Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 12:10:22

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู่ อิื ครู รายวชิ าพน้ื ฐาน ๕ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ววทิ ทิ ยยาาศศาาสสตตรร์ ์ เลเม่ ลม่ ๑๑ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑



คมู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เลม ๑ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวช้ีวดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จดั ทาํ โดย สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ



คําช้แี จง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถท่ีทัดเทียมกับ นานาชาติ ไดเ รยี นรูวิทยาศาสตรท เ่ี ช่ือมโยงความรกู บั กระบวนการในการสบื เสาะหาความรูและการแกปญหาท่ี หลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปน้ี โรงเรียนจะตองใชหลักสูตรกลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนท่ีเปนไปตามมาตรฐาน การเรยี นรูและตวั ช้วี ดั ของหลกั สตู รเพื่อใหโ รงเรียนไดใชส ําหรบั จัดการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมน้ี สสวท. ไดพัฒนาขึ้น เพ่ือนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษา ปท่ี ๕ เลม ๑ โดยภายในคมู อื ครปู ระกอบดวยผังมโนทัศน ตัวชี้วัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ งระหวา งเนื้อหาและกจิ กรรมในหนังสือเรียนกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การสํารวจตรวจสอบ การฝก ปฏิบัติ การปฏบิ ัติการทดลอง การสืบคนขอมูล และการอภิปราย โดยมีเปาหมายใหนักเรียนพัฒนาท้ัง ดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการ สืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การส่ือสาร การแกปญหา ตลอดจนการนําความรูไปใชใน ชีวิตประจําวันอยางมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหงการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ นกั วชิ าการ และครูผสู อน จากสถาบันการศึกษาตาง ๆ จงึ ขอขอบคณุ ไว ณ ท่ีน้ี สสวท. หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ จะเปนประโยชนแกครูและผูเกี่ยวของทุกฝาย ที่จะชวยใหการจัด การศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดท่ีจะทําใหคูมือครูเลมนี้ สมบรู ณย ่งิ ข้ึน โปรดแจง สสวท. ทราบดว ย จกั ขอบคุณย่งิ (ศาสตราจารยชกู ิจ ลมิ ปจ ํานงค) ผอู ํานวยการสถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญกระทรวงศกึ ษาธิการ หนา คาํ ชีแ้ จง เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร......................................................................................... ก คณุ ภาพของผูเรยี นวิทยาศาสตร เมื่อจบชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6......................................................................... ข ทกั ษะที่สําคัญในการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ..........................................................................................................ง ผงั มโนทัศน (concept map) รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ช้นั ประถมศึกษาปที่ 5 เลม 1............................... ซ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง วิทยาศาสตร ป.5 เลม 1............................................................................ ฌ ขอ แนะนาํ การใชคูมือครู................................................................................................................................... ฎ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรใ นระดับประถมศึกษา ............................................................................ น การจดั การเรียนการสอนท่ีเนนการสบื เสาะหาความรูท างวิทยาศาสตร............................................................. น การจัดการเรยี นการสอนท่สี อดคลอ งกับธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร ................................................................. ป และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรูวิทยาศาสตร............................................................................................. ฝ ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเน้ือหาและกจิ กรรม ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที่ 5 เลม 1...........................ภ กับตัวชวี้ ัดหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) รายการวสั ดุอุปกรณว ิทยาศาสตร ป.5 เลม 1....................................................................................................ร หนว ยที่ 1 การเรยี นรสู ง่ิ ตาง ๆ รอบตวั 1 ภาพรวมการจดั การเรียนรูประจําหนว ยที่ 1 การเรียนรสู ิ่งตาง ๆ รอบตวั ...................................................1 บทที่ 1 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร..........................................................................................3 บทน้เี ร่ิมตนอยางไร ..................................................................................................................................... 6 เร่ืองที่ 1 เสนทางของขยะจากมอื เรา......................................................................................................... 13 กจิ กรรมที่ 1 จัดกระทาํ และสื่อความหมายขอมูลและสรา งแบบจาํ ลองไดอยางไร........................ 18 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร......................................................................... 36 แนวคําตอบในแบบฝกหดั ทายบท 38 บรรณานุกรมหนวยท่ี 1 การเรยี นรูส งิ่ ตา ง ๆ รอบตวั 44

หนวยท่ี 2 แรงและพลงั งาน สารบญั ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู ระจําหนวยที่ 2 แรงและพลังงาน หนา บทท่ี 1 แรงลพั ธและแรงเสียดทาน บทนเ้ี รมิ่ ตนอยางไร 45 เรือ่ งท่ี 1 แรงลัพธ 45 47 กจิ กรรมท่ี 1 หาแรงลพั ธที่กระทําตอวัตถุไดอยางไร 50 เรือ่ งที่ 2 แรงเสยี ดทาน 56 60 กจิ กรรมที่ 2 แรงเสียดทานมีผลตอวตั ถุอยางไร 79 กิจกรรมทา ยบทที่ 1 แรงลัพธแ ละแรงเสียดทาน 83 แนวคาํ ตอบในแบบฝกหดั ทายบท 100 บทที่ 2 เสยี ง 102 บทนีเ้ รมิ่ ตนอยา งไร 105 เร่อื งที่ 1 เสยี งกับการไดยิน 108 112 กจิ กรรมท่ี 1.1 เสยี งเคลื่อนทไ่ี ดอยางไร 116 กจิ กรรมท่ี 1.2 เสียงสูง เสยี งต่าํ เกิดไดอ ยางไร 133 กิจกรรมท่ี 1.3 เสยี งดัง เสียงคอย ขึ้นอยูก ับอะไร 151 กิจกรรมท่ี 1.4 มลพษิ ทางเสียงเปน อยา งไร 168 กิจกรรมทา ยบทท่ี 2 เสยี ง 180 แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท 182 บรรณานกุ รมหนว ยที่ 2 แรงและพลังงาน 184

ก คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 เปา หมายของการจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเก่ียวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติแลวนําผลท่ีไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากท่ีสุด นน่ั คอื ใหเกิดการเรียนรูทัง้ กระบวนการและองคค วามรู การจัดการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรในสถานศึกษามเี ปาหมายสาํ คัญ ดงั นี้ 1. เพื่อใหเขา ใจแนวคดิ หลักการ ทฤษฎี กฎและความรูพ้ืนฐานของวิทยาศาสตร 2. เพื่อใหเ ขา ใจขอบเขตธรรมชาติของวิทยาศาสตร และขอ จํากัดของวิทยาศาสตร 3. เพื่อใหม ที ักษะทสี่ าํ คัญในการสืบเสาะหาความรแู ละพัฒนาเทคโนโลยี 4. เพ่ือใหตระหนักถึงการมีผลกระทบซ่ึงกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ ส่ิงแวดลอม 5. เพ่ือนําความรู แนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สังคมและการดาํ รงชวี ิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การส่ือสาร และความสามารถในการประเมนิ และตัดสินใจ 7. เพ่ือใหเปนผูท่ีมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยางสรางสรรค  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ข คุณภาพของนกั เรยี นวิทยาศาสตร เมื่อจบช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6 นักเรียนที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ควรมีความรู ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดงั นี้ 1. เขาใจโครงสราง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของส่ิงมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตใน แหลง ทอ่ี ยู การทําหนา ทข่ี องสวนตาง ๆ ของพชื และการทํางานของระบบยอยอาหารของมนุษย 2. เขาใจสมบัติและการจําแนกกลุมของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร การละลาย การเปลย่ี นแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลบั ไดและผันกลับไมไ ด และการแยกสารอยางงา ย 3. เขาใจลักษณะของแรงโนมถวงของโลก แรงลัพธ แรงเสียดทาน แรงไฟฟาและผลของแรงตางๆ ผลที่ เกิดจากแรงกระทําตอ วตั ถุ วงจรไฟฟาอยา งงา ย ปรากฏการณเบือ้ งตนของเสียง และแสง 4. เขาใจปรากฏการณการขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร องคประกอบ ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ การข้ึน และตกของกลุมดาวฤกษ การใชแผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชนของเทคโนโลยี อวกาศ 5. เขาใจลักษณะของแหลงนํ้า วัฏจักรนํ้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง นํ้าคางแข็ง หยาดนํ้าฟา กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใชประโยชนหินและแร การเกิดซากดึกดําบรรพ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณเรือนกระจก 6. คน หาขอมูลอยางมปี ระสทิ ธิภาพและประเมนิ ความนาเชือ่ ถอื ตดั สินใจเลือกขอมูลใชเหตุผลเชิงตรรกะ ในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทํางานรวมกัน เขาใจสิทธิและหนาที่ ของตน เคารพสิทธิของผูอ นื่ 7. ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาเกี่ยวกับสิ่งท่ีจะเรียนรูตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ คาดคะเน คําตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานท่ีสอดคลองกับคําถามหรือปญหาที่จะสํารวจตรวจสอบ วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการ เก็บรวบรวมขอ มูลท้งั เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ 8. วิเคราะหขอมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธของขอมูลท่ีมาจากการสํารวจตรวจสอบใน รูปแบบท่ีเหมาะสม เพื่อสื่อสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบไดอยางมีเหตุผลและหลักฐาน อา งอิง 9. แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น ในส่ิงที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามความ สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอมูลท่ีมีหลักฐานอางอิง และรับฟงความ คดิ เห็นผูอน่ื สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ค คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 10. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จน งานลุลวงเปนผลสําเร็จ และทํางานรวมกับผอู ่นื อยา งสรา งสรรค 11. ตระหนักในคณุ คาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการดํารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกยอง และเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคนและศึกษาหาความรู เพิ่มเติม ทําโครงงานหรอื ชนิ้ งานตามที่กําหนดใหห รอื ตามความสนใจ 12. แสดงถึงความซาบซ้ึง หวงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอมอยา งรคู ุณคา  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ง ทกั ษะที่สําคญั ในการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ทักษะสําคัญที่ครูครูจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับนักเรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอ่ืนๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ประกอบดวย ทกั ษะการสงั เกต (Observing) เปนความสามารถในการใชป ระสาทสัมผัสอยางใดอยางหน่ึง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผสู งั เกต ประสาทสมั ผสั ท้ัง 5 ไดแก การดู การฟงเสยี ง การดมกลิ่น การชมิ รส และการสมั ผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของส่ิงตาง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใชออกมาเปน ตวั เลขไดถกู ตองและรวดเร็ว พรอ มระบุหนว ยของการวัดไดอยางถกู ตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเก่ียวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย เกบ็ รวบรวมไวในอดีต ทกั ษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปนความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม ส่ิงตาง ๆ ที่สนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หน่งึ ของสิง่ ตาง ๆ ท่ตี อ งการจําแนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พ้ืนที่ท่ีวัตถุครอบครอง ในท่ีน้ีอาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ ส่ิงเหลานี้อาจมีความสัมพันธกัน ดงั นี้ การหาความสมั พันธร ะหวา งสเปซกับสเปซ เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ท่ี ที่ วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

จ คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 การหาความสมั พันธร ะหวางสเปซกับเวลา เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ (Relationship between Space and Time) สัมพันธกันระหวางพ้ืนที่ท่ีวัตถุครอบครอง เมื่อเวลาผา นไป ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคํานวณเพ่ือบรรยายหรือระบุรายละเอยี ดเชงิ ปรมิ าณของส่งิ ที่สังเกตหรอื ทดลอง ทักษะการจัดกระทําและส่ือความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปน ความสามารถในการนาํ ผลการสังเกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบที่ มคี วามหมายหรือมีความสัมพนั ธกันมากขน้ึ จนงายตอ การทาํ ความเขาใจหรอื เห็นแบบรูปของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพ่อื สอื่ สารใหผ ูอ ื่นเขา ใจความหมายของขอมลู มากขนึ้ ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองท่ีไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณที่ แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดท่ีถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการต้ังสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนดําเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพ้ืนฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความท่ีบอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซ่ึงอาจเปนไปตามท่ี คาดการณไวหรือไมก็ได ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของส่งิ ตา ง ๆ ท่อี ยูใ นสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง ใหเ ขาใจตรงกัน และสามารถสงั เกตหรอื วัดได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ทั้งตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน ซ่ึงอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับการทดลอง ไดแก ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีตองควบคมุ ใหคงที่ ซ่งึ ลวนเปนปจจัยท่เี ก่ียวของกับการทดลอง ดงั นี้ ตัวแปรตน (Independent Variable) หมายถึง ส่ิงทีเ่ ปน ตนเหตทุ ําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง จึงตอง จดั สถานการณใหม ีส่ิงนแ้ี ตกตางกัน ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง ส่ิงท่ีเปนผลจากการจัดสถานการณบางอยางให แตกตา งกนั และเราตองสังเกต วดั หรอื ติดตามดู  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ฉ ตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงท่ี (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งตาง ๆ ท่ีอาจสงผลตอการจัด สถานการณ จึงตองจัดสิง่ เหลาน้ีใหเหมือนกันหรือเทากัน เพ่ือใหม่ันใจวาผลจากการจัดสถานการณเกิดจากตัว แปรตนเทา น้นั ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยา งรอบคอบ และสอดคลอ งกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึง ความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองไดละเอียด ครบถวน และเทีย่ งตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลท่ีมีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรปุ ความสัมพันธของขอ มลู ทั้งหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชส่ิงที่ทํา ขึ้นมาเพ่ือเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณที่ศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอื่นเขาใจในรูป ของแบบจําลองแบบตา ง ๆ ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะท่ีจําเปนแหงศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงสอดคลองกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศกึ ษาจะเนน ใหค รูครสู ง เสริมใหน กั เรียนมีทกั ษะ ดงั ตอ ไปน้ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ มีการคิดอยางเปนระบบ วิเคราะห ประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณและกระบวนการเรยี นรู การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแกปญหาท่ีไมคุนเคย หรือ ปญ หาใหม โดยอาจใชค วามรู ทักษะ วธิ ีการและประสบการณท่ีเคยรูมาแลว หรือการสบื เสาะหาความรู วิธีการ ใหมมาใชแกปญหาก็ได นอกจากน้ียังรวมถึงการซักถามเพ่ือทําความเขาใจมุมมองท่ีแตกตาง หลากหลาย เพ่อื ใหไดว ธิ แี กปญ หาทด่ี ยี ่งิ ขึ้น การสื่อสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารไดอยางชัดเจน เชื่อมโยง เรียบเรียงความคิดเเละมุมมองตาง ๆ แลวส่ือสารโดยการใชคําพูด หรือการเขียน เพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจได สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ช คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 หลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงคนอกจากนี้ยังรวมไปถึงการฟงอยางมีประสิทธิภาพเพ่ือใหเขาใจ ความหมายของผูสง สาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุมตาง ๆ ที่ หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีที่จะประนีประนอม เพ่ือใหบรรลุ เปาหมายการทํางาน พรอ มทงั้ ยอมรบั และแสดงความรบั ผิดชอบตองานท่ที าํ รวมกัน และเห็นคุณคาของผลงาน ท่พี ฒั นาข้ึนจากสมาชิกแตล ะคนในทีม การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคท่ีหลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกลน่ั กรอง ทบทวน วเิ คราะห และประเมินแนวคิด เพื่อปรับปรุงใหไดแนวคิดท่ีจะสงผลให ความพยายามอยางสรา งสรรคน ้เี ปน ไปไดมากท่สี ดุ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง ความสามารถในการการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเปนเคร่ืองมือสืบคน จัด กระทํา ประเมินและส่ือสารขอมูลความรูตลอดจนรูเทาทันสื่อโดยการใชสื่อตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมมี ประสิทธิภาพ  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ซ ผงั มโนทศั น (concept map) รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 5 เลม 1 เนื้อหาการเรียนรูว ชิ าวิทยาศาสตร ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 5 เลม 1 ประกอบดวย หนว ยท่ี 1 การเรยี นรสู ่งิ ตาง ๆ หนว ยท่ี 2 แรงและพลงั งาน หนว ยท่ี 3 การเปล่ียนแปลง รอบตัว ไดแ ก ของสาร ไดแ ก แรงลพั ธ ไดแก เสนทางของขยะ การเปลยี่ นสถานะ จากมอื เรา แรงเสยี ดทาน การละลาย เสียงกับการไดย นิ การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลย่ี นแปลงท่ีผัน กลับไดแ ละผันกลบั ไมได สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฌ คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ตวั ช้ีวัดชัน้ ป สาระการเรยี นรแู กนกลาง ว 2.1 ป.5/1  การเปล่ียนสถานะของสสารเปนการเปลี่ยนแปลงทาง อธบิ ายการเปลย่ี นสถานะของสสาร เมอื่ ทําให กายภาพ เมื่อเพ่ิมความรอนใหกับสสารถึงระดับหน่ึงจะ สสารรอนขึ้นหรือเย็นลง โดยใชหลักฐานเชิง ทําใหสสารที่เปนของแข็งเปล่ียนสถานะเปนของเหลว ประจกั ษ เรียกวา การหลอมเหลวและเมื่อเพิ่มความรอนตอไป จนถงึ อีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปล่ียนเปนแกส เรียกวา การกลายเปนไอ แตเม่ือลดความรอนลงถึงระดับหนึ่ง แกสจะเปล่ียนสถานะเปนของเหลว เรียกวา การ ควบแนน และถาลดความรอนตอไปอีกจนถึงระดับหน่ึง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเปนของแข็ง เรียกวา การ แข็งตัว สสารบางชนิดสามารถเปล่ียนสถานะจาก ของแข็งเปนแกสโดยไมผานการเปนของเหลว เรียกวา การระเหดิ สว นแกสบางชนิดสามารถเปล่ียนสถานะเปน ของแขง็ โดยไมผานการเปน ของเหลว เรียกวา การระเหดิ กลับ ว 2.1 ป.5/2  เมื่อใสสารลงในน้าํ แลวสารน้ันรวมเปนเนื้อเดียวกันกับนํ้า อธิบายการละลายของสารในนํ้า โดยใช ทั่วทุกสวน แสดงวาสารเกิดการละลาย เรียกสารผสมที่ หลกั ฐานเชิงประจักษ ไดว าสารละลาย ว 2.1 ป.5/3  เมื่อผสมสาร 2 ชนิดขึ้นไปแลวมีสารใหมเกิดขึ้นซ่ึงมี วเิ คราะหการเปลี่ยนแปลงของสารเมือ่ เกิดการ สมบัติตางจากสารเดิมหรือเมื่อสารชนิดเดียวเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใชหลักฐานเชิง เปล่ียนแปลงแลวมีสารใหมเกิดข้ึนการเปล่ียนแปลงน้ี ประจักษ เรียกวา การเปล่ียนแปลงทางเคมี ซึ่งสังเกตไดจากมีสี หรือกล่ินตา งจากสารเดิม หรือมีฟองแกส หรือมีตะกอน เกดิ ขึน้ หรือมกี ารเพิม่ ขน้ึ หรอื ลดลงของอุณหภูมิ ว 2.1 ป.5/4  เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแลว สารสามารถเปลี่ยนกลับ วิเคราะหและระบกุ ารเปลี่ยนแปลงทผี่ ันกลบั ได เปน สารเดิมได เปนการเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได เชน การ และการเปลีย่ นแปลงทผ่ี นั กลบั ไมได หลอมเหลว การกลายเปนไอการละลาย แตสารบางอยาง เกิดการเปลี่ยนแปลงแลวไมสามารถเปลี่ยนกลับเปน สารเดิมไดเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได เชน การ เผาไหม การเกิดสนิม ว 2.2 ป.5/1  แรงลพั ธเปน ผลรวมของแรงท่ีกระทาํ ตอวัตถุ โดยแรงลัพธ อธิบายวิธีการหาแรงลัพธของแรงหลายแรงใน ของแรง 2 แรงที่กระทําตอวัตถุเดียวกันจะมีขนาด แนว เทากับผลรวมของแรงท้ังสองเม่ือแรงทั้งสองอยูในแนว  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ญ ตวั ช้วี ดั ชัน้ ป สาระการเรียนรูแกนกลาง เดียวกนั ท่กี ระทาํ ตอวัตถุในกรณีท่วี ัตถุอยูน่ิง เดียวกันและมีทิศทางเดียวกันแตจะมีขนาดเทากับ จากหลักฐานเชิงประจักษ ผลตางของแรงท้ังสองเม่ือแรงทั้งสองอยูในแนวเดียวกัน ว 2.2 ป.5/2 แตมีทิศทางตรงขามกัน สําหรับวัตถุที่อยูน่ิงแรงลัพธที่ เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทําตอวัตถุท่ีอยู กระทาํ ตอวัตถมุ ีคาเปน ศูนย ในแนวเดียวกันและแรงลัพธท ก่ี ระทําตอวตั ถุ  การเขียนแผนภาพของแรงทกี่ ระทําตอวัตถุสามารถเขียน ว 2.2 ป.5/3 ไดโดยใชลูกศร โดยหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง และ ใชเ คร่ืองชั่งสปริงในการวดั แรงทก่ี ระทําตอ วัตถุ ความยาวของลกู ศรแสดงขนาดของแรงที่กระทําตอ วัตถุ ว 2.2 ป.5/4  แรงเสียดทานเปนแรงที่เกิดข้ึนระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ ร ะ บุ ผ ล ข อ ง แ ร ง เ สี ย ด ท า น ที่ มี ต อ ก า ร เพื่อตานการเคลื่อนที่ของวัตถุน้ัน โดยถาออกแรงกระทํา เปลีย่ นแปลงการเคลอื่ นท่ขี องวัตถุจากหลักฐาน ตอวัตถุท่ีอยูนิ่งบนพ้ืนผิวหนึ่งใหเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน เชงิ ประจกั ษ จากพ้ืนผิวน้ันก็จะตานการเคลื่อนท่ีของวัตถุ แตถาวัตถุ ว 2.2 ป.5/5 กําลังเคล่ือนท่ีแรงเสียดทานก็จะทําใหวัตถุน้ันเคลื่อนท่ีชา เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรง ลงหรอื หยดุ น่ิง ที่อยใู นแนวเดยี วกันทก่ี ระทาํ ตอ วัตถุ ว 2.3 ป.5/1  การไดยินเสียงตองอาศัยตัวกลาง โดยอาจเปนของแข็ง อธิบายการไดยินเสียงผานตัวกลางจาก ของเหลว หรอื อากาศ เสียงจะสงผานตัวกลางมายังหู หลักฐานเชิงประจกั ษ ว 2.3 ป.5/2  เสยี งทไ่ี ดยินมีระดบั สูงต่ําของเสียงตางกันข้ึนกับความถ่ีของ ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและ การส่ันของแหลงกําเนิดเสียง โดยเมื่อแหลงกําเนิดเสียงส่ัน การเกดิ เสียงสงู เสยี งตา่ํ ดวยความถ่ตี ํา่ จะเกดิ เสยี งตา่ํ แตถาสั่นดวยความถ่ีสูงจะเกิด ว 2.3 ป.5/3 เสยี งสงู สวนเสียงดังคอยที่ไดย นิ ขน้ึ กับพลังงานการส่ันของ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและ แหลงกําเนิดเสียง โดยเมื่อแหลงกําเนิดเสียงส่ันดวย การเกิดเสียงดงั เสยี งคอ ย พลังงานมากจะเกดิ เสยี งดัง แตถาแหลงกําเนิดเสียงส่ันดวย ว 2.3 ป.5/4 พลงั งานนอยจะเกิดเสยี งคอย วัดระดบั เสียงโดยใชเ คร่ืองมือวัดระดับเสียง  เสียงดังมาก ๆ เปนอันตรายตอการไดยินและเสียงที่ กอใหเกิดความรําคาญเปนมลพิษทางเสียงเดซิเบลเปน ว 2.3 ป.5/5 หนว ยท่ีบอกถงึ ความดังของเสียง ตระหนักในคุณคาของความรเู ร่ืองระดับเสยี ง โดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เลีย่ งและลด มลพิษทางเสยี ง สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฎ คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ขอ แนะนาํ การใชค มู ือครู คมู อื ครูเลม นจี้ ดั ทาํ ข้ึนเพอ่ื ใชเปน แนวทางการจดั กิจกรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียน จะไดฝก ทกั ษะจากการทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ท้งั การสงั เกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การอภิปราย การทํางานรว มกัน ซ่งึ เปนการฝก ใหน กั เรยี นชางสงั เกต รูจักตั้งคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบปญหาตาง ๆ ไดด วยตนเอง ทัง้ นีโ้ ดยมเี ปาหมายเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด ดังน้ันในการจัดการ เรียนรูครูจึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูจากสื่อและแหลงการ เรียนรูตาง ๆ และเพ่ิมเติมขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรูดวย ตนเอง เพื่อใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมน้ีมากที่สุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละหัวขอ และขอ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี 1. สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรูแกนกลางเปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีปรากฏใน มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดไวเฉพาะสวนท่ีจําเปนสําหรับเปนพื้นฐาน เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพ้ืนฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน โดยสอดคลองกับสาระและ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระ ที่ปรากฏอยูตามสาระการเรียนรูโดยสถานศึกษาสามารถพฒั นาเพ่ิมเติมไดตามความเหมาะสม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบดวยการ ออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้เพื่อเอ้ือตอการจัดการเรียนรูบูรณาการสาระ ทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กบั กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม ตามแนวคิดสะเตม็ ศกึ ษา 2. ภาพรวมการจดั การเรียนรปู ระจําหนวย ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนวยมีไวเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวช้ีวัดท่ีจะไดเรียนในแตละกิจกรรมของหนวยนั้น ๆ และเปนแนวทางใหครูครูนําไปปรับปรุงและ เพิม่ เตมิ ตามความเหมาะสม 3. จุดประสงคการเรยี นรู แตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียนทั้ง สวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูท่ีสอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปเพื่อให นักเรียนเกิด การเรียนรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ ในสถานการณใหม มที ักษะในการใชเ ทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถอยูในสังคมไทยไดอ ยางมีความสุข  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ฏ 4. บทนมี้ ีอะไร สว นทีบ่ อกรายละเอียดในบทน้นั ๆ ซึ่งประกอบดวยชอ่ื เรื่อง คําสาํ คัญ และชื่อกิจกรรม เพ่ือครูจะ ไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตล ะบท 5. ส่ือการเรยี นรแู ละแหลงเรยี นรู สวนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูที่ตองใชสําหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมน้ัน ๆ โดยส่ือการเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต สื่อส่ิงพิมพ ส่ือโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ ทางวทิ ยาศาสตรเพอ่ื เสริมสรางความมนั่ ใจในการสอนปฏิบตั ิการวิทยาศาสตรส ําหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 ทักษะที่นักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเปน ทักษะที่นักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 เปนทักษะที่ชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพือ่ ใหท ันตอ การเปลยี่ นแปลงของโลก สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฐ คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 วดี ิทัศนต ัวอยางการปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตรสาํ หรบั ครเู พ่ือฝก ฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต าง ๆ มีดังนี้ รายการวดี ทิ ศั นตวั อยา งการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code ปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตร วีดิทัศน การสงั เกตและการลง การสงั เกตและการลง http://ipst.me/8115 ความเห็นจากขอ มูล ความเหน็ จากขอมลู ทาํ ไดอยางไร วีดิทศั น การวัดทาํ ไดอ ยา งไร การวดั http://ipst.me/8116 วีดิทศั น การใชต วั เลข การใชจํานวน http://ipst.me/8117 ทาํ ไดอยา งไร วดี ทิ ัศน การจําแนกประเภท การจาํ แนกประเภท http://ipst.me/8118 ทําไดอยา งไร วีดิทศั น การหาความสมั พันธ การหาความสมั พนั ธ http://ipst.me/8119 ระหวางสเปซกบั สเปซ ระหวา งสเปซกบั สเปซ http://ipst.me/8120 http://ipst.me/8121 ทาํ ไดอยางไร http://ipst.me/8122 วีดิทศั น การหาความสัมพันธ การหาความสัมพันธ ระหวา งสเปซกบั เวลา ระหวา งสเปซกับเวลา ทําไดอยางไร วีดทิ ศั น การจัดกระทาํ และส่อื การจัดกระทาํ และสือ่ ความหมายขอมลู ความหมายขอมลู ทําไดอยา งไร วดี ิทศั น การพยากรณ การพยากรณ ทาํ ไดอยางไร  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ฑ รายการวีดทิ ศั นตัวอยา งการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code ปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตร http://ipst.me/8123 วีดิทัศน ทาํ การทดลองได การทดลอง อยางไร วดี ิทศั น การตงั้ สมมติฐานทําได การตง้ั สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 อยา งไร วดี ิทศั น การกําหนดและ การกําหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคมุ ตัวแปรและ ตวั แปรและ การกําหนดนิยามเชิง การกําหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการทําได ปฏบิ ัตกิ าร อยา งไร การตคี วามหมายขอมลู และ http://ipst.me/8126 วีดทิ ศั น การตีความหมาย ลงขอ สรุป ขอ มูลและลงขอสรปุ ทําไดอยา งไร การสรางแบบจําลอง http://ipst.me/8127 วดี ทิ ศั น การสรางแบบจําลอง ทาํ ไดอยา งไร สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฒ คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 7. แนวคิดคลาดเคลือ่ น ความเชื่อ ความรู หรือความเขาใจที่ผิดหรือคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เน่ืองจาก ประสบการณใ นการเรียนรูทีร่ ับมาผิดหรือนําความรูที่ไดรับมาสรุปตามความเขาใจของตนเองผิด แลว ไมส ามารถอธบิ ายความเขาใจน้ันได ดังน้ันเมื่อเรียนจบบทน้ีแลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคล่ือนของ นกั เรยี นใหเ ปนแนวคิดท่ถี กู ตอ ง 8. บทน้เี รม่ิ ตน อยา งไร แนวทางสําหรับครูในการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรเพื่อสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผล ครูควรกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยและใหนักเรียน ตอบคําถามสํารวจความรูกอนเรียน จากน้ันครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนและยังไมเฉลย คําตอบทถี่ ูกตอง เพือ่ ใหน กั เรยี นไปหาคําตอบจากเรอื่ งและกจิ กรรมตา ง ๆ ในบทนั้น 9. เวลาท่ใี ช การเสนอแนะเวลาทีใ่ ชในการจดั การเรยี นการสอนวา ควรใชป ระมาณกช่ี ว่ั