Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา1

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-27 06:28:09

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา1
คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา1,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ชีววิทยา เล่ม 1 บทท่ี 3 | เซลลแ์ ละการท�ำ งานของเซลล์ 239 เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 3 1. จากภาพกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงเชงิ ประกอบ จงน�ำ ตวั อกั ษรทแ่ี สดงสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของ กลอ้ ง เติมในช่องวา่ งหน้าข้อความท่รี ะบถุ งึ หน้าท่ใี ห้ถูกตอ้ ง จ. ฉ. ข. ค. ช. ง. ซ. ......ก........ 1.1 หมุนเปล่ยี นกำ�ลงั ขยายของเลนสใ์ กล้วัตถุ ......ค........ 1.2 ปรบั ปรมิ าณแสงท่จี ะผ่านไปยงั วัตถุ ......ฉ........ 1.3 ขยายภาพของวัตถุท�ำ ใหเ้ กิดภาพจริงหัวกลบั ......จ........ 1.4 ทำ�ใหเ้ กดิ ภาพขยายเป็นภาพเสมือนหวั กลบั ......ซ........ 1.5 ปรับภาพใหเ้ หน็ ชัดเจนขน้ึ เม่ือใช้กบั เลนสใ์ กล้วัตถกุ ำ�ลังขยาย 40× ขึ้นไป 2. นำ�สาหร่าย 2 ชนดิ มาศกึ ษาภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงกลอ้ งเดยี วกัน ได้ผลดงั ภาพ สาหรา่ ย A สาหรา่ ย B สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

240 บทท่ี 3 | เซลลแ์ ละการท�ำ งานของเซลล์ ชีววทิ ยา เล่ม 1 สาหร่าย ก�ำ ลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ก�ำ ลงั ขยายของเลนสใ์ กล้วัตถุ A 10× 4× B 10× 10× เซลลข์ องสาหรา่ ยชนิดใดมคี วามยาวของแตล่ ะเซลล์มากกว่า เพราะเหตใุ ด เซลลข์ องสาหรา่ ย A มคี วามยาวของแต่ละเซลลม์ ากกวา่ สาหรา่ ย B วธิ ีคำ�นวณ สาหรา่ ย A ทีก่ ำ�ลงั ขยาย 40 เท่า เห็นสาหรา่ ย 5 เซลล์ ถ้าเปลยี่ นกำ�ลงั ขยาย 100 เท่า จะมีกำ�ลังขยายเพม่ิ ข้นึ = 100 = 2.5 เทา่ 40 5 ดงั นนั้ ท่กี �ำ ลงั ขยายใหม่ จะเหน็ สาหร่าย A จำ�นวน = 2.5 = 2 เซลล์ ที่ก�ำ ลงั ขยายกล้อง 100 เทา่ เหน็ สาหร่าย A 2 เซลล์ แตเ่ หน็ สาหรา่ ย B 2.5 เซลล์จากภาพ ดงั น้นั เซลล์ของสาหรา่ ย A จงึ มีความยาวมากกวา่ เซลล์ของสาหร่าย B 3. จากการสงั เกตไมบ้ รรทดั ภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงเชงิ ประกอบทมี่ กี �ำ ลงั ขยาย 100 เทา่ พบวา่ เส้นผ่านศูนยก์ ลางของจอภาพยาว 1.6 มลิ ลิเมตร เมอ่ื น�ำ พารามเี ซยี มมาศึกษาภาย ใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนท์ ม่ี กี �ำ ลงั ขยาย 400 เทา่ พบวา่ พารามเี ซยี มยาว 1/4 ของเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ของจอภาพ ดังนั้น พารามีเซยี มมคี วามยาวเท่าใด ใหแ้ สดงวธิ ที ำ� พารามีเซียมมีความยาว 0.1 มลิ ลิเมตร วิธีค�ำ นวณ เม่อื เปลีย่ นก�ำ ลังขยายของกลอ้ งจาก 100 เทา่ เป็น 400 เทา่ กลอ้ งจะมีกำ�ลังขยายเพิ่มขึ้นเป็น = 400 = 4 เท่า 100 ที่ก�ำ ลงั ขยาย 100 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางของจอภาพยาว 1.6 มิลลิเมตร ทก่ี �ำ ลังขยาย 400 เทา่ เส้นผ่านศูนย์กลางของจอภาพยาว = 1.6 = 0.4 มลิ ลิเมตร 4 1 พารามเี ซียมยาว = 4 ของเส้นผา่ นศนู ย์กลางของจอภาพ = 1 × 0.4 = 0.1 มลิ ลิเมตร 4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 1 บทที่ 3 | เซลล์และการท�ำ งานของเซลล์ 241 4. ในการศึกษาตัวอย่างที่กำ�หนดให้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ให้ใส่เครื่องหมาย √ ในช่องชนิด ของกล้องจลุ ทรรศน์ที่ใชศ้ ึกษาใหถ้ กู ตอ้ ง ตวั อยา่ งทศี่ กึ ษา กลอ้ งจลุ ทรรศน์ กลอ้ งจุลทรรศน์ ใช้แสง ใชแ้ สง 1. นิวเคลยี สของสไปโรไจรา 2. การไหลเวียนของไซโทพลาซึมของเซลล์ เชิงประกอบ แบบสเตอริโอ สาหรา่ ยหางกระรอก √ √ 3. ลักษณะภายนอกของดว้ ง √ 4. การงอกของหลอดเรณอู ย่างตอ่ เน่ืองทร่ี ะยะ √ √ เวลาต่าง ๆ ของดอกแพงพวยฝรง่ั (เรณูของ ดอกแพงพวยฝรง่ั มีเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 60 √ ไมโครเมตร) 5. การผ่าตัดไสเ้ ดอื นดินตลอดความยาวของล�ำ ตวั 6. ฟาโกไซโทซสิ ของแมคโครฟาจ 5. จากภาพแสดงโครงสรา้ งของเซลล์ จงน�ำ ตวั อกั ษรทช่ี แ้ี สดงสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเซลลใ์ ส่ ลงในชอ่ งว่างหน้าข้อความท่มี คี วามสัมพันธ์กนั มากที่สุด ค. ข. ง. จ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

242 บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์ ชวี วิทยา เล่ม 1 .......ง....... 5.1 บริเวณทม่ี กี ารสร้างไรโบโซม .......ค....... 5.2 ท�ำ หน้าท่เี ตมิ กลุ่มคารโ์ บไฮเดรตใหก้ ับโปรตีนหรอื ลพิ ดิ ทสี่ ่งมาจาก ER .......ก....... 5.3 แหลง่ ผลติ สารพลังงานสงู ใหแ้ กเ่ ซลล์ .......จ....... 5.4 แหล่งสรา้ งโปรตนี ทีเ่ ป็นองค์ประกอบของเยื่อห้มุ เซลล์ .......ข....... 5.5 พบในเซลลส์ ตั วแ์ ละสงิ่ มชี ีวติ เซลล์เดยี ว ไมพ่ บในเซลล์พชื และเหด็ รา 6. จากตารางรอ้ ยละของพื้นท่ผี วิ ของเยอื่ หุม้ ในส่วนตา่ ง ๆ ของเซลลต์ ับหนู (rat liver cell) เยือ่ ห้มุ ในส่วนต่าง ๆ ของเซลล์ รอ้ ยละของพ้นื ที่ผวิ เยอื่ หุม้ เซลล์ 1.81 เอนโดพลาสมกิ เรติคูลมั แบบผวิ ขรขุ ระ 30.98 เยื่อหุม้ ชน้ั นอกของไมโทคอนเดรยี 7.61 เยือ่ หุม้ ชน้ั ในของไมโทคอนเดรีย 40.35 นวิ เคลียส 0.29 ไลโซโซม 0.11 ส่วนประกอบส่วนทเี่ หลอื ภายในเซลล์ 18.85 รวม 100.00 จงตอบค�ำ ถามต่อไปนี้ 6.1 เพราะเหตุใดไมโทคอนเดรียจึงมีร้อยละของพ้ืนที่ผิวของเย่ือหุ้มช้ันนอกและเยื่อหุ้ม ชน้ั ในแตกต่างกัน และมคี วามเหมาะสมกับหน้าทีแ่ ละการทำ�งานอย่างไร จงอธบิ าย เยอ่ื หมุ้ ชน้ั ในของไมโทคอนเดรยี มรี อ้ ยละของพน้ื ทผ่ี วิ มากกวา่ ของเยอื่ หมุ้ ชนั้ นอกของ ไมโทคอนเดรีย เพราะบรเิ วณเยอ่ื หมุ้ ชั้นในของไมโทคอนเดรียทำ�หน้าทเี่ กย่ี วขอ้ งกับ การถ่ายทอดอิเล็กตรอนและการสร้าง ATP ในกระบวนการสลายอาหารแบบใช้ ออกซเิ จน ดงั นนั้ การที่มีพื้นทผ่ี วิ มากจึงทำ�ใหม้ ีการสร้าง ATP ไดเ้ พมิ่ ข้ึน 6.2 เพราะเหตุใดเซลล์ตับจึงมีร้อยละของพื้นท่ีผิวของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิว ขรขุ ระมากเปน็ อนั ดับสอง รองจากเยื่อหุ้มช้ันในของไมโทคอนเดรยี เซลล์ตับมีกิจกรรมต่าง ๆ จำ�นวนมาก โดยเฉพาะการสร้างโปรตีนสำ�หรับส่งออกไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 1 บทที่ 3 | เซลลแ์ ละการทำ�งานของเซลล์ 243 นอกเซลล์ เชน่ การสงั เคราะห์โปรตีนอลั บมู นิ (albumin) ไฟบริโนเจน (fibrinogen) ดังน้ันเซลล์ตับจึงมีร้อยละของพื้นที่ผิวของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (RER) จำ�นวนมาก ซง่ึ ท�ำ หนา้ ทีส่ งั เคราะหโ์ ปรตีน 6.3 เมอื่ ศกึ ษารอ้ ยละของพนื้ ทผี่ วิ ในเซลลช์ นดิ อนื่ จะพบรอ้ ยละของพนื้ ทผ่ี วิ ในสว่ นตา่ ง ๆ ของเซลล์ สอดคลอ้ งกับเซลล์ตบั หรือไม่ เพราะเหตุใด ร้อยละของพ้ืนที่ผิวในส่วนต่าง ๆ ภายในเซลล์แต่ละชนิดควรจะแตกต่างกัน ทั้งนี้ เพราะเซลล์แต่ละเซลล์มีการเปล่ียนรูปร่างและทำ�หน้าท่ีเฉพาะอย่างที่แตกต่างกัน ออกไป 7. นำ�ช่ือโครงสร้างของเซลลท์ ่กี �ำ หนดใหต้ อ่ ไปน้ี เติมลงหน้าข้อความทม่ี ีความสัมพันธก์ ัน Cell membrane Cell wall Centriole Chloroplast Contractile vacuole Free ribosome Golgi complex Lysosome Microfilament Microtubule Mitochondria Peroxisome Plastid RER SER .F..r.e.e...r.i.b.o..s..o.m...e...7.1 แหล่งสรา้ งโปรตนี ส�ำ หรบั ใชภ้ ายในเซลล์ .....L.y..s.o..s.o..m...e.....7.2 โครงสรา้ งทป่ี ระกอบดว้ ยเอนไซมไ์ ฮโดรเลสชนดิ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ยอ่ ยโปรตนี ...P..e..r.o..x.i.s.o..m...e....7.3 โครงสร้างที่ประกอบด้วยเอนไซม์ที่ใช้ในการสลายไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ให้กลายเปน็ ออกซิเจนและน้�ำ ..M...i.t.o..c.h..o..n..d..r.i.a..7.4 โครงสรา้ งท่ีท�ำ หนา้ ที่สร้างสารพลงั งานสูงในรูป ATP ให้แก่เซลล์ .C..e.l.l..m...e.m...b..r.a..n.e..7.5 การจัดเรยี งตวั แบบฟลอู ิดโมเซอิกโมเดล .......P.l.a..s.t.i.d........7.6 โครงสร้างท่ีประกอบด้วยสารสชี นดิ ต่าง ๆ Contractile ......v..a.c..u..o.l.e.......7.7 โครงสรา้ งทรี่ ักษาสมดลุ ของน�้ำ ในพารามีเซยี ม ...M...ic..r.o..t.u..b..u.l.e....7.8 โครงสร้างท่ียึดและล�ำ เลียงออร์แกเนลล์ภายในเซลล์ .....C..e..l.l..w..a.l.l......7.9 โครงสรา้ งทป่ี ระกอบดว้ ยเซลลโู ลส บางบรเิ วณพบพลาสโมเดสมาตา ...C..h..l.o.r..o.p..l.a..s.t....7.10 แหลง่ สรา้ งสารอาหารของเซลลพ์ ชื และโพรทสิ ตบ์ างชนดิ .....C..e..n..t.r.i.o..l.e.....7.11 ออร์แกเนลล์ท่ีพบเฉพาะในเซลลส์ ตั ว์เท่านนั้ ........S..E..R..........7.12 โครงสรา้ งทเี่ กย่ี วกบั การสงั เคราะหฮ์ อรโ์ มนเพศชาย (testosterone) ซ่งึ เปน็ สเตอรอยดฮ์ อร์โมน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

244 บทท่ี 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์ ชีววทิ ยา เลม่ 1 .........R..E..R.........7.13 แหลง่ ทสี่ รา้ งโปรตนี เพอ่ื สง่ ออกไปใชน้ อกเซลลห์ รอื เปน็ สว่ นประกอบ ของเยอ่ื หุ้มเซลล์ .M...i.c.r..o.f.i.l.a..m...e.n..t..7.14 โครงสรา้ งทเี่ กดิ จากโปรตนี แอกทนิ ท�ำ หนา้ ทส่ี �ำ คญั ในการเปลย่ี นรปู ร่างของเซลล์ .G..o..l.g.i..c..o.m...p..l.e.x...7.15 โครงสรา้ งทที่ �ำ หนา้ ทร่ี วบรวมโปรตนี ใหเ้ ขม้ ขน้ และเตมิ คารโ์ บไฮเดรต ใหก้ บั โปรตนี เปน็ แกรนลู เพอ่ื สง่ ออกนอกเซลล์ 8. สีนิวทรัลเรดเปน็ indicator ที่มีสีแดงท่ีค่า pH ต่ำ�กว่า 7.4 และมีสีเหลืองที่คา่ pH สงู กว่า 7.4 เมอ่ื นำ�นำ�้ กลนั่ และสารละลายของเบส 3 ชนดิ มาเตมิ สีนิวทรัลเรดจากน้ันใส่เซลล์ยสี ต์ ทีย่ งั มีชีวิตลงไป ได้ผลดังตาราง ท่ี สาร สีของสารละลาย สใี นเซลลข์ องยสี ตห์ ลังเติมยีสต์ หลังเติม สีนิวทรัลเรด ลงในสารละลาย 1 น้�ำ กล่นั 2 0.01 M Na2CO3 สแี ดง สแี ดง 3 0.01 M NaOH สเี หลือง สีแดง 4 0.01 M NH4OH สีเหลอื ง สีแดง สีเหลือง สีเหลือง เยอ่ื หุ้มเซลลข์ องยีสต์เปน็ เยือ่ ทเี่ ลอื กให้ไอออนในการทดลองชนิดใดผา่ น เพราะเหตใุ ด เย่ือห้มุ เซลล์ของยสี ตเ์ ปน็ เยื่อทีเ่ ลือกให้ NH4+ ผ่านได้ เนือ่ งจากในการทดลองชุดท่ี 4 เมอื่ เติมยีสต์ลงในสารละลาย NH4OH เซลล์ยีสต์เปล่ียนเป็นสีเหลืองเช่นเดียวกับสีของ สารละลาย สว่ นในหลอดที่ 2 และ 3 สขี องยีสตไ์ มเ่ ปลยี่ นไปเหมือนในสารละลาย ซ่ึงแสดง ว่าเซลล์ไมส่ ามารถลำ�เลยี งไอออนดังกล่าวได้ 9. นำ�ตัวอักษร A-E ไปเติมในช่องว่างหน้ากรณีการลำ�เลียงสารที่สัมพันธ์กัน (เลือกเติม 1 คำ�ตอบ ตอ่ 1 กรณ)ี ...........E...........9.1 น�้ำ เขา้ เซลล์รากขนออ่ น ...........C...........9.2 กรดไขมนั เขา้ ส่เู ซลล์บผุ ิวล�ำ ไสเ้ ล็ก ...........B...........9.3 กรดแอมิโนเขา้ สู่เซลล์บุผิวล�ำ ไสเ้ ล็ก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 1 บทท่ี 3 | เซลล์และการท�ำ งานของเซลล์ 245 ...........A...........9.4 การนำ�แบคทีเรยี เขา้ ส่เู ซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว ...........D...........9.5 ก ารล�ำ เลยี งคลอไรดไ์ อออน (Cl-) เขา้ และไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน (HCO3-) ออกจากเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงท่บี รเิ วณปอด A. ฟาโกไซโทซิส D. เกิดผา่ นโปรตีนทีม่ คี วามจำ�เพาะตอ่ สาร B. ใชพ้ ลงั งานจาก ATP E. เกดิ จากบริเวณที่มคี วามเขม้ ขน้ ตำ�่ ไปยังบริเวณทีม่ ีความ C. เกดิ โดยการแพร่แบบธรรมดา เข้มข้นสูง 10. ในการตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดด้วยเทคนิค MRI โครงสรา้ งโมเลกลุ ของ gadoteric acid (Magnetic Resonance Imaging) จะมีการฉดี สาร ท่ีเพ่ิมความชัดเจนระหว่างหลอดเลือดและเนื้อเย่ือ อ่ืน ๆ เช่น gadoteric acid ให้ผู้เข้ารับการตรวจ โดยสารท่ีเพิ่มความชัดเจนระหว่างหลอดเลือดและ เนื้อเย่ืออ่ืน ๆ ที่ดีนั้น ต้องคงอยู่ภายในหลอดเลือด และไม่ถูกลำ�เลียงเข้าสู่เซลล์หลังการฉีด จาก โครงสร้างโมเลกุลของ gadoteric acid ดังภาพ นักเรียนคิดว่าสารน้ีมีสมบัติเหมาะสมต่อการนำ�ไป ใชใ้ นกรณดี ังกลา่ วอยา่ งไร โมเลกุลของ gadoteric acid มปี ระจุจงึ ไมล่ ะลายใน ลพิ ิด และมขี นาดใหญ่ จงึ ไมส่ ามารถล�ำ เลียงผ่านชั้น ลพิ ดิ ได้ นอกจากนที้ เ่ี ยอ่ื หมุ้ เซลลข์ องหลอดเลอื ดไมม่ ี โปรตนี จ�ำ เพาะทสี่ ามารถล�ำ เลยี ง gadoteric acid ได้ ดงั นนั้ สารดงั กลา่ วจงึ ยงั คงอยภู่ ายในหลอดเลอื ดหลงั การฉีด ทำ�ให้ภาพที่ถ่ายออกมาจะเห็นส่วนของ หลอดเลือดชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

246 บทที่ 3 | เซลลแ์ ละการท�ำ งานของเซลล์ ชีววทิ ยา เล่ม 1 11. จากภาพเป็นโครงสร้างบางส่วนของเซลล์ยีสต์ในสารละลายกลูโคส จงนำ�ตัวอักษรเติม ลงในชอ่ งว่างหนา้ ข้อความที่มีความสมั พันธ์กันมากทสี่ ุด (อาจมคี �ำ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ค�ำ ตอบ) ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. ……ก…. แ…ล…ะ ข….….11.1 บรเิ วณใดบ้างทสี่ ามารถตรวจพบกลโู คสได้ …………ข.……….11.2 ในภาวะทม่ี อี อกซเิ จนไมเ่ พยี งพอ จะเกดิ การสลายสารอาหารบรเิ วณ ใดบา้ ง …………ฉ.……….11.3 บรเิ วณใดบา้ งท่ีมกี ารสร้าง NADH และFADH2 ในปรมิ าณมาก …………จ.……….11.4 บริเวณใดบ้างท่ีพบโปรตีนประเภทต่าง ๆ ท่ีทำ�หน้าท่ีเป็นตัวรับและ สง่ อเิ ล็กตรอนในการสร้าง ATP …………ง.……….11.5 บรเิ วณใดทม่ี กี ารสะสมโปรตอน (H+) มากขณะทม่ี กี ารหายใจแบบใช้ ออกซิเจน …………ข.……….11.6 ในภาวะทเี่ ซลลเ์ กดิ กระบวนการหมกั จะพบการสรา้ งแอลกอฮอลแ์ ละ คาร์บอนไดออกไซด์ทบ่ี ริเวณใด แนวการคิด จากภาพ ตัวอักษรแทนสว่ นตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ ก. คือ ภายนอกเซลล ์ ข. คอื ไซโทพลาซมึ ค. เย่ือหุ้มชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย ง. ชอ่ งวา่ งระหวา่ งเยอื่ หมุ้ ไมโทคอนเดรยี จ. เยอ่ื หมุ้ ชนั้ ในของไมโทคอนเดรยี ฉ. เมทรกิ ซ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 1 บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์ 247 11.1 อธบิ าย ในภาวะท่ีมีออกซิเจนเพียงพอหรือมีออกซิเจนไม่เพียงพอก็ตาม จะเกิดการสลายกลูโคส ด้วยกระบวนการไกลโคลิซิสขึ้นภายในไซโทซอลของเซลล์ และเปลี่ยนเป็นสารประกอบ อน่ื  ๆ ก่อนเคล่ือนท่เี ขา้ สไู่ มโทคอนเดรีย ดงั นัน้ จึงตรวจพบกลโู คสได้ท้ังภายนอกเซลล์และ ในไซโทพลาซึม 11.2 อธิบาย ในภาวะท่ีมีออกซิเจนไม่เพียงพอจะเกิดการสลายกลูโคสด้วยกระบวนการไกลโคลิซิสข้ึน เปน็ ปกตภิ ายในไซโทซอล แตภ่ ายในไมโทคอนเดรยี จะไมเ่ กดิ การสลายสารอาหารเนอ่ื งจาก ไมม่ ีออกซิเจนมาเปน็ ตัวรับอิเล็กตรอนในกระบวนการถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอน 11.3 อธบิ าย การสรา้ ง NADH และ FADH2 จะเกดิ ปรมิ าณมากในเมทรกิ ซข์ องไมโทคอนเดรยี ซง่ึ เกดิ ขนึ้ ทั้งจากในขั้นตอนการเปล่ียนกรดไพรูวิกไปเป็นแอซิทิลโคเอนไซม์เอ และกระบวนการ เปลีย่ นแปลงของสารประกอบคาร์บอนต่าง ๆ ในวฏั จกั รเครบส์ 11.4 อธิบาย กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจะเกิดข้ึนที่เย่ือหุ้มช้ันในของไมโทคอนเดรีย ซ่ึงต้องมี โปรตีนท่ีเป็นตัวนำ�อิเล็กตรอนชนิดต่าง ๆ ในการส่งผ่านอิเล็กตรอนไปให้ออกซิเจนซ่ึงเป็น ตวั รับอเิ ล็กตรอนตวั สดุ ทา้ ย 11.5 อธิบาย ในภาวะทม่ี อี อกซเิ จนเพยี งพอจะเกดิ กระบวนการถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอนและมกี ารเคลอ่ื นยา้ ย โปรตอนจากเมทรกิ ซเ์ ขา้ สชู่ อ่ งวา่ งระหวา่ งเยอ่ื หมุ้ ชน้ั ในและเยอ่ื หมุ้ ชน้ั นอกของไมโทคอนเดรยี 11.6 อธบิ าย เหตผุ ลเชน่ เดยี วกบั ขอ้ 5.2 แตก่ รดไพรวู กิ ทไ่ี ดจ้ ากการสลายกลโู คสจะไมเ่ คลอื่ นผา่ นเยอื่ หมุ้ ไมโทคอนเดรียเข้าไปภายในเมทริกซ์และจะปล่อยคาร์บอนในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์ และมีแอซิตลั ดไี ฮด์เปน็ ตัวรบั อิเลก็ ตรอนจาก NADH กลายเป็นเอทลิ แอลกอฮอล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

248 บทท่ี 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์ ชีววทิ ยา เล่ม 1 12. การผลิตไวน์ผลไม้ในประเทศไทยนิยมนำ�ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae มาใช้เป็น หัวเช้ือในกระบวนการหมักเพื่อให้ได้แอลกอฮอล์ กระบวนการหมักไวน์จะทำ�ในภาชนะ ปดิ สนิทเพือ่ ไม่ใหอ้ ากาศจากภายนอกเข้าไปภายในระบบ และจะหมกั ไว้จนกวา่ น้�ำ ตาลใน ผลไม้ถูกใช้ไปจนเกือบหมดและได้ปริมาณแอลกอฮอล์ประมาณ 10-14 % โดยปริมาตร จงึ จะถือว่าเสร็จส้ินกระบวนการหมักไวน์ จากตารางการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบต่าง ๆ ระหว่างการหมักไวน์ผลไม้เป็นระยะเวลา 14 วนั จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี เวลา ปริมาณน้�ำ ตาล ปริมาณยีสต์ ปริมาณแอลกอฮอล์ การหมกั (องศาบริกซ*์ ) (×107 เซลลต์ อ่ mL) ( % โดยปริมาตร) (วนั ) 0.20 0 0.88 1.6 0 22.5 5.60 11.6 2 20.0 9.20 12.9 4 14.5 11.30 13.7 6 10.7 9.65 13.9 8 8.0 8.80 13.9 10 8.0 8.85 13.9 12 7.8 14 7.8 (* ตวั เลขทมี่ ากในหนว่ ย องศาบริกซ์ แสดงว่ามนี �้ำ ตาลมาก) 12.1 เพราะเหตใุ ดจงึ มปี รมิ าณแอลกอฮอลเ์ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งมากในวนั ท่ี 4 ของการหมกั แตพ่ บ ไดน้ อ้ ยมากในช่วง 2 วนั แรกของการหมกั ในช่วง 2 วันแรกจำ�นวนเซลล์ยีสต์ยังมีน้อย และมีออกซิเจนเพียงพอทำ�ให้เกิดการ สลายน�ำ้ ตาลเพอื่ สรา้ งเปน็ พลงั งานในการแบง่ เซลลข์ องยสี ต์ สว่ นในวนั ท่ี 4 มจี �ำ นวน เซลล์ยีสต์เพิ่มขึ้นมาก ออกซิเจนถูกใช้ไปจนเหลือน้อย ยีสต์จึงสลายน้ำ�ตาลโดย กระบวนการหมักและผลติ แอลกอฮอล์ปริมาณมาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 1 บทที่ 3 | เซลลแ์ ละการท�ำ งานของเซลล์ 249 12.2 ถา้ กลมุ่ แมบ่ า้ นทผ่ี ลติ ไวนผ์ ลไมต้ อ้ งการน�ำ ไวนท์ ห่ี มกั ไดไ้ ปวางขาย ควรแนะน�ำ ใหก้ ลมุ่ แม่บา้ นหมักไวน์ผลไมไ้ ม่เกินก่ีวนั เพราะเหตใุ ด แนะนำ�ให้กลุ่มแม่บ้านหมักไวน์ผลไม้ไม่เกิน 10 วัน เพราะต้ังแต่วันท่ี 10 ปริมาณ แอลกอฮอลเ์ ริม่ คงที่และใกลเ้ คยี งกับ 14 % โดยปริมาตร 12.3 ถา้ ตอ้ งการผลติ เซลลย์ สี ตใ์ หไ้ ดป้ รมิ าณมาก ๆ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ หวั เชอื้ ในการหมกั ไวนผ์ ลไม้ ในการผลติ ครง้ั ต่อไป นกั เรียนจะปรับเปลย่ี นวิธกี ารขา้ งตน้ อย่างไร ควรปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารหมกั ในวนั ที่ 2 เพอ่ื เพม่ิ ปรมิ าณเซลลย์ สี ต์ โดยการเพมิ่ ปรมิ าณ ออกซิเจน เช่น เปิดฝาเล็กน้อยเพื่อให้อากาศเข้าไปในภาชนะ คนให้ท่ัว และเพ่ิม ปรมิ าณน�ำ้ ตาล เพอื่ ให้มีออกซิเจนและสารอาหารเพยี งพอต่อการสร้างพลังงานของ ยีสตท์ ี่จะใช้ในการเจริญเตบิ โตและเพิม่ จำ�นวน 13. วัตถุประสงค์ของการแบ่งเซลล์ในส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์เหมือนหรือแตกต่างจากส่ิงมีชีวิต เซลล์เดยี วอยา่ งไร การแบง่ เซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ หลายเซลลท์ �ำ ใหร้ า่ งกายมกี ารเตบิ โตทดแทนเซลลท์ ตี่ ายลงหรอื เสยี หาย หรอื เปน็ การสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธ ุ์ ในขณะทส่ี ง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วการแบง่ เซลลเ์ ปน็ การ เพ่มิ จำ�นวนประชากร 14. จงเตมิ ค�ำ ท่กี ำ�หนดให้ตอ่ ไปนล้ี งในชอ่ งว่างหนา้ ขอ้ ความใหม้ ีความสัมพันธ์กันถกู ต้อง อนิ เตอรเ์ ฟส เซลล์พชื เซลลส์ ตั ว์ ไมโทซสิ ไมโอซิส โพรเฟส I โพรเฟส II เมทาเฟส I เมทาเฟส II แอนาเฟส I แอนาเฟส II เทโลเฟส ……แอ…น…าเ…ฟส…I….14.1 ระยะที่ฮอมอโลกัสโครโมโซม แยกออกจากกันไปด้านตรงข้ามของ เซลล์ ……โพ…ร…เฟ…ส…I….14.2 การแลกเปลย่ี นชิ้นสว่ นของโครมาทิด ……โพ…ร…เฟ…ส…I ….14.3 ระยะที่ฮอมอโลกัสโครโมโซมเริ่มจับคู่กันและมีการแลกเปล่ียน ชน้ิ ส่วนของโครมาทิด ……ไ…มโ…ท…ซสิ…….14.4 เซลล์ลูกทไี่ ด้มีจำ�นวนโครโมโซมเท่ากับเซลลแ์ ม่ ……ไ…ม…โอ…ซิส…….14.5 เซลล์ลูกทไี่ ด้มีจำ�นวนโครโมโซมลดลงเป็นครงึ่ หน่ึงของเซลล์แม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

250 บทที่ 3 | เซลล์และการทำ�งานของเซลล์ ชีววทิ ยา เลม่ 1 …อ…ิน…เต…อ…รเ์ …ฟส….14.6 เซลลม์ กี ารจ�ำ ลองตวั ของโครโมโซมโดยสงั เคราะห์DNAขน้ึ มาอกี 1ชดุ ……เซ…ล…ล…พ์ ชื…….14.7 มีการสร้างแผน่ กนั้ เซลลแ์ บ่งเซลล์ออกเป็น 2 เซลล์ 15. จากภาพ จงตอบคำ�ถามใหถ้ กู ต้อง เซนโทรเมียร์ AAa a 15.1 ภาพนี้มักเกิดในการแบ่งเซลล์แบบ ใด และอยู่ในระยะใดของการแบ่ง BBb b เซลล์ CCc c การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส อยู่ใน ระยะ โพรเฟส I DDd d 15.2 จงวาดโครโมโซมในเซลล์ลูกท่ีได้ หลังจากส้ินสุดกระบวนการแบ่ง เซลล์อย่างสมบูรณ์ พร้อมระบุยีน บนโครโมโซม AA a a Bb Bb Cc Cc DD d d สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 1 บทท่ี 3 | เซลลแ์ ละการทำ�งานของเซลล์ 251 16. จากกราฟแสดงปริมาณ DNA ของเซลล์ชนิดหน่ึงในวฏั จักรเซลล์ จงนำ�ระยะ G1 S G2 M ใส่ลงในกลอ่ งส่เี หล่ียมใตภ้ าพและตอบค�ำ ถามใหถ้ ูกตอ้ ง ป ิรมาณ DNA ใน ินวเคลียส G1 S ระยะในวัฏจกั รเซลล์ G2 M 16.1 ระยะท่เี ซลลม์ ีการจำ�ลองตวั ของโครโมโซม คือ ระยะใด ระยะ S 16.2 ระยะทเ่ี ซลลเ์ กิดการสงั เคราะห์ DNA คือ ระยะใด ระยะ S 16.3 ระยะท่ีมกี ารแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ คือ ระยะใด ระยะ M 16.4 ถา้ พบเซลลจ์ �ำ นวนหนง่ึ มปี รมิ าณ DNA เปน็ ครงึ่ หนง่ึ ของเซลลอ์ น่ื  ๆ เซลลช์ นดิ นค้ี วร อยู่ในระยะใด ระยะ G1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก

254 ภาคผนวก ชวี วทิ ยา เลม่ 1 ตวั อยา่ งเครือ่ งมอื วดั และประเมินผล แบบทดสอบ การประเมินผลด้วยแบบทดสอบเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียนโดยเฉพาะด้านความรู้และความสามารถทางสติปัญญา ครูควรมีความเข้าใจในลักษณะของ แบบทดสอบ รวมท้งั ขอ้ ดีและขอ้ จำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ ประโยชนใ์ นการสร้างหรอื เลือกใช้แบบทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและ ขอ้ จ�ำ กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เป็นดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบทม่ี ีตวั เลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอียดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเปน็ ดังนี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เป็นแบบทดสอบที่มีการกำ�หนดตัวเลือกให้หลายตัวเลือก โดยมีตัวเลือกที่ถูกเพียงหนึ่ง ตัวเลอื ก องคป์ ระกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 สว่ น คอื คำ�ถามและตวั เลอื ก แต่บางกรณีอาจมีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลาย รปู แบบ เชน่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลือกตอบค�ำ ถาม 2 ช้ัน โครงสรา้ งดงั ตัวอย่าง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเด่ียวทไ่ี ม่มสี ถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 1 ภาคผนวก 255 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทม่ี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเป็นชุด สถานการณ์…………………………………………………………….. คำ�ถามท่ี 1 …………………………………………………………….. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …………………………………………………………….. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

256 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 1 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ ………………………………………………………….. ค�ำ ถามที่ 1 …………………………………………………………….. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 …(ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามท่ี 1)…… …………………………………………………………………………………...... …………………………………………………………………………………...... แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนได้ครอบคลุมเนื้อหา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ได้ นอกจากน้นี กั เรียนทีไ่ มม่ คี วามรูส้ ามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผดิ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ ักเรยี นพิจารณาวา่ ถูกหรือผิด ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบถูกหรือผดิ ค�ำ ส่ัง ให้พิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปนถ้ี ูกหรือผิด แล้วใสเ่ ครอื่ งหมาย √ หรือ × หน้าข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 2. ข้อความ……………………………………………..…………………….. ………… 3. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..…………………….. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 1 ภาคผนวก 257 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี ามารถสรา้ งไดง้ า่ ย รวดเรว็ และครอบคลมุ เนอื้ หา สามารถตรวจไดร้ วดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณ์ในบางเนอ้ื หาทำ�ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทเี่ ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชดุ ทใี่ หจ้ บั คกู่ นั โดยขอ้ ความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเป็นค�ำ ตอบหรอื ตัวเลือก โดยจำ�นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกว่าในชุด ที่ 1 ดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจบั คู่ คำ�สง่ั ใหน้ ำ�ตัวอกั ษรหน้าข้อความในชุดค�ำ ตอบมาเติมในชอ่ งว่างหน้าข้อความในชุดคำ�ถาม ชุดคำ�ถาม ชุดค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… แบบทดสอบรปู แบบนสี้ รา้ งไดง้ า่ ยตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั และเดาค�ำ ตอบไดย้ ากเหมาะส�ำ หรบั วัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีท่ีนักเรียนจับคู่ผิด ไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ กี ารจับคผู่ ดิ ในคู่อ่ืน ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างสั้น และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบที่มี การตอบแต่ละแบบเป็นดังนี้ 2.1) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบเตมิ ค�ำ หรอื ตอบอย่างส้นั ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สงิ่ ท่กี ำ�หนดคำ�ตอบใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

258 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เลม่ 1 แบบทดสอบรปู แบบนส้ี รา้ งไดง้ า่ ย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบทนี่ กั เรยี น ตอบผิดเพ่ือให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถูกต้องหรอื ยอมรบั ได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทตี่ อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งค�ำ ตอบอยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกัน โดยค�ำ ถามเป็นคำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรูปแบบนี้ให้อิสระแก่นักเรียนในการตอบจึงสามารถใช้วัดความคิดระดับสูงได้ แต่เนื่องจากนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดและเขียนคำ�ตอบมาก ทำ�ให้ถามได้น้อยข้อ จึงอาจทำ�ให้ วดั ไดไ้ มค่ รอบคลมุ เน้ือหาทัง้ หมด รวมท้ังตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจให้คะแนนอาจไม่ตรงกนั   แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไปจะ ประเมนิ 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบตั กิ ารทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครื่อง มอื ทใี่ ชป้ ระเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลอง รายการที่ตอ้ งส�ำ รวจ ผลการสำ�รวจ การวางแผนการทดลอง มี ไมม่ ี การทดลองตามข้ันตอน (ระบุจ�ำ นวนคร้งั ) การสงั เกตการทดลอง การบนั ทึกผล การอภปิ รายผลการทดลอง ก่อนลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 1 ภาคผนวก 259 ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารทดลองทีใ่ ชก้ ารให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง คะแนน 321 การเลอื กใช้อปุ กรณ์/ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลือกใช้อปุ กรณ/์ เลอื กใชอ้ ุปกรณ/์ เคร่อื งมือในการทดลอง เครือ่ งมอื ในการทดลองได้ เครื่องมอื ในการทดลองได้ เครื่องมือในการทดลอง ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน ถกู ตอ้ งแต่ไม่เหมาะสมกบั ไมถ่ กู ตอ้ ง งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ ใช้อปุ กรณ/์ เครื่องมอื ใน ใชอ้ ุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ใน ใชอ้ ปุ กรณ์/เครื่องมือใน เครื่องมือในการทดลอง การทดลองไดอ้ ยา่ ง การทดลองไดถ้ ูกตอ้ งตาม การทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว และถูกต้อง หลักการปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ การทดลองตามแผนที่ ตามหลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคลว่ ก�ำ หนด ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวิธกี ารและ ทดลองตามวธิ กี ารและ ขนั้ ตอนทกี่ �ำ หนดไว้อย่าง ขัน้ ตอนท่กี ำ�หนดไว้ มกี าร ข้ันตอนท่ีกำ�หนดไว้หรอื ถูกตอ้ ง มีการปรับปรุง ปรับปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ดำ�เนินการขา้ มขัน้ ตอนที่ แกไ้ ขเปน็ ระยะ กำ�หนดไว้ ไม่มกี าร ปรับปรงุ แก้ไข ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั กิ ารทดลองทีใ่ ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ 1. วางแผนการทดลองอยา่ งเป็นขั้นตอน 321 2. ป ฏบิ ตั กิ ารทดลองได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว สามารถเลอื กใช้ ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 อปุ กรณ์ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และจดั วางอุปกรณ์เปน็ หมายถึง หมายถึง หมายถึง ระเบียบ สะดวกตอ่ การใช้งาน ปฏบิ ัติได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 3. บันทกึ ผลการทดลองได้ถูกตอ้ งและครบถ้วนสมบรู ณ์ 3 ขอ้ 2 ข้อ 1 ขอ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

260 ภาคผนวก ชวี วิทยา เล่ม 1 ตัวอย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 32 1 เขียนรายงานตามลำ�ดบั ขนั้ ตอน เขียนรายงานการทดลอง เขียนรายงานโดยลำ�ดบั ขน้ั ตอน ผลการทดลองตรงตามสภาพจรงิ ตามล�ำ ดบั แต่ไม่สือ่ ความหมาย ไม่สอดคลอ้ งกัน และสื่อความหมาย และไม่สือ่ ความหมาย แบบประเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทปี่ รากฏให้เห็นในลกั ษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ช้ี ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เคร่ืองมือท่ใี ช้ประเมนิ คุณลักษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่างแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ค�ำ ช้ีแจง จงท�ำ เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องว่างที่ตรงกับคณุ ลักษณะทีน่ กั เรียนแสดงออก โดยจำ�แนกระดับพฤตกิ รรม การแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นั้นอย่างสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ เป็นครง้ั คราว นอ้ ย หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นักเรียนไมแ่ สดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านนั้ เลย รายการพฤติกรรมการแสดงออก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก ดา้ นความอยากรอู้ ยากเห็น มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. นักเรียนสอบถามจากผรู้ หู้ รอื ไปศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ แสดงออก เมือ่ เกดิ ความสงสัยในเรอื่ งราววิทยาศาสตร์ 2. น ักเรยี นชอบไปงานนทิ รรศการวิทยาศาสตร์ 3. น กั เรยี นนำ�การทดลองที่สนใจไปทดลองตอ่ ท่ีบ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 1 ภาคผนวก 261 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก ด้านความซอื่ สัตย์ มาก ปานกลาง น้อย ไมม่ กี าร 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามทีท่ ดลองได้จรงิ แสดงออก 2. เมื่อทำ�การทดลองผดิ พลาด นกั เรียนจะลอก ผลการทดลองของเพือ่ นส่งครู 3. เมื่อครมู อบหมายใหท้ �ำ ช้นิ งานออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ นกั เรยี นจะประดิษฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยู่ในหนงั สือ ด้านความใจกวา้ ง 1. แมว้ ่านกั เรยี นจะไมเ่ ห็นด้วยกบั การสรุปผลการทดลอง ในกลุ่ม แตก่ ย็ อมรับผลสรุปของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพือ่ นแย้งวธิ ีการทดลองของนกั เรียนและมเี หตผุ ลท่ี ดีกวา่ นกั เรยี นพรอ้ มท่จี ะน�ำ ขอ้ เสนอแนะของเพื่อนไป ปรับปรงุ งานของตน 3. เมื่องานทีน่ ักเรียนตัง้ ใจและทุ่มเทท�ำ ถูกตำ�หนหิ รอื โต้แย้ง นกั เรียนจะหมดกำ�ลังใจ ด้านความรอบคอบ 1. นกั เรียนสรุปผลการทดลองทันทเี ม่อื เสร็จสิน้ การทดลอง 2. นักเรยี นท�ำ การทดลองซ้�ำ ๆ ก่อนทีจ่ ะสรปุ ผล การทดลอง 3. น กั เรยี นตรวจสอบความพรอ้ มของอุปกรณ์ก่อนทำ� การทดลอง ด้านความมงุ่ มัน่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานคน้ คว้าทีท่ ำ�อยมู่ ีโอกาสส�ำ เร็จได้ยาก นกั เรียนจะยงั คน้ ควา้ ต่อไป 2. น ักเรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เม่อื ผลการทดลอง ทีไ่ ด้ขดั จากท่เี คยไดเ้ รยี นมา 3. เมือ่ ทราบวา่ ชุดการทดลองท่นี กั เรยี นสนใจต้องใช้ ระยะเวลาในการทดลองนาน นักเรยี นกเ็ ปลยี่ นไป ศึกษาชดุ การทดลองท่ีใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

262 ภาคผนวก ชวี วิทยา เลม่ 1 รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก เจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ มาก ปานกลาง น้อย ไม่มกี าร 1. น กั เรยี นนำ�ความรูท้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใชแ้ กป้ ญั หาใน แสดงออก ชวี ิตประจำ�วนั อยูเ่ สมอ 2. นกั เรียนชอบทำ�กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั วทิ ยาศาตร์ 3. นกั เรียนสนใจตดิ ตามขา่ วสารที่เกี่ยวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ วิธีการตรวจใหค้ ะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑโ์ ดยก�ำ หนดน�ำ้ หนกั ของตวั เลอื กในชอ่ งตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความท่ีมคี วามหมายเป็นทางบวก ก�ำ หนดให้คะแนนแต่ละขอ้ ความดังน้ี ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 สว่ นของขอ้ ความทมี่ คี วามหมายเปน็ ทางลบการก�ำ หนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะขอ้ ความจะ มีลกั ษณะเป็นตรงกันขา้ ม การประเมนิ การนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอื่น คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพ ดา้ นการเขยี นโดยใช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดังตัวอย่างต่อไปน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 1 ภาคผนวก 263 ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ เน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรุง เน้ือหาถูกต้องแต่ให้สาระสำ�คัญน้อยมาก และ พอใช้ ไมร่ ะบุแหล่งท่ีมาของความรู้ เน้ือหาถกู ตอ้ ง มีสาระสำ�คญั แต่ยงั ไม่ครบถ้วน มี ดี การระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เน้ือหาถูกต้อง มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และระบุ ดีมาก แหลง่ ท่มี าของความรู้ชัดเจน ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุด ประสงค์ ขาดการเช่ือมโยงเน้ือหาบางส่วน พอใช้ ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสม และสะกดคำ�ไม่ถูกต้อง ไม่อ้างอิงแหล่งท่ีมาของ ดี ความรู้ เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มีรายละเอียด ไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียบเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง ใช้ภาษา ถูกตอ้ ง อา้ งองิ แหล่งทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของ เร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมาของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็น สำ�คัญทั้งหมด เน้ือหาบางตอนเรียบเรียงไม่ ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อ้างองิ แหล่งทีม่ าของ ความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

264 ภาคผนวก ชีววทิ ยา เล่ม 1 รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดีมาก เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความส�ำ คญั และทมี่ าของปญั หา จดุ ประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ 2) การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย เป็นการประเมินเพื่อต้องการนำ�ผลการประเมิน ไปใช้พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ เกณฑ์ย่อย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุง การทำ�งานในสว่ นน้ัน ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มีตัวอย่างดังน้ี ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการวางแผน ต้องปรับปรุง พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ต่ไม่ ดี ตรงกับประเด็นปัญหาทีต่ ้องการเรียนรู้ ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เปน็ บางสว่ น ออกแบบครอบคลมุ ประเด็นส�ำ คญั ของปญั หา เป็นส่วนใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน ออกแบบไดค้ รอบคลุมทุกประเด็นส�ำ คญั ของ ปญั หาอย่างเป็นขน้ั ตอนทช่ี ดั เจนและตรงตาม จดุ ประสงคท์ ี่ต้องการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 1 ภาคผนวก 265 รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ด้านการด�ำ เนนิ การ ต้องปรบั ปรงุ ด�ำ เนนิ การไมเ่ ป็นไปตามแผน ใช้อปุ กรณ์และสอ่ื ประกอบถูกตอ้ งแตไ่ มค่ ล่องแคล่ว พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละส่ือ ดี ประกอบถกู ตอ้ งแต่ไม่คล่องแคล่ว ด�ำ เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อปุ กรณ์และสือ่ ดมี าก ประกอบการสาธติ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทันเวลา ผลงานในบางขั้นตอนไม่เป็นไปตามจุด ต้องปรบั ปรุง ประสงค์ พอใช้ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ุปกรณ์และสื่อ ดี ประกอบไดถ้ ูกต้อง คล่องแคลว่ และเสรจ็ ทัน ดีมาก เวลา ผลงานทกุ ขัน้ ตอนเปน็ ไปตามจุดประสงค์ ดา้ นการอธิบาย อธิบายไม่ถกู ต้อง ขัดแยง้ กบั แนวคดิ หลักทาง วิทยาศาสตร์ อธิบายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธบิ ายเปน็ แบบพรรณนาทวั่ ไปซ่ึงไม่ ค�ำ นงึ ถงึ การเช่ือมโยงกบั ปัญหาทำ�ให้เขา้ ใจยาก อธิบายโดยอาศยั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปัญหาแต่ขา้ มไปในบางขัน้ ตอน ใชภ้ าษาได้ถูกตอ้ ง อธบิ ายตามแนวคดิ หลักทางวทิ ยาศาสตร์ ตรง ตามประเด็นของปญั หาและจุดประสงค์ ใช้ ภาษาได้ถกู ต้องเข้าใจงา่ ย ส่อื ความหมายได้ ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

266 บรรณานุกรม ชีววิทยา เล่ม 1 บรรณานกุ รม กระทรวงพลงั งาน. (2554). พระบิดาแหง่ การพฒั นาพลังงานไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ส�ำ นักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำ�นกั งานปลดั กระทรวงพลังงาน. ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). ศพั ทว์ ทิ ยาศาสตร์ องั กฤษ-ไทย ไทย-องั กฤษ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน (พมิ พค์ รงั้ ที่ 5 แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ). กรงุ เทพฯ : หา้ งห้นุ สว่ นจ�ำ กดั อรณุ การพมิ พ์. สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชีววิทยา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4–6 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำ หรบั นกั เรยี นทเ่ี นน้ วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์คร้ังท่ี 9). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2558). หนังสือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ชีววิทยา เล่ม 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (พมิ พ์คร้งั ท่ี 9). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สำ�นกั งานราชบณั ฑิตยสภา. (2560). พจนานกุ รมศพั ท์พันธศุ าสตร์ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสภา (พิมพค์ ร้งั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : หา้ งหุ้นสว่ นจำ�กดั อรณุ การพิมพ.์ Appling, D. R., Anthony-Cahill, S. J., Mathews, C. K. (2016). Biochemistry Concepts and Connections (Global ed). London: Pearson Education Limited. Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Reece, J. B. (2018). Biology: A global approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Griffiths, A. J. F., Susan R. W., Sean B. C., & John D. (2012). Introduction to genetic analysis (10th ed). New York: W.H. Freeman and Company. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 1 บรรณานุกรม 267 Hardin, J., and Bertoni, G. (2016). Becker’s World Of The Cell (9Th Ed). Boston: Pearson Education, Inc. Mader, S. S., and Windelspecht, M. (2016). Biology (12th ed). New York: McGraw-Hill Education. Campbell, M.K. and Farrell, S.O. (2008). Biochemistry (6th ed). Canada: Nelson Education Limited. Moran, L. M., Horton, R. A., Scrimgeour, G., Perry, M. (2014). Principles of Biochemistry (5th ed). London: Pearson Education Limited. Audesirk, T., Audesirk G. and Byers, B.E. (2008). Biology : Life on Eearth with Physiology (8th ed). New York: Pearson Education Limited. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

268 ท่ีมาของรูป ชีววทิ ยา เล่ม 1 ท่ีมาของรปู รปู (หนา้ ) - เซลลป์ ระสาท (หน้าปก) ท่ีมา - สไปโรไจราภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงเชงิ เอ้ือเฟือ้ โดย ศ.ดร.ไพศาล สิทธิกรกุล คณะวิทยาศาสตร์ ประกอบ (147) มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 1 คณะกรรมการจัดท�ำ คมู่ ือครู 269 คณะกรรมการจัดทำ�คมู่ อื ครู รายวชิ าเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา เลม่ 1 ตามผลการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 คณะที่ปรึกษา ผู้อำ�นวยการ 1. ดร.พรพรรณ ไวทยางกรู สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ �ำ นวยการ 2. รศ.ดร.สญั ญา มติ รเอม สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผ้จู ัดท�ำ คมู่ อื ครู รายวชิ าเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่ม 1 1. รศ.ดร.ธรี พงษ์ บัวบชู า จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ดร.วนดิ า ธนประโยชนศ์ กั ด ิ์ ผชู้ ่วยผู้อำ�นวยการ 3. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธกิ รกลุ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. นายธีรพฒั น์ เวชชประสทิ ธิ์ ผเู้ ชยี่ วชาญพเิ ศษ 5. รศ.ดร.วีระวรรณ สทิ ธกิ รกุล สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นางเพช็ รรัตน์ ศรีวิลัย ผู้อ�ำ นวยการสาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย 7. ผศ.ดร.พัชนี สงิ หอ์ าษา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. นายณรงค์ พ่วงศร ี ผเู้ ชี่ยวชาญ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้เชีย่ วชาญ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

270 คณะกรรมการจดั ท�ำ คมู่ ือครู ชีววทิ ยา เล่ม 1 9. ดร.ปารวรี ์ เล็กประเสริฐ นักวชิ าการอาวุโสสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 10. นางสาววิลาส รตั นานกุ ลู สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11. ดร.ขวัญชนก ศรทั ธาสขุ นักวชิ าการสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย 12. ดร.ภัณฑิลา อดุ ร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 13. นางสาวปาณิก เวียงชยั นักวชิ าการสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวชิ าการสาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วชิ าการสาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผ้รู ว่ มพจิ ารณาคูม่ ือครู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เล่ม 1 1. รศ.ดร.ศภุ จติ รา ชัชวาลย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2. ผศ.ดร.ชัชวาล ใจซอื่ กลุ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 3. ผศ.ดร.มานิต คิดอยู ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ผศ.ดร.รัชนีกร ธรรมโชติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 5. อ.ดร.กิตตคิ ณุ วังกานนท ์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 6. นายวรี ะเดช ค�ำ ถาวร โรงเรียนหอวัง กรงุ เทพมหานคร 7. นางถนิมาภรณ์ ตง้ั ตรยั รตั นกุล โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา กรุงเทพมหานคร 8. นายสรุ เดช ศรีทา โรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพมหานคร 9. นางสาวนิภากรณ์ เกิดอน้ โรงเรยี นโยธินบูรณะ กรุงเทพมหานคร 10. นายชัยยศ นมุ่ กลิ่น โรงเรยี นศรบี ุณยานนท์ จ.นนทบุรี 11. นางศิรพิ ร ชนะพาล โรงเรียนจอมสรุ างค์อุปถมั ภ์ จ.อยธุ ยา 12. นายสิปป์แสง สุขผล โรงเรียนรัตนโกสนิ ทร์สมโภช จ.นครปฐม 13. นางสาววริ ญั ญา สขุ มี โรงเรียนพทั ลุง จ.พัทลงุ 14. นายอนรุ ทุ ธ์ิ หมีดเส็น โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลยั จ.นครศรธี รรมราช สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 1 คณะกรรมการจัดท�ำ ค่มู ือครู 271 15. นางวรรณวภิ า เบญจเลศิ ยานนท ์ โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภเู กต็ จ.ภเู กต็ 16. นายสรุ เดช เอ่งฉว้ น โรงเรยี นอ่าวลกึ ประชาสรรค์ จ.กระบ่ี 17. นายนราธิป ประสมบรู ณ์ โรงเรียนนารนี กุ ลู จ.อบุ ลราชธานี 18. นางราษี สบื โมรา โรงเรยี นพยัคฆภมู ิวทิ ยาคาร จ.มหาสารคาม 19. นายฉัตรชยั ชัยนนถ ี โรงเรยี นสงู เมน่ ชนูปถัมภ์ จ.แพร่ 20. นางสาวณัฎยา สุรยิ นต์ โรงเรียนสามคั ควี ยิ าคม จ.เชยี งราย 21. นางสาวอภิวลั ย์ มาสชรตั น ์ โรงเรียนพิษณโุ ลกพิทยาคม จ.พิษณุโลก 22. นายวรรณพฤกษ์ เทียมเดช โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จ.เพชรบุรี 23. ดร.สนุ ัดดา โยมญาต ิ ผูช้ ำ�นาญสาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 24. ดร.นันทยา อคั รอารยี ์ นักวิชาการสาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 25. นางสาวปุณยาพร บรเิ วธานันท ์ นกั วชิ าการสาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะบรรณาธกิ าร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 1. รศ.ดร.ธรี พงษ์ บัวบูชา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. รศ.ดร.ศภุ จติ รา ชชั วาลย ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 3. ผศ.ดร.ชัชวาล ใจซ่ือกลุ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 4. ผศ.ดร.มานติ คดิ อยู ่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 5. ผศ.ดร.รชั นีกร ธรรมโชต ิ ผูช้ ว่ ยผู้อำ�นวยการ 6. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ด ิ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผเู้ ชีย่ วชาญพิเศษ 7. ศ.ดร.ไพศาล สิทธิกรกลุ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อ�ำ นวยการสาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 8. นายธีรพฒั น์ เวชชประสิทธ ์ิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี