58 บทที่ 2 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 ตำ� แหนง่ ของทวปี อเมรกิ าใต้ และทวปี แอฟรกิ าในปจั จบุ นั เปน็ ผลมาจากการเคลอ่ื นทแ่ี ยกออก จากกันของแผน่ ธรณี นักเรยี นคดิ ว่าอกี ฝ่งั หนึ่งของแผน่ ธรณที ี่เคลอ่ื นทแ่ี ยกจากกนั จะมสี งิ่ ใด เกิดขึ้น แนวค�ำตอบ อีกด้านหนึ่งของแผ่นธรณีอาจชนหรือเบียดกับแผ่นธรณีอีกแผ่นหนึ่ง หรือ นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง จากรูป แผ่นธรณีต่าง ๆ ของโลกเคลอ่ื นทีไ่ ด้กี่รปู แบบ สังเกตจากสงิ่ ใด แนวค�ำตอบ 3 รูปแบบคือ เคลื่อนที่เข้าหากัน แยกออกจากกัน และเคล่ือนท่ีผ่านกัน โดย สงั เกตจากลูกศรแสดงทศิ ทางการเคล่ือนที่ นกั เรยี นคดิ วา่ เมอ่ื แผน่ ธรณเี คลอื่ นทจี่ ะสง่ ผลใหเ้ กดิ สงิ่ ใดบา้ ง และผลเหลา่ นนั้ จะเกดิ ทบี่ รเิ วณ ใดบนแผ่นธรณี แนวคำ� ตอบ เกดิ ธรณสี ณั ฐาน โครงสรา้ งทางธรณี และธรณพี บิ ตั ภิ ยั ตา่ ง ๆ หรอื นกั เรยี นตอบ ตามความเขา้ ใจของตนเอง 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาถึงผลท่ีเกิดจากการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีจากการปฏิบัติ กิจกรรมที่ 2.4 ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 52 กจิ กรรม 2.4 ทอ่ งโลกกว้างตามหาธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณี จดุ ประสงค์กิจกรรม 1. ระบลุ กั ษณะธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณี 2. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี กับการเคล่ือนท่ี รปู แบบต่าง ๆ ของแผ่นธรณี เวลา 1 ชัว่ โมง วัสด-ุ อุปกรณ์ 1. แผนที่ภูมปิ ระเทศ (ภาคผนวก ค) 2. รปู แสดงทศิ ทางการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี (ภาคผนวก ง) การเตรยี มตัวล่วงหน้า 1. ครอู าจเตรยี มหรอื ใหน้ กั เรยี น ดาวนโ์ หลดโปรแกรม google earth ลงในคอมพวิ เตอร์ หรือสมาร์ทโฟน เพอ่ื ใชใ้ นการส�ำรวจธรณีสัณฐานแบบต่าง 2. ดาวนโ์ หลดภาพธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณจี าก QR code ประจ�ำบท สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 2 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 59 3. ให้นักเรียนตัดภาคผนวก ค และ ภาคผนวก ง ออกจากด้านหลังของหนังสือเรียน เพอื่ ใช้ในการวเิ คราะห์ ข้อเสนอแนะส�ำหรับครู 1. ครคู วรทบทวนเกย่ี วกบั การเกดิ ภมู ปิ ระเทศรปู แบบตา่ ง ๆ รวมทง้ั ตำ� แหนง่ ของประเทศ ทวปี ต่างๆ บนแผนทภ่ี ูมิประเทศให้กับนกั เรียน สถานการณ์ \"นกั ธรณวี ทิ ยาไดส้ ำ� รวจพบธรณสี ณั ฐาน และโครงสรา้ งทางธรณแี บบตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี สนั เขา กลางสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง ประเทศญ่ีปุ่น หุบเขาทรุดที่ทะเลแดง ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา แนวรอยเล่ือนซานแอนเดรียส แนวเทือกเขาหิมาลัย และ แนวเทอื กเขาแอนดสี ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาและอธบิ ายลกั ษณะแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที สี่ มั พนั ธ์ กบั การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณแี ละทำ� ใหเ้ กดิ ธรณสี ณั ฐาน และโครงสรา้ งทางธรณแี บบตา่ ง ๆ\" วธิ กี ารทำ� กจิ กรรม 1. นกั เรียนสืบค้นเกย่ี วกบั ธรณสี ณั ฐาน และโครงสร้างทางธรณี ที่ก�ำหนดให้ และความ สัมพันธ์กบั แผ่นธรณี จากนนั้ อภิปรายสรปุ ดงั ประเดน็ ต่อไปนี้ - ลักษณะของธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีแตล่ ะแห่งทกี่ �ำหนดให้ - บรเิ วณท่ีพบธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณดี ังกล่าว - รอยตอ่ ของแผน่ ธรณีที่พบธรณสี ัณฐานและโครงสร้างทางธรณขี า้ งต้น - ทิศทางการเคลือ่ นทข่ี องแผน่ ธรณีในบรเิ วณท่พี บธรณีสัณฐานและโครงสร้างทาง ธรณีแตล่ ะแห่งปรากฏอยู่ 2. สรปุ และนำ� เสนอความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณที กี่ ำ� หนดให้ กับทิศทางการเคล่อื นท่ขี องแผ่นธรณีในบริเวณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
60 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 ตวั อยา่ งผลการทำ� กจิ กรรม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 61 ตวั อยา่ งผลการทำ� กจิ กรรม ธรณีสัณฐาน/ ลกั ษณะ ตำ� แหนง่ บน ทศิ ทางการเคลื่อนท่ี โครงสรา้ งทางธรณี แผ่นธรณี ของแผน่ ธรณี สนั เขากลาง สนั เขาที่มีฐานกวา้ ง รอยตอ่ ระหวา่ ง เคลือ่ นทอ่ี อกจากกัน มหาสมุทร ส่วนยอดมลี กั ษณะ แผ่นอเมริกาใต้ และ แอตแลนตกิ ของหุบเขาทรุด แผ่นแอฟริกาหรือรอย มีรอยแตกและรอย ต่อระหวา่ ง เล่ือนตดั ขวางกับ แผ่นยเู รเซีย และแผ่น รอยแยกจ�ำนวนมาก อเมรกิ าเหนอื หมู่เกาะภเู ขาไฟรูป เป็นหมเู่ กาะแนวยาว รอยต่อระหว่าง เคลอ่ื นท่เี ขา้ หากัน โค้ง ประเทศญ่ีปุ่น และมภี เู ขาไฟจำ� นวน แผน่ ยเู รเซยี มากบนเกาะ แผ่นอเมรกิ าเหนอื แผ่นแปซฟิ กิ แผน่ ฟิลิปปนิ ส์ หุบเขาทรุดที่ มีลกั ษณะการแยก รอยตอ่ ระหว่าง เคลือ่ นที่ออกจากกัน ทะเลแดง ตัวและการทรดุ ตวั แผ่นแอฟรกิ าและแผ่น ของเปลือกโลก อาระเบียน รอ่ งลกึ ก้นสมทุ ร ร่องลึกในมหาสมทุ ร รอยต่อระหว่าง เคลื่อนท่เี ขา้ หากนั มาเรียนา ทีม่ ีความลกึ มากท่สี ดุ แผ่นแปซิฟิก และแผน่ ฟิลปิ ปินส์ แนวรอยเลือ่ น แนวรอยเลื่อนใน รอยตอ่ ระหว่าง เคล่อื นที่ผา่ นกนั ใน ซานแอนเดรียส แนวระดบั ขนาดใหญ่ แผ่นแปซฟิ ิก และ แนวระนาบ แผน่ อเมรกิ าเหนือ แนวเทอื กเขา เทอื กเขาสงู รอยตอ่ ระหว่าง เคลอ่ื นทเ่ี ข้าหากนั หิมาลัย แผ่นยูเรเซีย และแผน่ อนิ เดยี -ออสเตรเลยี แนวเทือกเขาแอน เทือกเขาสูง รอยต่อระหว่าง เคลื่อนที่เขา้ หากนั ดสี แผน่ นาสคาและแผน่ อเมรกิ าใต้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
62 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 สรุปผลการทำ� กิจกรรม แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณมี ี 3 รปู แบบ คอื 1. แนวแผน่ ธรณแี ยกตวั (divergent plate boundary) 2. แนวแผน่ ธรณเี คลือ่ นท่หี ากัน (convergent plate boundary) 3. แนว แผน่ ธรณเี คลอ่ื นผา่ นกนั ในแนวราบ (transform plate boundary) โดยแตล่ ะรปู แบบสง่ ผล ใหเ้ กดิ ธรณสี ณั ฐานแตกตา่ งกนั เชน่ เทอื กเขากลางสมทุ ร หมเู่ กาะภเู ขาไฟรปู โคง้ หบุ เขาทรดุ รอ่ งลกึ กน้ สมทุ ร แนวรอยเลอ่ื นขนาดใหญ่ แนวเทอื กเขาสงู รวมทง้ั การเกดิ ปรากฏการณท์ าง ธรณที ่สี ำ� คญั เช่น แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบิด สึนามิ คำ� ถามท้ายกิจกรรม 1. จากกิจกรรมนกั เรียนพบวา่ ถา้ จำ� แนกตามรปู แบบการเคลื่อนทีแ่ ลว้ แนวรอยตอ่ ของ แผ่นธรณีมีกร่ี ูปแบบ อยา่ งไรบ้าง แนวคำ� ตอบ 3 แบบ จากแนวลูกศรแสดงทศิ ทางการเคล่ือนท่ี โดยมีแนวรอยต่อแผ่น ธรณีเคลื่อนท่ีแยกจากกนั แนวรอยตอ่ แผน่ ธรณเี คล่อื นท่เี ขา้ หากนั และแนวรอยตอ่ แผน่ ธรณีเคลอ่ื นทีผ่ า่ นกนั รณีเคลือ่ นที่ผ่านกนั โดยแต่ละรูปแบบสง่ ผลใหเ้ กดิ ธรณี สัณฐานแตกตา่ ง 2. ธรณีสณั ฐานแบบใดบ้างท่ีเกิดจากการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณใี นลกั ษณะเดียวกนั แนวคำ� ตอบ 1. สนั เขากลางสมทุ รแอตแลนติก หบุ เขาทรดุ ทท่ี ะเลแดง เกิดจากการเคลอ่ื นทีอ่ อก จากกนั ของแผ่นธรณี 2. หมเู่ กาะภเู ขาไฟรูปโค้ง ประเทศญีป่ ุน่ รอ่ งลึกกน้ สมทุ รมาเรยี นา แนวเทอื กเขา หมิ าลยั แนวเทอื กเขาแอนดีส เกดิ จากการเคลือ่ นที่เข้าหากันของแผน่ ธรณี 3. แนวรอยเล่อื นซานแอนเดรยี ส เกดิ จากการเคลื่อนทผี่ า่ นกนั ในแนวระดบั ของแผน่ แผ่นธรณี 3. ครูให้นักเรียนนำ� เสนอผลการวิเคราะหข์ องตนหนา้ ชั้นเรียน กลุม่ ละ 3 นาที โดยควรนำ� เสนอ ขอ้ มลู ดงั นี้ธรณีสณั ฐานทงั้ 7 แหง่ และรว่ มกนั อภปิ รายผลการท�ำกจิ กรรมพร้อมตอบค�ำถาม ท้ายกจิ กรรม โดยมีแนวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบค�ำถามดังแสดงด้านบน 4. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที สี่ มั พนั ธก์ บั รปู แบบการ เคล่ือนที่ของแผน่ ธรณี และผลที่เกดิ ขึ้นจากการเคลื่อนทีข่ องแผ่นธรณี โดยใชร้ ูปแนวรอยต่อ ของแผ่นธรณี 3 รปู แบบ และธรณสี ณั ฐาน โครงสรา้ งทางธรณที ส่ี ัมพันธก์ บั แนวรอยต่อตาม หนงั สือเรยี นหนา้ 53-37 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 2 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 63 5. ครนู ำ� อภิปรายว่าการเคลอื่ นที่ของแผ่นธรณีทงั้ 3 รูปแบบ นอกจากจะท�ำให้เกิดธรณสี ัณฐาน และโครงสรา้ งทางธรณีแบบตา่ ง ๆ ตรงบรเิ วณแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีแล้ว ยงั ทำ� ให้เกิดสิง่ ใดไดอ้ ีกบ้าง จากน้นั ให้นักเรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ี 2.5 ตามหนังสือเรยี นหน้า 61 เพ่อื ศึกษา เกีย่ วกับการเปลย่ี นลกั ษณะของช้ันหิน กจิ กรรม 2.5 การเปลยี่ นลกั ษณะของชน้ั หนิ จดุ ประสงค์กจิ กรรม อธบิ ายการเปลย่ี นลักษณะของชั้นหินโดยใชแ้ บบจำ� ลอง วสั ด-ุ อุปกรณ์ 1. ดินนำ้� มนั สีต่างกนั จำ� นวน 2 ก้อน 2. เวเฟอร์ที่มีหลายชนั้ 2 ชิน้ ข้อเสนอแนะสำ� หรับครู 1. ครอู าจแนะน�ำใหน้ กั เรียนบันทึกภาพเคลือ่ นไหวแบบ slow motion เพอื่ ช่วยใน การสังเกต 2. ควรใช้เวเฟอร์ท่ีไมเ่ คลอื บช็อกโกแลตและมีขนาดใหญ่พอท่จี ะใช้สองมือจับได้ วิธกี ารทำ� กจิ กรรม 1. ปนั้ ดนิ นำ�้ มันแตล่ ะก้อนใหเ้ ป็นรปู ส่เี หลยี่ มมขี นาด ยาว 15 เซนติเมตร กวา้ ง 5 เซนติเมตร หนาประมาณ 1 เซนตเิ มตร 2. วางดินนำ้� มนั ก้อนที่ 1 บนพ้ืนราบ จากนน้ั ออกแรงดันดนิ นำ้� มนั ทางดา้ นขา้ งท้งั สอง ด้านเข้าหากนั ชา้ ๆ สังเกตและบนั ทึกผล (รปู 1) 3. วางดนิ นำ้� มนั กอ้ นที่ 1 บนพน้ื ราบ จากนนั้ ออกแรงดงึ ดนิ นำ�้ มนั ทง้ั สองขา้ งออกจากกนั อย่างช้า ๆ สงั เกตและบันทึกผล (รปู 2) 4. เปลยี่ นจากดนิ นำ�้ มนั เปน็ เวเฟอร์ แลว้ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ 2 และ 3 สงั เกตและบนั ทกึ ผล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
64 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 ตัวอย่างผลการท�ำกิจกรรม เมือ่ ปฏบิ ตั ิตามขอ้ 2 กอ่ นออกแรง หลงั ออกแรง เมอ่ื ปฏบิ ตั ิตามข้อ 3 ก่อนออกแรง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 2 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 65 เม่อื ปฏิบัตติ ามขอ้ 4 หลงั ออกแรง ก่อนออกแรง หลังออกแรง กอ่ นออกแรง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
66 บทท่ี 2 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 เมือ่ ปฏิบัติตามขอ้ 4 (ตอ่ ) หลงั ออกแรง การอภปิ รายและสรปุ ผล ดินน�้ำมันและเวเฟอร์เป็นวัสดุท่ีมีสมบัติต่างกัน ดินน�้ำมันมีสภาพยืดหยุ่นสามารถถูก ท�ำให้ยดื ตวั ได้ ส่วนเวเฟอรน์ ้นั มลี กั ษณะแข็งเปราะ ดังนนั้ เม่ือนกั เรยี นออกแรงดนั ดนิ น�้ำมนั เขา้ หากนั ดนิ นำ้� มนั จะโกง่ ตวั ขนึ้ เปน็ รอยโคง้ และเมอื่ หยดุ ออกแรงดนั ดนิ นำ้� มนั กย็ งั คงสภาพ โคง้ อยเู่ ชน่ เดมิ และเมอื่ นกั เรยี นออกแรงดงึ ดนิ นำ�้ มนั ออกจากกนั ดนิ นำ้� มนั จะคอ่ ย ๆ ยดื และ บางออกจนขาดออกจากกนั ในทส่ี ดุ ตา่ งจากเวเฟอรท์ เ่ี มอื่ นกั เรยี นออกแรงดนั และดงึ เวเฟอร์ จะแตกหกั และแยกออกจากกนั การเปลยี่ นแปลงของวัสดุเชน่ นเ้ี กิดขึ้นในลักษณะเดียวกบั ช้นั หินในเปลอื กโลก ค�ำถามท้ายกิจกรรม 1. วัสดทุ ี่น�ำมาใชท้ ำ� กจิ กรรมมีอะไรบา้ ง และมสี มบัติแตกตา่ งกนั อย่างไร แนวค�ำตอบ ดินน�้ำมนั มคี วามยืดหย่นุ ทำ� ใหย้ ดื ตัวได้ เวเฟอรม์ ีลักษณะแขง็ เปราะ 2. เม่อื ออกแรงดนั เข้าหากนั ดินน�ำ้ มันตามวธิ ีท�ำข้อ 2 ดินนำ้� มันมีการเปล่ยี นแปลงไป อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ดนิ น้�ำมันโกง่ ตัวขึ้นเป็นรอยโคง้ 3. เมื่อออกแรงดึงออกจากกัน ดินน้ำ� มนั ตามวธิ ที �ำข้อ 3 ดินนำ�้ มันมีการเปลี่ยนแปลงไป อย่างไร แนวค�ำตอบ ดนิ น้�ำมนั ยดื ออก และบางลงจนขาดออกจากกันในท่ีสุด 4. เม่อื ออกแรงดนั เขา้ หากัน เวเฟอร์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แนวค�ำตอบ เวเฟอร์แตกหักออกจากกนั 5. เมือ่ ออกแรงดงึ ออกจากกนั เวเฟอร์มกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ เวเฟอรแ์ ตกหักออกจากกนั สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 2 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 67 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายผลการท�ำกิจกรรม พร้อมตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม โดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบค�ำถาม ดังแสดงด้านบน 7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปบทเรียนและเช่ือมโยงการท�ำกิจกรรมท่ี 2.5 กับ แรงท่ีกระท�ำกับชั้นหิน และการเปลี่ยนลักษณะของชั้นหิน ตามหนังสือเรียนหน้า 62-65 โดยมแี นวทางในการอภิปรายดงั น้ี แนวทางการอภปิ ราย กระบวนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ท�ำให้เกิดแรงต่าง ๆ กระท�ำต่อหินในชั้นเปลือกโลก ส่งผลใหเ้ กิดความเค้นในชั้นหิน ซึ่งความเคน้ น้ีจะก่อใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงรูปร่าง และ/ หรอื ปรมิ าตรของหิน และท�ำใหห้ นิ อยใู่ นภาวะความเครยี ด ความเคน้ แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ชนดิ คือ ความเค้นบีบอัด ความเค้นดึง ความเค้นเฉือน โดย อาจ ตั้งค�ำถามให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า จากการท�ำกิจกรรมกิจกรรมท่ี 2.5 แรงที่ นกั เรยี นกระทำ� ตอ่ ดนิ นำ�้ มนั และเวเฟอร์ ถอื เปน็ ความเคน้ ชนดิ ใด (การออกแรงดนั เปรยี บ ได้กบั ความเคน้ บบี อดั การออกแรงดงึ เปรียบได้กบั ความเคน้ ดงึ ) ความเค้นบีบอัดกระท�ำต่อช้ันหินที่อยู่ใต้ผิวโลกซ่ึงมีสมบัติคล้ายดินน�้ำมันหรือท่ีมีสภาพ พลาสตกิ ชน้ั หนิ มกี ารเปลยี่ นลกั ษณะเปน็ ชน้ั หนิ คดโคง้ ความเคน้ ดงึ จะทำ� ใหช้ น้ั หนิ บางลง และเกิดรอยแยก ความเค้นบีบอัดและความเค้นดึงกระท�ำต่อช้ันหินบนเปลือกโลกมีสมบัติแข็งเกร็งและ เปราะคลา้ ยสมบัตขิ องเวเฟอร์ ชน้ั หินจะเกดิ รอยแตกและรอยเลอ่ื น ส่วนความเค้นเฉือน จ�ำท�ำใหเ้ กิดรอยเล่ือนในแนวระดบั 8. ครใู หต้ รวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยใหพ้ จิ ารณาภาพชน้ั หนิ คดโคง้ และรอยเลอ่ื นชนดิ ตา่ ง ๆ จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั ชนดิ ของธรณโี ครงสรา้ งและความเคน้ หรอื ทศิ ทางของ แรงทมี่ ากระท�ำ ดงั ตัวอย่าง รอยเลื่อน และรอยคดโค้งเกิดจากความเค้นชนิดเดียวกันหรือไม่ อย่างไร ให้นักเรียนใส่ ลกู ศรบอกทศิ ทางของความเคน้ ลงในรปู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
68 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 9. ครูน�ำอภิปรายเก่ียวกับประโยชน์ในการศึกษาโครงสร้างทางธรณี ตามหนังสือเรียนหน้า 67 โดยมแี นวทางการอภปิ รายดงั นี้ แนวทางการอภปิ ราย โครงสรา้ งทางธรณเี หลา่ นี้ นกั ธรณวี ทิ ยาใชใ้ นการศกึ ษาเพอื่ ตรวจสอบ และอธบิ ายประวตั ทิ างธรณี ขนาด และทศิ ทางของแรงตา่ ง ๆ ทม่ี ากระทำ� ตอ่ ตวั หนิ หรอื เปลอื ก โลกในบรเิ วณนั้น ๆ และสามารถนำ� มาแสดงบนแผนท่ธี รณวี ทิ ยา ทำ� ให้สามารถเข้าใจสภาพ ธรณีวทิ ยาของพ้ืนทใ่ี นลักษณะเปน็ 3 มติ ิ เพอ่ื น�ำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการใช้พื้นท่ี และการส�ำรวจทรัพยากรธรณตี า่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งปโิ ตรเลยี ม เน่อื งจากโครงสรา้ งทาง ธรณีบางลักษณะมคี วามสมั พันธ์กับแหล่งกักเกบ็ ปโิ ตรเลยี ม แนวทางการวัดและประเมินผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: รูปแบบ และผลที่เกิดขนึ้ จากการเคลอ่ื นท่ี 1. ผลการปฏิบัติกิจกรรม 2.4-2.5 และการตอบ ของแผ่นธรณี ค�ำถามทา้ ยกิจกรรม 2. การอภิปรายเพื่อสรปุ องคค์ วามรู้ 3. แบบฝึกหัด P: 1. การบนั ทกึ ผลการปฏิบัติกจิ กรรม 2.4-2.5 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และ 2. การสืบคน้ และการนำ� เสนอผลการทำ� กิจกรรม สเปซกับเวลา การสือ่ สาร 2.4-2.5 2. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ A: ความใจกวา้ ง 1. การร่วมอภิปรายและการตอบค�ำถาม สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 2 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี 69 แบบฝึกหัดท้ายบท 1. จงนำ� กลมุ่ คำ� ตอ่ ไปนเี้ ตมิ ลงในตารางใหส้ มั พนั ธก์ บั ทฤษฎที ก่ี ำ� หนดให้ (สามารถเตมิ คำ� ตอบ ซ้�ำกนั ได)้ ทฤษฎที วปี เล่อื น ทฤษฎกี ารแผ่ขยายพืน้ ทฤษฎีธรณแี ปรสัณฐาน ไซโนเนทัส สมุทร การเคลอื่ นทีข่ องตะกอน ธารน้�ำแขง็ อายหุ นิ บนพ้ืนสมทุ ร วงจรการพาความรอ้ น ความคลา้ ยคลึงกนั ของ ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล แนวมุดตัวของแผ่นธรณี กลุ่มหนิ สันเขากลางสมทุ ร หมู่เกาะภเู ขาไฟรปู โค้ง มโี ซซอรสั หุบเขาทรุด รอยเล่อื นในแนวระดบั ลอเรเซยี สนั เขากลางสมทุ ร พนั เจยี หบุ เขาทรุด กอนดว์ านาแลนด์ 2. จงตอบคำ� ถามต่อไปนี้ 2.1 เพราะเหตุใด อลั เฟรด เวเกเนอร์จึงเช่ือวา่ ทวปี ต่าง ๆ ในปจั จุบันเคยตดิ กันเป็นแผ่น เดยี วมาก่อน แนวคำ� ตอบ อลั เฟรด เวเกเนอรส์ งั เกตรปู รา่ งของทวปี และพบวา่ รปู รา่ งของบางทวปี เชน่ ทวปี อเมรกิ าใต้ และทวปี แอฟรกิ า มสี ว่ นทตี่ อ่ กนั ไดเ้ หมอื นจก๊ิ ซอว์ จงึ สนั นษิ ฐาน วา่ ทวปี ตา่ ง ๆ อาจเคยอยตู่ ดิ กนั มากอ่ น จากนนั้ เวเกเนอรไ์ ดศ้ กึ ษาหาหลกั ฐานตา่ ง ๆ มาเพมิ่ เตมิ ไดแ้ ก่ หลกั ฐานจากซากดกึ ดำ� บรรพ์ หลกั ฐานจากกลมุ่ หนิ และแนวเทอื กเขา หลักฐานจากการเคล่อื นทีข่ องธารนำ้� แขง็ บรรพกาล 2.2 การคน้ พบสง่ิ ใดของ แฮร่ี เฮส ทถ่ี กู นำ� มาใชส้ นบั สนนุ ทฤษฎกี ารแผข่ ยายพน้ื มหาสมทุ ร แนวคำ� ตอบ แฮรี่ เฮสคน้ พบการแทรกดนั และแขง็ ตวั ของลาวาทปี่ ะทขุ นึ้ มาตามรอยแยก กลางสนั เขากลางสมทุ รเกดิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของเปลอื กโลกใหมแ่ ละดนั เปลอื กโลก ทง้ั สองฝง่ั ใหเ้ คลื่อนทแ่ี ยกออกจากกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
70 บทท่ี 2 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 2.3 ถา้ มกี ารคน้ พบเทอื กสนั เขากลางสมทุ รในมหาสมทุ รแหง่ หนงึ่ ในเวลาตอ่ มามหาสมทุ ร แห่งน้ันจะกว้างขนึ้ หรอื แคบลง เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ กวา้ งขนึ้ เนอื่ งจากการพบสนั เขากลางสมทุ รแสดงวา่ มกี ารแทรกดนั ของ แมกมาในบรเิ วณรอยแยกกลางมหาสมุทรทำ� ใหพ้ ้นื มหาสมุทรเกิดการขยายตวั 2.4 สันเขากลางสมุทรแอตแลนติกเกดิ จากการเคลือ่ นท่ีของแผน่ ธรณีรปู แบบใด แนวคำ� ตอบ เคล่อื นท่ีแยกออกจากกนั 2.5 หมเู่ กาะภูเขาไฟรูปโคง้ เกิดจากการเคล่อื นท่ีของแผ่นธรณีรูปแบบใด แนวคำ� ตอบ เคลอ่ื นทเี่ ขา้ หากนั 3. จงท�ำเคร่อื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู และทำ� เครื่องหมาย หนา้ ข้อความท่ีผดิ คำ� ตอบ ข้อความ 1. หินบะซอลต์ท่ีพบใกล้รอยแยกบริเวณเทือกสันเขาใต้สมุทรจะมีอายุ อ่อนกวา่ หนิ บะซอลตท์ ีอ่ ยู่ไกลจากรอยแยกออกไป 2. เม่อื แผน่ ธรณมี หาสมุทรเกดิ รอยแยกและเคลื่อนทีอ่ อกจากกนั อย่าง ช้า ๆ จะมีเนื้อหินแกรนิตจากส่วนล่างแทรกดันขึ้นมาตรงรอยแยกเกิด เปน็ ช้นั ธรณภี าคใหม่ 3. วงจรการพาความร้อนเป็นกระบวนการท่ีท�ำให้เกิดการเคลื่อนท่ีของ แผ่นธรณี 4. อัลเฟรด เวเกเนอร์ เป็นผเู้ สนอทฤษฎีการแผข่ ยายพน้ื สมุทร 5. บริเวณทะเลแดงเกิดจากการเคลอื่ นทช่ี นกันของแผน่ ธรณมี หาสมุทร กบั แผ่นธรณที วีป 6. เทอื กเขาหมิ าลยั เกดิ จากการเคลอ่ื นทช่ี นกนั ของแผน่ ทวปี ยเู รเซยี และ แผ่นทวีปอินเดีย – ออสเตรเลีย 7. ในอดีตประเทศไทยเคยเปน็ สว่ นหน่งึ ของทวีปลอเรเซยี 8. ร่องลกึ กน้ สมุทรเกิดขึ้นบริเวณกลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ 9. รอยเลอ่ื นซานแอนเดรยี สเกดิ จากการเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หากนั ของแผน่ ทวปี 10. ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาลของพ้ืนมหาสมุทรเป็นหลักฐานยืนยัน การเคลอ่ื นท่ีออกจากกันของแผ่นทวีป สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 2 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี 71 4. พิจารณารปู 1 และ 2 แล้วตอบคำ� ถามดังต่อไปนี้ 4.1 จงจบั คูร่ อยต่อ A B และ C กับ รูป ก ข และ ค ให้มคี วามสมั พันธก์ ันโดยเขียน คำ� ตอบลงในกลอ่ งขอ้ ความในรูปท่ี 1 4.2 ธรณสี ณั ฐานท่ปี รากฎในรูป 2 ก-ค มกี ระบวนการเกดิ อยา่ งไร และมบี ริเวณใด อกี บา้ งท่มี ีลกั ษณะคลา้ ยกบั ในรูป 2 ก-ค จงยกตวั อยา่ ง รูป 1 รอยต่อของแผน่ ธรณี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
72 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 4.2 ธรณสี ัณฐานท่ีปรากฎในรูป 2 ก-ค มกี ระบวนการเกดิ อยา่ งไร และมีบรเิ วณใดอกี บา้ งทมี่ ลี ักษณะคล้ายกับในรูป 2 ก-ค จงยกตวั อย่าง รูป 2 แสดงธรณีสณั ฐานบรเิ วณต่าง ๆ บนโลก แนวคำ� ตอบ รปู ก คอื รอยเลอื่ นซานแอนเดรยี ส เกดิ จากกรเคลอื่ นทผ่ี า่ นกนั ในแนวระดบั ของแผน่ ธรณี รูป ข สนั เขากลางสมุทรแอตแลนตกิ เกิดจากการเคลอ่ื นทีแ่ ยกออกจากกนั ของ แผ่นธรณี รปู ค รอ่ งลกึ กน้ สมทุ ร ประเทศญป่ี นุ่ และหมเู่ กาะญปี่ นุ่ เกดิ จากการเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หา กนั ของแผน่ ธรณี 5. จากหลกั ฐานการแผข่ ยายของพน้ื มหาสมทุ รแอตแลนตกิ สง่ ผลอยา่ งไรตอ่ การเคลอื่ นทข่ี อง ทวปี อเมรกิ าใตแ้ ละแอฟรกิ า แนวค�ำตอบ ท�ำใหท้ วปี อเมริกาใตแ้ ละทวปี แอฟริกาเคลอ่ื นท่ีแยกออกจากกนั 6. ลกั ษณะของทวปี ในปจั จบุ นั เหมอื นหรอื ตา่ งกบั ทวปี เมอ่ื ประมาณ 200 ลา้ นปกี อ่ นอยา่ งไร แนวค�ำตอบ ทวปี ในปจั จบุ ันแยกออกจากกันไม่ไดอ้ ยู่ตดิ กันเปน็ แผน่ ดินเดียวเหมือนเมอื่ 200 ล้านปีก่อน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 73 7. แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่ือน ทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนมหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผน่ ธรณมี ีความเหมอื น และแตกตา่ งกนั ในเรื่องใดบ้าง แนวคำ� ตอบ ทง้ั สามทฤษฎตี า่ งกลา่ วถงึ การเคลอื่ นทขี่ องแผน่ ธรณเี หมอื นกนั แตแ่ ตกตา่ ง กันที่รายละเอียดและหลักฐานสนับสนุน ทฤษฎีทวีปเล่ือนมีหลักฐานสนับสนุน เช่น หลักฐานซากดึกด�ำบรรพ์ หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา และหลักฐานจาก การเคลอ่ื นทขี่ องธารนำ้� แขง็ บรรพกาล แตย่ งั ไมส่ ามารถอธบิ ายสาเหตขุ องการเคลอ่ื นทไี่ ด้ ทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนมหาสมุทรมีหลักฐานการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร คือ การคน้ พบสนั เขากลางสมทุ ร อายขุ องหนิ บะซอลตบ์ นพนื้ สมทุ ร และภาวะแมเ่ หลก็ บรรพกาล ถึงแม้จะสามารถอธิบายว่าทวีปเคล่ือนที่ออกจากกันได้เพราะมหาสมุทรขยายตัวแต่ก็ยัง ไม่สามารถอธบิ ายกลไกการเคลื่อนทไี่ ด้ ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี รวมเอาหลักฐาน แนวคิด ทฤษฎี ตา่ ง ๆ เชน่ ทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนมหาสมุทร และแนวคิดวงจรการพาความร้อน มาอธิบายการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีและการเปล่ียนแปลงลักษณะของแผ่นธรณี โดยใช้ ข้อมูลการพาความร้อนของแมกมาภายในฐานธรณีภาค และใช้การเคล่ือนที่ของ แผ่น ธรณีในลักษณะตา่ งๆ มาอธบิ ายธรณสี ัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และปรากฏการณท์ าง ธรณีวิทยาต่างๆ ท่ีมีกระบวนการเกิดอยู่ภายในโลกและส่งผลกระทบข้ึนมาสู่โลก เช่น แผ่นดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ 8. เพราะเหตใุ ดเมอื่ แผน่ ธรณมี หาสมทุ รและแผน่ ธรณที วปี เคลอื่ นทเ่ี ขา้ หากนั แผน่ ธรณสี มทุ ร จึงมุดตัวลงข้างใต้แผ่นธรณีทวีป ส่วนที่มุดตัวจะลงไปอยู่ท่ีส่วนใดของโครงสร้างโลก แนวคำ� ตอบ เนอ่ื งจากแผน่ ธรณสี มทุ รมคี วามหนาแนน่ มากกวา่ แผน่ ธรณที วปี และสว่ นที่ มดุ ตัวจะลงไปทช่ี ้นั ฐานธรณีภาค 9. จากรปู แสดงบรเิ วณทร่ี าบสงู ทเิ บต และแนวเทอื กเขาหมิ าลยั ซง่ึ เกดิ จากการเคลอื่ นทเ่ี ขา้ หา กนั ของแผน่ ธรณอี นิ เดยี -ออสเตรเลยี และแผน่ ธรณยี เู รเซยี หากแผน่ ธรณดี งั กลา่ วเคลอื่ นท่ี ในทิศทางเดิมต่อไปเรื่อย ๆ นักเรียนคิดว่าลักษณะของธรณีสัณฐานบริเวณนั้นจะเป็น อย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
74 บทท่ี 2 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 แนวค�ำตอบ หากแผ่นธรณีบริเวณดังกล่าวเคลื่อนท่ีในทิศทางเดิมไปเรื่อย ๆ อาจท�ำให้ เทอื กเขาหมิ าลัยสงู ขึ้นเนือ่ งจากการโก่งตวั ของแผ่นธรณี 10. นกั เรยี นคดิ วา่ การเกดิ แผน่ ธรณขี นึ้ มาใหมจ่ ะมผี ลทำ� ใหโ้ ลกมขี นาดใหญข่ น้ึ หรอื ไม่ เพราะ เหตใุ ด แนวค�ำตอบ ไม่ เนื่องจากมีบางส่วนของแผ่นธรณีที่เคลื่อนที่เข้าหากันจะมุดลงไปใน ช้ันฐานธรณภี าคเกิดการหลอมกลายเปน็ แมกมา 11. จากรูปบริเวณใดบ้างท่ีแผ่นธรณีเกิดการต่อเติมและขยายตัวออก บริเวณใดบ้างเกิด การหลอมแผ่นธรณสี ่ภู ายใต้โลก เพราะเหตุใด สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทท่ี 2 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 75 แนวค�ำตอบ บริเวณ ก และ ค เป็นบริเวณที่แผ่นธรณีเกิดการต่อเติมและขยายตัวออก เนอื่ งจากบรเิ วณดงั กลา่ วเปน็ รอยตอ่ ของแผน่ ธรณเี คลอื่ นทแี่ ยกจากกนั มแี มกมาแทรกดนั ข้ึนมาตามรอยแตกเกิดเป็นแผน่ ธรณีใหม่ บริเวณ ข และ ง เป็นบริเวณที่แผ่นธรณีเกิดการหลอมสู่ภายใต้โลก เน่ืองจากเป็น รอยต่อของแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีเข้าหากัน เกิดแนวมุดตัวท�ำให้แผ่นธรณีบางส่วนถูกหลอม เมื่อมดุ ตวั สชู่ ้นั ฐานธรณภี าค 12. จากรปู จงตอบคำ� ถามต่อไปน้ี 1) ต�ำแหน่ง ก และ ข เป็นธรณสี ัณฐานแบบใด แนวคำ� ตอบ ก คือรอ่ งลึกกน้ สมทุ ร ข คอื หมู่เกาะภูเขาไฟรปู โคง้ 2) ธรณีสัณฐานขา้ งตน้ เกิดจากการเคล่อื นทข่ี องแผน่ ธรณีใด และเคล่อื นทีแ่ บบใด แนวค�ำตอบ ก เกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีแปซิฟิก และแผ่นธรณี ยูเรเซีย ข เกิดจากการเคล่ือนท่ีเข้าหากันของแผ่นธรณีแปซิฟิก แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นยเู รเซีย และแผ่นฟิลปิ ปินส์ 3) บริเวณใดคอื รอยต่อของแผน่ ธรณี แนวคำ� ตอบ บรเิ วณ ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
76 บทท่ี 3 | ธรณพี บิ ัติภัย โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 3บทที่ บทท่ี | ธรณีพบิ ัติภยั (Geohazard) goo.gl/XFJwkP ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิดและปัจจัยท่ีท�ำให้ความรุนแรงของการปะทุ และรูปร่างของภเู ขาไฟแตกต่างกนั รวมทง้ั สืบคน้ ขอ้ มลู พน้ื ที่เสีย่ งภยั ออกแบบและนำ� เสนอ แนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ติ นให้ปลอดภัย 2. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผน่ ดนิ ไหว รวมทงั้ สบื คน้ ขอ้ มลู พนื้ ทเี่ สย่ี งภยั ออกแบบและนำ� เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั 3. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสนึ ามิ รวมทง้ั สบื คน้ ขอ้ มลู พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ออกแบบ และน�ำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภยั การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบิดและปัจจยั ที่ท�ำใหค้ วามรนุ แรงของการปะทุและ รปู รา่ งของภเู ขาไฟแตกตา่ งกนั รวมทง้ั สบื คน้ ขอ้ มลู พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ออกแบบและนำ� เสนอแนวทาง การเฝ้าระวังและการปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภัย 2. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผน่ ดนิ ไหว รวมทั้งสบื ค้น ขอ้ มลู พน้ื ทเี่ สยี่ งภยั ออกแบบและนำ� เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั 3. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสึนามิ รวมทงั้ สบื คน้ ขอ้ มลู พื้นที่เสีย่ งภยั ออกแบบ และนำ� เสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภัย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 3 | ธรณพี บิ ัติภยั 77 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบิดโดยใช้แบบจ�ำลอง 2. สืบค้นและนำ� เสนอขอ้ มลู พน้ื ที่เสี่ยงภัย และผลจากการเกิดภูเขาไฟระเบดิ 3. สืบค้นข้อมลู ออกแบบและนำ� เสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัย 4. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรงของแผน่ ดินไหว โดยใชแ้ บบจ�ำลอง 5. สืบคน้ และนำ� เสนอข้อมูลพน้ื ทเ่ี ส่ยี งภยั และผลจากแผน่ ดินไหว 6. สบื ค้นขอ้ มลู ออกแบบและนำ� เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภยั 7. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด จากสึนามโิ ดยใชแ้ บบจำ� ลอง 8. สืบคน้ และนำ� เสนอข้อมูลพ้นื ท่เี สยี่ งภัย และผลจากสึนามิ 9. สบื ค้นขอ้ มลู ออกแบบและนำ� เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏบิ ัตติ นให้ ทกั ษะกระบวนการทาง ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จิตวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 1. การสือ่ สารสารสนเทศและ 1. ความใจกว้าง 1. การจดั กระท�ำและ การรู้เท่าทันสอ่ื 2. ความสนใจในวิทยาศาสตร์ สอื่ ความหมายขอ้ มูล 2. ความรว่ มมอื การทำ� งาน 3. ความเห็นคณุ คา่ ทาง เปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ� วิทยาศาสตร์ 2. การหาความสมั พันธ์ 3. การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ 4. การสรา้ งสรรคแ์ ละ 3. การสร้างแบบจำ� ลอง นวัตกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
78 บทที่ 3 | ธรณีพิบัตภิ ยั โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 ธรณีพิบตั ภิ ัย เชน ภเู ขาไฟระเบดิ แผน ดินไหว สึนามิ เกดิ จาก เกดิ จาก เกิดจาก การเคลอ่ื นตวั ของหนิ หนืด การปลดปลอยพลงั งานของเปลือกโลกใน การเคลื่อนท่ขี องเปลือกโลกใน ขึ้นมาบนผวิ โลก รปู แบบของคลนื่ ไหวสะเทือน แนวดิ่งใตม หาสมุทร พ้นื ท่เี สีย่ งภัย ไดแก พ้นื ทีเ่ สี่ยงภยั ไดแ ก พ้นื ทเ่ี ส่ยี งภยั ไดแ ก - บริเวณแนวรอยตอ่ ของ บริเวณแนวรอยตอ่ ของแผน่ แนวชายฝง ทะเล แผน่ เปลือกโลก เปลือกโลก เชน่ วงแหวนไฟรอบ - บริเวณจดุ ร้อน มหาสมทุ รแปซิฟิก ผลกระทบและแนวทางการปฏิบตั ิตนใหปลอดภัย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 3 | ธรณพี ิบัตภิ ัย 79 ล�ำดับแนวความคิดตอ่ เนื่อง ภูเขาไฟระเบดิ แผน่ ดนิ ไหว และสนึ ามิ เปน็ ธรณีพบิ ตั ภิ ัยทีเ่ กดิ จากกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณวี ทิ ยาซึ่งผลตอ่ ส่งิ มีชีวติ และสง่ิ แวดล้อมแบบฉับพลันและรุนแรง ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาข้ึนมาบนผิวโลกตามช่องว่างหรือรอยแตกของ เปลือกโลก โดยส่วนใหญ่จะมีต�ำแหนง่ ความสัมพนั ธก์ ับรอยตอ่ ของแผน่ ธรณเี คลอ่ื นท่เี ขา้ หากนั หรือ แนวมุดตัวของแผ่นธรณี โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ มหาสมุทรแปซิฟิก และยังมีภูเขาไฟท่ีเกิดขึ้นใน บริเวณแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีออกจากกัน ภูเขาไฟในบางบริเวณอาจเกิดจากการแทรกดันของแมกมา จากจุดรอ้ นทบ่ี รเิ วณกลางแผ่นธรณี ภเู ขาไฟมรี ปู รา่ งและความรนุ แรงในการระเบดิ แตกตา่ งกนั ซง่ึ ขนึ้ อยกู่ บั องคป์ ระกอบของแมกมา เป็นส�ำคัญ แมกมาท่ีมีองค์ประกอบของซิลิกาสูงจะมีความหนืดมากจะท�ำให้ภูเขาไฟมีรูปร่างสูงชัน และระเบดิ รนุ แรง สว่ นแมกมาทม่ี อี งคป์ ระกอบของซลิ กิ าต�่ำจะมคี วามหนดื นอ้ ยและลาวาไหวไปรอบ ปากปล่องภูเขาไฟจงึ มีฐานกวา้ งไมส่ ูงมากและระเบดิ ไมร่ ุนแรง ภเู ขาไฟระเบดิ สง่ ผลตอ่ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ในบางครง้ั สง่ ผลกกระทบอยา่ งรนุ แรงและเปน็ บริเวณกว้าง ดังนั้นการสร้างระบบเตือนภัย และแนวการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก ภูเขาไฟระเบิด จงึ มีความจำ� เป็นอย่างยง่ิ แผ่นดินไหวเกิดเม่ือแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีจะเกิดการเสียดสีและ/หรือชนกันระหว่างแผ่นธรณี สองแผ่น หินจะสะสมพลังงานไว้จนกระทั่งเกิดการแตกหักและเคลื่อนตัวอย่างกระทันหัน และ ปลดปลอ่ ยพลงั งานออกมาในรปู ของคลนื่ ไหวสะเทอื น ทำ� ใหพ้ น้ื ผวิ โลกเกดิ การสน่ั สะเทอื น และอาจ เกดิ จากสาเหตอุ นื่ ไดอ้ กี เช่น ภูเขาไฟระเบิด การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคล่ืนไหวสะเทือนที่ถูกปลดปล่อยออกมาจะเคลื่อนท่ีจากต้นก�ำเนิด แผ่นดนิ ไหวไปทกุ ทศิ ทกุ ทาง ท�ำใหบ้ ริเวณต่าง ๆ ไดร้ บั ผลกระทบไม่เท่ากนั บรเิ วณบนพ้ืนผวิ โลกท่ี จะได้รับผลกระทบมากท่ีสุดคือจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ซ่ึงเป็นจุดบนพื้นผิวโลกท่ีอยู่เหนือ บริเวณต้นก�ำเนดิ ของแผน่ ดินไหวภายในโลก ทเี่ รยี กว่าศูนย์เกิดแผน่ ดนิ ไหว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
80 บทท่ี 3 | ธรณีพบิ ตั ภิ ยั โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 ปริมาณของพลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของการสั่นสะเทือนที่ส่งผ่านมายังผิวโลก สังเกตได้จากค่าแอมพลิจูดของคล่ืนแผ่นดินไหวท่ีตรวจวัดได้ และน�ำมาค�ำนวณเป็นขนาดของ แผน่ ดนิ ไหว ขนาดของแผน่ ดนิ ไหว รายงานโดยใชม้ าตรารกิ เตอร์ และมาตราขนาดโมเมนตแ์ ผน่ ดนิ ไหว ผลของแผน่ ดนิ ไหวทที่ �ำใหค้ นรสู้ กึ ถงึ การสน่ั สะเทอื น ลกั ษณะทวี่ ตั ถหุ รอื อาคารเสยี หาย หรอื สภาพภมู ปิ ระเทศเปลยี่ นแปลง สามารถนำ� มาประเมนิ เปน็ ความรนุ แรงของแผน่ ดนิ ไหว ความรนุ แรง จะเกดิ มากทส่ี ดุ บรเิ วณใกลจ้ ดุ ศนู ยก์ ลางแผน่ ดนิ ไหวและลดลงตามระยะทาง มาตราวดั ความรนุ แรง ทนี่ ิยมใช้ในปจั จบุ นั คือ มาตราเมอร์คัลลีปรับปรงุ ใหม่ พื้นท่ีเส่ียงภัยแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบนโลกส่วนใหญ่อยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีหลายประเทศที่เป็นศูนย์เกิดแผ่นดินไหวใน บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี ท�ำให้ประเทศไทยได้รับแรงส่ันสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นจาก บริเวณดงั กล่าว ประเทศไทยไมไ่ ดต้ ง้ั อยบู่ รเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี แตม่ โี อกาสเปน็ ศนู ยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหว ไดเ้ นอื่ งจากการเคลอื่ นตวั ของรอยเลอื่ นมพี ลงั ภายในประเทศทม่ี กี ารสะสมพลงั งานจากการเคลอื่ นท่ี ของแผ่นธรณี แผ่นดินไหวมีผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ ดังน้ันเราควรศึกษาวิธีการปฏิบัติตน ทงั้ การรบั มอื กอ่ นเกดิ ระหวา่ งเกดิ และหลงั จากเกดิ แผน่ ดนิ ไหว ใหเ้ ขา้ ใจและสามารถปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ ง ถกู ต้อง สึนามิมักจะเกิดข้ึนบริเวณชายฝั่งโดยรอบของมหาสมุทรแปซิฟิกเนื่องจากมีแนวรอยต่อของ แผน่ ธรณเี ปน็ ทางยาวหรอื ทร่ี จู้ กั กนั ในชอื่ วงแหวนไฟ ซง่ึ เปน็ บรเิ วณทเ่ี กดิ การมดุ ตวั ของแผน่ ธรณแี ละ ท�ำใหเ้ กิดแผน่ ดนิ ไหวได้ แผ่นดินไหวท�ำใหเ้ กดิ เป็นสนึ ามิ สึนามิเป็นคลื่นที่มีลักษณะเฉพาะตัวโดยในบริเวณที่ความลึกน้�ำมาก ๆ สึนามิจะมีความสูง คลื่นน้อย แต่ความยาวคลื่นมากและเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูง เมื่อเคลื่อนเข้าสู่บริเวณน้�ำต้ืน ความยาวคลน่ื และความเรว็ คลน่ื จะลดลงแตค่ วามสงู คลนื่ เพม่ิ ขนึ้ ทำ� ใหเ้ กดิ คลนื่ ขนาดใหญป่ ะทะเขา้ กับแผ่นดนิ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 บทที่ 3 | ธรณพี ิบตั ภิ ัย 81 สึนามิ ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหายจ�ำนวนมาก นอกจากน้ียังท�ำให้เกิดความ เสียหายแก่ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รวมทงั้ ในด้านเศรษฐกจิ เปน็ อย่างมาก สึนามิเป็นภัยพิบัติที่ไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้ ดังน้ันวิธีการป้องกันความเสียหายคือ การเฝา้ ระวงั และเตอื นภยั กอ่ นทสี่ นึ ามจิ ะเคลอื่ นทม่ี าถงึ ชายฝง่ั กระบวนการเตอื นภยั สนึ ามปิ ระกอบ ดว้ ยขนั้ ตอนหลกั 3 ข้นั คือ การตรวจวดั ข้อมูล การประมวลผลจากข้อมลู การประกาศเตือนภัย สึนามิมีผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นเราควรศึกษาวิธีการปฏิบัติตน ท้ัง การรบั มือก่อนเกิด ระหว่างเกดิ และหลงั จากเกิดสนึ ามิ ใหเ้ ขา้ ใจและสามารถปฏิบัติไดอ้ ย่างถูกต้อง สาระสำ� คัญ ภเู ขาไฟระเบดิ แผ่นดินไหว และสึนามิ เปน็ ธรณพี ิบตั ภิ ัยทเี่ กิดจากกระบวนการเปลย่ี นแปลง ทางธรณวี ทิ ยาซงึ่ ผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ มแบบฉบั พลนั และรนุ แรง ดงั นน้ั การศกึ ษาถงึ สาเหตุ กระบวนการเกดิ ผลทีจ่ ะเกิดขน้ึ รวมท้งั แนวทางในการเฝา้ ระวังและการปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัย จะ ช่วยใหม้ นษุ ย์เข้าใจถึงธรรมชาติของการเกิดธรณพี ิบัติภัย และสามารถเตรียมพรอ้ มรับสถานการณ์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสูญเสียน้อยทส่ี ดุ เวลาทีใ่ ช้ บทเรียนนคี้ วรใช้เวลาประมาณ 12 ชั่วโมง 1 ภูเขาไฟระเบิด 4 ชั่วโมง 2 แผ่นดนิ ไหว 4 ชัว่ โมง 3 สึนามิ 4 ชั่วโมง ความร้กู ่อนเรยี น สาเหตุ รปู แบบ และผลจากการเคลอื่ นทข่ี องแผน่ ธรณตี ามทฤษฎธี รณแี ปรสณั ฐาน ความหนดื ของสาร โครงสร้างทางธรณี คลน่ื ไหวสะเทือน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
82 บทท่ี 3 | ธรณีพิบตั ิภยั โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 ตรวจสอบความรู้กอ่ นเรยี น ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี แลว้ เตมิ เครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ งคำ� ตอบของขอ้ ความ ทีถ่ กู หรอื เครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ งคำ� ตอบของขอ้ ความทผ่ี ิด ข้อ ความรพู้ น้ื ฐาน คำ� ตอบ 1 ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการบนผวิ โลก (เป็นธรณพี บิ ัติภยั ท่ีเกิดจากกระบวนการเปีย่ นแปลงภายในโลก) 2 การเคลอ่ื นทีข่ องแผ่นธรณไี มก่ อ่ ให้เกดิ ธรณพี บิ ตั ิภัย (กอ่ ใหเ้ กิดเปน็ แผน่ ดนิ ไหว หรือสนึ ามไิ ด)้ 3 ภเู ขาไฟสามารถพบได้ทกุ บรเิ วณบนโลก (พบเฉพาะบางบริเวณ เชน่ แนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณี จดุ ร้อน) 4 คลืน่ ไหวสะเทอื นเปน็ คลื่นท่ตี อ้ งอาศยั ตวั กลางในการเคลื่อนที่ 5 รอยเลื่อนและชัน้ หินคดโค้งเปน็ โครงสร้างทางธรณีท่สี มั พนั ธ์กบั การเคลื่อนท่ีของแผน่ ธรณี 6 การเกิดภูเขาไฟระเบดิ ใต้ทะเลอาจท�ำใหเ้ กิดสนึ ามไิ ด้ 7 การเกิดแผน่ ดินไหวสามารถเกดิ ได้ตลอดเวลา 8 ในประเทศไทยไมม่ กี ารสำ� รวจพบภูเขาไฟ (พบภูเขาไฟดับสนิทในประเทศไทย) 9 หากเกดิ แผน่ ดนิ ไหวขณะอยใู่ นอาคารควรหมอบลงใตโ้ ตะ๊ เพอ่ื ปอ้ งกนั สง่ิ ของ ตกใส่ 10 หากเกิดสึนามขิ ณะอยใู่ นเรอื กลางทะเลให้รีบเขา้ ใกลฝ้ ง่ั ใหม้ ากท่ีสุด (ควรนำ� เรอื ออกจากฝง่ั ใหม้ ากทส่ี ดุ เนอ่ื งจากเมอื่ อยใู่ นทะเลลกึ ความสงู คลนื่ จะน้อย) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 3 | ธรณีพบิ ตั ภิ ยั 83 ความเข้าใจที่คลาดเคล่อื นทอ่ี าจเกดิ ข้ึน ความเข้าใจทีค่ ลาดเคลื่อน ความเขา้ ใจทถี่ กู ต้อง ภเู ขาไฟตอ้ งมีลักษณะเป็นภูเขา ภเู ขาไฟมรี ปู รา่ งหลากหลายและไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมี ลกั ษณะเปน็ ภเู ขาเสมอไป ในบางบรเิ วณอาจเปน็ เมื่อเกิดแผน่ ดินไหวใต้ทะเลทุกครงั้ จะต้องเกิด เพียงรอยแยกทีล่ าวาปะทุขน้ึ มา สึนามิ การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวใตท้ ะเลกอ่ ใหเ้ กดิ สนึ ามไิ ดใ้ น บางคร้ัง ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับลักษณะการเคลื่อนตัว ของแผ่นธรณี ระดับความลึกของจุดศูนย์เกิด แผ่นดนิ ไหว 3.1 ภเู ขาไฟระเบิด จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบดิ โดยใช้แบบจ�ำลอง 2. สบื ค้นและน�ำเสนอขอ้ มลู พืน้ ท่ีเส่ยี งภัย และผลจากการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิด 3. สืบค้นขอ้ มลู ออกแบบและนำ� เสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย สือ่ และแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนรายวิชาเพมิ่ เติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เล่ม 1 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org 3. ข้อมลู เกย่ี วกบั ภูเขาไฟ https://www.volcanodiscovery.com/volcano-map.html 4. ขอ้ มูลเกีย่ วกับธรณพี ิบตั ิภยั http://www.iris.edu http://www.tmd.go.th http://www.dmr.go.th แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 1. น�ำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับข่าวเกี่ยวกับภูเขาไฟ ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปนี้ นักเรยี นเคยไดย้ นิ ข่าวภูเขาไฟระเบิดเกิดข้ึนในประเทศใดบ้าง แนวค�ำตอบ นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยครูสรุปให้นักเรียนเห็นว่ามี บางประเทศเท่าน้ันท่ีเกิดเหตกุ ารณ์ภูเขาไฟระเบิดขึน้ ประเทศไทยเคยไดร้ บั ผลกระทบจากการเกดิ ภูเขาไฟระเบิดหรือไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยครูสรุปว่าประเทศไทยไม่มี ภเู ขาไฟจงึ ไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบโดยตรง หรอื อาจตอบวา่ ไดร้ บั ผลกระทบจากการระเบดิ ของ ภูเขาไฟจากประเทศใกล้เคียง เช่น มีฝุ่น ควันปกคลุมบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
84 บทท่ี 3 | ธรณีพิบตั ภิ ัย โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 เน่ืองจากเกิดภูเขาไฟระเบิดในประเทศอินโดนีเซีย บางครั้งอาจรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน และเกดิ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กิจกรรม 3.1 ความสัมพันธข์ องตำ� แหน่งการเกดิ ภเู ขาไฟบนแผ่นธรณี จดุ ประสงค์กิจกรรม 1. วเิ คราะห์และระบตุ �ำแหน่งภูเขาไฟบนแผน่ ธรณี 2. ระบแุ ละอธบิ ายประเภทแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณีทีส่ ัมพันธก์ ับตำ� แหน่งภูเขาไฟ 3. จัดกลุ่มต�ำแหน่งภูเขาไฟตามตำ� แหนง่ และประเภทแนวรอยตอ่ บนแผน่ ธรณี วสั ด-ุ อปุ กรณ์ 1. แผนที่ตำ� แหนง่ ภูเขาไฟ (หนังสอื เรียนหน้า 80) 2. แผนที่แสดงประเภทแนวรอยตอ่ และลกั ษณะการเคลอ่ื นของแผน่ ธรณี (ภาคผนวก ง หนังสอื เรียนหนา้ 165) การเตรียมตัวลว่ งหน้า 1. ควรเตรยี มแผนทต่ี ำ� แหน่งภเู ขาไฟให้กับนักเรียน โดยสามารถดาวน์โหลดไดท้ ี่ QR code ประจ�ำบท 2. ควรเตรียมแผนท่ีแสดงประเภทแนวรอยต่อและลักษณะการเคล่ือนของแผ่นธรณี โดยให้นักเรียนตัดออกจากภาคผนวกในหนังสือ หรือสามารถดาวน์โหลดได้ที่ QR code ประจ�ำบท 3. ควรท�ำส�ำเนาตารางบันทึกผลตามหนังสือเรียนหน้าท่ี 81-83 ให้กับนักเรียน หรือ สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี QR code 4. อภิปรายร่วมกันกบั นกั เรียนเพ่ือชว่ ยใหเ้ ข้าใจสญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ บนแผนทีท่ ัง้ สอง วธิ กี ารทำ� กจิ กรรม 1. จากแผนที่แสดงต�ำแหน่งของภูเขาไฟจากรูปท่ี 1 และชื่อภูเขาไฟท่ีก�ำหนดในตาราง ให้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งของภูเขาไฟดังกล่าวต้ังอยู่บนแผ่นธรณีใด หรือต้ังอยู่บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีคู่ใดจากแผนท่ีแสดงประเภทแนวรอยต่อและ ลักษณะการเคลอ่ื นของแผ่นธรณี (ภาคผนวก) และบนั ทึกขอ้ มูลลงในตาราง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 บทที่ 3 | ธรณีพบิ ัติภัย 85 2. พจิ ารณาขอ้ มลู ภเู ขาไฟทต่ี งั้ อยบู่ รเิ วณรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที บ่ี นั ทกึ ในตาราง และระบุ ประเภทแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีทีส่ มั พนั ธก์ บั ต�ำแหนง่ ภูเขาไฟดังกลา่ ว ลงในตาราง บนั ทกึ ผล 3. ลากเสน้ เชอ่ื มตอ่ ตำ� แหนง่ ภเู ขาไฟทอ่ี ยบู่ รเิ วณรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที เ่ี คลอื่ นทเ่ี ขา้ หากนั 4. จัดกลมุ่ ภเู ขาไฟตามตำ� แหน่งและประเภทแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณี และน�ำเสนอ ตารางบนั ทกึ ผล ประเภทแนวรอยตอ่ ของ แผ่นธรณี ภูเขาไฟ ทีพ่ บ ต�ำแหน่งบนแผน่ ธรณี เคลอ่ื นที่ เคลอื่ นที่ เคลื่อนที่ หากนั แยก ผา่ นกนั จากกัน ภเู ขาไฟ อยใู่ นแผน่ ธรณี รอยตอ่ ของแผ่น กรากะตัว .................................. ธรณีออสเตรเลยี น ประเทศ และแผน่ ธรณี อนิ โดนเี ซยี ยูเรเซีย ภเู ขาไฟ อยู่ในแผน่ ธรณี รอยตอ่ ของ พินาตโู บ .................................. แผน่ ธรณฟี ิลปิ ปนิ ส์ ประเทศ ฟิลปิ ปนิ ส์ และแผน่ ธรณี ยเู รเซีย ภูเขาไฟฟจู ิ อยูใ่ นแผ่นธรณี รอยต่อของ ประเทศ .................................. แผ่นธรณีแปซิฟกิ ญ่ีปนุ่ แผน่ ธรณีฟลิ ปิ ปนิ ส์ แผน่ ธรณี อเมรกิ าเหนอื และ แผน่ ธรณียเู รเซีย ภูเขาไฟ อยู่ในแผ่นธรณี รอยตอ่ ของ คารมิ สกี .................................. แผน่ ธรณแี ปซิฟกิ ประเทศ และแผ่นธรณี รสั เซีย ยูเรเซีย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
86 บทท่ี 3 | ธรณีพบิ ตั ิภัย โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 ประเภทแนวรอยตอ่ ของ แผ่นธรณี ภูเขาไฟ ที่พบ ต�ำแหน่งบนแผ่นธรณี เคลอื่ นท่ี เคลอื่ นที่ เคล่ือนท่ี หากัน แยก ผ่านกัน จากกนั ภเู ขาไฟ อย่ใู นแผน่ ธรณี รอยตอ่ ของ พาฟลอฟ .................................. แผน่ ธรณี ประเทศ อเมรกิ าเหนือ และ สหรฐั อเมรกิ า แผน่ ธรณีแปซิฟิก ภูเขาไฟ อยู่ในแผน่ ธรณี รอยต่อขอ เซนตเ์ ฮเลน .................................. งแผน่ ธรณฮี วนเดฟู ประเทศ กาและแผ่นธรณี สหรฐั อเมรกิ า อเมรกิ าเหนอื ภเู ขาไฟ อยูใ่ นแผ่นธรณี รอยตอ่ ของ เยลโลวสโตน อเมรกิ าเหนอื แผน่ ธรณ.ี ................. และ............... ประเทศ สหรฐั อเมรกิ า ภเู ขาไฟ อยู่ในแผน่ ธรณี รอยต่อของ คิลาเว แปซฟิ กิ แผน่ ธรณ.ี ................. และ............... เกาะฮาวาย ประเทศ สหรฐั อเมรกิ า ภูเขาไฟ อยู่ในแผน่ ธรณี รอยต่อของ โกลมิ า .................................. แผน่ ธรณ.ี ................. ประเทศ และ............... เม็กซโิ ก สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212