โมง เพ่ือชว ยใหครูครูได จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาไดตาม สถานการณและความสามารถของนักเรยี น 10. วัสดอุ ุปกรณ รายการวัสดุอุปกรณทั้งหมดทั้งหมดสําหรับการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณ สาํ เร็จรูป อุปกรณพื้นฐาน หรอื อน่ื ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนา สําหรบั ครู เพอื่ จดั การเรยี นรใู นคร้งั ถดั ไป การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับการจัดการเรียนรูในคร้ังถัดไป เพื่อครูจะไดเตรียมส่ือ อุปกรณ เครอื่ งมอื ตาง ๆ ที่ตองใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพท่ีใชการไดดีและมีจํานวนเพียงพอกับนักเรียน โดย อาจมบี างกจิ กรรมตองทําลวงหนา หลายวัน เชน การเตรยี มถุงปริศนาและขาวโพดคัว่ หรอื สิ่งท่กี ินได ขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ นักเรยี นในระดับชัน้ ประถมศึกษา มีกระบวนการคิดทีเ่ ปนรูปธรรม ครูจึงควรจัดการเรียนการ สอนท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดปฏิบัติหรือทําการทดลองดวยตนเอง ซ่ึงเปนวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะไดมี ประสบการณตรง ดังนั้นครูครจู ึงตองเตรยี มตวั เองในเรื่องตอไปน้ี 11.1 บทบาทของครู ครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูชี้นําหรือผูถายทอดความรูเปนผู ชวยเหลือ โดยสงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากส่ือและแหลงการ เรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลท่ีถูกตองแกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดนําขอมูลเหลาน้ันไปใช สรางสรรคค วามรูของตนเอง 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนใหมีความพรอมในการทํา กิจกรรมตาง ๆ แตบางคร้ังนักเรียนไมเขาใจและอาจจะทํากิจกรรมไมถูกตอง ดังนั้นครูจึง ตอ งเตรียมตวั เอง โดยทําความเขาใจในเรอื่ งตอ ไปน้ี  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ณ การสืบคนขอมูลหรือการคนควาดวยวิธีการตาง ๆ เชน สอบถามจากผูรูในทองถ่ิน ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อานหนังสือหรือเอกสารเทาท่ีหาได น่ันคือการใหนักเรียนเปนผูหา ความรูและพบความรหู รือขอมูลดว ยตนเอง ซงึ่ เปน การเรียนรดู ว ยวิธีแสวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวิธี เชน ใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองที่ไดรับ มอบหมายใหไ ปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากน้ีอาจใหวาดรูป หรือตัด ขอ ความจากหนังสอื พิมพ แลวนํามาติดไวในหอ ง เปนตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออื่น ๆ เพื่อสรางองคความรู เปนสิ่งสําคัญยิ่งตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูครูสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดทั้งใน หองเรียน นอกหองเรียนหรือท่ีบาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง อาจใชอุปกรณที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติ ขอสําคัญ คือ ครูครู ตองใหนักเรียนทราบวา ทําไมจึงตองทํากิจกรรมนั้น และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจาก การทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซึ่งจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรพ รอ มกับเกิดคา นยิ ม คณุ ธรรม เจตคติทางวทิ ยาศาสตรด วย 12. แนวการจดั การเรยี นรู แนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรที่มุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวย ตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการทาง วิทยาศาสตรไ ปใช วธิ กี ารจดั การเรยี นรูที่ สสวท. เห็นวาเหมาะสมท่ีจะนํานักเรียนไปสูเปาหมายที่กําหนด ไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซ่ึงมีองคประกอบท่ีสําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสํารวจ ตรวจสอบ และอภิปรายซักถามระหวางครกู ับนักเรยี นเพ่ือนําไปสูขอ มลู สรปุ ขอ เสนอแนะเพ่มิ เติม นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูน้ี ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามความ เหมาะสมเพ่อื ใหบ รรลุจุดมุง หมาย โดยจะคํานงึ ถงึ เรอื่ งตา ง ๆ ดังตอ ไปน้ี 12.1 นักเรยี นมสี ว นรวมในกิจกรรมการเรียนรู ครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการ เรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ ใชเทคนิคตาง ๆ เชน การใชคําถาม การเสริมแรงมาใชใหเปนประโยชน เพ่ือใหการเรียน การสอนนา สนใจและมีชวี ติ ชวี า 12.2 การใชคําถาม เพ่ือนํานักเรียนเขาสูบทเรียนและลงขอสรุป โดยไมใชเวลานานเกินไป ทั้งนี้ ครูตองวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใชคําถามที่มีความยากงาย พอเหมาะกับความสามารถของนักเรยี น 12.3 การสํารวจตรวจสอบซํ้า เปนสิ่งจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ครูควรเนนยา้ํ ใหน ักเรยี นไดสํารวจตรวจสอบซ้าํ เพ่อื นําไปสขู อสรุปที่ถกู ตอ งและเช่ือถอื ได สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ด คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 13. ขอ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ขอเสนอแนะสําหรับครูท่ีอาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณ ท่ีเหมาะสมหรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรม เพ่ือลดขอผิดพลาด ตวั อยางตาราง และเสนอแหลงเรยี นรูเพื่อการคน ควาเพ่มิ เตมิ 14. ความรูเพ่มิ เตมิ สาํ หรบั ครู ความรูเพิ่มเติมในเนื้อหาที่สอนซึ่งจะมีรายละเอียดท่ีลึกขึ้น เพ่ือเพ่ิมความรูและความม่ันใจ ในเรื่องท่ีจะสอนและแนะนํานักเรียนที่มีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน เพราะไมเหมาะสมกบั วัยและระดับช้นั 15. อยา ลมื นะ สวนทเ่ี ตือนไมใหครูเฉลยคาํ ตอบที่ถกู ตอ ง กอนท่ีจะไดรับฟงความคิดและเหตุผลของนักเรียน เพ่ือใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรูความเขาใจในเร่ืองนั้นอยางไร บาง โดยครูควรใหค ําแนะนาํ เพื่อใหนกั เรยี นหาคําตอบไดดวยตนเอง นอกจากนั้นครูควรใหความสนใจ ตอคาํ ถามของนกั เรยี นทุกคนดวย 16. แนวการประเมินการเรยี นรู การประเมินการเรียนรูของนักเรียนที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน คําตอบของนักเรียนระหวาง การจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 ทไ่ี ดจ ากการทาํ กิจกรรมของนกั เรยี น 17. กจิ กรรมทา ยบท สว นทใ่ี หน กั เรียนไดสรุปความรู ความเขา ใจ ในบทเรียน และไดต รวจสอบความรูใ นเนอื้ หาที่ เรยี นมาท้งั บท หรืออาจตอยอดความรใู นเรอื่ งนน้ั ๆ ขอแนะนาํ เพิ่มเตมิ 1. การสอนอา น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตัวหนังสือ ถาออกเสยี งดว ย เรยี กวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคาํ วา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อานรหสั อา นลายแทง ปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะที่สําคัญ จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแกนักเรียนเปนอยางมาก เนื่องจากการอานเปนกระบวนการสําคัญที่ทําใหผูอาน สรา งความหมายหรือพัฒนาการวิเคราะห ตีความในระหวางอาน ผูอานจะตองรูหัวเรื่อง รูจุดประสงคการอาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือที่อานและจําเปนตองใชประสบการณเดิมท่ีเปน ประสบการณพื้นฐานของผูอาน ทําความเขาใจเร่ืองท่ีอาน ท้ังนี้นักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานท่ี  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ต แตกตางกัน ข้ึนอยูกับองคประกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรอื ความสนใจเร่ืองที่อาน ครูควรสังเกตนักเรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซึ่งครูจะตอ งพิจารณาทง้ั หลักการอาน และความเขา ใจในการอา นของนกั เรียน การรูเร่อื งการอาน (Reading literacy) หมายถงึ การเขาใจขอมลู เน้ือหาสาระของสงิ่ ท่ีอาน การใช ประเมนิ และสะทอนมุมมองของตนเองเกย่ี วกับส่ิงที่อานอยางตง้ั ใจเพอื่ บรรลุเปาหมายสวนตวั ของตนเองหรือ เพ่ือพัฒนาความรแู ละศักยภาพของตนเองและนาํ ความรแู ละศักยภาพน้นั มาใชใ นการแลกเปล่ียนเรยี นรใู น สังคม (PISA, 2018) กรอบการประเมนิ ผลนกั เรยี นเพือ่ ใหม ีสมรรถนะการอานในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ สรุปไดด งั แผนภาพดานลาง จากกรอบการประเมนิ ดังกลา วจะเห็นไดว า การรเู ร่ืองการอานเปน สมรรถนะท่ีสําคัญท่คี รูควรสง เสริมให นกั เรียนมีความสามารถใหครอบคลุม ตงั้ แตการคน หาขอมูลในสงิ่ ทอี่ า น เขาใจเนื้อหาสาระท่ีอานไปจนถึง ประเมินคาเนอ้ื หาสาระท่ีอา นได การเรยี นการสอนวิทยาศาสตรจ ําเปน ตองอาศัยการอานเพือ่ หาขอ มลู ทําความเขาใจเน้ือหาสาระของสิง่ ทีอ่ าน รวมทั้งประเมินส่งิ ท่อี า นและนาํ เสนอมุมมองของตนเองเกี่ยวกบั สิ่งที่ อาน นักเรยี นควรไดร บั สง เสริมการอานดังตอไปน้ี 1. นกั เรียนควรไดร ับการฝกการอานขอความแบบตอ เนอ่ื งจาํ แนกขอความแบบตาง ๆ กนั เชน การบอก การพรรณนา การโตแยง รวมไปถึงการอานขอ เขยี นท่ีไมใชขอ ความตอเน่ือง ไดแก การอานรายการ ตาราง แบบฟอรม กราฟ และแผนผงั เปน ตน ซึ่งขอ ความเหลาน้เี ปนสงิ่ ท่ีนักเรียนไดพ บเห็นใน โรงเรียน และจะตองใชใ นชีวติ จริงเมื่อโตเปนผใู หญ ซ่ึงในคูมือครูเลมนี้ตอไปจะใชคาํ แทนขอความทงั้ ท่ี เปน ขอความแบบตอเนื่องและขอความท่ีไมใชขอความตอเนอื่ งวาส่ิงที่อาน (Text) สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ถ คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 2. นักเรียนควรไดร ับการฝก ฝนใหม คี วามสามารถในการประเมนิ สิง่ ทีอ่ านวา มีความเหมาะสมสอดคลอง กบั ลักษณะของขอ เขียนมากนอยเพยี งใด เชน ใชนวนยิ าย จดหมาย หรอื ชีวะประวัตเิ พอื่ ประโยชน สว นตวั ใชเ อกสารราชการหรือประกาศแจงความเพ่ือสาธารณประโยชน ใชรายงานหรือคมู อื ตางๆ เพ่ือการทํางานอาชีพ ใชต าํ ราหรอื หนังสือเรียน เพ่อื การศึกษา เปนตน 3. นกั เรยี นควรไดรับการฝกฝนใหม สี มรรถนะการอานเพ่ือเรยี นรู ในดา นตาง ๆ ตอไปนี้ 3.1 ความสามารถท่จี ะคน หาเนอ้ื หาสาระของสง่ิ ท่ีอา น (Retrieving information) 3.2 ความสามารถทจี่ ะเขา ใจเน้ือหาสาระของส่ิงที่อา น (Forming a broad understanding) 3.3 ความสามารถในการแปลความของสิ่งทีอ่ าน (Interpretation) 3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเห็นหรอื โตแยง จากมุมมองของตน เก่ียวกบั เน่ือหาสาระของส่งิ ท่ีอาน (Reflection and evaluation the content of a text) 3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเหน็ หรอื โตแยง จากมมุ มองของตน เกย่ี วกับรูปแบบของสิง่ ทอี่ าน (Reflection and evaluation the form of a text) ท้งั นี้ สสวท. ขอเสนอแนะวธิ กี ารสอนแบบตาง ๆ เพอื่ เปนการฝก ทักษะการอา นของนกั เรียน ดงั น้ี  เทคนคิ การสอนแบบ DR-TA (The Directed Reading-Thinking Activity) การสอนอานท่ีมงุ เนน ใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กล่ันกรองและตรวจสอบขอมูลท่ีไดจากการอาน ดวยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ขน้ั ตอนการจัดการเรียนการสอน ดงั น้ี 1. ครจู ดั แบง เน้อื เรอื่ งทีจ่ ะอา นออกเปน สว นยอ ย และวางแผนการสอนอานของเนื้อเรอ่ื งทัง้ หมด 2. นาํ เขา สูบทเรยี นโดยชักชวนใหนักเรยี นคิดวานักเรียนรูอะไรเก่ยี วกับเรอื่ งที่จะอา นบาง 3. ครใู หน ักเรยี นสังเกตรูปภาพ หวั ขอ หรืออืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวกับเน้อื หาที่จะเรยี น 4. ครูต้ังคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเน้ือหาของเร่ืองที่กําลังจะอาน ซ่ึงอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เก่ยี วกบั อะไร โดยครพู ยายามกระตุนใหน ักเรยี นไดแสดงความคิดเห็นหรือคาดคะเนเนื้อหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภิปรายแลว เขยี นแนวคิดของนกั เรยี นแตละคนไวบ นกระดาน 6. นักเรียนอานเนื้อเร่ือง จากน้ันประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเอง ตรงกับเน้ือเร่ืองที่อานหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเร่ืองที่อานมีเน้ือหาตรงกับที่คาดคะเนไวให นักเรยี นแสดงขอความท่สี นับสนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเร่ือง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยางไรบา ง 8. ทําซ้ําขั้นตอนเดิมในการอานเน้ือเรื่องสวนอื่น ๆ เม่ือจบทั้งเร่ืองแลว ครูปดเร่ืองโดยการทบทวน เนอื้ หาและอภปิ รายถงึ วธิ ีการคาดคะเนของนักเรียนทค่ี วรใชส าํ หรับการอานเร่ืองอ่ืน ๆ  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ท  เทคนิคการสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) การสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปนรูปธรรม และเปน ระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอ ะไรบางเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะอาน นักเรียนตองการรู อะไรเก่ยี วกับเร่อื งท่ีจะอาน นักเรียนไดเรียนรูอะไรบางจากเรื่องท่ีอาน) โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. นําเขาสูบทเรียนดวยการกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยการใชคําถาม การนําดวยรูปภาพหรือ วีดทิ ศั นที่เก่ียวกับเน้ือเร่อื ง เพอ่ื เชอ่ื มโยงเขาสเู รอื่ งทจี่ ะอา น 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายข้ันตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีข้ันตอน ดงั น้ี ข้ันที่ 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ข้ัน K มาจาก know (What we know) เปนข้ันตอนท่ีให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีจะอาน แลวบันทึกสิ่งที่ตนเองรูลงใน ตารางชอง K ข้ันตอนนี้ชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ตั้งคําถามกระตนุ ใหนักเรียนไดแ สดงความคดิ เหน็ ข้ันท่ี 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ข้ันตอนที่ใหนักเรียนต้ังคําถามเกี่ยวกับสิ่งท่ีตองการรูเกี่ยวกับเร่ืองท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรียนรวมกันกาํ หนดคําถาม แลว บนั ทกึ ส่งิ ทีต่ องการรลู งในตารางชอ ง W ข้นั ท่ี 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เปน ขั้นตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเนื้อเรื่อง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามท่ีกําหนดไวในตารางชอง W จากนั้นนําขอมูลท่ีไดจากการอานมา จัดลําดับความสาํ คญั ของขอมูลและสรปุ เน้ือหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครแู ละนักเรยี นรวมกันสรุปเนอ้ื หา โดยการอภปิ รายหรอื ตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนักเรยี นอาจรวมกันอภิปรายเก่ียวกับการใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน  เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) การสอนอานที่มงุ เนน ใหน ักเรยี นมีความเขา ใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและต้ังคําถาม เพ่ือใหไดมา ซึ่งแนวทางในการหาคําตอบ ซ่ึงนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเรื่องที่จะเรียนและประสบการณเดิม ของนักเรยี น โดยมขี น้ั ตอนการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเร่ืองท่ีนักเรียนควรรูหรือเรื่องใกลตัวนักเรียน เพื่อชวยใหนักเรียน เขา ใจถึงการจดั หมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเช่ือมโยงกับเร่ืองท่จี ะอา นตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรช้ีแจงนักเรียนเก่ียวกับการอานและการต้ังคําถาม ตามหมวดหมู ไดแก คําถามท่ีตอบโดยใชเน้ือหาจากเรื่องท่ีอาน คําถามท่ีตองคิดและคนควา คําถามที่ ไมมคี าํ ตอบโดยตรง ซึง่ จะตองใชความรูเดมิ และส่ิงที่ผูเขียนเขยี นไว 3. นักเรียนอานเนื้อเร่อื ง ต้งั คําถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรว มกนั อภิปรายเพ่ือสรุปคาํ ตอบ 4. ครแู ละนกั เรียนรวมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั การใชเทคนิคน้ีดว ยตนเองไดอ ยา งไร สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ธ คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 5. ครแู ละนกั เรยี นอาจรว มกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั การใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน 2. การใชง านส่อื QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาที่ตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคลื่อนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคล่ือนที่) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลิตภัณฑข อง Apple Inc.) ขนั้ ตอนการใชงาน 1. เปด โปรแกรมสําหรบั อาน QR Code 2. เลือ่ นอุปกรณอ เิ ล็กทรอนิกส เชน โทรศพั ทเ คลอ่ื นท่ี แท็บเลต็ เพ่ือสองรูป QR Code ไดท งั้ รูป 3. เปด ไฟลหรือลงิ กท่ีข้ึนมาหลงั จากโปรแกรมไดอาน QR CODE **หมายเหตุ อปุ กรณท ใ่ี ชอาน QR CODE ตอ งเปด Internet ไวเ พื่อดึงขอมูล 3. การใชงานโปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ) โปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (Augmented reality) เปนโปรแกรมที่สรางข้ึนเพื่อเปนส่ือเสริม ชวยใหนักเรียนเขาใจเน้ือหาสาระของบทเรียนอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น สําหรับระดับประถมศึกษาปที่ 5 จะ ใชง านผานโปรแกรมประยกุ ต “วทิ ย ป.5” ซึง่ สามารถดาวนโหลดไดท าง Play Store หรอื Apps Store **หมายเหตุ เน่ืองจากโปรแกรมมีขนาดไฟลท่ีใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพื้นที่จัดเก็บไมเพียงพออาจ ตองลบขอ มลู บางอยางออกกอนติดตั้งโปรแกรม ขน้ั ตอนการตดิ ต้งั โปรแกรม 1. เขาไปท่ี Play Store ( ) หรือ Apps Store ( ) 2. คนหาคําวา “AR วิทย ป.5” 3. กดเขา ไปทีโ่ ปรแกรมประยุกตท่ี สสวท. พัฒนา 4. กด “ติดต้งั ” และรอจนติดตง้ั เรยี บรอ ย 5. เขาสูโปรแกรมจะปรากฏหนาแรก จากนั้นกด “วิธีการใชงาน” เพ่ือศึกษาการใชงานโปรแกรม เบอ้ื งตนดว ยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธีการใชงานดวยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปด หนงั สือเรยี นหนา ทีม่ ีสัญลกั ษณ AR 7. สองรูปที่อยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนตเิ มตร และเลือกดูภาพในมุมมองตา ง ๆ ตามความสนใจ  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 น การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในระดบั ประถมศึกษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกี่ยวกับส่ิงตา งๆ รอบตวั และเรียนรไู ดดีทีส่ ุดดว ยการคนพบ จากการลงมือปฏบิ ตั ิดว ยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งหา ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนตน จึงควรใหโอกาสนักเรียนมีสวนรวม ในการลงมอื ปฏิบตั ิ การสาํ รวจตรวจสอบ การคนพบ การตงั้ คาํ ถามเพ่ือนําไปสกู ารอภิปราย การแลกเปลี่ยนผล การทดลองดวยคาํ พดู หรือภาพวาด การอภิปรายเพอ่ื สรุปผลรวมกัน สําหรับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษา ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสูขั้นการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในส่ิงตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบเขาดวยกันอยางไร และทํางานอยางไร นักเรียนในชวงวัยน้ีตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบรวมมือ ดังนั้นจึง ควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซึ่งจะเปนการสรางความสามัคคี และประสานสัมพันธ ระหวา งนักเรยี นในระดบั น้ีดวย การจัดการเรียนการสอนทเ่ี นนการสืบเสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตร หมายถึงวิธีการท่ีนักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัวอยาง เปนระบบ และเสนอคําอธิบายเก่ียวกับส่ิงท่ีศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสํารวจ การสืบคน การทดลอง การสรา งแบบจาํ ลอง นกั เรียนทกุ ระดับชนั้ ควรไดรบั โอกาสในการสบื เสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตรและพัฒนาความสามารถในการ คิดและแสดงออกดวยวิธีการที่เช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซ่ึงรวมทั้งการต้ังคําถาม การวางแผนและดําเนินการ สืบเสาะหาความรู การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมีวิจารณญาณและมี เหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะหคําอธิบายท่ีหลากหลาย และการสื่อสารขอ โตแ ยงทางวิทยาศาสตร การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเนื่องกัน จากที่เนนครเู ปนสาํ คญั ไปจนถึงเนนนกั เรยี นเปนสาํ คัญ โดยแบงไดด ังนี้ • การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทาง (Structured inquiry) ครูเปนผูต้ังคําถามและบอก วธิ ีการใหน กั เรยี นคนหาคําตอบ ครูชี้แนะนกั เรยี นทกุ ข้ันตอนโดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร • การสืบเสาะหาความรูแบบท้ังครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Guided inquiry) ครูเปนผูต้ังคําถาม และจัดหาวัสดุอุปกรณท่ีใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลอง ดวยตัวเอง • การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open inquiry) นักเรียนทํากิจกรรมตามท่ีครู กาํ หนด นักเรียนพัฒนาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครูต้ังขึ้น นักเรียนต้ังคําถามในหัวขอท่ี ครเู ลอื ก พรอ มทั้งออกแบบการสํารวจตรวจสอบดว ยตนเอง สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

บ คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 การสืบเสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรในหอ งเรียน เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรูทาง วิทยาศาสตรตามท่ีหลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับท่ีนักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี รปู แบบท่หี ลากหลายตามบรบิ ทและความพรอ มของครูและนกั เรยี น เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Open inquiry) ท่ีนักเรียนเปนผูควบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองตั้งแตการสรางประเด็นคําถาม การสํารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายส่ิงท่ีศึกษาโดยใชขอมูล (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ท่ีไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรูที่เกี่ยวของหรือคําอธิบายอื่นเพ่ือปรับปรุง คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอ่ืน นอกจากน้ี ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูท่ีตนเองเปนผูกําหนดแนว ในการทาํ กจิ กรรม (Structured inquiry) โดยครสู ามารถแนะนาํ นักเรยี นไดตามความเหมาะสม การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมีลักษณะ สาํ คัญของการสบื เสาะ ดังนี้ ภาพ วฏั จักรการสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรในหอ งเรยี น  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ป การจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกบั ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร และกระบวนการทางวิทยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายท่ีบอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายเหลา นีจ้ ะผสมกลมกลืนอยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ึนอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณที่ครูจัดใหแ กนกั เรยี น ความสามารถในการสงั เกตและการส่ือความหมายของนักเรียนในระดับนี้ คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและแนวคิด ทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเร่ิมท่ีจะเขาใจวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตรทํางาน อยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรโดยผานการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเรื่องราวเก่ียวกับ นกั วิทยาศาสตร และจากการอภิปรายในหอ งเรยี น นักเรยี นในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากข้ึน สามารถ นําความรูมาใชเพอื่ กอใหเ กดิ ความคาดหวังเก่ียวกับส่ิงตา ง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียนในระดับนี้ ควรเนนไปที่ทักษะการตั้งคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานท่ี ปรากฏ และการสื่อความหมายเกีย่ วกับความคดิ และการสํารวจตรวจสอบของตนเองและของนักเรียนคนอ่ืนๆ นอกจากน้ีเรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน วิทยาศาสตร นักเรียนในระดับนี้ควรมีสวนรวมในกิจกรรมที่ชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณเกี่ยวกับ พยานหลักฐานและความสมั พันธร ะหวางพยานหลักฐานกับการอธบิ าย การเรียนรวู ิทยาศาสตรข องนกั เรียนแตล ะระดบั ช้ันมีพัฒนาการเปน ลาํ ดบั ดังนี้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 สามารถ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 2 สามารถ • ตัง้ คาํ ถาม บรรยายคาํ ถาม เขยี นเก่ียวกับคําถาม • ออกแบบและดําเนินการสํารวจตรวจสอบเพ่ือ • บันทึกขอมูลจากประสบการณ สํารวจ ตอบคําถามทีไ่ ดตงั้ ไว ตรวจสอบช้ันเรยี น • สือ่ ความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ี • อภิปรายแลกเปล่ยี นหลักฐานและความคดิ สังเกต • เรยี นรูวาทกุ คนสามาเรยี นรูวิทยาศาสตรได • อานและการอภปิ รายเรื่องราวตา ง ๆ เกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ผ คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 3 สามารถ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 สามารถ • ทําการทดลองอยางงาย ๆ • ตัง้ คาํ ถามท่สี ามารถตอบไดโ ดยการใช • ใหเ หตุผลเกีย่ วกบั การสังเกต การสอื่ ฐานความรูท างวทิ ยาศาสตรและการสงั เกต ความหมาย • ทํางานในกลมุ แบบรวมมือเพ่ือสํารวจ • ลงมอื ปฏิบตั ิการทดลองและการอภิปราย ตรวจสอบ • คนหาแหลง ขอมูลทีเ่ ช่ือถือไดและบูรณาการ • คน หาขอ มูลและการสื่อความหมายคาํ ตอบ ขอมูลเหลานัน้ กับการสงั เกตของตนเอง • ศกึ ษาประวตั ิการทาํ งานของนักวิทยาศาสตร • สรา งคาํ บรรยายและคาํ อธิบายจากสิง่ ที่ สังเกต • นาํ เสนอประวตั ิการทาํ งานของ นักวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 สามารถ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 6 สามารถ • สํารวจตรอบสอบ • สํารวจตรอบสอบทเ่ี นนการใชทักษะทาง วทิ ยาศาสตร • ตั้งคาํ ถามทางวิทยาศาสตร • รวบรวมขอมูลที่เกีย่ วขอ ง การมองหาแบบ • ตคี วามหมายขอมลู และคดิ อยางมี แผนของขอ มลู การสื่อความหมายและการ วิจารณญาณโดยมหี ลักฐานสนบั สนนุ แลกเปลีย่ นเรยี นรู คําอธิบาย • เขาใจความแตกตางระหวา งวิทยาศาสตร • เขา ใจธรรมชาตวิ ทิ ยาศาสตรจ ากประวตั ิการ และเทคโนโลยี ทาํ งานของนกั วิทยาศาสตรท ี่มีความมานะ อตุ สาหะ • เขา ใจการทาํ งานทางวทิ ยาศาสตรผ า น ประวัตศิ าสตรข องนักวิทยาศาสตรท ุกเพศ ที่มหี ลายเชือ้ ชาติ วฒั นธรรม สามารถอานขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรูทาง วทิ ยาศาสตรแ ละการจัดการเรยี นรทู ่ีสอดคลองกบั ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร จากคูมอื การใชหลกั สูตร http://ipst.me/8922  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ฝ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร แนวคิดสาํ คญั ของการปฏริ ปู การศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และ ท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ท่ีเนนนักเรียนเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปด โอกาสใหนักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิงตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน หอ งเรยี น เพราะสามารถทําใหครูประเมนิ ระดับพัฒนาการการเรียนรขู องนักเรียนได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคนควา กิจกรรมศึกษาปญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไร ก็ตามในการทํากิจกรรมเหลานี้ตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ชน้ิ เดียวกนั ไดสาํ เร็จในเวลาทแ่ี ตกตา งกัน และผลงานทไ่ี ดก อ็ าจแตกตา งกนั ดว ย เมือ่ นักเรียนทํากิจกรรมเหลาน้ี แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วทิ ยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีนักเรียนไดทําและผลงานเหลานี้ตองใช วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกตางกันเพ่ือชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นึกคดิ ที่แทจ ริงของนกั เรยี นได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวิธี ในสถานการณตา ง ๆ ท่ีสอดคลอ งกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเนื่อง เพ่ือจะไดขอมูลที่ มากพอทจ่ี ะสะทอนความสามารถที่แทจริงของนกั เรยี นได จุดมุงหมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล 1. เพ่ือคนหาและวินิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญใน การสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพ่ือเปน แนวทางใหครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยางเตม็ ศักยภาพ 2. เพื่อใชเ ปนขอมลู ยอ นกลบั สาํ หรับนกั เรยี นวา มีการเรียนรูอยางไร 3. เพื่อใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดานการเรียนรูของนักเรียน แตล ะคน การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพือ่ ปรบั ปรงุ การเรียนการสอน และการประเมนิ เพ่อื ตัดสนิ ผลการเรียนการสอน การประเมินเพอ่ื คนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพ่ือบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมีพื้น ฐานความรู ประสบการณ ทกั ษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบาง การประเมินแบบน้ีสามารถบงช้ี ไดวานักเรียนคนใดตองการความชวยเหลือเปนพิเศษในเรื่องที่ขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพ่ือพัฒนา ทักษะที่จําเปนกอนท่ีจะเรียนเร่ืองตอไป การประเมินแบบนี้ยังชวยบงช้ีทักษะหรือแนวคิดที่มีอยูแลวของ นกั เรียนอกี ดวย การประเมนิ เพ่ือปรับปรุงการเรยี นการสอน เปน การประเมนิ ในระหวา งชว งที่มีการเรียนการสอน การ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

พ คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ประเมินแบบน้ีจะชวยบงช้ีระดับที่นักเรียนกําลังเรียนอยูในเรื่องที่ไดสอนไปแลว หรือบงช้ีความรูของนักเรียนตาม จุดประสงคการเรียนรูที่ไดวางแผนไว เปนการประเมินที่ใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับครูวาเปนไปตาม แผนการทว่ี างไวหรือไม ขอ มลู ที่ไดจากการประเมนิ แบบนีไ้ มใ ชเ พื่อเปา ประสงคในการใหระดับคะแนน แตเ พอ่ื ชว ยครู ในการปรับปรงุ การสอน และเพื่อวางแผนประสบการณตา งๆ ที่จะใหก ับนักเรียนตอไป การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดขึ้นเม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนแลว สวนมากเปน “การ สอบ” เพื่อใหระดับคะแนนแกนักเรียน หรือเพื่อใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงช้ี ความกาวหนาในการเรียน การประเมินแบบน้ีถือวามีความสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผูบริหาร อาจารยแนะแนว ฯลฯ แตก็ไมใชเปนการประเมินภาพรวมทั้งหมดของความสามารถของนักเรียน ครูตองระมัดระวัง เม่ือประเมนิ ผลรวมเพือ่ ตดั สนิ ผลการเรยี นของนกั เรยี น ท้ังน้ีเพ่ือใหเ กิดความสมดลุ ความยุตธิ รรม และเกดิ ความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอางอิง สวนมากการประเมินมักจะ อางอิงกลุม (Norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุมหรือ คะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุมนี้จะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” อยางไรก็ตามการประเมินแบบ อิงกลุมน้ีจะมีนักเรียนคร่ึงหน่ึงที่อยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉล่ียของกลุม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ (Criterion reference) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑที่ต้ังเอาไวโดยไมคํานึงถึง คะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ ฉะน้ันจุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกใหทราบวา ความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวาบรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยท่ีนักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละชั้น หรือ โรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสินวาประสบผลสําเร็จก็ตอเมื่อ นักเรียนแตละคน หรือช้ันเรียนแตละช้ัน หรือ โรงเรยี นแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑที่ตั้งไว ขอมูล ที่ใชสําหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอน สามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรืออิงเกณฑ เทาที่ผานมาการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอนจะใช การประเมนิ แบบอิงกลมุ แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู การเรยี นรจู ะบรรลุตามเปา หมายของการจดั กิจกรรมการเรียนรทู ่วี างไว ควรมแี นวทางดังตอไปนี้ 1. วัดและประเมินผลท้ังความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา นิยมดานวทิ ยาศาสตร รวมทง้ั โอกาสในการเรยี นรูข องนักเรียน 2. วธิ ีการวดั และประเมินผลตองสอดคลอ งกบั มาตรฐานการเรยี นรทู ี่กําหนดไว 3. เกบ็ ขอมลู จากการวัดและประเมินผลอยา งตรงไปตรงมา และตองประเมินผลภายใตข อมลู ทีม่ ีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนําไปสูการแปลผลและลงขอสรุปท่ี สมเหตุสมผล 5. การวัดและประเมนิ ผลตองมคี วามเท่ยี งตรงและเปน ธรรม ทง้ั ในดา นของวิธกี ารวดั และโอกาสของการประเมนิ  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ฟ วธิ ีการและแหลงขอมลู ทีใ่ ชใ นการวดั ผลและประเมินผล เพือ่ ใหก ารวดั ผลและประเมินผลไดสะทอนความสามารถท่ีแทจรงิ ของนักเรยี น ผลการประเมนิ อาจ ไดม าจากแหลงขอมูลและวธิ กี ารตา งๆ ดังตอไปน้ี 1. สงั เกตการแสดงออกเปนรายบุคคลหรอื รายกลมุ 2. ชิน้ งาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณท้ังแบบเปน ทางการและไมเ ปน ทางการ 4. บันทกึ ของนกั เรียน 5. การประชุมปรกึ ษาหารอื รวมกันระหวา งนักเรียนและครู 6. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏบิ ตั ิ 7. การวดั และประเมินผลดานความสามารถ 8. การวัดและประเมินผลการเรยี นรโู ดยใชแ ฟม ผลงาน สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ภ คูมือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเนอ้ื หาและกจิ กรรม ระดับชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 5 เลม 1 กับตัวชวี้ ัด กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หนวยการเรียนรู ชื่อกิจกรรม เวลา ตวั ช้ีวดั หนว ยท่ี 1 การ (ชว่ั โมง) - เรยี นรูสิ่งตา ง ๆ บทท่ี 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร รอบตวั เรอื่ งที่ 1 เสนทางของขยะจากมือเรา 1 1 หนวยที่ 2แรงและ กิจกรรมที่ 1 จดั กระทําและสือ่ ความหมาย พลังงาน ขอมลู และสรา งแบบจาํ ลองไดอ ยา งไร 3 กิจกรรมทายบทท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 0.5 บทที่ 1 แรงลัพธแ ละแรงเสยี ดทาน เรื่องที่ 1 แรงลพั ธ 0.5 • อธิบายวธิ ีการหาแรงลัพธของ 0.5 แรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่ กิจกรรมท่ี 1 หาแรงลัพธท่ีกระทําตอวตั ถุได 3 กระทําตอวตั ถุในกรณีที่วตั ถุอยู อยา งไร เรอ่ื งท่ี 2 แรงเสยี ดทาน นงิ่ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ กิจกรรมท่ี 2 แรงเสยี ดทานมีผลตอวตั ถุ 0.5 • เขยี นแผนภาพแสดงแรงที่ อยางไร 2.5 กระทําตอวตั ถุที่อยูในแนว กิจกรรมทายบทที่ 1 แรงลัพธและแรงเสียดทาน เดียวกันและแรงลัพธท่ีกระทํา 0.5 ตอ วัตถุ • ใชเ ครื่องชัง่ สปรงิ ในการวัดแรงที่ กระทําตอวัตถุ • ระบุผลของแรงเสยี ดทานท่ีมตี อ การเปลยี่ นแปลงการเคล่ือนท่ี ของวัตถุจากหลักฐานเชิง ประจกั ษ • เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ด ทานและแรงที่อยใู นแนว เดยี วกันที่กระทําตอวัตถุ • อธิบายการไดย ินเสยี งผาน ตวั กลางจากหลักฐานเชงิ ประจักษ • ระบตุ วั แปร ทดลอง และอธิบาย ลักษณะและการเกิดเสยี งสูง  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ม หนว ยการเรียนรู ชื่อกจิ กรรม เวลา ตัวชี้วดั (ชว่ั โมง) หนว ยท่ี 3 การ บทท่ี 2 เสยี ง เสียงต่ํา เปล่ียนแปลงของสาร เร่อื งที่ 1 เสยี งกับการไดย นิ 1 • ออกแบบการทดลองและอธิบาย 1 กิจกรรมที่ 1.1 เสียงเคล่ือนท่ีไดอยางไร 2 ลักษณะและการเกิดเสียงดงั กิจกรรมท่ี 1.2 เสียงสงู เสียงต่าํ เกดิ ไดอ ยา งไร 2 เสียงคอย กิจกรรมท่ี 1.3 เสยี งดัง เสยี งคอย ข้ึนอยูกับ 2 • วัดระดับเสยี งโดยใชเ คร่ืองมือวดั อะไร 2 ระดับเสียง กิจกรรมที่ 1.4 มลพิษทางเสียงเปน อยางไร 1 • ตระหนักในคุณคาของความรู กิจกรรมทายบทที่ 2 เสียง เรอ่ื งระดับเสยี งโดยเสนอแนะ 0.5 แนวทางในการหลีกเลี่ยงและลด บทท่ี 1 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ 0.5 มลพิษทางเสียง เรื่องท่ี 1 การเปล่ยี นสถานะ 1 1 • อธิบายการไดยินเสยี งผา น กจิ กรรมที่ 1.1 นาํ้ แขง็ มกี ารเปล่ยี นสถานะ ตัวกลางจากหลักฐานเชงิ อยา งไร ประจักษ กจิ กรรมท่ี 1.2 น้าํ ผลไมเปนเกล็ดน้าํ แขง็ ได อยา งไร • ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย ลกั ษณะการเกิดเสยี งสูง เสียงตํา่ • ออกแบบการทดลองและอธบิ าย ลกั ษณะการเกิดเสยี งดัง เสียง คอ ย • วัดระดับเสยี งโดยใชเครื่องมือวดั ระดับเสียง • ตระหนักในคุณคาของความรู เรื่องระดับเสียงโดยเสนอแนะ แนวทางในการหลีกเล่ียงและลด มลพิษทางเสียง • อธบิ ายการเปล่ียนสถานะของ สสาร เมื่อทาํ ใหส สารรอ นขนึ้ หรอื เย็นลง โดยใชหลกั ฐานเชิง ประจกั ษ • อธิบายการละลายของสารในน้ํา โดยใชห ลักฐานเชิงประจักษ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ย คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 หนวยการเรียนรู ชอื่ กิจกรรม เวลา ตวั ชวี้ ัด (ช่วั โมง) กิจกรรมท่ี 1.3 พมิ เสนมีการเปลย่ี นสถานะ อยางไร 1 เรอื่ งที่ 2 การละลาย กจิ กรรมที่ 2 การละลายเปนอยางไร 1 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ 1 1 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1 • วิเคราะหการเปล่ยี นแปลงของ เร่ืองที่ 1 การเปล่ยี นแปลงทางเคมี 1 สารเม่ือเกิดการเปลีย่ นแปลงทาง กิจกรรมท่ี 1.1 การเปลย่ี นแปลงทางเคมีคือ 1 เคมี โดยใชห ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ อะไร กิจกรรมที่ 1.2 รูไดอยางไรวา เกิดการ 1 เปลยี่ นแปลงทางเคมี กจิ กรรมทายบทท่ี 2 การเปล่ียนแปลงทางเคมี 1 บทที่ 3 การเปล่ยี นแปลงท่ผี ันกลบั ไดและผนั กลับไมได 1 • วิเคราะหและระบุการ เร่อื งที่ 1 การเปล่ยี นแปลงทผ่ี ันกลับไดและผนั กลับไมไ ด 1 เปลยี่ นแปลงท่ผี นั กลบั ไดและ กิจกรรมที่ 1 ผันกลับไดแ ละผันกลบั ไมไดเปน 1 การเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลับไมได อยา งไร กจิ กรรมทายบทที่ 2 การเปลีย่ นแปลงที่ผันกลับไดแ ละผนั 1 กลับไมได รวมจํานวนชว่ั โมง 40 หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาทใ่ี ช และส่งิ ทตี่ องเตรียมลว งหนา นน้ั ครสู ามารถปรบั เปลี่ยนเพ่ิมเตมิ ไดต ามความ เหมาะสมของสภาพทองถิน่  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ร รายการวสั ดอุ ปุ กรณวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 ลาํ ดับที่ รายการ จํานวน/กลมุ จาํ นวน/หอ ง จาํ นวน/คน หนว ยท่ี 1 การเรยี นรูส ่ิงตาง ๆ รอบตัว 1 กระดาษปรูฟ 1 แผน 1 กลอ ง 2 ดินสอสี 1 อัน 1 แทง 3 ไมบรรทัด 1 อัน 1 ุถุง 4 ดินสอ 1 มวน 5 ตลับเมตรหรือไมเมตร 6 ลกู ปด 7 เชอื กไหมพรม 8 นํ้ามนั หอมระเหย เชน เมนทอล 1 ขวด หนว ยที่ 2 แรงและพลังงาน 1 เครอ่ื งช่งั สปริง 3 อนั 1 ถงุ 2 ถงุ ทราย 500 กรมั 1 มวน 1 แผน 3 เชือกฟอกขาว 1 เลม 1 ใบ 4 กระดาษแข็งขนาด A4 1 อนั 1 ชดุ 5 กรรไกร 1 ใบ 1 ถงั 6 ถงุ พลาสติกมีหหู ้ิว 1 มว น 7 ไมบรรทัด 1 อนั 2 อัน 8 สอมเสยี งพรอมไมเ คาะ 2 ใบ 1 เสน 9 ภาชนะใสน ํ้า 1 อนั 10 นํา้ สี 11 เสนเอ็น 12 เข็มหมุด 13 ลวดเสยี บกระดาษ 14 แกวพลาสติก 15 สายวดั 16 ไมบรรทดั พลาสติกแขง็ สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ล คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ลําดบั ที่ รายการ จาํ นวน/กลมุ จาํ นวน/หอง จาํ นวน/คน 2 ใบ 1 เคร่อื ง 17 ขวดแกว 1 อนั 10 เมล็ด 18 ไมเคาะ 1 ใบ 19 เมลด็ ถ่ัวเขียว 1 เครื่อง 1 แผน 20 กลอ งกระดาษ 1 ชุด 21 วทิ ยุ 22 เคร่ืองวัดระดับเสยี งหรือแอพพลิเคช่ันวัดระดับเสยี ง 23 กระดาษโปสเตอร 24 ปากกาเคมีคละสี หนว ยที่ 3 การเปล่ียนแปลงของสาร 1 นํา้ แขง็ กอนเลก็ ๆ 1 กโิ ลกรมั 1 ถงุ 2 ถงุ พลาสติกใส 1 เสน 1 กระปอง 3 ยางรัดของ 1 ชุด 1 กลกั 4 กระปองทรายสาํ หรับดับไฟ 1 ขวด 1 ขวด/ 5 ชุดตะเกียงแอลกอฮอล กระปอง 15 กรัม 6 ไมขีดไฟ 1 ใบ 12 ใบ 7 ขวดรปู กรวย ขนาด 250 ml ุ1 คัน 5 ใบ 8 น้ําผลไม 5 คนั 10 กรัม 9 เกลือแกง 5 กรมั 10 อา งพลาสติก 5 ml 11 แกว พลาสตกิ ใส 10 กรัม 12 ชอนโลหะ 13 บีกเกอร ขนาด 250 ml 14 ชอ นตกั สารเบอร 2 15 พมิ เสน 16 แปงมัน 17 นํา้ มนั พืช 18 นํ้าตาลทราย  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 ว ลาํ ดับที่ รายการ จาํ นวน/กลมุ จํานวน/หอง จาํ นวน/คน 19 เอทลิ แอลกอฮอล 5 ml 20 จานหลมุ โลหะ 1 อนั 21 ชอนพลาสตกิ 3 คนั 22 นา้ํ ปนู ใส 10 ml 23 แอมโมเนียมคลอไรด 10 กรัม 24 สารละลายผงฟู 10 ml 25 น้ําสม สายชู 10 ml 26 ผงฟู 10 กรัม 27 ปูนขาว 10 กรัม 28 บกี เกอร ขนาด 125 ml 3 ใบ 29 ขวดแกวปากแคบ 1 ขวด 30 แทงแกว คน 3 อัน 31 กระบอกตวง ขนาด 100 ml 2 อนั 32 พาราฟน 10 กรมั 33 กระดาษ 1 แผน 34 ถวยกระเบื้องทนไฟ 1 ถวย 35 ปากคบี 1 อนั 36 แบบพมิ พ 2 อัน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

1 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรูสง่ิ ตาง ๆ รอบตัว หนว ยท่ี 1 การเรียนรูส่ิงตาง ๆ รอบตัว ภาพรวมการจัดการเรยี นรูประจาํ หนว ยท่ี 1 การเรยี นรสู ิ่งตา ง ๆ รอบตวั บท เร่ือง กจิ กรรม ลําดบั การจัดการเรียนรู ตวั ช้วี ดั บทท่ี 1 ทักษะ เรื่องท่ี 1 เสน ทาง กิจกรรมที่ 1 จัด • ก า ร เ รี ย น รู ส่ิ ง ต า ง ๆ - กระบวนการทาง ของขยะจากมือ กระทําและส่ือ ร อ บ ตั ว อ า จ ต อ ง อ า ศั ย วิทยาศาสตร เรา ความหมายขอมลู และ ทักษะกระบวนการทาง สรางแบบจาํ ลองได วทิ ยาศาสตร อยางไร • การจัดกระทําและสื่อ ค ว า ม ห ม า ย ข อ มู ล เ ป น ทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรอยางหนึ่งซึ่ง เปนการนําขอมูลมาจัด กระทําใหอยูในรูปแบบท่ี ชัดเจน เขาใจงาย • การสรางแบบจําลองเปน การสรางบางสิ่งบางอยาง ข้ึนมาเปนตัวแทนของสิ่ง ตาง ๆ โดยมีจุดประสงค เพื่อส่ือ ส าร บ รรยา ย อธิบาย หรือพยากรณส่ิง นน้ั ๆ รวมคิด รวมทํา  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรียนรสู ิง่ ตาง ๆ รอบตัว 2 สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

3 คูมอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรียนรสู ง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั บทท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร จุดประสงคการเรยี นรูประจําบท บทนมี้ อี ะไร เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ 1. อธิบายและใชทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมาย เรอื่ งที่ 1 กจิ กรรมที่ 1 ขอ มลู 2. อธิบายและใชทักษะการสรางแบบจําลองในการ นําเสนอแนวคิดตาง ๆ 3. ใชก ารพยากรณใ นการคาดการณส่ิงตาง ๆ เวลา 5.5 ชัว่ โมง แนวคิดสําคัญ การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล การสราง แบบจําลองและ การพยากรณเปนทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ซึ่งสามารถนํามาใชในการสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตร เพ่ือตอบคาํ ถามที่อยากรูเกยี่ วกับสง่ิ ตา ง ๆ สือ่ การเรยี นรแู ละแหลงเรียนรู หนา 1-23 เสน ทางของขยะจากมอื เรา หนา 1-21 จัดกระทําและส่ือความหมายขอมูลและ 1. หนังสือเรียน ป. 5 เลม 1 สรา งแบบจําลองไดอยา งไร 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป. 5 เลม 1  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรยี นรสู ง่ิ ตาง ๆ รอบตัว 4 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 รหัส ทกั ษะ กจิ กรรมที่ 1 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร  S1 การสงั เกต  S2 การวดั  S3 การใชจาํ นวน S4 การจาํ แนกประเภท  S5 การหาความสัมพันธร ะหวาง   สเปซกบั สเปซ   สเปซกับเวลา  S6 การจัดกระทําและสอ่ื ความหมายขอมลู S7 การพยากรณ S8 การลงความเห็นจากขอมูล S9 การต้งั สมมตฐิ าน S10 การกําหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการ S11 การกาํ หนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายขอมูลและลงขอสรปุ S14 การสรางแบบจําลอง ทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 C1 การสรา งสรรค C2 การคิดอยา งมวี ิจารณญาณ C3 การแกป ญหา C4 การส่อื สาร C5 ความรวมมอื C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร หมายเหตุ: รหัสทกั ษะท่ีปรากฏน้ี ใชเ ฉพาะหนงั สือคูมือครูเลมนี้ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

5 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนว ยท่ี 1 การเรยี นรสู ่งิ ตา ง ๆ รอบตัว แนวคดิ คลาดเคลือ่ น แนวคิดคลาดเคล่ือนท่ีอาจพบและแนวคดิ ท่ีถกู ตองในบทที่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร มีดังตอไปน้ี แนวคดิ คลาดเคลือ่ น แนวคดิ ที่ถูกตอง แบบจําลองทส่ี รางข้ึนตองเหมือนของจริงมากท่สี ุด แบบจําลองไมจําเปน ตองเหมือนของจรงิ มากทสี่ ุด เน่ืองจาก (ลฎาภา และลอื ชา, 2560) แบบจําลองเปน การเลือกเปา หมายบางอยางจากของจรงิ น้ัน ๆ มาสอ่ื สารหรอื อธิบายเทานนั้ ดังนั้นลกั ษณะบางอยา งของของจริง กไ็ มไดแ สดงใหเ หน็ ในแบบจําลองที่สรางข้ึน (ลฎาภา และลอื ชา, 2560) แบบจาํ ลองตองเปนวตั ถหุ รือสง่ิ ของที่เปน รปู ธรรมเทา นน้ั แบบจาํ ลองไมจ าํ เปนตองเปน วัตถสุ ิ่งของทีเ่ ปน รปู ธรรม เชน (ภรทพิ ย, ชาตรี และพจนารถ, 2557) รูปปน แผนภาพ แบบจําลองอาจเปนนามธรรม เชน คําพูด สูตร หรือสมการตา ง ๆ ก็ได (ภรทิพย, ชาตรี และพจนารถ, 2557) ถา ครพู บวามแี นวคดิ คลาดเคลือ่ นใดทย่ี งั ไมไดแ กไ ขจากการทาํ กิจกรรมการเรยี นรู ครูควรจดั การเรยี นรูเ พิ่มเติมเพือ่ แกไข แนวคดิ ทคี่ ลาดเคลอ่ื นใหถูกตอง  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรยี นรสู ิง่ ตา ง ๆ รอบตวั 6 บทนเ้ี ริ่มตน อยางไร (1 ชว่ั โมง) ขอ เสนอแนะเพิ่มเติม 1. ครทู บทวนความรพู ื้นฐานเกี่ยวกับทักษะการจําแนกประเภท การใช ครูใหความรูเกี่ยวกับรอยละ โดยใชตาราง จํานวนและตรวจสอบความรูเดิมเกี่ยวกับทักษะการจัดกระทําและ รอยในการอคธิบราู รยั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง ส่ือความหมายขอมูลโดยใชสถานการณตอไปนี้ แตละวัน เราทําให เกิดขยะมูลฝอยมากมาย เชน เศษอาหาร ถุงพลาสติก ขวดน้ํา นักเรียนเปนสําคญั ครยู ังไมเฉลย แบตเตอรี หลอดไฟ ขยะแบงตามประเภทของขยะได 4 ประเภท คําตอบใด ๆ แตชักชวนใหหา ไดแก ขยะยอยสลายได ขยะรีไซเคิล ขยะท่ัวไป และขยะอันตราย คําตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม หรือขยะพิษ ขยะแตละประเภทมีปริมาณแตกตางกันคือ ขยะยอย ตา ง ๆ ในบทเรยี นน้ี สลายไดมีรอยละ 46 ขยะรีไซเคิลมีรอยละ 42 ขยะท่ัวไปมีรอยละ 9 และขยะอันตรายหรือขยะพิษมีรอยละ 3 จากนั้นครูตรวจสอบ ถาขยะทั้ง 4 ประเภท ไดแก ขยะยอย ความเขาใจเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรโดยใช สลายได ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะ คาํ ถามดงั น้ี อันตราย มีปริมาณรวมกันท้ังหมด 100 สวน 1.1 จากขอมูลขางตน ขยะจําแนกไดกี่ประเภท อะไรบาง ใชอะไร จะเปนขยะยอยสลายได 46 สวน จาก 100 เปน เกณฑใ นการจาํ แนก (ขยะจําแนกได 4 ประเภท ไดแก ขยะ สวน หรือคิดเปนรอยละ 46 ของปริมาณ ยอ ยสลายได ขยะรีไซเคิล ขยะท่ัวไป และขยะอันตรายหรือขยะ ขยะทั้งหมด เปนขยะรีไซเคิล 42 สวน จาก พิษ โดยใชประเภทของขยะเปน เกณฑ) 100 สวน หรือคิดเปนรอยละ 42 ของ 1.2 ขยะท่ัวไปมีปริมาณนอยกวาขยะยอยสลายไดรอยละเทาใด ปริมาณขยะทั้งหมด เปนขยะท่ัวไป 9 สวน (รอ ยละ 37) จาก 100 สวน หรือคิดเปนรอยละ 9 ของ 1.3นักเรียนคิดวาจากขอมูลนี้ นักเรียนสามารถนํามาจัดกระทําได ปริมาณขยะท้ังหมด เปนขยะอันตราย 3 อยา งไรเพ่ือใหเขาใจไดถ ูกตองและรวดเร็วข้ึน (นักเรียนตอบตาม สวน จาก 100 สวน หรือคิดเปนรอยละ 3 ความเขาใจ) ของปรมิ าณขยะทง้ั หมด 2. ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับการพยากรณและตรวจสอบความรู ถาในตาราง 1 ชอ ง แทน ขยะ 1 สวน เกยี่ วกบั การสรา งแบบจาํ ลอง โดยใชคาํ ถามในการอภปิ รายดังน้ี จะแสดงปริมาณขยะแตละประเภทไดดังน้ี 2.1 การพยากรณหมายถึงอะไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจซึ่ง ควรตอบไดวาการพยากรณเปนการคาดการณเหตุการณท่ีจะ ขยะยอยสลายได เกดิ ขึ้นโดยอาศยั ประสบการณห รือขอมลู ท่ีรวบรวมไว) 2.2 นักเรียนรูจักแบบจําลองหรือไม แบบจําลองมีลักษณะอยางไร ขยะรีไซเคลิ บาง เหตุใดจึงคิดวาส่ิงน้ันเปนแบบจําลอง (นักเรียนตอบตาม ความเขา ใจ) ขยะอันตราย ขยะทวั่ ไป 2.3 อะไรบางท่เี ปน แบบจําลอง ยกตัวอยาง (นักเรียนตอบตามความ เขา ใจ) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

7 คูม ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรียนรสู ่งิ ตา ง ๆ รอบตวั 2.4 แบบจําลองสรางขึ้นมาเพ่ือวัตถุประสงคใด (นักเรียนตอบตาม ความเขา ใจ) 3. ครชู ักชวนนกั เรียนศึกษาเรือ่ งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรโดย นักเรียนอานชื่อหนวย และอานคําถามสําคัญประจําหนวยใน หนังสือเรียนดังน้ี “ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรทําใหเรียนรู ส่ิงตาง ๆ ไดอยางไร” นักเรียนตอบคําถามตามความเขาใจโดยครูยัง ไมตองเฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตอบอีกคร้ัง หลงั จากเรียนจบหนวยนี้แลว 4. นักเรียนอาน ชื่อบท และจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ใน หนังสือเรียนหนา 1 จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจดวยคําถาม ตอ ไปน้ี 4.1 บทน้ีนักเรียนจะไดเรียนเร่ืองอะไร (ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร) 4.2 จากจุดประสงคการเรียนรูเมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ ทําอะไรไดบาง (สามารถอธิบายและใชทักษะการจัดกระทําและ ส่ือความหมายขอ มลู ทักษะการสรางแบบจําลองในการนําเสนอ แนวคิดทางวิทยาศาสตรและทักษะการพยากรณเพื่อคาดการณ สิ่งตา ง ๆ) 5. นักเรียนอานช่ือบทและแนวคิดสําคัญ ในหนังสือเรียนหนา 2 จากนั้นครูใชคําถามวา จากการอานแนวคิดสําคัญ นักเรียนคิดวาจะ ไดเรียนเกี่ยวกับเร่ืองอะไรบาง (ในบทนี้จะไดเรียนเรื่องทักษะการจัด กระทาํ และส่ือความหมายขอมูล การสรางแบบจําลองและทักษะการ พยากรณ) 6. ครชู ักชวนใหนกั เรียนสังเกตรปู และอานเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียนหนา 3 โดยครเู ลอื กใชวิธีการฝกอานตามความเหมาะสมกับความสามารถ ของนักเรียน แลวตรวจสอบความเขาใจในการอาน โดยใชคําถาม ดังตอไปน้ี 6.1 จากรูปเปนการนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับอะไร (เกี่ยวกับประเภท ของขยะ) 6.2 ขยะแบงไดก่ีประเภทอะไรบาง (4 ประเภท ไดแก ขยะยอย สลายได ขยะรไี ซเคลิ ขยะทว่ั ไป และขยะอันตรายหรือขยะพิษ)  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนว ยที่ 1 การเรยี นรสู ิง่ ตา ง ๆ รอบตัว 8 6.3 ขยะประเภทใดมีปริมาณมากท่ีสุด รูไดอยางไร (ขยะยอยสลาย การเตรยี มตัวลว งหนาสําหรบั ครู ได มีปริมาณรอยละ 46 ซ่ึงมีปริมาณมากที่สุดเมื่อเทียบกับ เพอ่ื จัดการเรียนรใู นครง้ั ถดั ไป ปรมิ าณขยะประเภทอน่ื ๆ) ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดเรียน 6.4 รูปนี้เปนการจัดกระทําขอมูลในรูปแบบใด (รูปแบบอินโฟ เรือ่ งที่ 1 เสนทางของขยะจากมือเรา โดย กราฟก ) ครูเตรียมส่ือการสอน เชน ภาพอินโฟ กราฟกหรือวีดิทัศนเก่ียวกับเสนทางขยะ 6.5 การจัดกระทําขอมูลมีรูปแบบอะไรบาง ยกตัวอยาง (การจัด จ า ก มื อ เ ร า เ พ่ื อ ใ ห นั ก เ รี ย น ไ ด เ รี ย น รู กระทําขอมูลมีหลายรูปแบบ เชน ตาราง กราฟ แผนภูมิ ประกอบเน้ือหาในเร่ืองที่อาน โดยครูอาจ แบบจาํ ลอง) ใชคําคนใน www.google.com วา infographic ขยะ 6.6 การจัดกระทําและสือ่ ความหมายขอมูลมีประโยชนอยางไร (เพ่ือ ส่อื ความหมายใหคนอ่นื เขา ใจถูกตอ งและรวดเร็ว) 6.7 นกั เรียนเคยจดั กระทาํ และสือ่ ความหมายขอมลู ในรูปแบบใดบาง (นกั เรียนตอบตามความเขาใจ) 7. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรใ นสาํ รวจความรูกอนเรยี น 8. นักเรยี นทาํ สาํ รวจความรูกอ นเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 2-5 โดยใหนักเรียนอานคําถามแตละขอ ครูตรวจสอบความเขาใจของ นักเรียน จนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียน ตอบคําถาม โดยคําตอบของนักเรียนแตละคนอาจแตกตางกันและ คาํ ตอบอาจถกู หรือผดิ กไ็ ด 9. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมี แนวคิดเก่ียวกับทักษะการจัดกระทําและส่ือความหมายขอมูล การ พยากรณแ ละการสรางแบบจําลองอยางไรบาง โดยอาจสุมนักเรียน 2 – 3 คน นําเสนอคําตอบของตนเองซง่ึ ครยู งั ไมต องเฉลยคําตอบ แตจะ ใหนักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบอีกคร้ังหลังเรียนจบบทน้ีแลว ทั้งนี้ ครอู าจบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดท่ีนาสนใจของนักเรียน แลวนํามาออกแบบการจัดการเรียนรูเพื่อแกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให ถูกตอ ง และตอ ยอดแนวคิดทนี่ าสนใจของนักเรียน สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

9 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.5 เลม 1 | หนว ยที่ 1 การเรียนรสู ง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั แนวคําตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม การสํารวจความรกู อนเรียน นกั เรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผดิ ก็ไดข ้นึ อยูกับความรเู ดิมของนักเรียน แตเ ม่อื เรียนจบบทเรยี นแลว ใหนักเรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอกี ครั้งและแกไขใหถกู ตอง ดังตัวอยา ง  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี