Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-26 04:34:50

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ,คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์,วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณพี ิบัตภิ ยั 185 7บทที่ | ธรณีพิบัตภิ ยั (Geohazard) ipst.me/8857 ทม่ี ารปู บนและขวาลา่ ง USGS รปู ซา้ ยลา่ ง NOAA/NGDC, Marko Kokick, IFRC ตัวช้ีวดั 1. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด รวมท้ังสืบค้นข้อมูลพ้ืนท่ีเส่ียงภัย ออกแบบและ น�ำ เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั 2. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผน่ ดนิ ไหว รวมทง้ั สบื คน้ ขอ้ มลู พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ออกแบบและน�ำ เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั 3. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสนึ ามิ รวมทง้ั สบื คน้ ขอ้ มลู พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ออกแบบและ น�ำ เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

186 บทท่ี 7 | ธรณพี ิบัตภิ ัย คู่มอื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ การวิเคราะห์ตวั ช้ีวดั ตัวช้วี ัด 1. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ รวมทง้ั สบื คน้ ขอ้ มลู พนื้ ทเ่ี สยี่ งภยั ออกแบบและ น�ำ เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั 2. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผน่ ดนิ ไหว รวมทงั้ สบื คน้ ขอ้ มลู พน้ื ทเี่ สย่ี งภยั ออกแบบและน�ำ เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั 3. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสนึ ามิ รวมทง้ั สบื คน้ ขอ้ มลู พนื้ ทเ่ี สย่ี งภยั ออกแบบ และนำ�เสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายสาเหตแุ ละกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบดิ 2. สืบค้นและน�ำ เสนอข้อมูลพ้นื ทเี่ ส่ียงภยั และผลจากการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิด 3. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ�เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก ภเู ขาไฟระเบดิ 4. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดนิ ไหว 5. สืบคน้ และน�ำ เสนอข้อมลู พนื้ ทเ่ี ส่ียงภยั และผลจากการเกดิ แผ่นดินไหว 6. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ�เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก แผน่ ดนิ ไหว 7. อธบิ ายสาเหตุ และกระบวนการเกิดสนึ ามิ 8. สบื คน้ และนำ�เสนอขอ้ มลู พื้นที่เสี่ยงภยั และผลจากสนึ ามิ 9. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ�เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก สึนามิ ทักษะกระบวนการทาง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จติ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 1. การจดั กระท�ำ และสอื่ ความ 1. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง 1. ความมีเหตผุ ล สเปซกับสเปซ และสเปซกับ 2. ความใจกว้าง หมายข้อมลู เวลา 3. ความรอบคอบ 2. การหาความสัมพันธ์ระ 4. ความสรา้ งสรรค์ 2. การสรา้ งแบบจ�ำ ลอง 5. ความสนใจ หวา่ งสเปซ กบั สเปซ 3. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. การสรา้ งแบบจำ�ลอง 4. การสอ่ื สาร ในวทิ ยาศาสตร์ 5. การท�ำ งานรว่ มกัน 6. ความเห็นคุณค่าทาง 6. การคดิ และการแก้ปญั หา วทิ ยาศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพบิ ตั ภิ ยั 187 ล�ำ ดบั ความคิดตอ่ เนือ่ ง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิ เป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการเปล่ียนแปลง ทางธรณวี ทิ ยาแบบฉับพลันและรุนแรง ซง่ึ ผลต่อสิ่งมีชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม ภเู ขาไฟเกดิ จากการแทรกดนั ของแมกมาขนึ้ มาบนผวิ โลกตามชอ่ งวา่ งหรอื รอยแตกของเปลอื กโลก โดยส่วนใหญ่จะมตี �ำ แหนง่ สมั พนั ธก์ ับแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณีเคลื่อนทเ่ี ข้าหากนั หรอื แนวมดุ ตวั ของ แผ่นธรณี และยังมีภูเขาไฟท่ีเกิดข้ึนในบริเวณแผ่นธรณีแยกตัว ภูเขาไฟในบางบริเวณอาจเกิดจาก การแทรกดันของแมกมาจากจดุ ร้อนทบ่ี ริเวณกลางแผน่ ธรณี ภเู ขาไฟระเบดิ สง่ ผลตอ่ มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ในบางครงั้ สง่ ผลกกระทบอยา่ งรนุ แรงและเปน็ บรเิ วณ กว้าง ดังนั้นการสร้างระบบเตือนภัย และแนวการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก ภูเขาไฟระเบดิ จึงมคี วามจำ�เปน็ อย่างยง่ิ แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากเมื่อแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีจะเกิดการเสียดสีและ/หรือชนกันระหว่าง แผ่นธรณีสองแผ่น หินจะสะสมพลังงานไว้จนกระท่ังเกิดการแตกหักและเคลื่อนตัวอย่างกระทันหัน และปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือน ทำ�ให้พื้นผิวโลกเกิดการส่ันสะเทือน และ อาจเกดิ จากสาเหตุอืน่ ไดอ้ กี เชน่ ภูเขาไฟระเบดิ การทดลองระเบดิ นิวเคลียร์ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคล่ืนไหวสะเทือนที่ถูกปลดปล่อยออกมาจะเคล่ือนท่ีจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ไปทุกทิศทุกทาง ทำ�ให้บริเวณต่าง ๆ ได้รับผลกระทบไม่เท่ากัน บริเวณบนพื้นผิวโลกที่จะได้รับ ผลกระทบมากท่ีสุด คือ จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นจุดบนพื้นผิวโลกท่ีอยู่เหนือบริเวณ ศนู ยเ์ กิดของแผ่นดินไหวภายในโลก ปรมิ าณของพลงั งานทถ่ี กู ปลดปลอ่ ยออกมาในรปู ของการสน่ั สะเทอื นทส่ี ง่ ผา่ นมายงั ผวิ โลก สงั เกต ได้จากค่าแอมพลิจูดของคลื่นแผ่นดินไหวท่ีตรวจวัดได้ และนำ�มาคำ�นวณเป็นขนาดของแผ่นดินไหว ขนาดของแผน่ ดินไหวรายงานโดยใช้มาตรารกิ เตอร์ และมาตราขนาดโมเมนตแ์ ผ่นดินไหว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

188 บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ัตภิ ัย คูม่ ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ผลของแผน่ ดนิ ไหวทที่ �ำ ใหค้ นรสู้ กึ ถงึ การสนั่ สะเทอื น ลกั ษณะทวี่ ตั ถหุ รอื อาคารเสยี หาย หรอื สภาพ ภูมิประเทศเปลี่ยนแปลง สามารถนำ�มาประเมินเป็นความรุนแรงของแผ่นดินไหว ความรุนแรงจะ เกิดมากท่ีสุดบริเวณใกล้เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวและลดลงตามระยะทางท่ีห่างออกมา มาตราวัด ความรนุ แรงที่นิยมใชใ้ นปจั จบุ นั คือ มาตราเมอร์คลั ลปี รับปรงุ ใหม่ พนื้ ทเี่ สย่ี งภยั แผน่ ดนิ ไหวทเี่ กดิ ขน้ึ บนโลกสว่ นใหญอ่ ยบู่ รเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี ในภมู ภิ าค เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีหลายประเทศท่ีเป็นศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในบริเวณ รอยต่อของแผ่นธรณี ทำ�ให้ประเทศไทยได้รับแรงส่ันสะเทือนจากแผ่นดินไหวท่ีเกิดข้ึนจากบริเวณ ดังกลา่ ว ประเทศไทยไม่ได้ตั้งอยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี แต่มีโอกาสเป็นศูนย์เกิดแผ่นดินไหวได้ เนื่องจากการเคล่ือนตัวของรอยเลื่อนมีพลังภายในประเทศท่ีมีการสะสมพลังงานจากการเคลื่อนที่ ของแผ่นธรณ ี แผ่นดินไหวมีผลกระทบต่อการดำ�เนินชีวิตของมนุษย์ ดังน้ันเราควรศึกษาวิธีการปฏิบัติตน ท้ังการรับมือก่อนเกิด ระหว่างเกิด และหลังจากเกิดแผ่นดินไหว ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้ อย่างถูกต้อง สึนามิมักจะเกิดข้ึนบริเวณชายฝ่ังโดยรอบของมหาสมุทรแปซิฟิกเนื่องจากมีแนวรอยต่อของ แผ่นธรณีเป็นทางยาวหรือที่รู้จักกันในช่ือ วงแหวนไฟ ซ่ึงเป็นบริเวณท่ีเกิดการมุดตัวของแผ่นธรณี และท�ำ ใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหวไดแ้ ละอาจเกดิ สนึ ามถิ า้ เหตกุ ารณแ์ ผน่ ดนิ ไหวดงั กลา่ ว เกดิ การเลอ่ื นตวั ของ เปลอื กโลกในแนวดง่ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพบิ ตั ิภยั 189 สึนามิเป็นคลื่นท่ีมีลักษณะเฉพาะตัวโดยในบริเวณที่ความลึกของมหาสมุทรมาก ๆ สึนามิจะมี ความสงู คลน่ื นอ้ ย แตม่ คี วามยาวคลนื่ มากและเคลอื่ นทดี่ ว้ ยความเรว็ สงู เมอื่ เคลอ่ื นเขา้ สบู่ รเิ วณน�้ำ ตนื้ ความยาวคลื่นและความเร็วคล่ืนจะลดลงแต่ความสูงคลื่นเพิ่มขึ้นทำ�ให้เกิดคล่ืนขนาดใหญ่ปะทะเข้า กับแผน่ ดนิ สึนามิทำ�ใหม้ ีผ้เู สยี ชวี ติ บาดเจ็บ และสูญหายจำ�นวนมาก นอกจากนยี้ งั ทำ�ให้เกดิ ความเสียหายแก่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รวมท้ังในด้านเศรษฐกจิ เปน็ อยา่ งมาก สึนามิเป็นภัยพิบัติท่ีไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้ ดังนั้นวิธีการป้องกันความเสียหายคือ การเฝ้าระวังและเตือนภัยก่อนที่สึนามิจะเคล่ือนที่มาถึงชายฝ่ัง กระบวนการเตือนภัยสึนามิประกอบ ด้วยขัน้ ตอนหลัก 3 ข้ัน คือ การตรวจวดั ข้อมูล การประมวลผลจากขอ้ มลู การประกาศเตือนภยั สนึ ามมิ ผี ลกระทบตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ย์ ดงั นนั้ เราควรศกึ ษาวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ น ทงั้ การรบั มอื กอ่ นเกดิ ระหวา่ งเกดิ และหลงั จากเกดิ สึนามิ ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัตติ นได้อยา่ งถกู ตอ้ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

190 บทท่ี 7 | ธรณพี บิ ัตภิ ัย คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ สาระสำ�คญั ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิ เป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง ธรณีวิทยาแบบฉับพลันและรุนแรงซ่ึงผลต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ดังนั้นการศึกษาถึงสาเหตุ กระบวนการเกดิ ผลทเี่ กดิ ขนึ้ รวมทงั้ แนวทางในการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จะชว่ ยให้ มนษุ ยเ์ ขา้ ใจถงึ ธรรมชาตขิ องการเกดิ ธรณพี บิ ตั ภิ ยั และสามารถเตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณเ์ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสญู เสยี นอ้ ยทีส่ ดุ เวลาท่ใี ช้ บทน้คี วรใชเ้ วลาประมาณ 6 ชัว่ โมง 7.2 ภูเขาไฟระเบดิ 2 ชั่วโมง 7.3 แผน่ ดนิ ไหว 2 ชว่ั โมง 7.4 สนึ าม ิ 2 ชวั่ โมง ความรูก้ ่อนเรยี น สาเหตุ รูปแบบ และผลจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีตามทฤษฎการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี โครงสร้างทางธรณคี ลืน่ ไหวสะเทือน ความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคล่อื นทอ่ี าจเกดิ ขึ้น ความเขา้ ใจคลาดเคล่ือน ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง ภเู ขาไฟตอ้ งมีลักษณะเป็นภูเขา ภูเขาไฟมีรูปร่างหลากหลายและไม่จำ�เป็น ต้องมีลักษณะเป็นภูเขาเสมอไป ในบาง บริเวณอาจเป็นเพียงรอยแยกท่ีลาวาปะทุ ข้นึ มา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณพี บิ ตั ภิ ยั 191 ความเขา้ ใจคลาดเคล่ือน ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง เมื่อเกิดแผ่นดินไหวใต้ทะเลทุกคร้ังจะต้องเกิด ก า ร เ กิ ด แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว ใ ต้ ท ะ เ ล ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด สนึ ามิ สึนามิได้ในบางคร้ัง ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะ การเคลอ่ื นตัวของแผ่นธรณี ระดบั ความลึก ของจุดศูนยเ์ กิดแผน่ ดนิ ไหว 7.1 ภูเขาไฟระเบิด (volcanic eruption) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบิด 2. สบื ค้นและนำ�เสนอขอ้ มลู พนื้ ท่ีเสยี่ งภัย และผลจากการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิด 3. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ�เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย จากภเู ขาไฟระเบดิ สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org 3. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ภเู ขาไฟ https://www.volcanodiscovery.com/volcano-map.html และ http:// volcano.oregonstate.edu/ 4. ข้อมูลเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติตนเมื่อเกิดภูเขาไฟระเบิด http://www.redcross.org/get-help/ how-to-prepare-for-emergencies/types-of-emergencies/volcano แนวการจัดการเรยี นรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ขา่ วเกย่ี วกบั ภเู ขาไฟ ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี นกั เรยี นเคยไดย้ นิ ขา่ วภเู ขาไฟระเบดิ เกดิ ขน้ึ ในประเทศใดบา้ ง แนวคำ�ตอบ นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยครูสรุปให้นักเรียนเห็นว่ามี บางประเทศเทา่ นน้ั ทเ่ี กดิ เหตกุ ารณภ์ เู ขาไฟระเบดิ ขน้ึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

192 บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ัติภัย คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ประเทศไทยเคยไดร้ บั ผลกระทบจากการเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ นกั เรยี นตอบตามประสบการณข์ องตนเอง โดยครสู รปุ วา่ ประเทศไทยไมม่ ภี เู ขาไฟ จงึ ไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบ หรอื อาจตอบวา่ ไดร้ บั ผลกระทบจากการระเบดิ ของภเู ขาไฟจากประเทศ ใกลเ้ คยี งเชน่ มเี ถา้ ภเู ขาไฟปกคลมุ บรเิ วณภาคใตข้ องประทศไทย เนอ่ื งจากเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ ใน ประเทศอินโดนีเซีย บางคร้ังอาจรู้สึกถึงแรงส่ันสะเทือน และเกิดการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศ นกั เรยี นคดิ วา่ พน้ื ทใ่ี ดบา้ งมโี อกาสเกดิ ภเู ขาไฟ แนวคำ�ตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูชวนให้นักเรียนหาคำ�ตอบด้วย ตนเองจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 7.1 2. ครใู ห้นกั เรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรม 7.1 ตามหนังสือเรียนหนา้ 143 เพอ่ื ศกึ ษาต�ำ แหน่งการเกิดของ ภูเขาไฟ และความสัมพนั ธข์ องต�ำ แหน่งภูเขาไฟบนแผน่ ธรณี กจิ กรรม 7.1 ความสมั พันธข์ องต�ำ แหนง่ การเกดิ ภูเขาไฟกบั แนวรอยต่อของ แผ่นธรณี จุดประสงค์กจิ กรรม 1. วเิ คราะหแ์ ละระบุตำ�แหน่งการเกดิ ภูเขาไฟบนแผน่ ธรณี 2. ระบแุ ละอธบิ ายประเภทแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณที ่ีสมั พันธก์ ับต�ำ แหน่งการเกิดภเู ขาไฟ เวลา 1 ชวั่ โมง วัสดุ-อปุ กรณ์ 1. แผนทีต่ �ำ แหน่งภเู ขาไฟท่พี บ ณ บริเวณต่าง ๆ บนโลก 2. แผนทแี่ สดงประเภทแนวรอยต่อและลักษณะการเคล่อื นของแผน่ ธรณี หมายเหต:ุ ขอ้ มูล 1-2 ดาวนโ์ หลดได้จาก QR code ประจ�ำ บท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณพี ิบตั ภิ ัย 193 การเตรียมตัวล่วงหน้า 1. ควรเตรยี มแผนท่ตี �ำ แหน่งภูเขาไฟให้กบั นกั เรยี น โดยสามารถดาวน์โหลดได้ท่ี QR code ประจำ�บท 2. ควรเตรียมแสดงประเภทแนวรอยต่อและลักษณะการเคลื่อนของแผ่นธรณี โดยให้ ดาวน์โหลดได้ท่ี QR code ประจ�ำ บท ขอ้ เสนอแนะสำ�หรับครู ครูอภปิ รายรว่ มกนั กบั นักเรยี นเพื่อช่วยให้เข้าใจสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ บนแผนทีท่ ้ัง วิธกี ารทำ�กิจกรรม 1. พจิ ารณาแผนทแ่ี สดงต�ำ แหนง่ ของภเู ขาไฟทพี่ บ ณ บรเิ วณตา่ ง ๆ บนโลก ตามชอื่ ภเู ขาไฟ ทก่ี ำ�หนดในตาราง แล้วระบตุ ำ�แหน่งภเู ขาไฟลงบนแผนทีแ่ สดงประเภทแนวรอยตอ่ และ ลกั ษณะการเคลอ่ื นที่ของแผ่นธรณี 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อ 1 แล้วระบุตำ�แหน่งภูเขาไฟบนแผ่นธรณีพร้อมช่ือแผ่นธรณีท่ี เก่ียวข้อง ลงในตารางบนั ทึกผล สรปุ และน�ำ เสนอผลการทำ�กิจกรรม 3. รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั กระบวนการทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ภเู ขาไฟ ณ บรเิ วณรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

194 บทท่ี 7 | ธรณพี ิบัติภยั คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ตัวอยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ตารางบนั ทึกผล ประเภทแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี ภเู ขาไฟที่พบ ต�ำ แหน่งบนแผ่นธรณี เคลอื่ นท่ี เคลอ่ื นท่ี เคล่อื นท่ี หากนั แยกจากกนั ผา่ นกนั ภูเขาไฟ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ กรากะตัว ธรณี................ ธ ร ณี อิ น เ ดี ย - ประเทศอนิ โดนีเซีย ................... ออสเตรเลีย และ แผน่ ธรณยี เู รเซยี ภเู ขาไฟพินาตโู บ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศฟิลิปปนิ ส์ ธรณี................ ธรณฟี ลิ ปิ ปนิ ส์ และ ................... แผ่นธรณยี เู รเซีย ภูเขาไฟฟูจิ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศญ่ปี ่นุ ธรณี................ ธรณฟี ลิ ปิ ปนิ ส์ แผน่ ................... ธรณีอเมริกาเหนือ แ ล ะ แ ผ่ น ธ ร ณี ยูเรเซยี ภเู ขาไฟคาริมสกี อยู่ในแผ่น รอยต่อของ ประเทศรสั เซยี ธรณี................ แผ่นธรณแี ปซฟิ กิ ................... และแผ่นธรณี อเมรกิ าเหนือ ภูเขาไฟพาฟลอฟ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ สหรัฐอเมรกิ า ธรณี................ ธรณีอเมริกาเหนือ ................... แ ล ะ แ ผ่ น ธ ร ณี แปซฟิ ิก ภเู ขาไฟ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ เซนตเ์ ฮเลน ธรณี................ ธ ร ณี ฮ ว น เ ด ฟู ก า ................... แ ล ะ แ ผ่ น ธ ร ณี ประเทศ อเมรกิ าเหนอื สหรฐั อเมริกา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพิบตั ิภยั 195 ประเภทแนวรอยต่อของแผน่ ธรณี ภูเขาไฟทีพ่ บ ตำ�แหนง่ บนแผน่ ธรณี เคลอื่ นที่ เคลอื่ นท่ี เคลื่อนท่ี หากนั แยกจากกัน ผ่านกนั ภูเขาไฟ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ เยลโลวสโตน ธ ร ณี อ เ ม ริ ก า ธรณ.ี ...................... เหนือ และ........................ ประเทศ สหรฐั อเมริกา ภเู ขาไฟคลิ าเวเกาะ อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ฮาวาย ประเทศ ธรณแี ปซฟิ กิ ธรณ.ี ...................... สหรัฐอเมริกา และ........................ ภเู ขาไฟโกลมิ า อยู่ในแผ่น รอยต่อของ ประเทศเมก็ ซิโก ธรณี................ แผ่นธรณีคอคอส ................... และแผน่ ธรณี อเมรกิ าเหนอื ภเู ขาไฟคลั บูโก อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศชลิ ี ธรณี................ ธรณีนาสคา และ ................... แผน่ ธรณอี เมรกิ าใต้ ภูเขาไฟเฮกลา อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศ ธรณี................ ธ ร ณี ยู เ ร เ ซี ย แ ล ะ ไอซ์แลนด์ ................... แผ่นธรณีอเมริกา เหนอื ภเู ขาไฟเอตนา อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศอิตาลี ธรณี................ ธรณีแอฟริกา และ ................... แผ่นธรณียเู รเซีย ภูเขาไฟแคเมอรนู อยู่ในแผ่น รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศแคเมอรนู ธรณแี อฟรกิ า ธรณ.ี ...................... และ........................ ภูเขาไฟ เออร์ตาอัลเล อยใู่ นแผน่ รอยตอ่ ของแผน่ ประเทศเอธโิ อเปีย ธรณี........... ธรณอาระเบียน แ ล ะ แ ผ่ น ธ ร ณี แอฟริกา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

196 บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ัตภิ ัย คูม่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ สรุปผลการทำ�กจิ กรรม จากกิจกรรมพบว่าภูเขาไฟโดยส่วนใหญ่จะพบท่ีบริเวณขอบของแผ่นธรณี โดยเฉพาะ บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีเข้าหากัน มีภูเขาไฟบางส่วนที่ตั้งอยู่บริเวณ แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน และมีบางส่วนท่ีอยู่ด้านในแผ่นธรณี จึงสรุปได้ว่าตำ�แหน่ง ของการเกิดภูเขาไฟระเบิดมีความสัมพันธ์กับบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีที่เกิดจาก การเคลอื่ นทีข่ องแผ่นธรณรี ปู แบบตา่ ง ๆ คำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม ตำ�แหนง่ ใดบ้างของแผ่นธรณที ่พี บภูเขาไฟ และพบภูเขาไฟหนาแนน่ ท่ตี �ำ แหนง่ ใด แนวค�ำ ตอบ ภเู ขาไฟจะพบทีบ่ ริเวณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี และในแผ่นธรณี โดย จะพบหนาแนน่ ทส่ี ดุ ทบี่ รเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณเี คลอื่ นทเ่ี ขา้ หากนั โดยเฉพาะ อย่างยงิ่ บริเวณโดยรอบมหาสมุทรแปซิฟิก พบภูเขาไฟท่ีแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีทงั้ 3 รปู แบบหรือไม่ อย่างไร แนวค�ำ ตอบ พบภูเขาไฟทแ่ี นวรอยต่อของแผน่ ธรณี 2 รูปแบบ คอื แนวรอยต่อแผน่ ธรณีเคล่ือนท่ีหากันและแยกออกจากกัน แต่ไม่พบภูเขาไฟท่ีแนวรอยต่อแผ่นธรณี เคลื่อนทผี่ า่ นกนั ในแนวราบ แนวรอยตอ่ ทีพ่ บภเู ขาไฟหนาแน่นมีกระบวนการทางธรณใี ดเกิดขนึ้ แนวคำ�ตอบ เกิดการมุดตัวของแผ่นธรณีทำ�ให้เกิดการหลอมตัวของแผ่นธรณีและ กลายเป็นแมกมาเคลอื่ นทีข่ ้ึนสู่ผิวโลกจงึ เกดิ เป็นภเู ขาไฟ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณพี ิบตั ภิ ยั 197 3. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอผลการท�ำ กจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายผลการท�ำ กจิ กรรม พรอ้ ม ตอบค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม โดยมีแนวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบค�ำ ถามดงั ด้านบน 4. ครูนำ�อภิปรายว่าเพราะเหตุใดจึงพบภูเขาไฟหนาแน่นท่ีบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีท่ี เคลือ่ นที่เข้าหากนั โดยใช้รูป 7.1 (ก) และ 7.1 (ข) ในหนังสือเรยี นหนา้ 146-147 แนวทางการอภิปราย จากรูป 7.1 (ก) จะเหน็ วา่ บริเวณดงั กล่าวเกิดการมุดตัวของแผน่ ธรณี โดย อาจมีบางส่วนของแผ่นธรณีท่ีมุดตัวลงไปสู่ฐานธรณีภาคท่ีมีความร้อนสูงจึงทำ�ให้แผ่นธรณี เกิดการหลอมตัว กลายเป็นแมกมาซึ่งมีอุณหภูมิสูงและมีความหนาแน่นน้อยกว่าหินโดยรอบจึง เคลื่อนที่ข้ึนสู่ผิวโลก เกิดเป็นภูเขาไฟ และจากรูป 7.1 (ข) จะเห็นได้ว่าตำ�แหน่งของภูเขาไฟนั้นอยู่ หนาแนน่ บรเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที เ่ี คลอื่ นเขา้ หากนั โดยเฉพาะบรเิ วณรอบมหาสมทุ รแปซฟิ กิ มีลกั ษณะคล้ายวงแหวนจึงเรยี กบรเิ วณดังกลา่ วว่า วงแหวนไฟ (ring of fire) 5. นอกจากบรเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที เ่ี คลอ่ื นทเี่ ขา้ หากนั แลว้ ภเู ขาไฟยงั เกดิ ขนึ้ ในบรเิ วณ อ่ืนใดอีกบ้าง และเกิดขึ้นได้อย่างไร โดยใช้รูป 7.2 ในหนังสือเรียนหน้า 147 และ รูป 7.3 ในหนงั สือเรยี นหน้า 148 แนวทางการอภปิ ราย จากรปู 7.2 ภเู ขาไฟระเบดิ อาจเกดิ ขน้ึ ทบ่ี รเิ วณรอยตอ่ ทแ่ี ผน่ ธรณเี คลอ่ื นท่ี แยกจากกัน เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีรอยแตก หรือเป็นบริเวณท่ีเปลือกโลกบาง ทำ�ให้แมกมา แทรกตัวขึ้นมาสูผ่ ิวโลกได้จึงเกดิ เป็นภเู ขาไฟระเบดิ และจากรปู 7.3 แสดงลกั ษณะการเกดิ ภูเขาไฟใน หมู่เกาะฮาวาย ซึ่งเป็นภูเขาไฟท่ีเกิดขึ้นภายในแผ่นธรณี เกิดขึ้นเม่ือแมกมาจากบริเวณท่ีเรียกว่า จุดรอ้ น (hot spot) เคล่อื นทขี่ ึ้นมาบนผวิ โลก 6. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับการเกิดภูเขาไฟระเบิดโดยใช้คำ�ถามใน หนังสือเรยี นหน้า 148 ดังตัวอย่าง เพราะเหตใุ ดประเทศอนิ โดนเี ซยี และฟลิ ปิ ปนิ สจ์ งึ เกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ บอ่ ยครง้ั กวา่ ประเทศอน่ื ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แนวค�ำ ตอบ เน่ืองจากท้ังสองประเทศเป็นหมู่เกาะต้ังอยู่บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนที่ เขา้ หากนั ท�ำ ใหบ้ นเกาะมภี เู ขาไฟเป็นจำ�นวนมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

198 บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ตั ภิ ยั ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 7. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเร่ืองผลจากภูเขาไฟระเบิดต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยให้นักเรียน แบ่งกลุ่มสืบค้นข่าวเก่ียวกับภูเขาไฟที่เกิดขึ้นทั่วโลก และให้นักเรียนนำ�เสนอผลการสืบค้นกลุ่มละ 1 เหตกุ ารณ์ โดยให้นักเรยี นนำ�เสนอตามประเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี - ต�ำ แหน่งของภูเขาไฟบนแผน่ ธรณี และประเทศท่ีภูเขาไฟนัน้ ตั้งอยู่ - ลักษณะการปะทุ (รนุ แรงมาก/นอ้ ย) ส่งิ ทป่ี ะทุออกมาจากภูเขาไฟ - ผลกระทบตอ่ มนุษย์และส่งิ แวดลอ้ ม 8. ครนู �ำ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใหน้ กั เรยี นเปรยี บเทยี บเหตกุ ารณภ์ เู ขาไฟระเบดิ ของกลมุ่ ตนเองและ กลุ่มอ่ืน ๆ ว่ามีประเด็นใดบ้างที่เหมือนกัน และมีประเด็นใดบ้างท่ีแตกต่างกัน โดยมีแนวทาง การอภิปรายดังนี้ ภูเขาไฟท่ีอยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีและภูเขาไฟท่ีอยู่บริเวณกลางแผ่นธรณี มีลักษณะ การปะทุ สง่ิ ทป่ี ะทอุ อกมา และเกดิ ความเสยี หายและผลกระทบแตกตา่ งกนั ภเู ขาไฟทเ่ี กดิ บรเิ วณรอยตอ่ ของแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีหากันส่วนใหญ่ มีลักษณะสูงชันคล้ายรูปกรวย มีการปะทุท่ีรุนแรง และพ่น เถ้าภูเขาไฟได้สูงและอาจส่งผลกระทบได้เป็นบริเวณกว้าง ส่วนภูเขาไฟท่ีอยู่ในแผ่นธรณีมีลักษณะ ฐานกวา้ งและมคี วามสงู ไมม่ าก เมอ่ื เกดิ การปะทจุ ะมลี าวาไหลออกจากปากปลอ่ ง และมกี ารปะทไุ มร่ นุ แรง มเี ถา้ ภเู ขาไฟ เศษชน้ิ ภเู ขาไฟ และแกส๊ ตา่ ง ๆ ในปรมิ าณไมม่ าก จงึ อาจสง่ ผลเฉพาะในพน้ื ทน่ี น้ั ๆ การปะทขุ องภูเขาไฟจะสง่ ผลโดยตรงตอ่ มนษุ ย์และส่งิ แวดลอ้ มโดยรอบ ลาวาทไ่ี หลผ่านจะท�ำ ให้ เกดิ การลกุ ไหม้ไปทั่วบรเิ วณ เถา้ ภเู ขาไฟรอ้ นท่ีเคลื่อนทด่ี ้วยความเร็วสูงจะทำ�ให้พืน้ ทถ่ี ูกปกคลมุ ด้วย ช้ันเถ้าภูเขาไฟหนาจนเกิดอันตรายแก่ส่ิงมีชีวิต ส่วนกลุ่มแก๊สท่ีปะทุออกมาอยู่ในอากาศ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จะทำ�อันตรายต่อระบบทางเดินหายใจของ สง่ิ มชี ีวติ หากแกส๊ เหลา่ นที้ �ำ ปฏกิ ริ ยิ ากับไอน้ำ�ในอากาศจะกลายเปน็ ฝนกรด นอกจากนีก้ ลมุ่ แกส๊ และ เถา้ ภเู ขาไฟทแี่ ขวนลอยอยใู่ นอากาศยงั สง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศของโลก ภเู ขาไฟทอ่ี ยตู่ าม ขอบทวีป และใต้มหาสมุทร เมื่อเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง ทำ�ให้บางส่วนของภูเขาไฟถล่มลงใน มหาสมทุ รซ่งึ เปน็ สาเหตุหนง่ึ ทที่ ำ�ใหเ้ กดิ สึนามิ 5. ครูนำ�อภิปรายเกี่ยวกับภเู ขาไฟในประเทศไทย เพือ่ ใหค้ วามรแู้ ละเชอ่ื มโยงให้เห็นถึงประโยชน์ หรือผลพลอยไดจ้ ากการเกดิ ภูเขาไฟระเบิด โดยใชค้ �ำ ถามดังตวั อยา่ ง ในประเทศไทยมีภูเขาไฟระเบิดหรอื ไม่ ทราบไดจ้ ากหลักฐานใด แนวคำ�ตอบ ประเทศไทยมีภูเขาไฟที่ดับแล้วอยู่หลายแห่ง เช่น เขากระโดง และเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ นักธรณีวิทยาทราบว่าบริเวณน้ันเคยเป็นภูเขาไฟมาก่อนเนื่องจากบางแห่ง ยังพบร่องรอยของปากปล่องภูเขาไฟ หรือลักษณะภูมิประเทศท่ีเกิดจากการเย็นตัวลงของ แมกมา ในบางพ้ืนที่พบหินภูเขาไฟและพบแร่กลุม่ อญั มณีที่แมกมาพาขึ้นมา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณพี บิ ัติภัย 199 นอกจากการเกิดภูเขาไฟระเบิดจะเกิดความเสียหายแล้ว นักเรียนคิดว่าภูเขาไฟระเบิดมีผลดี หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ตามหนังสือหน้า 151 การเกิดภูเขาไฟระเบิดนอกจากจะสร้างความเสียหายต่อ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มแลว้ ภูเขาไฟยงั ใหป้ ระโยชนใ์ ห้แกม่ นษุ ยอ์ ีกดว้ ย เนื่องจากแมกมาท่ขี น้ึ มาบนผิวโลกจะแข็งตัวกลายเป็นหินชนิดต่าง ๆ เช่น หินไรโอไลต์ หินบะซอลต์ หินแอนดีไซต์ ซึ่งเป็นทรัพยากรธรณีที่นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ และเม่ือหินผุพังก็จะกลายเป็นวัตถุต้นกำ�เนิดดิน นอกจากนี้แมกมายังนำ�แร่ท่ีตกผลึกภายในโลกข้ึนมาด้วย เช่น คอรันดัม การ์เนต สปิเนล ซึ่งเป็นแร่ในกลุ่มอัญมณีท่ีสำ�คัญในประเทศไทยพบแหล่งอัญมณีในหลายจังหวัด เช่น จันทบุรี ตราด กาญจนบรุ ี ภเู ขาไฟในประเทศไทยเปน็ ภเู ขาไฟทด่ี บั สนทิ และเกดิ การผพุ งั ไปบางสว่ น แต่ ยังมีหลักฐานร่องรอยให้เห็นว่าเป็นปากปล่องภูเขาไฟ นอกจากน้ีโครงสร้างที่เกิดจาก การแข็งตัวของลาวากลายเป็นเสาหิน เช่น เสาหินที่วัดแสนตุ่ม จังหวัดตราด เสาหินที่ บ้านน�้ำ เดือด จังหวดั เพชรบรู ณ์ ท�ำ ใหก้ ลายเปน็ แหล่งท่องเที่ยว 6. ครแู ละนกั เรยี นสรุปบทเรยี นร่วมกนั โดยมีแนวทางในการสรปุ ดังน้ี • ภูเขาไฟระเบิดเกิดขึ้นจากแมกมาปะทุและพุ่งข้ึนมาตามแนวรอยแตกของเปลือกโลก ส่วนมากจะเกดิ ตามแนวรอยแตกของแผน่ ธรณีและเกดิ ตรงจดุ รอ้ น • ภูเขาไฟระเบิดมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและส่ิงมีชีวิต โดยทำ�ให้เกิดการลุกไหม้และ การหลอมของสง่ิ ต่างๆ บนผิวโลกและทำ�ใหส้ ิ่งแวดล้อมบรเิ วณนน้ั เปล่ยี นไป • ภ เู ขาไฟระเบดิ มปี ระโยชนห์ ลายอยา่ ง เชน่ เถา้ ภเู ขาไฟ หนิ ภเู ขาไฟและตะกอนภเู ขาไฟ ท�ำ ให้ ดินมีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก หินภูเขาไฟบางบริเวณนำ�อัญมณีขึ้นสู่ ผิวโลก นอกจากนนั้ ยงั ทำ�ใหเ้ กดิ ภมู ิลักษณภ์ ูเขาไฟทีส่ วยงาม แนวทางการวัดและประเมินผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: 1. ผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม 7.1 และการตอบ 1. สาเหตุ กระบวนการเกิด และผล คำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม จากภูเขาไฟระเบดิ 2. การอภิปรายเพอื่ สรุปองค์ความรู้ 2. แนวทางการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ติ น 3. แบบฝกึ หัด ใหป้ ลอดภยั จากภเู ขาไฟระเบดิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

200 บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ัติภยั คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล P: 1. ผลการทำ�กิจกรรม 7.1 ในการวิเคราะห์ 1. การจัดกระทำ�และส่ือความหมาย แ ล ะ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ตำ � แ ห น่ ง ภู เ ข า ไ ฟ ที่ สัมพนั ธก์ บั แนวรอยต่อของแผ่นธรณี ข้อมลู 2. การส่ือสารสารสนเทศและการรู้ 2. การน�ำ เสนอผลการท�ำ กิจกรรม 7.1 3. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการทำ�งาน เทา่ ทันส่อื 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีม กลุ่ม และภาวะผู้นำ� A: ความใจกวา้ ง การร่วมอภิปรายและการตอบคำ�ถาม ความรเู้ พ่ิมเติม ตวั อยา่ งแหล่งเรียนรรู้ อ่ งรอยภเู ขาไฟ และหนิ ภูเขาไฟในประเทศไทย 1. เขากระโดง ต�ำ บลเสมด็ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ พบการแพรก่ ระจายของหนิ บะซอลต์ และพบปลอ่ งภูเขาไฟ 2 ปลอ่ ง 2. ภูพระองั คาร ต�ำ บลบา้ นเจรญิ สุข อ�ำ เภอนางรอง จังหวดั บุรรี มั ยเ์ ป็นภเู ขาไฟชนดิ หนิ บะซอลตท์ ีเ่ กิดจากลาวาหลาก 3. หนิ บะซอลตใ์ นพน้ื ทจ่ี งั หวดั ตราด จนั ทบรุ ี เปน็ พน้ื ทที่ มี่ ลี กั ษณะธรณสี ณั ฐาน ภเู ขาไฟและ ลาวาหลากและพบว่าหินบะซอลต์ท่ีแผ่กระจายอยู่ท่ัวท้ังพื้นท่ีเป็นหินแร่ในกลุ่มอัญมณี ทีส่ ำ�คญั คอื พลอย 4. เสาหินบะซอลต์ วัดแสนตุ่ม อำ�เภอเขาสมิง จังหวัดตราด เป็นหินบะซอลต์ที่มีลักษณะ รอยแตกแยกจากกัน 5. นำ้�ตกสามหล่ัน อำ�เภอเมือง จังหวัดสระบุรีเป็นนำ้�ตกในพ้ืนท่ีหินภูเขาไฟและหินทัฟฟ์ ชนิดไรโอไลต์จัดเป็นกลุ่มหินภูเขาไฟเขาใหญ่ มีอายุประมาณ 230 ล้านปี พบลักษณะ เฉพาะของเน้ือหินแสดงแนวชั้นของการไหลหลากของหนิ ภเู ขาไฟซอ้ นทับกัน 6. ปลอ่ งภเู ขาไฟดอยผาคอกหนิ ฟแู ละดอยผาคอกจ�ำ ปาแดด อ�ำ เภอแมเ่ มาะ จงั หวดั ล�ำ ปาง เป็นภูเขาไฟชนิดหินบะซอลต์ยุคควอเทอร์นารีเกิดจากแมกมาภายใต้โลกปะทุขึ้นมา สู่ผิวโลกเป็นลาวา เกิดการเย็นตัวแข็งตัวและตกผลึกเป็นหินบะซอลต์ลักษณะภูเขาไฟ ประเภทน้มี ีความสูงไม่มากนัก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณีพิบัติภัย 201 7. หนิ ภเู ขาไฟบริเวณเขาหลวง จงั หวดั สโุ ขทัยประกอบดว้ ยหนิ กรวดภูเขาไฟ ส่วนใหญ่เป็น หินไรโอไลต์ 8. แนวหินภูเขาไฟบริเวณด้านตะวันตกจังหวัดอุทัยธานี แนวหินภูเขาไฟบริเวณด้านใต้ จังหวัดนครสวรรค์ อำ�เภอท่าตะโก หินส่วนใหญ่ เป็น หินแอนดีไซต์ หินไรโอไลต์ และ หนิ ชน้ิ ภเู ขาไฟ 9. หินภูเขาไฟบริเวณอำ�เภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบด้วยหินบะซอลต์ หินแอนดไี ซต์ หนิ ไรโอไลต์ หินทฟั ฟแ์ ละหินกรวดภเู ขาไฟ 10. หินภูเขาไฟบริเวณอำ�เภอลำ�นารายณ์ จังหวัดลพบุรี หินส่วนใหญ่เป็นหินแอนดีไซต์ เน้อื ดอก หินบะซอลต์-แอนดีไซต์ หินเพอร์ไลต์ หินไรโอไลต์ หนิ บะซอลต์ 11. หินภูเขาไฟไรโอไลต์ ท่ีเกิดในพื้นที่ฝ่ังทะเลภาคตะวันออกกระจายตัวอยู่บริเวณ ดา้ นทศิ ใตข้ องอ�ำ เภอสระแกว้ –จนั ทบรุ ี ตอนเหนอื ของเขาสอยดาว และบรเิ วณเกาะชา้ ง จงั หวดั ตราด 12. หินบะซอลต์ท่ีมีอายุในช่วง 11.29 – 0.11 ล้านปี พบกระจายในบริเวณต่อไปนี้ บ้านช่างเคียน จังหวัดเชียงราย อำ�เภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง อำ�เภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ อำ�เภอลำ�นารายณ์ จังหวัดลพบุรี อำ�เภอบ่อพลอย จังหวดั กาญจนบุรี เขาพลอยแหวน จังหวดั จันทบรุ ี ดา้ นตะวนั ออกของ จังหวัดจันทบุรีและเกาะกูด จังหวัดตราด เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ และภูฝ้าย จงั หวัดศรสี ะเกษ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

202 บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ตั ิภยั คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 7.2. แผ่นดนิ ไหว จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาด และความรนุ แรงของแผ่นดินไหว 2. สบื คน้ และน�ำ เสนอขอ้ มูลพนื้ ทเ่ี ส่ยี งภยั และผลจากการเกิดแผ่นดนิ ไหว 3. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ�เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก แผ่นดนิ ไหว สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org 3. ขอ้ มูลเกี่ยวกับแผน่ ดินไหว https://earthquake.usgs.gov/ 4. ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั เมอื่ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว http://www.redcross.org/get-help/ how-to-prepare-for-emergencies/types-of-emergencies/earthquake แนวการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เก่ียวกับแผ่นดินไหว และต้ังคำ�ถามเพ่ือกระตุ้น ความสนใจของนกั เรยี น ดงั ตวั อยา่ งค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี นกั เรยี นคดิ วา่ เหตกุ ารณใ์ นวดี ทิ ศั นเ์ ปน็ ภยั พบิ ตั ใิ ด แนวค�ำ ตอบ แผน่ ดนิ ไหว หรอื นกั เรยี นอาจตอบตามความคดิ ของตนเอง นกั เรยี นสงั เกตเหน็ ผลกระทบใดบา้ งจากเหตกุ ารณด์ งั กลา่ ว แนวค�ำ ตอบ อาคารและบา้ นเรอื นเสยี หาย เกดิ การสน่ั สะเทอื น แผน่ ดนิ แยก แผน่ ดนิ ไหวเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ แผน่ ธรณมี กี ารปลดปลอ่ ยพลงั งานทส่ี ะสมไวใ้ นรปู ของคลน่ื ไหวสะเทอื นเนอ่ื งจาก การเคลอ่ื นทเ่ี สยี ดสหี รอื ชนกนั หรอื นกั เรยี นอาจตอบตามความรเู้ ดมิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพบิ ัตภิ ยั 203 2. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ และปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 7.2 เพอ่ื ศกึ ษาวา่ แผน่ ดนิ ไหวมกี ระบวนการเกดิ อยา่ งไร กจิ กรรม 7.2 กลไกการเกดิ แผ่นดินไหว จุดประสงคก์ ิจกรรม อธิบายผลทีเ่ กดิ กบั แผน่ ไมเ้ มื่อมแี รงมากระท�ำ เวลา 45 นาที วัสด-ุ อปุ กรณ์ 1. ไม้บลั ซาร์ ขนาดประมาณ 1 แผน่ กว้าง 3 เซนติเมตร ยาว 30 เซนตเิ มตร หนา 0.3 เซนตเิ มตร ข้อเสนอแนะส�ำ หรบั ครู 1. ครอู าจแนะนำ�ให้นักเรียนบนั ทกึ ภาพเคลอ่ื นไหวแบบ slow motion ขณะทำ�การทดลอง เพอ่ื ชว่ ยในการสงั เกต 2. การดนั แผ่นไม้ควรวางมือตามรูปโดยให้ศอกและแขนวางลงบนโต๊ะเพ่อื จะไดม้ นั่ คง วิธกี ารทำ�กจิ กรรม 1. เตรยี มตัวดันปลายไม้ โดยวางมอื และแผ่นไม้ ดังรูป รปู การดนั แผน่ ไม้บลั ซาร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

204 บทท่ี 7 | ธรณีพิบตั ิภยั คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 2. ใชม้ อื สองขา้ งดนั ปลายไมเ้ ขา้ หากนั อยา่ งชา้ ๆ พรอ้ มสงั เกตการเปลย่ี นแปลงลกั ษณะ ของแผ่นไม้ เสียง และการส่ันสะเทือนของแผ่นไม้ ต้ังแต่เร่ิมดันแผ่นไม้จนกระทั่ง แผ่นไมห้ กั และบนั ทกึ ส่ิงที่สงั เกตไดล้ งในตาราง 3. เปรียบเทยี บการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแผน่ ไมใ้ นแตล่ ะขน้ั ตอน ตัวอยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ตารางบันทกึ ผล สิ่งทีส่ งั เกตได้ การเปลี่ยนลักษณะ การสั่นสะเทือน เสยี งไมห้ กั มี/ไม่มี ขั้นตอน ของแผ่นไม้ มี/ไมม่ ี - 1. กอ่ นดันแผ่นไม้ - - 2. ขณะดนั แผ่นไม้ ไม้เกิดการโคง้ งอ รู้ สึ ก ถึ ง ก า ร ส่ั น - สะเทอื นเลก็ น้อย 3. ขณะทีแ่ ผน่ ไมห้ ัก ไม้เปลี่ยนจากโค้งงอ รู้ สึ ก ถึ ง ก า ร ส่ั น - เปน็ แตกหกั ออกจาก สะเทือน กนั 4. หลงั จากแผน่ ไม้หัก ไม้แตกหักออกจาก - ไ ด้ ยิ น เ สี ย ง กัน แต่กลับมาเป็น ไมห้ กั แ ผ่ น ต ร ง ไ ม่ โ ค้ ง ง อ เ ห มื อ น ข ณ ะ ที่ ดั น แผน่ ไม้ สรุปผลการท�ำ กจิ กรรม เมื่อออกแรงกระทำ�กับแผ่นไม้ แผ่นไม้เริ่มเกิดการโค้งงอ แรงที่กระทำ�กับแผ่นไม้ถูก สะสมไว้ในแผ่นไม้ เมื่อออกแรงกระทำ�กับแผ่นไม้เพิ่มข้ึนทำ�ให้แผ่นไม้โค้งงอมากข้ึนและ เกิดการหักในที่สุด พลังงานที่สะสมอยู่ในแผ่นไม้จะถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของ การสนั่ ของแผน่ ไมแ้ ละเสยี งไมห้ กั จากนนั้ จะเหน็ วา่ แผน่ ไมม้ กี ารปรบั สภาพเปน็ แผน่ ตรง เหมอื นกอ่ นทจี่ ะมีแรงมากระท�ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณพี ิบัติภัย 205 คำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม การทีแ่ ผ่นไม้มกี ารโคง้ งอจนกระทั่งหกั น้นั เนื่องมาจากสาเหตุใด แนวค�ำ ตอบ เนือ่ งจากมแี รงมากระทำ�กบั แผ่นไม้ เมื่อเร่ิมต้นดันแผ่นไม้จนกระท่ังแผ่นไม้หัก นักเรียนออกแรงเท่ากันหรือไม่ แนวค�ำ ตอบ ไมเ่ ทา่ กนั แต่ออกแรงเพ่ิมข้นึ อยา่ งต่อเนอื่ ง เมอื่ แผ่นไมไ้ ม่สามารถทนตอ่ แรงท่มี ากระทำ� แผน่ ไมจ้ ะมกี ารเปลี่ยนลกั ษณะ อย่างไร แนวค�ำ ตอบ เกิดการหัก ขณะท่แี ผ่นไม้หกั มีสิ่งใดเกดิ ข้ึนบ้าง แนวค�ำ ตอบ เกดิ การสัน่ สะเทือนของแผ่นไม้ และเสียงไม้หกั หลงั จากแผ่นไมห้ กั ออกจากกันแลว้ แผน่ ไม้ยังคงโคง้ งออย่หู รอื ไม่ และมลี กั ษณะ อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ เมื่อแผ่นไม้หักออกจากกัน แผน่ ไม้ทเี่ คยโคง้ งอจะกลบั มาเป็น แผ่นตรง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

206 บทท่ี 7 | ธรณพี ิบตั ิภยั คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ 3. ครนู �ำ อภปิ รายเพอื่ เชอ่ื มโยงความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม 7.2 กบั การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว โดยใชค้ �ำ ถาม ดังตัวอย่างต่อไปน้ี จากกจิ กรรมขา้ งตน้ หากก�ำ หนดใหแ้ ผน่ ไมแ้ ทนหนิ การใสแ่ รงกระท�ำ ตอ่ ไมจ้ ะเปรยี บไดก้ บั สงิ่ ใด ในการเกดิ แผน่ ดินไหว แนวค�ำ ตอบ แรงทก่ี ระท�ำ ตอ่ แผน่ ไมเ้ ปรยี บไดก้ บั แรงทมี่ ากระท�ำ กบั หนิ ซง่ึ เกดิ จากการเคลอื่ นที่ ของแผน่ ธรณีและสาเหตอุ ืน่ ๆ ในขั้นตอนใดของกิจกรรมท่ีเปรียบไดก้ บั การเกดิ แผ่นดินไหว แนวคำ�ตอบ ขณะท่ีแผ่นไม้หัก นักเรียนจะได้ยินเสียงและรู้สึกถึงการส่ัน เช่นเดียวกันกับ การเกิดแผ่นดินไหวเม่ือหินสะสมพลังงานไว้จนถึงระดับท่ีไม่สามารถทนได้อีกต่อไป จะเกิด การปลดปล่อยพลังงานออกมาอย่างฉับพลันในรูปแบบของคล่ืนไหวสะเทือน ซ่ึงจะทำ�ให้เกิด การสั่นสะเทอื นของแผน่ ดนิ 4. ครสู รปุ ความรูเ้ กีย่ วกับกระบวนการเกดิ แผ่นดินไหว ตามหนังสอื เรยี นหน้า 155 ดังนี้ แผ่นดินไหวเกิดข้ึนจากแผ่นธรณีมีการเคลื่อนท่ีทำ�ให้เกิดการเสียดสีและ/หรือชนกัน เกิดการสะสม พลังงานในช้ันหินบนแผ่นธรณี จนกระท่ังช้ันหินเกิดการแตกหักและเคล่ือนตัวอย่างกระทันหัน ปลดปล่อยพลงั งานออกมาในรูปคลื่นไหวสะเทอื น เกดิ เป็นแผน่ ดินไหว 5. ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นอา่ นขา่ วเกย่ี วกบั แผน่ ดนิ ไหว ทค่ี รจู ดั เตรยี มไวใ้ หจ้ ากนน้ั ถาม คำ�ถามดังต่อไปน้ี จากขา่ วแผน่ ดนิ ไหวของนกั เรยี นและเพอื่ น ๆ ทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่ เหตกุ ารณใ์ ดคอื แผน่ ดนิ ไหวที่ มขี นาดใหญ่ และมคี วามรนุ แรงมากกวา่ กนั แนวคำ�ตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง หรือตอบจากข่าวได้ว่าดูขนาดของ แผน่ ดนิ ไหวจากตวั เลขทร่ี ายงานตามมาตรารกิ เตอรห์ รอื มาตราขนาดโมเมนตแ์ ผน่ ดนิ ไหว และ ความรุนแรงดจู ากความเสียหายท่ีเกดิ ขึ้นว่ามีมากน้อยเพยี งใด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพิบตั ภิ ยั 207 จากรปู ในข่าว นกั เรียนคิดว่าบริเวณใดท่มี ีการปลดปลอ่ ยพลงั งานทที่ �ำ ใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหว แนวคำ�ตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูจะต้องให้ข้อมูลว่าบริเวณท่ี ปลดปลอ่ ยพลงั งานทที่ �ำ ใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหว ไมใ่ ชจ่ ดุ ทอ่ี ยบู่ นพนื้ ดนิ แตเ่ ปน็ บรเิ วณทอี่ ยลู่ กึ ลงไป ใต้ผวิ โลก 6. ครูให้ความร้เู ก่ยี วกับศูนย์เกิดแผ่นดินไหว จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว และคล่นื ไหวสะเทือน โดยใชภ้ าพ 7.10 ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 156 และอธบิ ายเชอ่ื มโยงจากขา่ ววา่ จะรายงานพกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ ของจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ซ่ึงก็คือ จุด ก ในภาพ และรายงานระดับความลึกของ จดุ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว ระยะหา่ งจากจดุ ก ไปถงึ จดุ ข โดยจดุ ข เปน็ บรเิ วณทป่ี ลดปลอ่ ยพลงั งานท�ำ ใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาดตา่ ง ๆ จากน้ันใหน้ ักเรยี นตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี ศูนยเ์ กดิ แผ่นดินไหวและจุดเหนือศนู ย์เกิดแผ่นดนิ ไหวแตกตา่ งกันอย่างไร แนวคำ�ตอบ ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวคือตำ�แหน่งภายในโลกท่ีเป็นจุดกำ�เนิดแผ่นดินไหวและเป็น จุดกำ�เนิดคลื่นไหวสะเทือนส่วนจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวคือตำ�แหน่งบนผิวโลกที่ตรงกับ ตำ�แหน่งศูนยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหว 7. ครใู หน้ กั เรยี นดแู อนิเมชนั เรอ่ื งคลนื่ ไหวสะเทอื น แนะนำ� https://www.iris.edu/hq/inclass/ animation/1component_seismogram_building_responds_to_p_s_surface_waves เพอ่ื ศกึ ษา ขอ้ มลู คลนื่ ไหวสะเทอื นทบี่ นั ทกึ ไดจ้ ากเครอื่ งวดั คลน่ื ไหวสะเทอื น จากนนั้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

208 บทที่ 7 | ธรณพี บิ ัตภิ ยั คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ นักเรยี นสงั เกตเหน็ สง่ิ ใดบา้ งจากข้อมลู คลื่นไหวสะเทอื น แนวคำ�ตอบ ข้อมูลแอมพลิจูดที่แตกต่างกันของคลื่น 3 เหตุการณ์ คือ คล่ืนปฐมภูมิ คล่ืนทตุ ิยภูมิ และคล่ืนพนื้ ผิว นกั เรยี นคดิ วา่ คลน่ื ในเหตกุ ารณใ์ ดทน่ี า่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายกบั อาคาร บา้ นเรอื นมากทสี่ ดุ เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ คลื่นในเหตกุ ารณท์ ี่ 3 เนื่องจากมีแอมพลิจดู สูงทส่ี ดุ 8. ครแู ละนกั เรยี นอภปิ รายสรปุ รว่ มกนั เกยี่ วกบั ขนาดและความรนุ แรงของแผน่ ดนิ ไหวดงั ตอ่ ไปน้ี แนวทางการอภิปรายสรุป การวัดขนาดของแผ่นดินไหวเป็นการวัดปริมาณพลังงานของ คล่ืนไหวสะเทือน จากเครื่องวัดคล่ืนไหวสะเทือน โดยวัดคลื่นไหวสะเทือนจากทิศทางต่าง ๆ แล้ว คำ�นวนออกมาเป็นปริมาณที่บ่งชี้ขนาด ณ บริเวณศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยใช้มาตราริกเตอร์ หรือ มาตราขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหว ส่วนความรุนแรงของแผ่นดินไหววัดได้จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ขณะเกิด และหลังเกิดแผ่นดินไหว เช่น ความรู้สึกของผู้คน ลักษณะท่ีวัตถุ หรืออาคารเสียหายหรือ สภาพภูมิประเทศท่ีเปลี่ยนแปลง มาตราวัดความรุนแรงท่ีนิยมใช้ในปัจจุบัน คือ มาตราเมอร์คัลลีท่ี ปรบั ปรงุ แล้ว 9. จากนน้ั ครูถามค�ำ ถามเพื่อขยายความรดู้ งั ตัวอยา่ ง ปจั จยั ใดท่ีมีผลตอ่ ความรนุ แรงในการเกิดแผ่นดนิ ไหว แนวค�ำ ตอบ การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวแตล่ ะครง้ั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแตกตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั หลายประการ เชน่ ขนาดของแผน่ ดนิ ไหว ความลกึ ของศนู ยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหวจากผวิ โลก ลกั ษณะ ของพ้ืนท่ีและสิ่งปลูกสร้าง สมบัติของตัวกลางที่คล่ืนเคลื่อนท่ีผ่าน ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่น ที่ราบลมุ่ ภาคกลาง กับแนวภูเขา นกั เรยี นคดิ วา่ ความรนุ แรงของแผน่ ดนิ ไหวมคี วามสมั พนั ธก์ บั ขนาดของแผน่ ดนิ ไหวเสมอไปหรอื ไมอ่ ยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ความรนุ แรงของแผน่ ดินไหวมีความสัมพนั ธ์กับขนาดของแผน่ ดินไหวแต่ไมเ่ สมอ ไปแผน่ ดนิ ไหวทเ่ี กดิ ขน้ึ แตล่ ะครงั้ มคี วามรนุ แรงแตกตา่ งกนั ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั ตา่ ง ๆ เชน่ ระยะ ทางจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวถึงสถานท่ีที่ได้รับความเสียหายลักษณะภูมิประเทศ ประเภทของสิ่งก่อสร้างและระยะเวลาในการส่ันสะเทือนจากปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวอาจทำ�ให้ แผ่นดินไหวทมี่ ีขนาดเลก็ กวา่ มคี วามรุนแรงมากกว่าแผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญก่ วา่ ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณพี บิ ตั ิภยั 209 10. ครใู หน้ กั เรยี นพจิ ารณารปู ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 161 แสดงพน้ื ทเี่ สยี่ งภยั แผน่ ดนิ ไหวของโลกและ ถามค�ำ ถามดังตัวอยา่ ง จากรปู 7.14 บริเวณใดบ้างที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยกว่าบรเิ วณอืน่ แนวค�ำ ตอบ บรเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณี เชน่ แนววงแหวนไฟ แนวเทอื กเขาหิมาลัย และ แนวเทือกเขาแอลป์ 11. จากน้นั ให้นกั เรยี นพิจารณารูป 7.15 แผนทแ่ี สดงรอยเลือ่ นมีพลงั ในประเทศไทย และรูป 7.16 แผนทภ่ี ยั พบิ ตั แิ ผน่ ดนิ ไหวประเทศไทย ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 162-163 จากนน้ั ถามค�ำ ถามดงั ตวั อยา่ ง ต่อไปน้ี นกั เรยี นคิดว่าจงั หวัดในภาคใดของประเทศไทยทเ่ี กิดแผน่ ดนิ ไหวบ่อยครง้ั แนวคำ�ตอบ ภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย ภาคตะวันตก เช่น ตาก กาญจนบุรี และ ภาคใต้ เชน่ ระนอง ภเู ก็ต ภาคใดของประเทศไทยทมี่ ีรอยเล่อื นมพี ลงั อยูม่ าก แนวค�ำ ตอบ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ นักเรยี นคดิ วา่ รอยเลื่อนมพี ลังมคี วามสมั พันธก์ ับการเกดิ แผ่นดินไหวอย่างไร แนวค�ำ ตอบ มีความสมั พนั ธก์ นั โดยศูนย์เกิดแผ่นดนิ ไหวมักเกิดตรงบริเวณรอยเล่ือนมพี ลังที่มี การเคลื่อนท่ีอย่างต่อเน่ือง บริเวณที่มีรอยเลื่อนมีพลังอยู่หนาแน่นจะมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหว ได้มากท่ีสุด ส่วนบริเวณที่มีแนวรอยเล่ือนมีพลังอยู่น้อยหรือไม่มี จะมีโอกาสในการเกิด แผ่นดินไหวได้นอ้ ยกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

210 บทที่ 7 | ธรณพี ิบตั ิภยั คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช่น ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มีโอกาสในการเกิดแผ่นดินไหวหรือไม่ เพราะเหตใุ ด แนวคำ�ตอบ มีโอกาสในการเกดิ แผน่ ดนิ ไหวนอ้ ยมาก เพราะไมพ่ บกลมุ่ รอยเลอื่ นมีพลงั นักเรียนคิดว่าการกำ�หนดเขตพ้ืนท่ีเส่ียงภัยจากแผ่นดินไหวมีความสำ�คัญและมีประโยชน์ อยา่ งไรบ้าง แนวคำ�ตอบ ตอบตามความคิดของตนเอง หรืออาจตอบว่า เพ่ือวางแผนการใช้พื้นที่ให้ เหมาะสม และเพอ่ื ควบคมุ การออกแบบอาคารใหส้ ามารถตา้ นทานตอ่ แรงสน่ั สะเทอื นทเ่ี กดิ จาก แผ่นดนิ ไหวที่มขี นาดสูงสุดเท่าทีม่ ขี อ้ มูลอยใู่ นปัจจบุ นั ได้ จากการอภิปรายและตอบค�ำ ถามนกั เรียนควรสรุปได้วา่ จากลักษณะทางธรณีวิทยาของประเทศไทย ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในบริเวณแนวรอยต่อของ แผ่นธรณีแต่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวในประเทศใกล้เคียงส่งแรงส่ันสะเทือนมายัง ประเทศไทยซึง่ รสู้ ึกได้บริเวณภาคเหนอื ภาคใต้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง สว่ นแผน่ ดนิ ไหวทม่ี ศี นู ยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหวอยใู่ นประเทศไทยเกดิ ในบรเิ วณแนวรอยเลอ่ื นทม่ี พี ลงั สว่ น มากอยทู่ างภาคเหนอื และภาคตะวนั ตกของประเทศ ดงั นน้ั จะพบวา่ บรเิ วณทเี่ สย่ี งภยั จากแผน่ ดนิ ไหว มากทส่ี ุด คอื ภาคเหนอื และภาคตะวันตก ซ่ึงอยู่ใกล้กับแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณี 12. ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ แนวทางการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จากการเกดิ แผน่ ดนิ ไหว โดย ให้นกั เรียนนำ�เสนอเปน็ ในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น แผนภาพ แผนผัง โปสเตอร์ การแสดงบทบาทสมมติ จากน้ันอภิปรายร่วมกันโดยสรุป แนวทางการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากการเกิด แผ่นดินไหวตามหนังสือเรียนหน้า 164-165 และอาจให้ดูวีดิทัศน์จาก http://www.redcross.org/ get-help/how-to-prepare-for-emergencies/types-of-emergencies/earthquake 13. ครูและนกั เรียนสรปุ บทเรยี นรว่ มกนั โดยมีแนวทางในการสรปุ ดงั น้ี • แผ่นดินไหวเกดิ จากการเคลอื่ นทขี่ องแผน่ ธรณที ่ี ท�ำ ให้เกดิ ความเคน้ กระทำ�ต่อหินในแผน่ ธรณี หนิ จะสะสมพลงั งานไวแ้ ละเมอ่ื หนิ ไมส่ ามารถทนตอ่ ความเคน้ ได้ จะเกดิ การแตกหกั และเคลอ่ื น ตัวอยา่ งกระทนั หนั และปลดปลอ่ ยพลงั งานออกมาจากจุดก�ำ เนดิ ในรูปของคล่นื ไหวสะเทอื น แผน่ ดนิ ไหวยงั เกดิ จากสาเหตอุ น่ื ไดอ้ กี เชน่ ภเู ขาไฟระเบดิ ดนิ ถลม่ การทดลองระเบดิ นวิ เคลยี ร์ •• คลื่นไหวสะเทือนท่ีเคลื่อนท่ีภายในโลก เรียกว่า คลื่นในตัวกลาง และเม่ือคล่ืนไหวสะเทือน เคลื่อนที่ถึงบริเวณพื้นผิวโลกทำ�ให้เกิดคล่ืนพื้นผิว ซึ่งส่งผลให้พื้นผิวโลกสั่นสะเทือนเกิดเป็น แผ่นดนิ ไหวทมี่ ีขนาดและความรนุ แรงแตกตา่ งกันไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพิบัตภิ ัย 211 • เมอื่ เกิดแผ่นดินไหว บรเิ วณต่าง ๆ ได้รบั ผลกระทบไมเ่ ท่ากัน บริเวณบนพืน้ ผวิ โลกทจี่ ะได้รบั ผลกระทบมากทสี่ ุดคือ จดุ เหนือศูนย์เกดิ แผ่นดินไหว (epicenter) ซ่ึงเปน็ จุดบนพนื้ ผิวโลกท่ี อย่เู หนอื บรเิ วณต้นก�ำ เนดิ ของแผน่ ดนิ ไหวภายในโลก ทเี่ รียกวา่ ศนู ยเ์ กิดแผ่นดนิ ไหว (focus) • ขนาดของแผ่นดินไหววัดได้จากคลื่นไหวสะเทือนจะถูกบันทึกไว้ด้วยเคร่ืองวัดคลื่นสะเทือน (seismograph) จากนนั้ ค�ำ นวนออกมาเปน็ ปรมิ าณทบ่ี ง่ ชข้ี นาด ณ บรเิ วณศนู ยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหว โดยใช้มาตราริกเตอร์ หรอื มาตราขนาดโมเมนตแ์ ผน่ ดินไหว • ความรุนแรงของแผ่นดินไหววัดได้จากเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ขณะเกิด และหลังเกิดแผ่นดินไหว เชน่ ความรสู้ กึ ของผคู้ น ลกั ษณะทวี่ ตั ถหุ รอื อาคารเสยี หายหรอื สภาพภมู ปิ ระเทศทเี่ ปลย่ี นแปลง มาตตราวัดความรนุ แรงทน่ี ิยมใช้ในปจั จบุ ันคือ มาตราเมอร์คลั ลที ป่ี รับปรงุ แล้ว • พนื้ ทเ่ี สย่ี งภยั แผน่ ดนิ ไหวสว่ นใหญจ่ งึ อยบู่ รเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี เชน่ แนววงแหวนไฟ รอบมหาสมทุ รแปซิฟิก (ring of fire) แนวเทอื กเขาหมิ าลัย และแนวเทือกเขาแอลป์ • แผ่นดินไหวในประเทศไทยเกิดข้ึนสัมพันธ์กับการเคล่ือนตัวของรอยเลื่อนมีพลังที่อยู่ภายใต้ อิทธิพลของการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี พ้ืนที่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของ ประเทศไทยมีโอกาสเกิดแผน่ ดนิ ไหวบอ่ ยครัง้ • การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากแผ่นดินไหวจะต้องศึกษาวิธีการเตรียมตัวการก่อนการเกิดเหตุ แผน่ ดินไหว ระหวา่ งเกดิ แผ่นดนิ ไหว และหลงั เกดิ แผน่ ดนิ ไหวอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม แนวทางการวัดและประเมินผล แนวทางการวดั และประเมนิ ผล KPA 1. ผลการปฏิบัติกิจกรรม 7.2 และ K: การตอบค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม 1. สาเหตุ กระบวนการเกดิ และ ผลจากการเกดิ แผน่ ดนิ ไหว 2. การอภปิ รายเพื่อสรปุ องคค์ วามรู้ 2. แนวทางการเฝ้าระวังและ 3. แบบฝกึ หดั ปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากแผ่นดิน ไหว 1. การนำ�เสนอผลการท�ำ กจิ กรรม 7.2 2. การแบง่ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการท�ำ งาน P: 1. การส่ือสารสารสนเทศและการรู้ กลมุ่ เทา่ ทันสอื่ การรว่ มอภิปรายและการตอบคำ�ถาม A: ความใจกว้าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

212 บทท่ี 7 | ธรณีพิบตั ิภัย คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 7.3 สึนามิ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดสนึ ามิ 2. สืบค้นและนำ�เสนอข้อมูลพ้นื ทเี่ สยี่ งภัย และผลจากสนึ ามิ 3. สบื คน้ ข้อมลู ออกแบบและน�ำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภยั จากสึนามิ แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org 3. ขอ้ มูลเกีย่ วกับสึนามิ http://www.tsunami.noaa.gov/ 4. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั เมอ่ื เกดิ สนึ ามhิ ttp://www.redcross.org/get-help/how- to-prepare-for-emergencies/types-of-emergencies/tsunami แนวการจัดการเรียนรู้ 1. ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยน�ำ รปู ภาพหรอื วดิ ที ศั นท์ แ่ี สดงใหเ้ หน็ สนึ ามทิ ก่ี �ำ ลงั เขา้ ปะทะชายฝง่ั จาก ขา่ วมาใหน้ กั เรยี นสงั เกตเพอ่ื กระตนุ้ ความสนใจนกั เรยี น จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใช้ ค�ำ ถามดงั ตอ่ ไปน้ี เหตกุ ารณใ์ นภาพเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ เกดิ จากสนึ ามิ สนึ ามเิ กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเหน็ ของตนเอง ประเทศไทยมโี อกาสเกดิ สนึ ามอิ กี หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำ ตอบ นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเหน็ ของตนเอง 2. ครใู หน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 7.3 เพอ่ื ศกึ ษาวา่ สนึ ามเิ กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพบิ ตั ภิ ยั 213 กิจกรรม 7.3 แบบจ�ำ ลองการเกิดสนึ ามิ จุดประสงคก์ ิจกรรม สร้างแบบจ�ำ ลองเพ่อื อธิบายกระบวนการเกดิ สนึ ามิ เวลา 1 ชวั่ โมง วัสดุ-อุปกรณ์ 1. ตู้กระจก หรือกลอ่ งพลาสติก กว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 100 เซนตเิ มตร สูง 20 เซนติเมตร 1 ใบ 2. น�้ำ (ปรมิ าตรตามขนาดของตูห้ รือกล่องพลาสตกิ ) 3. ดนิ นำ้�มนั หรือวัสดอุ ื่นใชร้ องให้พ้ืนเอยี ง 1 กอ้ น 4. แผ่นพลาสติกลกู ฟูก 5. เชอื ก 2 เมตร (ใชข้ ึงตามแนวระดบั น้�ำ เพ่ือชว่ ยในการสังเกต และสำ�หรับรอ้ ยกับแผน่ พลาสติกลกู ฟกู ) 1 เสน้ 6. เทปผา้ 1 มว้ น 7. เทปใส 1 ม้วน ขอ้ แนะน�ำ ส�ำ หรบั ครู ครูอาจใหน้ ักเรียนถ่ายภาพ slow-motion หรือท�ำ เครอ่ื งหมายตำ�แหน่งชายฝ่ังและตำ�แหน่ง ทค่ี ล่นื ไปถงึ เพอ่ื ช่วยในการสงั เกต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

214 บทที่ 7 | ธรณพี ิบตั ภิ ยั คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ วิธีการทำ�กิจกรรม 1. เตรยี มอปุ กรณด์ ังขั้นตอนต่อไปนี้ - ตัดพลาสติกลูกฟูกให้มีความกว้างเท่ากับขนาดของตู้ ความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร จ�ำ นวน 2 แผ่น - ใช้เทปใสติดแผ่นพลาสตกิ ลูกฟกู เขา้ ด้วยกันดังรูป 1 รปู 1 - เจาะรูทป่ี ลายขา้ งหน่ึงของแผน่ พลาสติกลูกฟูก 2 ชอ่ ง ดังรปู 2 รปู 2 - ร้อยปลายเชือกเข้าไปในรูท้งั สองและมัดปมไว้ ดังรูป 3 รูป 3 - ติดปลายแผ่นพลาสติกลูกฟูกด้านที่ไม่มีเชือกให้แนบกับพื้นตู้โดยให้ชิดด้านใด ด้านหนึ่งของตู้ ดงั รูป 4 รปู 4 - เทน้ำ�ลงในต้ใู หส้ งู ประมาณครึ่งหน่ึงของดา้ นท่ีเอยี งลง หรือเม่ือเอยี งตลู้ งแลว้ ให้ นำ�้ ท่วมลึกเขา้ ไป 2 ใน 3 สว่ นของความยาวตจู้ ากนน้ั ใช้เชือกขึงท่ีดา้ นขา้ งของต้​ู ตามระดบั น้�ำ เพ่ือทำ�เสน้ อ้างองิ ระดบั ผิวนำ้� ดงั รปู 5 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณีพิบตั ิภัย 215 รูป 5 2. ทำ�ให้เกิดคล่ืนจากบริเวณ ข เคลื่อนท่ีเข้าสู่บริเวณ ก โดยดึงปลายเชือกข้ึนด้านบน อย่างรวดเรว็ ดงั รูป 6 รูป 6 3. สงั เกตระดบั น�้ำ ทบ่ี รเิ วณ ข และความสงู คลน่ื ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปเมอื่ คลน่ื เคลอื่ นทสี่ บู่ รเิ วณ ก โดยเปรียบเทียบกับเสน้ เชอื กท่ีขึงไวต้ ามแนวระดับน�ำ้ 4. น�ำ เสนอผลการท�ำ กิจกรรมและรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกบั การเกิดสึนามใิ นธรรมชาติ ตวั อยา่ งผลการท�ำ กิจกรรม เมอื่ ดงึ เชอื กเพ่อื ยกแผน่ พลาสติกข้นึ จะเกดิ เหตุการณ์ดงั รูป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

216 บทที่ 7 | ธรณพี ิบตั ภิ ัย คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ สรปุ ผลการทำ�กิจกรรม เม่ือดึงเชือกเพื่อยกแผ่นพลาสติกลูกฟูกข้ึน จะทำ�ให้ระดับนำ้�บริเวณ ข สูงข้ึนและเกิด คลน่ื เคลอื่ นทเี่ ข้าสูบ่ รเิ วณ ก ท่ีเป็นบรเิ วณน�้ำ ต้ืน เมือ่ เคล่ือนทไ่ี ปยงั บรเิ วณทคี่ วามลึกลดลง จะสังเกตเห็นความสูงคลื่นเพิ่มมากข้ึน ความยาวคลื่นลดลง และระดับน�้ำ ใกล้ชายฝั่งลดลง ต่ำ�กว่าระดับน้�ำ เดมิ จากนนั้ นำ้�จะพัดขนึ้ บนบริเวณ ก หรือบริเวณชายฝง่ั ค�ำ ถามทา้ ยกจิ กรรม ก่อนยกแผ่นพลาสตกิ ขึน้ ระดบั น้ำ�ที่บริเวณ ก และ ข เปน็ อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ บริเวณ ข มรี ะดบั นำ�้ สูงประมาณ 1 ใน 2 ของความสูงตู้ บริเวณ ก เป็น ท่ลี าด จึงไม่มีนำ�้ หรือมนี �้ำ ตื้นกวา่ บรเิ วณ ข ขณะทีย่ กแผน่ พลาสติกข้นึ อย่างรวดเรว็ ทีบ่ รเิ วณ ก และ ข เกิดอะไรข้นึ บา้ ง แนวค�ำ ตอบ ระดับน�้ำ ท่ีบรเิ วณ ข สูงข้นึ และไหลไปทางบรเิ วณ ก หลังจากยกแผน่ พลาสติกขน้ึ และนำ้�น่งิ ระดบั น�ำ้ ทบ่ี ริเวณ ก และ ข เป็นอย่างไร แนวค�ำ ตอบ น้ำ�ท่ีไหลจากบรเิ วณ ข มาสบู่ ริเวณ ก ไหลกลับไปส่ทู เี่ ดมิ ท�ำ ใหร้ ะดับนำ�้ เทา่ กบั ตอนก่อนยกแผ่นพลาสตกิ หากเปรยี บเทยี บตทู้ ่ใี ชใ้ นกจิ กรรมเปน็ มหาสมทุ ร บรเิ วณ ก และ ข จะเปน็ บริเวณใด ของมหาสมุทร แนวค�ำ ตอบ บรเิ วณ ก เปน็ บรเิ วณชายฝง่ั ทะเล บรเิ วณ ข เปน็ บรเิ วณกลางมหาสมทุ ร หากเปรียบเทียบแผ่นพลาสติกเป็นพ้ืนมหาสมุทร เหตุการณ์ใดที่สามารถทำ�ให้เกิด การยกตวั ของพ้นื มหาสมทุ ร แนวค�ำ ตอบ แผน่ ดนิ ไหว การเคลอื่ นตัวของแผน่ ธรณีและรอยเลอ่ื น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณพี ิบตั ภิ ยั 217 3. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำ�เสนอผลการท�ำ กิจกรรม รว่ มกนั อภิปรายผลการท�ำ กจิ กรรมและตอบ คำ�ถามทา้ ยกจิ กรรมโดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบดังดา้ นบน 4. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาหนงั สือเรยี นหน้า 169-170 เกีย่ วกับกระบวนการเกิดและผลจากการเกดิ สึนามิ จากน้ันนำ�อภิปรายเพื่อเช่ือมโยงความรู้จากการทำ�กิจกรรมกับกระบวนการเกิดสึนามิโดยใช้ คำ�ถามดงั ต่อไปน้ี บริเวณที่ความลกึ มาก สนึ ามมิ ีลักษณะเปน็ อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ความสงู คลนื่ น้อย ความยาวคล่นื มาก และเคลอ่ื นที่ดว้ ยความเร็วสงู เม่อื สึนามิเคล่ือนท่เี ข้ามายังบรเิ วณชายฝ่ังนำ้�ตืน้ สนึ ามเิ กดิ การเปลีย่ นแปลงไปอย่างไร แนวค�ำ ตอบ ความสงู คลืน่ เพม่ิ ขึ้น ความยาวคล่นื และความเร็วลดลง ทำ�ให้เกิดคล่ืนขนาดใหญ่ พัดขน้ึ ชายฝ่ัง จากแบบจำ�ลอง ลกั ษณะของสนึ ามใิ นธรรมชาติเปน็ อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ บรเิ วณน�ำ้ ลกึ หรอื กลางมหาสมทุ ร สนึ ามมิ คี วามยาวคลนื่ มากแตค่ วามสงู คลนื่ นอ้ ย แต่เม่ือเคล่ือนที่มายังบริเวณนำ้�ต้ืนหรือใกล้ชายฝั่งความยาวคลื่นจะลดลงแต่ความสูงคลื่นจะ เพิ่มขน้ึ และทำ�ให้ระดบั น้ำ�บริเวณชายฝั่งลดลง จากนนั้ มวลน�้ำ จึงพัดขน้ึ ชายฝงั่ คลน่ื ในแบบจำ�ลองเกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร แนวค�ำ ตอบ เกิดการแทนที่ของมวลน้�ำ อย่างฉับพลัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

218 บทที่ 7 | ธรณีพิบตั ภิ ยั คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ในธรรมชาติ มเี หตกุ ารณ์ใดบ้างทท่ี ำ�ให้เกดิ การแทนที่ของมวลน�้ำ จนเกิดเปน็ สนึ ามิ แนวคำ�ตอบ การเล่ือนตัวของแผ่นธรณีในแนวด่ิงเนื่องจากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร แผ่นดิน ถล่มขนาดใหญ่ใต้ทะเล การระเบิดของภูเขาไฟใต้ทะเล การพุ่งชนของดาวหางหรือ ดาวเคราะหน์ อ้ ย และการตกของอกุ กาบาตขนาดใหญใ่ นมหาสมทุ ร การทดลองระเบดิ นวิ เคลยี ร์ มหาสมุทรใดมีโอกาสเกดิ สนึ ามมิ ากที่สดุ เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ มหาสมทุ รแปซฟิ ิก เพราะมีแนวมดุ ตวั ของแผน่ ธรณีหรอื ทเี่ รียกว่า วงแหวนไฟซง่ึ ทำ�ใหเ้ กิดแผน่ ดนิ ไหวใตม้ หาสมทุ รได้ 5. ครูอภิปรายเพอ่ื ขยายความรู้ให้กับนักเรียนเก่ียวกบั การเกดิ สนึ ามิ โดยใช้ค�ำ ถามดงั ตอ่ ไปน้ี การเกดิ สนึ ามิจะมีคลน่ื ขนาดใหญ่เพียงระลอกเดียวใชห่ รือไม่ แนวค�ำ ตอบ สึนามจิ ะไมเ่ กิดเพยี งระลอกเดยี ว จะเกดิ ขนึ้ ไดห้ ลายระลอกคลนื่ และคลื่นลกู หลัง อาจใหญ่กว่าคลื่นลกู แรก 6. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกบั ผลจากสนึ ามโิ ดยใชค้ �ำ ถามดังต่อไปนี้ สึนามิสง่ ผลกระทบตอ่ ชายฝั่งทะเลอย่างไรบา้ ง แนวคำ�ตอบ คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลาย เช่น สร้างความเสียหายให้กับอาคาร บ้านเรือน สถานท่ที อ่ งเทย่ี ว เรือประมง ปา่ ชายเลน และปะการัง 7. ครูให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและเตือนภัยก่อนเกิดสึนามิ จากหนังสือเรียนหน้า 171 และเวบ็ ไซตข์ องศนู ยเ์ ตอื นภยั พบิ ตั แิ หง่ ชาติ http://ww.ndwc.go.th จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั โดย ใชค้ ำ�ถามตอ่ ไปนี้ กระบวนการเตือนภัยสึนามิประกอบด้วยขนั้ ตอนอะไรบา้ ง แนวค�ำ ตอบ ประกอบด้วย 3 ข้ันตอนหลัก คือ การตรวจวัดข้อมูล การประมวลผลจากข้อมูล และการประกาศเตอื นภัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณพี บิ ตั ิภัย 219 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพ่ือลดผลกระทบจากสึนามิตาม ประเดน็ ดังตอ่ ไปน้ี - การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเกดิ สึนามิ - การปฏบิ ตั ิตนขณะเกิดสนึ ามิ - การปฏบิ ัตติ นหลงั เกิดสนึ ามิ 9. ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม 7.4 เพื่อศึกษาเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก ธรณพี ิบตั ิภัย กิจกรรม 7.4 แนวทางการปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากธรณพี บิ ตั ภิ ัย จุดประสงค์กจิ กรรม นำ�เสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัยจากธรณีพิบัติภยั เวลา 1 ชั่วโมง วัสด-ุ อปุ กรณ์ แหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรบั ครู 1. ควรแนะนำ�เกยี่ วกับแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ให้กบั นกั เรยี น 2. ควรใหน้ กั เรียนออกแบบสื่อกอ่ นลงมือท�ำ จรงิ โดยครเู ป็นผู้ตรวจทาน สถานการณ์ สถานการณ์ที่ 1 “ถา้ นกั เรยี นและครอบครวั เดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วไปประเทศทมี่ ภี เู ขาไฟ และจ�ำ เปน็ ตอ้ งไปใน พ้ืนที่เส่ียงภัยภูเขาไฟระเบิด นักเรียนจะมีวิธีการเตรียมตัวอย่างไรเมื่อเจอเหตุการณ์ ดงั กลา่ ว” สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

220 บทที่ 7 | ธรณีพบิ ตั ิภยั ค่มู ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ สถานการณท์ ี่ 2 “ถา้ เกดิ แผน่ ดนิ ไหวขณะทนี่ กั เรยี นก�ำ ลงั อยใู่ นอาคารสงู และรสู้ กึ ถงึ ความสน่ั สะเทอื น โคม ไฟบนเพดานเริม่ แกว่งไปมา นักเรียนจะปฏิบตั ติ นอย่างไรให้ปลอดภัย” สถานการณท์ ่ี 3 “ถ้านักเรียนเป็นผู้นำ�ชุมชนแห่งหน่ึงท่ีอยู่บริเวณชายฝ่ังทะเลที่เป็นพื้นท่ีเส่ียงภัยสึนามิ นกั เรยี นจะมกี ารวางแผนรบั มอื เตอื นภยั และใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั แนวทางในการปฏบิ ตั ติ นให้ แก่ประชาชนในชมุ ชนอยา่ งไรบ้าง” วิธกี ารทำ�กิจกรรม 1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์ที่กำ�หนด และอภิปรายเก่ียวกับองค์ความรู้ท่ี เกีย่ วข้อง เชน่ - ธรรมชาตแิ ละกระบวนการเกิดของธรณพี ิบัติภยั - ผลทเ่ี กดิ จากธรณพี ิบตั ภิ ยั - กรณีศึกษาจากพน้ื ที่เส่ียงภัย 2. สบื ค้นขอ้ มูลองคค์ วามรู้ตามประเด็นทไ่ี ด้จากข้อ 1 3. ออกแบบการน�ำ เสนอแนวทางการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภยั ตามสถานการณท์ ่กี ำ�หนด ดว้ ย ส่อื รูปแบบต่าง ๆ เชน่ แผน่ พบั โปสเตอร์ แบบจำ�ลอง บทบาทสมมตุ ิ 4. รวบรวมความคดิ เหน็ ทไ่ี ดจ้ ากการน�ำ เสนอมาปรบั ปรงุ ผลงานใหส้ มบรู ณแ์ ละถกู ตอ้ งยง่ิ ขน้ึ ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม นกั เรยี นควรวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละอภปิ รายเกย่ี วกบั องคค์ วามรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี - ธรรมชาตแิ ละกระบวนการเกดิ ของธรณพี บิ ตั ภิ ยั สถานการณท์ ่ี 1 นกั เรยี นจะตอ้ งเลอื กพน้ื ท่ี และภเู ขาไฟในพน้ื ทน่ี น้ั ๆ โดยนกั เรยี นจะตอ้ ง ศกึ ษาถงึ ธรรมชาตแิ ละกระบวนการเกดิ ของของภเู ขาไฟนน้ั ๆ สถานการณ์ท่ี 2 นักเรียนควรศึกษาถึงธรรมชาติของการเกิดแผ่นดินไหวว่า คลน่ื ไหวสะเทอื นนน้ั ไมไ่ ดท้ �ำ ใหเ้ กดิ การสน่ั สะเทอื นเพยี งครง้ั เดยี วและอาจเกดิ ตามมาอกี หลาย ครง้ั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ัตภิ ยั 221 สถานการณท์ ่ี 3 นกั เรยี นจะตอ้ งเลอื กพน้ื ทว่ี า่ ชมุ ชนของนกั เรยี นจะเปน็ พน้ื ทใ่ี นจงั หวดั ใด และมีลักษณะทางภูมิศาสตร์อย่างไร จากน้นั ศึกษาธรรมชาติและกระบวนการเกิดสึนามิว่า เกดิ ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง - ผลทเ่ี กดิ จากธรณพี บิ ตั ภิ ยั สถานการณ์ท่ี 1 ศึกษาผลท่เี กิดข้นึ จากภูเขาไฟในพ้นื ท่ที ่นี ักเรียนเลือก เช่น ภูเขาไฟใน หมู่เกาะฮาวาย ภัยพิบัติส่วนมากเกิดจากการไหลของลาวา และแก๊สท่ีมีผลต่อระบบ ทางเดนิ หายใจ สถานการณ์ท่ี 2 ศึกษาอันตรายขณะเกิดแผ่นดินไหวว่าเม่ือนักเรียนอยู่บนอาคารสูงจะ สามารถเกดิ อนั ตรายใดขน้ึ ไดบ้ า้ ง เชน่ การเกดิ ตกึ ถลม่ ของหนกั หลน่ ทบั เกดิ ไฟไหม้ สถานการณ์ท่ี 3 ศึกษาผลจากสึนามิท่เี คยเกิดข้นึ ในพ้นื ท่นี ้นั ๆ ว่าทำ�ความเสียหายเป็น บรเิ วณกวา้ งเทา่ ใด - กรณีศึกษาจากพนื้ ที่เสีย่ งภัย สถานการณท์ ่ี 1 ศกึ ษาวา่ ในพน้ื ทท่ี นี่ กั เรยี นเลอื กนนั้ มกี ารวางแผนเตรยี มความพรอ้ มและ การป้องกนั อย่างไรเมือ่ เกิดภเู ขาไฟระเบิด สถานการณท์ ่ี 2 ศกึ ษาวา่ เมอ่ื เกดิ แผน่ ดนิ ไหวและมผี ตู้ ดิ อยใู่ นอาคารสงู ในประเทศตา่ ง ๆ มีแนวทางในการปฏบิ ัติอย่างไรให้ปลอดภยั สถานการณท์ ี่ 3 ศกึ ษาวา่ ในพน้ื ทที่ น่ี กั เรยี นเลอื กนน้ั มกี ารวางแผนเตรยี มความพรอ้ มและ การป้องกนั อยา่ งไรเมอื่ เกดิ สนึ ามิ นักเรียนอาจนำ�เสนอเป็นแผนภาพแผนผัง โปสเตอร์ หรือแผ่นพับ (ตัวอย่างโปสเตอร์ แผน่ พับและสือ่ อืน่ ๆ ดาวนโ์ หลดไดจ้ าก QR code ประจำ�บท) สรปุ ผลการทำ�กิจกรรม เม่ือต้องเขา้ ไปในพื้นทีเ่ สีย่ งภัยธรณพี ิบตั ิภัยตา่ ง ๆ นกั เรียนควรศกึ ษาแนวการเฝ้าระวงั และปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในพื้นที่น้ัน ๆ ซึ่งอาจมีบางขั้นตอนที่แตกต่างกันไปตามลักษณะ ของพนื้ ท่ี หรือระบบการเตือนภัยท่ีแตกตา่ งกัน 10. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มน�ำ เสนอผลการทำ�กิจกรรม รว่ มกนั อภิปรายผลการทำ�กิจกรรม และตอบ ค�ำ ถามท้ายกจิ กรรมโดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบดังดา้ นบน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

222 บทท่ี 7 | ธรณพี ิบตั ิภยั คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ แนวทางการวัดและประเมนิ ผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: 1. ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 7.3-7.4 และการ 1 สาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากการเกิด ตอบค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม สนึ ามิ 2. การอภปิ รายเพอ่ื สรุปองค์ความรู้ 2. แนวทางการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั 3. แบบฝกึ หัด จากภเู ขาไฟ แผ่นดนิ ไหว และสึนามิ P: การสอ่ื สารสารสนเทศและการรูเ้ ทา่ ทนั สือ่ 1. การน�ำ เสนอผลการท�ำ กิจกรรม 7.3-7.4 2. การออกแบบสอ่ื เกย่ี วกบั ธรณพี บิ ตั ภิ ยั ใน กิจกรรม 7.4 3. การสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ธรณพี บิ ตั ภิ ยั ใน กิจกรรม 7.4 A: 1. การรว่ มอภิปรายและการตอบค�ำ ถาม 1. ความสนใจในวิทยาศาสตร์ 2. การแบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติ 2. ความเหน็ คณุ คา่ ทางวิทยาศาสตร์ กจิ กรรม 3. ก า ร ค้ น ค ว้ า ห า ค ว า ม รู้ เ พิ่ ม เ ติ ม จ า ก กรณศี กึ ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณพี บิ ัตภิ ัย 223 ความรูเ้ พิม่ เตมิ สถิติการเกดิ สนึ ามขิ องประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ตง้ั แตป่ ี 2547 - 2560 วันที่ สถานที่ สาเหตุการ เหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้น เกิด 26 ธ.ค. มหาสมทุ ร แผ่นดนิ ไหว เวลา 7.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย 2547 อนิ เดยี (00:58 UTC) เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.3 บริเวณมหาสมุทรอินเดีย แรงสั่นสะเทือน จากแผ่นดินไหว ทำ�ให้เกิดสึนามิสูง 10-30 เมตร เข้ากระทบชายฝ่ังโดยรอบมหาสมทุ ร อินเดีย ประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตจาก แผ่นดินไหวคร้ังนี้ใน 14 ประเทศมากกว่า 280,000 คน   สำ�หรับประเทศไทยมี ผู้เสยี ชีวิตจ�ำ นวนทัง้ หมด 5,395 คน 17 ก.ค. ตะวนั ตก แผ่นดนิ ไหว เวลาประมาณ 15.24 น. (UTC) ได้เกิด 2549 เฉยี งใต้ แผ่นดินไหวขนาด 7.7 มศี ูนยก์ ลางในทะเล ของเกาะชวา ด้ า น ช า ย ฝั่ ง ทิ ศ ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต้ ข อ ง เกาะชวา ทำ�ให้เกิดสึนามิสูงประมาณ 5 เมตร เข้าถล่มตลอดพ้ืนที่ชายฝั่งยาวกว่า 250 กโิ ลเมตร ตงั้ แตจ่ งั หวดั ชวาตะวนั ตก ไป จนถึงเมืองยอกยาการ์ตา เหตุแผ่นดินไหว และสนึ ามคิ รงั้ น้ี ท�ำ ใหม้ ผี เู้ สยี ชวี ติ อยา่ งนอ้ ย 659 คน 2 เม.ย. หมู่เกาะ แผน่ ดนิ ไหว เวลา 14.39 น. (UTC) เกดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาด 2550 โซโลมอน 8.1 ทางตะวนั ตกของหมเู่ กาะโซโลมอน เกดิ สนึ ามิสงู 12 เมตร มผี เู้ สยี ชีวิต 52 คน 4 ธ.ค. รัฐบริตชิ ดนิ ถลม่ เกิดดินถล่มบริเวณ Chehalis Lake 2550 โคลมั เบีย ประเทศ รัฐบริติชโคลัมเบีย แคนาดา ทำ�ให้เกิด แคนาดา สนึ ามขิ นาดใหญ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

224 บทท่ี 7 | ธรณพี บิ ตั ิภยั คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ วนั ที่ สถานท่ี สาเหตุการ เหตุการณท์ ่เี กิดขึน้ หมเู่ กาะซามวั เกิด 29 ก.ย. 2552 นอกชายฝง่ั แผน่ ดินไหว เวลา 17.48 น. (UTC) เกดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาด ประเทศชิลี 8.1 บรเิ วณหม่เู กาะซามวั เกดิ สึนามิสงู 14 27 ก.พ. เมตร มผี ้เู สียชวี ิต 189 คน 2553 แผ่นดินไหว เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.8 นอกชายฝ่ัง ประเทศชิลี เกดิ สึนามิ มีผู้เสียชวี ติ 525 คน 25 ต.ค. Mentawai แผ่นดนิ ไหว เกดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาด 7.7 ใกล้ South Pagai 2553 เกาะสุมาตรา island ประเทศอินโดนีเซีย เกิดสึนามิ ประเทศ มผี เู้ สยี ชีวติ อยา่ งน้อย 408 คน อินโดนเี ซยี 22 ก.พ. เกาะใต้ แผน่ ดนิ ไหว เ กิ ด แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว ข น า ด 6 . 3 บ ริ เ ว ณ 2554 ประเทศ ท�ำ ให้ Canterbury region เกาะใต้ประเทศ นวิ ซีแลนด์ นิวซีแลนด์ ภูเขานำ้�แข็งถล่มจากเหตุการณ์ ภเู ขาน�้ำ แขง็ แผ่นดนิ ไหว ทำ�ให้เกิดสึนามสิ ูง 3.5 เมตร ถล่ม 11 มี.ค. นอกชายฝง่ั แผน่ ดนิ ไหว เวลา 14.46 น. ตามเวลามาตรฐานญ่ีปุ่น 2554 แปซฟิ ิก (05:46 UTC) เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.0 โทโฮะกุ บริเวณนอกชายฝั่งญ่ีปุ่น ทำ�ให้เกิดคลื่นสูง 10-40.5 เมตร มีผู้เสียชีวิตและสูญหาย 18,550 คน 6 ก.พ. หมเู่ กาะ แผน่ ดนิ ไหว เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.0 บริเวณหมู่เกาะ 2556 โซโลมอน โซโลมอน ทำ�ให้เกดิ คลนื่ สงู 1 เมตร 21 ก.ค. อาซคจ์ ้า ดินถลม่ เวลา 23.24 น. (เวลาท้องถ่ิน) เกิดดินถล่ม 2557 (Askja) บรเิ วณ Icelandic volcano Askja จากการ ประทุของภูเขาไฟ ทำ�ให้เกิดสึนามิสูง 20 - 30 เมตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณพี ิบตั ิภัย 225 วันท่ี สถานที่ สาเหตุการ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ข้ึน เกดิ 16 ก.ย. ชายฝ่งั ตะวนั แผ่นดนิ ไหว เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.3 บริเวณชายฝ่ัง 2558 ตกประเทศชลิ ี ตะวนั ตกของประเทศชลิ ี ท�ำ ใหเ้ กดิ สนึ ามสิ งู 4.88 เมตร 14 พ.ย. เมืองไคครู า่ แผ่นดินไหว เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.5-7.8 บริเวณ 2559 (Kaikoura) เกาะใต้ ประเทศนวิ ซแี ลนด์ ท�ำ ใหเ้ กดิ สนึ ามิ ประเทศ สูง 2.5 เมตร เข้ากระทบเมืองไคคูร่า และ นิวซีแลนด์ ชายหาดอนื่ ๆ 17 มิ.ย. ประเทศ ดนิ ถล่ม เกิดดินถล่มลงในแม่นำ้� Karrat fjord เกิด 2560 กรีนแลนด์ สนึ ามิสูง 90 เมตร มีผู้เสียชีวิต 4 คน จดั ท�ำ โดย : กลุ่มงานวชิ าการการเตือนภัย ศูนยเ์ ตือนภยั พบิ ตั แิ หง่ ชาติ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ระบบแจ้งเตอื นสนึ ามิ การตรวจวดั สนึ ามนิ น้ั ท�ำ ไดย้ าก การส�ำ รวจจากเครอ่ื งบนิ หรอื ดาวเทยี มไมส่ ามารถท�ำ ได้ เนอื่ งจาก เมอ่ื สนึ ามอิ ยกู่ ลางมหาสมทุ รจะมคี วามสงู นอ้ ยมาก องคก์ ารบรหิ ารบรรยากาศและมหาสมทุ ร (NOAA) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า จงึ พฒั นาระบบตรวจวดั สนึ ามขิ นึ้ ซงึ่ ประกอบดว้ ยระบบตรวจเกบ็ บนั ทกึ ขอ้ มลู ใต้ทะเล และทุ่นลอยส่งสัญญาณผิวทะเล รวมเรียกว่า DART ( Deep Ocean Assessment and Reporting of Tsunami System) ซงึ่ จะตดิ ตงั้ ระบบตรวจวดั แรงสนั่ สะเทอื นไวท้ พ่ี นื้ มหาสมทุ ร ระบบ ตรวจวัดจะเก็บข้อมูลแผ่นดินไหวและส่งสัญญานไปยังทุ่นลอยซ่ึงอยู่บนผิวนำ้� เพ่ือรีเลย์สัญญาณไป ยงั ดาวเทยี ม GOES และส่งกลับลงบนสถานภี าคพน้ื อกี ทีหนึง่ ในปัจจุบันมกี ารพฒั นาระบบ DART II ขึ้น โดยมกี ารติดต้งั ระบบตรวจวัดและสง่ สญั ญาณข้อมลู ตา่ ง ๆ ทง้ั ความดนั ของน้ำ�ทะเล การสั่นสะเทือนของเปลอื กโลก และการเปล่ียนแปลงของคลนื่ ไปยงั ทุ่นลอยบนผิวนำ้� ในขณะท่ีทุ่นลอยบนผิวนำ้�จะเก็บวัดข้อมูลต่าง ๆ เพ่ิมเติม เช่น ความเร็วของ กระแสลม อณุ หภูมิ และ ความกดอากาศ แลว้ สง่ ขอ้ มลู ทง้ั หมดผ่านดาวเทยี ม Iridium ไปยังฐานรบั สง่ ขอ้ มลู สึนามิบนฝงั่ เพอ่ื แจง้ เตือนให้ประชาชนและชาวประมงในพ้นื ทใี่ ห้รบี อพยพออกจากบริเวณ ที่อันตราย ทีม่ า : https://nctr.pmel.noaa.gov/Dart/dart2_ref.html ; http://dpm.nida.ac.th; http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/tsunami สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

226 บทที่ 7 | ธรณีพิบัตภิ ัย ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ แบบฝึกหัดท้าย 1 จงท�ำ เครอ่ื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู และท�ำ เครอ่ื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทผ่ี ดิ ค�ำ ตอบ โจทย์ 1. ภเู ขาไฟบนหม่เู กาะฮาวายเกดิ บริเวณแนวมุดตัวของแผน่ ธรณี 2. ไอน�ำ้ เปน็ ส่วนประกอบหนง่ึ ทีไ่ ดจ้ ากการปะทุของภูเขาไฟ 3. แผ่นดินไหวปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปคลื่นไหวสะเทือนท่ี จดุ เหนอื ศูนยเ์ กดิ แผ่นดินไหว 4. มาตราริกเตอร์เป็นมาตราท่ีวัดพลังงานของแผ่นดินไหวที่ปล่อย ออกมา 5. เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หากนักเรียนอยูท่ ใี่ นโล่งใหห้ ลบเข้าไปในอาคาร 6. สึนามิเปน็ คลืน่ ทีม่ ีความยาวคลน่ื มากเม่ือเคล่ือนท่ีอยใู่ นทะเลลกึ 7. สนึ ามสิ ามารถหาคาบอบุ ตั ซิ �ำ้ ไดจ้ ากการศกึ ษาจ�ำ นวนชนั้ และอายขุ อง ตะกอนสึนามิในอดตี 8. ไม่ควรสร้างบ้านเรือนใกล้กับบริเวณที่เคยมีการปะทุของภูเขาไฟท่ี ดบั สนทิ 9. เมื่อรู้สึกว่ามีแผ่นดินไหว หรือพบว่าระดับนำ้�ทะเลลดลงผิดปกติ ให้รบี หนขี นึ้ ทส่ี งู หรอื ออกห่างจากชายฝงั่ ให้มากทส่ี ดุ 10. หากชาวประมงอยู่บนเรือหาปลาใกล้ชายฝั่ง และได้รับสัญญาณ เตอื นวา่ เกดิ สนึ ามขิ นึ้ ชาวประมงควรน�ำ เรอื ออกไปกลางทะเลใหไ้ กล ชายฝ่งั มากทส่ี ุด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 7 | ธรณีพบิ ตั ภิ ัย 227 2. จงเลอื กคำ�ตอบทถี่ กู ต้องทสี่ ุด 2.1 แอมพลิจูดของคล่ืนไหวสะเทือนท่ีตรวจวัดได้จากเครื่องตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือน สามารถนำ�ไปใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นดา้ นใด 1. คำ�นวณขนาดของแผน่ ดนิ ไหว* 2. คำ�นวณหาจุดศูนย์เกดิ แผ่นดินไหว 3. คำ�นวณหาความยาวของคล่ืนแผน่ ดินไหว 4. คำ�นวณหาคาบอบุ ัติซ้ำ�ของการเกดิ แผน่ ดนิ ไหว 2.2. ขอ้ มูลใดผิดเกยี่ วกบั มาตราเมอร์คลั ลี 1. เป็นการเก็บขอ้ มูลจากความรู้สกึ ของคนทีอ่ ยูใ่ นเหตุการณแ์ ผน่ ดนิ ไหวเท่านัน้ * 2. ขอ้ มลู ทไ่ี ดส้ ามารถแสดงออกมาเป็นแผนท่ีแสดงระดับความเสยี หายได้ 3. ระดับความเสียหายจะลดลงเมื่ออยู่หา่ งจากจดุ เหนือศนู ย์เกดิ แผน่ ดนิ ไหวมากขน้ึ 4. การทำ�แผนที่แสดงระดับความเสียหายจากแผ่นดินไหวด้วยมาตราเมอร์คัลลีจะทำ� หลงั จากเกิดแผ่นดินไหวแล้ว 2.3. มาตราวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวท่ีสำ�รวจจากผลกระทบต่อมุนษย์และ สิ่งปลกู สร้างคือมาตราใด 1. มาตรารกิ เตอร์ 2. มาตราขนาดโมเมนต์แผ่นดนิ ไหว 3. มาตราเมอรค์ ัลล*ี 4. มาตราโมส์ 2.4. บริเวณใดทเ่ี กิดแผ่นดนิ ไหวท่รี นุ แรงและบอ่ ยครงั้ ที่สดุ ในโลก 1. แนวเทือกเขาแอลป์ และเทือกเขาหมิ าลัย 2. แนวสันเขากลางมหาสมทุ รอินเดยี และอาร์กตกิ 3. แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณรี อบมหาสมุทรแปซฟิ กิ * 4. แนวสนั เขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก 3. จงตอบค�ำ ถามต่อไปนี้ 3.1 ภูเขาไฟระเบิดเป็นสาเหตุทำ�ให้เกิดแผน่ ดนิ ไหวได้ เพราะเหตุใด แนวคำ�ตอบ แรงดันของแมกมาท่ีขึ้นสู่ปากปล่อง การถล่มของปากปล่องอาจทำ�ให้ แผน่ ดนิ ส่ันสะเทอื นเกิดเปน็ แผ่นดินไหวได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

228 บทท่ี 7 | ธรณพี ิบัตภิ ยั คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 3.2 คล่นื ไหวสะเทือนในธรรมชาตเิ กิดข้นึ ได้จากสาเหตใุ ดบา้ ง แนวคำ�ตอบ การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีและรอยเลอ่ื นมีพลงั ภเู ขาไฟระเบิด 3.3 แผ่นดินไหวเกิดจากการเคลอ่ื นท่ีของแผ่นธรณแี บบใดบ้าง แนวคำ�ตอบ แผ่นธรณีเคล่ือนท่ีผ่านกัน แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน และแผ่นธรณี เคลื่อนทีอ่ อกจากกนั 3 .4 การประเมินความรุนแรงของแผ่นดินไหวตามมาตราเมอร์คัลลีต้องอาศัยข้อมูล ใดบ้าง แนวคำ�ตอบ ข้อมูลจากความรู้สึกของผู้คน ความเสียหายของส่ิงของ ส่ิงก่อสร้าง ต่าง ๆ ข้อมูลจากเคร่ืองวัดคลื่นไหวสะเทือน ข้อมูลเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหว เชน่ การสั่นไหว หรอื การเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุ 3.5 ส่วนมากสึนามิจะมีจุดกำ�เนิดในบริเวณที่มีความสัมพันธ์กับแนวรอยต่อของ แผน่ ธรณแี บบใด แนวค�ำ ตอบ แผน่ ธรณเี คลอ่ื นทเ่ี ขา้ หากนั 3.6 เพราะเหตใุ ดการเกิดแผ่นดนิ ไหวในทะเลในบางครง้ั ไมก่ อ่ ให้เกิดสึนามิ แนวค�ำ ตอบ การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวในบางครง้ั ไมไ่ ดเ้ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงของแผน่ ธรณี ในแนวดง่ิ และในบางครัง้ มศี นู ยเ์ กิดแผ่นดนิ ไหวในระดบั ลกึ เกินไป จงึ ไมท่ �ำ ให้เกิดสึนามิ 4. ใหน้ ักเรียนเขยี นผงั มโนทศั น์แสดงความสัมพนั ธ์ของค�ำ ต่อไปน้ี (ใชค้ �ำ อ่นื เพิ่มได)้ ภูเขาไฟระเบดิ แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ แผ่นธรณี แนวรอยต่อของแผน่ ธรณี สาเหตุการเกิด คลืน่ ไหวสะเทือน ลาวา ความยาวคล่ืน ความสงู คลน่ื ขนาดของแผน่ ดนิ ไหว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 7 | ธรณีพิบัติภัย 229 ตัวอย่างผงั มโนทัศน์ เกดิ ในได้ทง้ั ภเู ขาไฟระเบดิ - ในแผ่นธรณี - บริเวณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี ธรณีพิบัติภยั แผน่ ดินไหว รปู ร่างของภเู ขาไฟขน้ึ อยูก่ ับปรมิ าณ สนึ ามิ ซิลิกาในแมกมา สาเหตกุ ารเกดิ การเคล่ือนทข่ี อง แผน่ ธรณี ปลดปล่อยพลังงานในรูปของ คลืน่ ไหวสะเทอื น ปรมิ าณพลงั งานทีป่ ลดปล่อยน�ำ มา คำ�นวณเป็นขนาดของแผ่นดินไหว สาเหตกุ ารเกดิ เกิดจากการแทนท่ี มวลนำ้�ในมหาสมุทรอยา่ งเฉยี บพลัน เม่อื อยูใ่ นทะเลลึกสึนามจิ ะมี ความยาวคลืน่ มาก แตม่ ีแอมพลิจูดต�ำ่ เม่อื สึนามิเคลอื่ นท่ีเขา้ ส่ชู ายฝั่ง ความยาวคลนื่ จะลดลงและ แอมพลิจูดจะสงู ขนึ้ มาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

374 ภาคผนวก คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ภาคผนวก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ภาคผนวก 375 ตัวอยา่ งเคร่ืองมือวัดและประเมินผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที น่ี ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของ แบบทดสอบรูปแบบตา่ ง ๆ เปน็ ดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลือก แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจับคู่ รายละเอยี ดของแบบทดสอบแต่ละแบบเป็นดงั นี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ เปน็ แบบทดสอบทมี่ กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถี่ กู เพยี งหนงึ่ ตวั เลอื ก องค์ประกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลอื กตอบมี 2 ส่วน คอื ค�ำ ถามและตัวเลือก แตบ่ างกรณอี าจ มีส่วนของสถานการณ์เพิ่มข้ึนมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชน้ั โครงสรา้ งดังตัวอย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเด่ยี วทีไ่ มม่ สี ถานการณ์ ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

376 ภาคผนวก คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทมี่ ีสถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเปน็ ชดุ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …………………………………………………………….................. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ภาคผนวก 377 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถาม 2 ช้นั สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามที่ 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอ้ื หา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ได้ นอกจากนีน้ ักเรยี นท่ไี มม่ คี วามรูส้ ามารถเดาคำ�ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถูกหรือผิด เปน็ แบบทดสอบทมี่ ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นน้ั มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ กั เรียนพิจารณาวา่ ถกู หรือผิด ดงั ตัวอย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

378 ภาคผนวก คู่มือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ คำ�สั่ง ใหพ้ ิจารณาว่าข้อความต่อไปน้ีถกู หรือผดิ แล้วใสเ่ ครือ่ งหมาย หรอื หนา้ ขอ้ ความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบนี้สามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเนื้อหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเน้ือท�ำ ไดย้ าก 1.3) แบบทดสอบแบบจบั คู่ ประกอบด้วยสว่ นท่ีเปน็ ค�ำ สงั่ และข้อความ 2 ชุด ที่ใหจ้ บั คกู่ ัน โดยขอ้ ความชุดท่ี 1 อาจเป็น ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ท่ี 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ท่ี 2 อาจมมี ากกวา่ ในชดุ ที่ 1 ดังตัวอย่าง แบบทดสอบแบบจบั คู่ ค�ำ สัง่ ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ถาม ชดุ ค�ำ ถาม ชดุ ค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี