท่ี 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ท่ี 2 อาจมมี ากกวา่ ในชดุ ท่ี 1 ดงั ตวั อย่าง แบบทดสอบแบบจับคู่ ค�ำ สั่ง ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหน้าขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งว่างหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ถาม ชุดค�ำ ถาม ชุดคำ�ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
183 แบบทดสอบรูปแบบนี้สร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียน จับค่ผู ดิ ไปแล้วจะทำ�ให้มกี ารจบั คู่ผดิ ในคูอ่ น่ื ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบที่ให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแต่ละแบบเป็นดงั น้ี 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเติมค�ำ หรือตอบอย่างสั้น ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความที่ไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพื่อให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสนั้ ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามท่ีให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น ส่ิงที่กำ�หนดค�ำ ตอบใหม้ คี วามถกู ตอ้ งและเหมาะสม แบบทดสอบรูปแบบนสี้ ร้างได้งา่ ย มีโอกาสเดาได้ยาก และสามารถวนิ จิ ฉยั คำ�ตอบท่นี ักเรียน ตอบผิดเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางครั้งมี ค�ำ ตอบถกู ต้องหรือยอมรบั ไดห้ ลายค�ำ ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบอธิบาย เป็นแบบทดสอบท่ีต้องการใหน้ กั เรียนสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอิสระ ประกอบดว้ ยสถานการณ์และ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกนั โดยคำ�ถามเปน็ คำ�ถามแบบปลายเปิด แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
184 แบบประเมินทกั ษะ เม่ือนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ อย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมที่ส�ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครือ่ งมือทใ่ี ชป้ ระเมินดงั ตัวอยา่ ง ตวั อย่างแบบส�ำ รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั ิการทดลอง ผลการส�ำ รวจ รายการท่ตี ้องส�ำ รวจ มี ไม่มี (ระบจุ �ำ นวนครัง้ ) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขั้นตอน การสังเกตการทดลอง การบันทึกผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
185 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทักษะปฏิบตั ิ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เคร่อื งมือในการทดลอง เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไม่เหมาะสมกับงาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ต้องตามหลกั การ ต้อง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏิบัติ แต่ไม่ หลักการปฏบิ ตั ิ คลอ่ งแคลว่ การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ กำ�หนด แ ล ะ ขั้ น ต อ น ท่ี แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ข้ั น ต อ น ท่ี กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรบั ปรุงแก้ไขบา้ ง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แก้ไขเปน็ ระยะ ขั้นตอนที่กำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แก้ไข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
186 ตัวอย่างแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการทดลองท่ใี ชเ้ กณฑ์การให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า ทักษะทปี่ ระเมิน ผลการประเมนิ ระดับ 2 ระดับ 3 ระดบั 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ข้นั ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกตอ่ การใชง้ าน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถ้วนสมบรู ณ์ ตวั อย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขยี นรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ขั้ น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ� ดับข้ันตอนไม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไมส่ อ่ื ความหมาย ส่อื ความหมาย แบบประเมนิ คุณลกั ษณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกที่ปรากฏให้เหน็ ในลักษณะของคำ�พูด การแสดงความคดิ เห็น การปฏิบัติหรือพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ทสี่ ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สงิ่ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ประเมนิ คณุ ลักษณะด้านจติ วิทยาศาสตร์ ดงั ตวั อยา่ ง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212