Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 11:52:10

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วัสดุและสสาร 160 สงั เกตและอธบิ ายรปู รางของของเหลว ข้นึ อยูกับการคาดคะเน ขึ้นอยกู ับผลการสังเกต สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

161 คูม ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดุและสสาร สงั เกตและอธบิ ายระดับผิวหนา ของของเหลว ข้นึ อยกู ับการคาดคะเน  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร 162 ข้นึ อยกู ับผลการสงั เกต สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

163 คูม อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วัสดุและสสาร นักเรียนตอบตามท่คี าดคะเนไว เชน เหมอื นกับที่คาดคะเนไว คือมีปริมาตรเทา เดมิ คือ 40 ลูกบาศกเ ซนติเมตร ปรมิ าตรของนํา้ สไี มเ ปล่ยี นแปลง มีคา เทา กบั 40 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร เม่อื รนิ นา้ํ สีจากบีกเกอรใ บหนึ่งไปอกี ใบหน่ึง น้าํ สีมีปริมาตรคงที่ รูปรา งของนํา้ สีในภาชนะแตล ะใบจะไมเ หมือนกนั แตกตางกนั ตามรูปรา งของภาชนะ นํ้าสีมรี ูปรางเหมือนภาชนะท่ีบรรจุ  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร 164 ระดับผิวหนา ของนํ้าสอี ยใู นแนวราบแนวเดียวกับระดับของขอบโตะ ระดบั ผิวหนาของน้ําสีอยใู นแนวราบในแนวเดียวกับระดับของขอบโตะ ไมวาจะ เอยี งแบบจาํ ลองในลกั ษณะใด เพราะน้ําสีมีสมบตั ริ กั ษาระดับผิวหนาใหอยูในแนวราบเสมอ เม่ือวางแบบจาํ ลองในแนวราบและเอียงในลักษณะตางๆ ระดบั ผวิ หนาของนาํ้ สใี น แบบจําลองจะอยูแนวเดียวกับขอบโตะ ของเหลวมีปริมาตรคงที่ แตรูปรา งไมคงท่ี และรกั ษาระดับผิวหนาอยูในแนวราบ เสมอ สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

165 คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วัสดแุ ละสสาร คาํ ถามของนักเรยี นทต่ี ั้งตามความอยากรูของตนเอง        สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร 166 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรขู องนกั เรยี นทาํ ได ดังน้ี 1. ประเมินความรเู ดิมจากการอภปิ รายในชน้ั เรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรจู ากคําตอบของนกั เรียนระหวางการจัดการเรียนรูแ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทาํ กิจกรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทาํ กิจกรรมที่ 2.2 ของเหลวมีปรมิ าตร รูปรา งและระดับผิวหนา เปนอยา งไร ระดับคะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี รหัส สง่ิ ทป่ี ระเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S5 การหาความสมั พันธระหวา งสเปซกับสเปซ S6 การจดั กระทําและสือ่ ความหมายขอ มูล S8 การลงความเหน็ จากขอมลู ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C4 การส่อื สาร C5 ความรวมมอื รวมคะแนน สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

167 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต ามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเกณฑก ารประเมิน ดังน้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S1 การสังเกต สิง่ ทส่ี ังเกตได สามารถใชป ระสาทสมั ผัส สามารถใชป ระสาทสมั ผสั เก็บ ไมสามารถใชป ระสาท S5 การหา เกีย่ วกบั นา้ํ สี เก็บรายละเอยี ดเกี่ยวกบั รายละเอยี ดเก่ียวกบั ปริมาตร สัมผสั เก็บรายละเอยี ด ความสมั พันธ ระหวางสเปซ ประกอบดว ย ปริมาตร รปู รางและระดบั รูปรา งและระดบั ผิวหนาของ เก่ยี วกับปริมาตร รปู ราง กับสเปซ - ปริมาตร ผิวหนา ของน้ําสีไดถกู ตอง นํา้ สไี ดถูกตอ งโดยตองอาศัย และระดับผวิ หนาของน้าํ สี S6. การจัดกระทาํ และสื่อความหมาย - รปู ราง ดวยตนเองโดยไมเพิม่ ความ การช้ีแนะของครูหรือผูอน่ื ไดถ ูกตอ งดว ยตนเอง หรือมี ขอ มูล - ระดบั ผิวหนา คดิ เห็น หรอื เพ่ิมเติมความคิดเห็น การเพิ่มเตมิ ความคิดเห็น แมว าครหู รอื ผูอื่นชว ย แนะนําหรอื ชี้แนะ การหา สามารถบอกความสัมพันธ สามารถบอกความสัมพันธ ไมส ามารถบอก ความสมั พนั ธ ระหวางระดบั ผิวหนาของ ระหวา งระดับผวิ หนา ของน้าํ ความสัมพนั ธร ะหวางระดับ ระหวา งระดับ นา้ํ สีกับการวางภาชนะใน สีกบั การวางภาชนะใน ผิวหนาของนํ้าสกี บั การวาง ผวิ หนา ของนาํ้ สกี บั ลกั ษณะตา ง ๆ ไดถ ูกตอง ลกั ษณะตา ง ๆ ไดถูกตอ งโดย ภาชนะในลักษณะตาง ๆ การวาง ดวยตนเอง อาศัยการชแ้ี นะจากครูหรือ ไดแมว า ครูหรือผอู น่ื ชวย แบบจาํ ลองใน ผูอ น่ื แนะนําหรอื ชแ้ี นะ ลักษณะตา งๆ การนาํ เสนอขอ มลู สามารถนาํ เสนอขอ มลู ทีไ่ ด สามารถนําเสนอขอ มูลท่ไี ด ไมส ามารถนําเสนอขอมูลที่ เกย่ี วกับรปู รางและ จากสังเกตรปู รา งและระดบั จากสังเกตรปู รางและระดบั ไดจากสังเกตรปู รา งและ ระดบั ผวิ หนา ของน้าํ ผวิ หนา ของนํ้าสีใหผูอ ืน่ ผวิ หนา ของนํ้าสีใหผอู น่ื เขาใจ ระดับผิวหนา ของนา้ํ สีให สี เขาใจไดงายและชัดเจน ใน ไดใ นรูปแบบภาพวาดระบายสี ผอู น่ื เขา ใจไดแมวา ครหู รอื รปู แบบภาพวาดระบายสไี ด ไดถูกตอ งจากการช้ีแนะของ ผูอ่นื ชว ยแนะนําหรอื ชแ้ี นะ ถูกตองดวยตนเอง ครูหรอื ผูอ ่ืน  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร 168 ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) S8. การลง การระบปุ รมิ าตร สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไมส ามารถลงความเห็นจาก ความเห็นจาก รูปรางและระดบั ผวิ หนาของนา้ํ สี ขอ มูลที่มีอยูจ ากการสงั เกต ขอมูลท่ีมอี ยจู ากการสงั เกต ขอ มูลท่ีมีอยูจากการสังเกต ขอมูล ปริมาตรรูปรางและระดับ ปริมาตรรูปรางและระดับ ปรมิ าตรรปู รางและระดับ ผิวหนาของนาํ้ สไี ดถูกตอง มี ผิวหนาของน้ําสไี ดถกู ตอง ผวิ หนาของนํา้ สไี ดแมว า ครู เหตผุ ล จากความรหู รอื จากการชี้แนะของครูหรือผอู ื่น หรอื ผอู ่ืนชว ยแนะนําหรือ ประสบการณเดมิ ไดด วย ช้ีแนะ ตนเอง สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

169 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ กณฑการประเมนิ ดังน้ี ทักษะแหง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 C4 การส่อื สาร การนําเสนอขอ มูล ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) นํ า ข อ มู ล จ า ก ก า ร จั ด นําขอมูลจากการจัดกระทํา ไมสามารถนําขอมูลจากการ กระทํามาอธิบายใหผูอ่ืน มาอธิบายใหผูอื่นเขาใจได จัดกระทํามาอธิบายใหผูอื่น เขาใจไดงายและชัดเจน งายและชัดเจนจากการ เขา ใจแมว าครูหรือผูอ่ืนจะชวย ดว ยตนเอง ชี้แนะของครหู รือผอู ืน่ แนะนําหรือชี้แนะ C5 ความ การทํางานรวมมือ สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น ไมสามารถทํางานรวมกับ รว มมอื กนั ในกลุม ผูอื่นรวมท้ังยอมรับฟง รวมทั้งยอมรับฟงความ ผูอื่นรวมทั้งยอมรับฟงความ ความคิดเห็นของผูอื่น คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู อ่ื น อ ย า ง คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู อ่ื น อ ย า ง อยา งสรา งสรรคในการทํา ส ร า ง ส ร ร ค ใ น ก า ร ทํ า สรางสรรคในการทํากิจกรรม กิจกรรมเกี่ยวกับเรื่อง กิจ ก ร ร มเ ก่ี ย ว กับ เ รื่ อ ง เกยี่ วกับเร่ืองปริมาตร รูปราง ปริมาตร รูปรางแล ะ ปริมาตร รูปรางและระดับ และระดับผิวหนาของนํ้าสี ระดับผิวหนาของน้ําสี ผิ ว ห น า ข อ ง น้ํ า สี เ ป น ตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้น ตั้งแตเร่ิมตนจนเสร็จสิ้น บางครั้งท้ังนี้ตองอาศัยการ กิจกรรมแมวาจะไดรับการ กิจกรรม กระตุนจากครหู รอื ผอู ืน่ กระตุน จากครหู รือผูอ ่ืน  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร 170 เรอ่ื งที่ 3 แกส ในเรอื่ งนี้ นกั เรียนจะไดเ รียนรเู กีย่ วกบั สมบัตขิ องแกส จดุ ประสงคก ารเรียนรู สังเกตและอธิบายสมบัติของสสารในสถานะแกส เวลา 2.5 ช่วั โมง วสั ดุ อุปกรณสาํ หรบั ทาํ กจิ กรรม ลูกโปง ยางรัดของ เคร่ืองช่ังแบบคาน 3 แขน แกวนํ้าใส เทปใส หลอดดูดแบบงอได ถุงพลาสติกใส อางนํ้า หลอด ฉีดยา ถงุ มอื ยาง หลอดพลาสติกแขง็ ลกู โปง ส่อื การเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู 1. หนงั สอื เรียน ป.4 เลม 2 หนา 58-66 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.4 เลม 2 หนา 58-67 สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

171 คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดุและสสาร แนวการจดั การเรียนรู (30 นาที) หากนกั เรียนไมสามารถตอบคําถาม หรืออภิปรายไดตามแนวคําตอบ ครู ขั้นตรวจสอบความรู (5 นาท)ี ควรใหเวลานกั เรียนคิด อยางเหมาะสม ร อ ค อ ย อ ย า ง อ ด ท น แ ล ะ รั บ ฟ ง 1. ครูทบทวนความรูพ้ืนฐานจากกิจกรรมท่ีผานมาเก่ียวกับสมบัติของ แนวความคิดของนักเรียน ของแข็งและของเหลว โดยใชคําถามดงั ตอ ไปน้ี 1.1 ของแข็งมีสมบัติอยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจ ซ่ึง นักเรียนตองตอบไดวา ของแข็งมีมวล ตองการท่ีอยู รูปรางและ ปริมาตรคงท่ี) 1.2 ของเหลวมีสมบัติอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง ซง่ึ ตอ งตอบไดวา ของเหลวมีมวล ตองการที่อยู ปริมาตรคงที่ แตรูปราง ไมคงท่ีเปล่ียนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ ผิวหนาของของเหลวรักษา ระดบั ) 2. ครตู รวจสอบความรูเดมิ ของนักเรียนเกี่ยวกับสมบัตขิ องแกส โดยใชค ําถามดังตอ ไปนี้ 2.1 นกั เรียนคิดวา รอบตัวเรามีอะไรบางทเ่ี ปนแกส ยกตัวอยาง และ เพราะเหตุใดจึงคิดเชนนั้น (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ ตนเอง) 2.2 แกสมีสมบัติอะไรบาง (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ ตนเอง) 2.3 สมบัติของแกสเหมือนและแตกตางจากของแข็งและของเหลว อยางไร (นกั เรียนตอบไดต ามความเขาใจของตนเอง) ครูบันทึกคําตอบของนักเรียนเพื่อเปนขอมูลในการแกไขความเขาใจ คลาดเคลอื่ นของนกั เรยี น ขน้ั ฝกทักษะจากการอาน (20 นาท)ี นั3. นักเรียนอานช่ือเร่ืองและ คิดกอนอาน ในหนังสือเรียนหนา 58 จากนั้นนักเรียนลองตอบคําถามตามความเขาใจของตนเอง ครู บันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใชเปรียบเทียบคําตอบ หลังการอาน นักเรียนอานคําศัพทใน คําสําคัญ หากนักเรียนอาน ไมได ครคู วรสอนการอา นที่ถกู ตองแกนักเรียน 4. ครูใหนักเรียนอานเนื้อเร่ือง จากนั้นใชคําถามเพ่ือตรวจสอบความ เขา ใจจากการอา น ดงั นี้  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร 172 4.2 เร่ืองทอ่ี า นเปนเร่อื งเกี่ยวกับอะไร (แกส ) การเตรียมตัวลว งหนาสําหรบั ครู 4.2 จากเรื่องที่อาน กลาวถึงแกสอะไรบาง (แกสออกซิเจน (O2) เพื่อจัดการเรียนรูในครง้ั ถัดไป แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) แกสปโ ตรเลยี มเหลว) ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา 4.4 แกส แตละชนิดมีประโยชนหรือมีโทษ อยางไร (มีประโยชน เชน กิจกรรมท่ี 3.1 แกสมีมวลและตองการ แกสออกซิเจนชวยในการหายใจ แกสคารบอนไดออกไซดพืช ท่ีอยูหรือไม โดยนักเรียนจะตอง ใชส รา งอาหาร แกส ปโตรเลยี มเหลวใชเปนเชอ้ื เพลงิ ) สังเกตเพื่ออธิบายสมบัติของแกสเก่ียวกับ ขัน้ สรุปจากการอาน (5 นาที) มวลและการตองการท่ีอยู ครูเตรียมการ จัดกจิ กรรม ดังนี้ 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา แกสเปนสถานะอยางหนึ่งของ สสาร รอบตัวเรามีแกสหลายชนิดซึ่งนํามาใชประโยชนไดตางๆ กัน 1. เตรียมน้าํ สี โดยผสมสีผสมอาหาร นอกจากนี้ในอากาศยังมีแกสอีกหลายชนิดผสมกันอยู ครูควร กับน้ําใหมีปริมาณเพียงพอกับปริมาณท่ี ยกตวั อยา งแกสอนื่ ๆ เชน ไนโตรเจน ตองใช ในการจัดกิจกรรม นักเรียนแตละ กลมุ จะใชน้ําสีกลุมละ 1 ขวด 6. นกั เรยี นตอบคําถาม รูหรือยัง ในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หนา 58 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของ 2. ครูอาจมอบหมายใหนักเรียนทุก คนอานกิจกรรมที่ 3.1 แกสมีมวลและ นักเรียนในรูหรือยังกับคําตอบที่เคยตอบและบันทึกไวในคิดกอน ตองการที่อยูหรือไม มาลวงหนาเพ่ือใชใน อานวาเหมือนหรือตา งกนั อยางไร และแกไขคาํ ตอบทผ่ี ดิ ใหถกู ตอง การอภิปรายและสรุปวาจะไดเรียนเร่ือง 8. ครูเนนยํ้ากับนักเรียนเกี่ยวกับคําถามทายเน้ือเรื่องวาสสารใดบางมี อะไรและทาํ อยา งไร สถานะเปนแกสและมีสมบัติอยางไร เพื่อชักชวนใหนักเรียนหา คาํ ตอบรว มกนั ในกิจกรรมตอ ไป สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

173 คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดุและสสาร แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม แกส ออกซิเจน แกส ปโ ตรเลยี มเหลว แกส คารบ อนไดออกไซด แกส ออกซิเจนชวยในการหายใจ แกสปโ ตรเลียมเหลวใชในการหงุ ตม แกส คารบอนไดออกไซดใ ชใ นการสงั เคราะหดว ยแสงของพืช  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร 174 กิจกรรมท่ี 3.1 แกสมีมวลและตองการทอี่ ยูหรอื ไม กจิ กรรมนนี้ ักเรียนจะไดส งั เกตมวลและการตองการท่ี อยูของแกสโดยช่ังมวลของอากาศในลูกโปงเพื่ออธิบาย มวลและสังเกตการเปล่ียนแปลงเม่ือบีบอากาศในถุงเขาไป ในแกวทีบ่ รรจุนํา้ เตม็ เพอ่ื อธิบายการตอ งการทีอ่ ยูของแกส เวลา 1 ชว่ั โมง จดุ ประสงคก ารเรยี นรู สงั เกต และอธิบายเกย่ี วกับมวลและการตองการท่ี อยูข องแกส วสั ดุ อุปกรณส าํ หรับทํากจิ กรรม ส่ิงทค่ี รตู องเตรียม/กลมุ 1. เครอื่ งชัง่ แบบคาน 3 แขน อยา งนอย 1 เคร่ือง 2. ลูกโปง 1 ใบ 3. เทปใส 1 มว น 4. แกว นา้ํ ใส 1 ใบ 5. อางนํา้ 1 ใบ สอื่ การเรียนรูแ ละแหลง เรียนรู 6. หลอดดดู แบบงอได 1 หลอด 1. หนังสอื เรยี น ป.4 หนา 59-61 7. ถงุ พลาสตกิ ใส 1 ใบ 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.4 หนา 59–62 3. ตัวอยางวดี ทิ ัศนปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตรเ รอ่ื งแกส มี 8. ยางรดั ของ 1 วง มวลและตองการที่อยูหรอื ไม http://ipst.me/8066 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S2 การวดั S3 การใชจ ํานวน S5 การหาความสมั พันธระหวางสเปซกับสเปซ S8 การลงความเห็นจากขอมูล ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร C4 การสื่อสาร C5 ความรวมมือ สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

175 คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วัสดแุ ละสสาร แนวการจดั การเรยี นรู ขอ เสนอแนะ 1. ครูนําเขาสูกิจกรรม โดยตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเพื่อเขาสู 1. ครอู าจใชส ายยางแทนหลอดดดู กิจกรรมใหมเกี่ยวกับสมบัติของแกส โดยอาจใชคําถามวานักเรียน 2. ครูติดกาว 2 หนาไวบนเคร่ืองชั่งมวล คิดวารอบตัวเรา มีอะไรบางท่ีเปนแกส ยกตัวอยาง เพราะเหตุใดจึง คิดเชนนั้น (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเองซึ่งครูตอง จากนนั้ ปรบั สเกลเครื่องช่งั ใหเ ปน ศูนย ซกั ถามเพอ่ื ใหนักเรียนใหเหตุผลวาแกสในความคิดของนักเรียนตอง 3. ครูอาจใหนักเรียนทุกคนไปอานกิจกรรม มสี มบัติอยางไร) น้ีมากอนลวงหนา เมื่อเขาเรียน ครูสุม 2. นกั เรยี นเปด หนงั สือเรยี นหนา 59 อา นชื่อกิจกรรม และ นักเรียนบางกลุมใหเลาโดยสรุปวาวันนี้ ทําเปนคิดเปน ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับสิ่งที่จะ นักเรียนจะทํากิจกรรมเกี่ยวกับอะไร เรียน โดยใชคําถามดังตอ ไปน้ี และทําอยางไร 2.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนเก่ียวกับเรื่องอะไร (มวล และการ ตอ งการที่อยูข องแกส) ขอเสนอแนะเพิม่ เติม 2.2 นกั เรยี นจะไดเ รยี นเรื่องน้ีดว ยวิธีใด (การสงั เกต) 2.3 เม่ือเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (สามารถอธิบายเก่ียวกับ ถา ครสู งั เกตเหน็ วา นักเรยี นบางคนอาจทาํ มวล และการตอ งการทอี่ ยูของแกส) ความเขา ใจไมทนั ครูแสดงวิธีการคิดและ นักเรียนบันทึกจุดประสงคของกิจกรรม จากนั้นอานส่ิงที่ตองใชใน คํานวณบนกระดาน กิจกรรมซ่ึงครูนําวัสดุอุปกรณตาง ๆ มาแสดงใหนักเรียนดูทีละ อยางและยังไมแ จกอุปกรณใ หแ กน กั เรยี น มวลของอากาศและลูกโปง – มวลของลูกโปง = มวล ของอากาศ 3. นักเรียนอาน ทําอยางไร ตอนที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 59 โดยครู ใชวิธีการอานตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครู ตรวจสอบความเขาใจข้ันตอนการทํากิจกรรมทีละขอ โดยใชคําถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมนใ้ี ชอะไรเปน ตวั แทนของแกส (กิจกรรมนใ้ี ชอากาศเปน ตวั แทนของแกส ) 3.2 นักเรียนตองทําอยางไรบางในกิจกรรมตอนท่ี 1 (อภิปรายวา อากาศมีมวลหรือไม และหาวิธีตรวจสอบมวลของอากาศจาก อปุ กรณท ่ีกําหนดให) 3.3 จากรายการอุปกรณในสิ่งท่ีตองใช นักเรียนจะเลือกอุปกรณ ใดบางมาใชหามวลของอากาศ (นักเรียนตอบตามความเขาใจ เชน ใชลกู โปง ยางรดั ของ และเครือ่ งช่ังแบบคาน 3 แขน) 4. ครูใหเวลานักเรียนวางแผนการตรวจสอบมวลของอากาศโดยใช อุปกรณที่กําหนดแลวนําเสนอ ครูบันทึกผลการนําเสนอของ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดุและสสาร 176 นักเรียนบนกระดาน จากน้ันรวมกันอภิปรายขั้นตอนการทํา กิจกรรมซึ่งควรไดผลดังน้ี ช่ังมวลของลูกโปงและยางรัดของ  เปาลูกโปง รัดดวยยางรัดของแลวชั่งมวล  คํานวณหามวลของ อากาศ ครใู หค ําแนะนําวา เม่ือจะชั่งลูกโปงที่เปาแลว ใหนักเรียนวางลูกโปงบน เทปกาว 2 หนา ทค่ี รตู ิดไวทเ่ี ครื่องช่งั เพ่อื กนั ไมใหลูกโปง ลอย 5. ครูใหตัวแทนนักเรียนมารับอุปกรณและลงมือทํากิจกรรม ตาม ขนั้ ตอนดังน้ี • รวมกันอภิปรายและใหเหตุผลเกย่ี วกบั อากาศมีมวลหรือไม (C4) • ตรวจสอบมวลของอากาศ บันทึกผล (S1, S2, S3) • อภปิ รายและลงขอ สรปุ เก่ยี วกบั มวลของแกส (S8) 6. หลังจากทํากิจกรรมแลวแตละกลุมเก็บอุปกรณใหเรียบรอยและ นําเสนอผลการทํากิจกรรม 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม ตามแนวคําถาม ดังน้ี 7.1 มวลของลูกโปงเหมือนหรือแตกตางกันระหวางกอนและหลัง การเปาอากาศเขาไปในลูกโปง อยางไร (แตกตางกัน มวลของ ลูกโปงเมื่อเปา อากาศเขาไปมีมวลมากกวา ) 7.2 นักเรียนคน พบอะไรบา งจากกจิ กรรมน้ี (อากาศมมี วล) 6.4 นักเรียนคิดวาแกส อนื่ ๆ มีมวลหรือไม และคิดวามีวิธีตรวจสอบ อยางไร (แกสมีมวล ตรวจสอบไดโดยนําแกสนั้น ๆ บรรจุใน ภาชนะที่ปด สนิท แลวนํามาช่ัง) 7. ครแู ละนักเรยี นรว มกนั อภิปรายและลงขอสรุปวา แกส มีมวล 8. ครูนําเขาสูกิจกรรม ตอนที่ 2 โดยทบทวนสิ่งท่ีนักเรียนไดเรียนรู เกีย่ วกับสมบตั ิของแกส ในกจิ กรรมตอนทผี่ านมา ซ่ึงนักเรียนควรบอกได วา กจิ กรรมทผ่ี านมาไดเ รยี นรวู าแกสมีมวล 9. นักเรียนอาน ทําอยางไร ตอนท่ี 2 จากนั้นรวมกันอภิปราย โดยใช คําถามดังน้ี 9.1 จุดประสงคของกิจกรรมตอนท่ี 2 คืออะไร (สังเกตและอธิบาย เกย่ี วกับการตองการท่อี ยขู องแกส ) 9.2 กิจกรรมน้ีใชอะไรเปนตัวแทนแกส (กิจกรรมนี้ใชอากาศเปน ตวั แทนของแกส) สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

177 คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วัสดแุ ละสสาร 9.3 นักเรียนตองทําอะไรบางในกิจกรรมนี้ (นักเรียนควรตอบไดวา เมื่อบรรจุน้ําใหเต็มแกวแลวควํ่าลงในอางน้ํา จากน้ันนํา ถุงพลาสติกเปลาบรรจุอากาศใหเต็ม เสียบหลอดดูดท่ีปากถุง แลว มัดปากถุงดวยยางรัดของใหแนน คาดคะเนวาจะเกิดอะไร ขึ้นถาสอดปลายหลอดดูดอีกดานหน่ึงเขาไปในแกวที่บรรจุน้ํา แลวบีบถุงบรรจุอากาศเขาไปในแกว บันทึกผล จากนั้นทํา กจิ กรรมเพื่อตรวจสอบการคาดคะเน) 9.4 การบนั ทึกผลการคาดคะเนและการสงั เกต นักเรียนทาํ อยา งไร ครูแนะนําใหนักเรียนดูแบบบันทึกประกอบ (จดบันทึก และ วาดรปู ) 10. ตวั แทนนกั เรยี นรับอุปกรณแลวเรม่ิ ทํากจิ กรรม ตามขน้ั ตอนดังนี้ • อภิปรายและใหเ หตุผลเกี่ยวกับอากาศตองการท่ีอยูหรอื ไม • บนั ทึกผลการคาดคะเนในแบบบันทึก • วางแผนและตรวจสอบการตองการที่อยูของอากาศ บันทึกผล (S1, S5) (C4) • อภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับการตองการท่ีอยูของอากาศ (S8) (C4) (C5) 11.หลังจากทํากิจกรรมแลวแตละกลุมเก็บอุปกรณและนําเสนอผลการ ทํากิจกรรม 12. ครอู ภปิ รายผลการทาํ กจิ กรรมรว มกบั นกั เรียน โดยใชคาํ ถาม ดงั น้ี 12.1 เมื่อบีบอากาศจากถุงพลาสติกเขาไปในแกวน้ํา นักเรียน สงั เกตเหน็ อะไรบาง (นกั เรียนตอบตามท่ีสงั เกตเห็นซ่ึงควรตอบ ไดว า เห็นฟองอากาศผดุ ขน้ึ มาในนาํ้ สี ระดับนํ้าสีในแกวลดลง) 12.2 ระดับน้ําสีท่ีลดลงเปนเพราะเหตุใด (เพราะอากาศจาก ถุงพลาสติกเขาไปอยูแทนท่ีนํ้าทําใหนํ้าสีบางสวนตองยายท่ี ออกมาอยใู นอา งนํ้า) 12.3 จากสิ่งที่สังเกตเห็น อากาศตองการท่ีอยูหรือไม รูไดอยางไร (ตอ งการทอี่ ยู เพราะเมอื่ บีบอากาศเขาไปในแกวนํ้า ระดับนํ้าสี จะลดลง แสดงวาอากาศเขาไปแทนพื้นท่ีสวนที่น้ําสีเคย ครอบครองอยู) 12.4 นักเรียนคนพบอะไรบางจากกิจกรรมนี้ (อากาศตองการ ทีอ่ ยู)  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร 178 12.5 นักเรียนสรุปกิจกรรมตอนนี้ไดอยางไร (แกสตองการ การเตรยี มตัวลวงหนา สําหรับครู เพอ่ื จดั การเรียนรใู นครง้ั ถดั ไป ท่ีอยู) 13. ครแู ละนักเรยี นรว มกนั อภปิ ราย และลงขอ สรุปกิจกรรมทั้ง 2 ตอน ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํากิจกรรมท่ี 3.2 แกสมสี มบัติอะไรอกี บาง โดยนกั เรียนจะได อกี ครง้ั หน่ึงวา แกสมมี วลและตอ งการท่อี ยู สังเกตปริมาตรและรูปรางของแกสเพ่ืออธิบาย 14. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบใน ฉันรูอะไร โดยครูอาจเพ่ิมเติม วาแกสมีปริมาตรไมคงที่ รูปรางเปล่ียนแปลง ตามภาชนะที่บรรจุ ครูเตรียมการจัดกิจกรรม คําถามในการอภิปรายเพ่ือใหไดแนวคําตอบตามคําถามทาย โดย อาจมอบหมายใหนักเรียนทุกคนอาน กิจกรรมท่ี 3.2 แกสมีปริมาตรและรูปรางเปน กิจกรรมนี้ อยางไร มาลวงหนาเพื่อนํามาใชในการ อภิปรายและสรุปเก่ียวกับการทํากิจกรรมใน 15. นักเรียนเขียนสรุปส่ิงท่ีไดเรียนรูในกิจกรรมน้ี ดวยสํานวนภาษา ครง้ั ถดั ไป ของตนเอง จากนั้นครูใหนักเรียนอาน ส่ิงท่ีไดเรียนรู และ เปรยี บเทียบกบั ขอสรุปของตนเอง 16. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถาม เร่ืองแกสวาสสารใดบางมีสถานะ เปนแกสและรูไดอยางไร (อากาศเปนแกสเพราะ มีมวลและ ตอ งการทอี่ ยู ปริมาตรและรปู รา งของแกสไมคงที่) 17. นักเรียนตั้งคําถามใน อยากรูอีกวา ลงในแบบบันทึกกิจกรรม จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาชั้น เรยี น 18. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรแ ละทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 ในขั้นตอน ใดบางแลว ใหบ นั ทกึ ในแบบบันทกึ กิจกรรมหนา 62 สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

179 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร แนวคําตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม สงั เกตและอธบิ ายเก่ยี วกับมวลของแกส ลูกโปง ยางรัดของ เครื่องช่ังแบบคาน 3 แขน 1. ชงั่ มวลของลกู โปง และยางรัดของ 2. เปา ลูกโปง รัดดวยยางรัดของแลว ช่ังมวล 3. คํานวณหามวลของอากาศ =………….กรมั มวลของอากาศทีช่ ่ังไดข ้ึนอยูกับขอมูลทน่ี กั เรยี นบนั ทกึ ตามทช่ี ่ังไดจรงิ  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดุและสสาร 180 สงั เกตและอธิบายเกีย่ วกับการตองการทอ่ี ยขู องแกส คําตอบขึน้ อยูกับการ คําตอบขึน้ อยูกับผลที่ คาดคะเนของนักเรียน สงั เกตไดข องนกั เรยี น สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

181 คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร อากาศมีมวล เพราะเม่ือเปา อากาศเขาไปในลูกโปง แลว นาํ ไปช่งั พบวา มีมวลเพ่ิมข้นึ แสดงวา มวลท่เี พ่ิมขนึ้ คือมวลของอากาศ เม่ือช่ังมวลลกู โปงทบ่ี รรจุอากาศ และคํานวณหามวลของอากาศได. ... กรัมแสดงวา อากาศมมี วล เมื่อบีบอากาศในถงุ พลาสติกเขาไปในแกวทมี่ นี ้ําสีอยูเตม็ จะมฟี องอากาศผุดขึ้นในนํา้ สี ระดบั นาํ้ สีในแกว ลดลง เพราะมีอากาศเขาไปแทนทนี่ ้ําสีในแกว อากาศตอ งการท่ีอยู รูไดจ ากเม่อื บีบอากาศในถุงพลาสติกเขาไปในแกว ท่ีมนี ํา้ สีอยเู ต็ม จะมอี ากาศไปแทนท่นี ํ้าในแกว นํา้ และระดับนาํ้ สีในแกว ลดลง เมอื่ บีบอากาศในถงุ พลาสติกเขา ไปในแกวทีม่ นี ํา้ อากาศจะเขาไปอยใู นแกว และ ระดบั น้ําในแกวจะคอยๆ ลดลงๆ ในขณะที่อากาศในแกวจะมปี ริมาณเพิม่ ขึน้ อากาศมมี วลและตองการท่ีอยู  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดุและสสาร 182 คําถามของนักเรยี นที่ต้ังตามความอยากรขู องตนเอง        สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

183 คูม ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรยี นรขู องนักเรียนทาํ ได ดังนี้ 1. ประเมินความรเู ดิมจากการอภิปรายในชนั้ เรียน 2. ประเมนิ การเรียนรูจากคําตอบของนักเรียนระหวา งการจัดการเรียนรแู ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนกั เรียน การประเมนิ จากการทาํ กจิ กรรมที่ 3.1 แกส มมี วลและตอ งการทอี่ ยหู รือไม ระดับคะแนน 2 คะแนน หมายถงึ พอใช 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถึง ดี รหัส สง่ิ ที่ประเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S2 การวดั S3 การใชจ าํ นวน S5 การหาความสัมพันธระหวางสเปซ กับสเปซ S8 การลงความเห็นจากขอมลู ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ C4 การสอ่ื สาร C5 ความรวมมอื รวมคะแนน  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร 184 ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑการประเมนิ ดงั นี้ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร การสงั เกตมวลของ S1 การสงั เกต อากาศในลกู โปง ดี (3) พอใช (2) ควรปรบั ปรุง (1) และการตองการที่ สามารถใชป ระสาทสมั ผัส S2 การวัด อยูข องอากาศโดย เก็บรายละเอียดเกีย่ วกับ สามารถใชป ระสาทสัมผสั เก็บ ไมสามารถใช การแทนี่นา้ํ ในแกว การเปลี่ยนแปลงมวลของ น้ําสี ลกู โปง กอ นและหลังบรรจุ รายละเอียดเกีย่ วกับการ ประสาทสมั ผสั เก็บ อากาศและการตองการท่ี การใชเคร่ืองช่ังชงั่ อยขู องอากาศโดยสงั เกต เปล่ียนแปลงมวลของลูกโปง รายละเอยี ดเก่ียวกับ มวล การอานคา จากฟองอากาศและระดับ มวลและการระบุ นาํ้ สีทล่ี ดลงไดถูกตองดว ย กอ นและหลังบรรจอุ ากาศและ การเปล่ียนแปลง หนว ยของมวล ตนเอง การตองการท่ีอยูของอากาศ มวลของลกู โปงกอน สามารถใชเคร่ืองช่ังชัง่ มวล อา นคา มวล และระบุ โดยสงั เกตจากฟองอากา และหลงั บรรจุ หนวยของมวลไดถูกตอง ดว ยตนเอง สและระดบั น้ําสีทลี่ ดลงได อากาศและการ ถกู ตองโดยตองอาศัยการ ตอ งการทีอ่ ยูของ ช้ีแนะจากครหู รือผอู ื่น อากาศโดยดจู าก ฟองอากาศและ ระดับนาํ้ สที ี่ลดลงได แมวาครหู รอื ผูอน่ื ชว ยแนะนาํ หรอื ช้ีแนะ สามารถใชเครื่องช่ังชง่ั มวล ไมส ามารถใชเครื่อง อา นคามวล และระบุหนวย ชง่ั ช่งั มวล และอาน ของมวลไดถูกตอ งจากการ คามวลได แนะนําของครหู รอื ผอู ่นื ถกู ตอง รวมท้งั ไม สามารถระบุหนว ย ของมวลได แมว า ครู หรือผอู น่ื ชว ยแนะนํา หรือช้แี นะ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

185 คูม อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร สามารถคํานวณหาผลตา ง พอใช (2) ไมส ามารถ มวลของลูกโปงหลงั บรรจุ คาํ นวณหาผลตาง S3 การใชจ ํานวน การหาผลตา งมวล อากาศกบั กอนบรรจุ สามารถคาํ นวณหาผลตา ง มวลของลกู โปงหลัง อากาศเพื่อคํานวณหาคา มวลของลกู โปง หลังบรรจุ บรรจอุ ากาศกบั กอ น ของลกู โปงหลัง มวลของอากาศไดถูกตอง อากาศกบั กอนบรรจุอากาศ บรรจอุ ากาศเพื่อ ดว ยตนเอง เพือ่ คํานวณหาคามวลของ คาํ นวณหาคามวล บรรจอุ ากาศกบั อากาศไดถกู ตอง โดยอาศยั ของอากาศไดแมว า การช้แี นะจากครู ครหู รือผูอน่ื ชวย กอนบรรจุอากาศ แนะนําหรือชี้แนะ เพ่ือคาํ นวณหาคา มวลของอากาศ S5 การหา การระบุ สามารถระบุความสมั พันธ สามารถระบุความสัมพนั ธ ไมส ามารถระบุ ความสมั พนั ธ ความสมั พันธ ระหวางสเปซ ระหวางอากาศใน ระหวา งที่อยูของอากาศใน ระหวา งที่อยูของอากาศใน ความสมั พันธ กับสเปซ ถงุ พลาสติกและ อากาศในแกวนํา้ ถงุ พลาสติกและอากาศใน ถุงพลาสติกและในแกว น้ํา ระหวา งที่อยูของ S8 การลง ความเหน็ จาก การระบมุ วลและ แกว นา้ํ เม่ือบีบอากาศจาก เม่ือบบี อากาศจาก อากาศใน ขอ มูล การตองการท่ีอยู ของอากาศ ถงุ พลาสติกเขา ไปในแกว ถงุ พลาสติกเขาไปในแกว นํา้ ถงุ พลาสติกและ นํา้ ไดถ ูกตองดว ยตนเอง ไดถ ูกตอ งโดยอาศยั การ อากาศในแกว นาํ้ เม่ือ ชแ้ี นะจากครูหรือผอู ่นื บบี อากาศจาก ถุงพลาสติกเขา ไปใน แกวนาํ้ ไดแมวา ครู หรอื ผูอ ่ืนชว ยแนะนาํ หรอื ช้แี นะ สามารถลงความเหน็ ขอมูล สามารถลงความเห็นขอ มูล ไมสามารถลง จากการสังเกตมวลและ จากการสังเกตมวลและการ ความเหน็ ขอมลู จาก การตอ งการท่ีอยูของ ตองการที่อยูของอากาศไดว า การสงั เกตมวลและ อากาศไดว าอากาศมีมวล อากาศมมี วลและตองการที่ การตอ งการท่ีอยูข อง และตอ งการท่ีอยูไดถ ูกตอ ง อยูไดถกู ตองโดยอาศัยการ อากาศไดวา อากาศมี ดว ยตนเอง ชี้แนะจากครหู รือผูอื่น มวลและตอ งการท่ี อยูไดแมวาครูหรือ ผูอ่ืนชวยแนะนาํ หรือ ชี้แนะ  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร 186 ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเ กณฑการประเมนิ ดงั น้ี ทักษะแหง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) C2 การคิด ก า ร ตั ด สิ น เ ลื อ ก สามารถบอกวิธีการหา สามารถบอกวิธีการหามวล ไมสามารถบอกวิธีการหา อ ย า ง มี วิธีการหามวลของ มวลของอากาศอยางเปน ของอากาศอยางเปนลําดับ มวลของอากาศอยางเปน วิจารณญาณ อากาศ ลําดับขั้นตอนที่ถูกตองได ขั้นตอนที่ถูกตองไดจากการ ลําดับข้ันตอนแมวาครู ดว ยตนเอง ช้แี นะของครหู รอื ผอู ืน่ หรอื ผูอ่ืนชวยแนะนําหรือ ช้ีแนะ C4 การสอ่ื สาร การนําเสนอขอมลู สามารถนําเสนอขอมูลที่ สามารถนําเสนอขอมูลท่ีได ไมสามารถนําเสนอขอมูล ไดจากกิจกรรมซ่ึงสรุปได จากกจิ กรรมซึ่งสรุปไดวาแกส ท่ีไดจากกิจกรรมซึ่งสรุป วาแกสมีมวลและตองการ มีมวลและตองการที่อยูใน ไ ด ว า แ ก ส มี ม ว ล แ ล ะ ท่ีอยูในรูปแบบท่ีชัดเจน รูปแบบที่ชัดเจนและเขาใจ ตองการท่ีอยูในรูปแบบท่ี และเขาใจงา ยดวยตนเอง งายโดยอาศัยการช้ีแนะจาก ชัดเจนและเขาใจงาย ครูหรือผอู นื่ แ ม ว า ค รู ห รื อ ผู อื่ น ช ว ย แนะนําหรอื ชแ้ี นะ C5 ความ การทํางานรวมมือ ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ทํางานรวมกับผูอ่ืนรวมทั้ง ไ ม ส า ม า ร ถ ทํ า ง า น รว มมอื กันในกลมุ รวมท้ังยอมรับฟงความ ยอมรับฟงความคิดเห็นของ ร ว ม กั บ ผู อ่ื น อ ย า ง คิดเห็นของผูอ่ืนอยาง ผูอื่นอยางสรางสรรคในการ สรางสรรคในการทํา สรางส รรคในการทํา ทํากิจกรรมมวลและการ กิจกรรมมวลและการ กิจกรรมมวลและการ ตองการท่ีอยูของแกส เปน ตองการท่ีอยูของแกส ตองการท่ีอยูของแกส บางครั้งในขณะทีท่ ํากิจกรรม แ ม ว า จ ะ ไ ด รั บ ก า ร ต้ังแตเริ่มตนจนส้ินสุด ท้ังน้ีตองอาศัยการกระตุน กระตุน จากครูหรือผอู ืน่ การทาํ กจิ กรรม จากครหู รอื ผูอนื่ สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

187 คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดุและสสาร กจิ กรรมท่ี 3.2 แกสมปี รมิ าตรและรูปรา งเปน อยา งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตปริมาตรและรูปราง ของแกสโดยใชกระบอกฉีดยา ลูกโปงและถุงมือยางเพื่อ อธิบายปริมาตรและรปู รา งของแกส เวลา 1 ชว่ั โมง จดุ ประสงคการเรยี นรู สงั เกตและอธิบายเกยี่ วกับปริมาตรและรูปรา งของ แกส วัสดุ อปุ กรณสําหรับทาํ กจิ กรรม สง่ิ ท่ีครตู องเตรียม/กลมุ 1. หลอดฉีดยา 1 หลอด 2. ถงุ มือยาง 1 ถุง สื่อการเรียนรแู ละแหลง เรียนรู 3. ลกู โปง 1 ลูก 1. หนงั สือเรยี น ป.4 เลม 2 หนา 62-65 4. ยางรัดของ 1 วง 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.4 เลม 2 หนา 63–67 3. ตัวอยา งวดี ิทศั นป ฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตรเ รือ่ งแกสมี 5. หลอดพลาสตกิ แข็ง 1 หลอด รูปรางและปรมิ าตรเปนอยา งไร ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร http://ipst.me/8067 S1 การสังเกต S2 การวดั S5 การหาความสมั พนั ธระหวางสเปซกับสเปซ S8 การลงความเหน็ จากขอมูล ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร C4 การสื่อสาร C5 ความรวมมือ  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วัสดแุ ละสสาร 188 แนวการจดั การเรียนรู ขอ เสนอแนะ 1. ครูนําเขาสูกิจกรรม โดยทบทวนความรูจากกิจกรรมท่ีผานมาและ 1. ครอู าจใชสายยางแทนหลอดดดู นําเขา สกู จิ กรรมใหมเ กยี่ วกับสมบตั ขิ องแกส โดยอาจใชคาํ ถามดงั นี้ 2. ครูติดกาว 2 หนาไวบนเคร่ืองช่ังมวล 1.1 จากกิจกรรมท่ีผานมาเราไดเรียนรูวา แกสมีสมบัติอะไรบาง จากนั้นปรบั สเกลเครื่องชัง่ ใหเ ปนศูนย (แกส มมี วลและตองการทีอ่ ยู) 3. ครูอาจใหนักเรียนทุกคนไปอานกิจกรรม 1.2 นอกจากแกสมมี วลและตอ งการที่อยูแลว ยงั มสี มบตั อิ ะไร นี้มากอนลวงหนา เมื่อเขาเรียน ครูสุม อีกบาง (นกั เรียนตอบตามความเขา ใจ) นักเรียนบางกลุมใหเลาโดยสรุปวาวันนี้ นักเรียนจะทํากิจกรรมเก่ียวกับอะไร 2. นักเรียน อานช่ือกิจกรรม และ ทําเปนคิดเปน ในหนังสือเรียนหนา และทําอยา งไร 62 ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับส่ิงที่จะเรียน โดยใช คําถามดงั ตอ ไปนี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (ปริมาตรและ รูปรา งของแกส) 2.2 นักเรียนจะไดเ รียนเรื่องนด้ี วยวธิ ีใด (การสงั เกต) 2.3 เม่ือเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (สามารถอธิบายเก่ียวกับ ปริมาตรและรูปรางของแกส ) นักเรียนบันทึกจุดประสงคของกิจกรรมและอานส่ิงท่ีตองใชในการ ทํากิจกรรม จากน้ันครูนําอุปกรณมาแสดงใหนักเรียนดูทีละ อยา ง 3. นักเรียนแตละกลุมอาน ทําอยางไร ตอนที่ 1 และอภิปรายรวมกัน โดยครอู าจใชค ําถามดงั นี้ 3.1 จุดประสงคของกิจกรรมตอนที่ 1 คืออะไร (สังเกตและอธิบาย เกี่ยวกบั ปริมาตรของอากาศ) 3.2 นักเรียนตองทําอยางไรบางในกิจกรรมตอนน้ี (ดึงกานหลอดฉีด ยาเพื่อดูดอากาศเขาไปในหลอดจนเต็ม อานปริมาตรของ อากาศในหลอดฉีดยา จากนั้นคาดคะเนวาเม่ือปดปลายหลอด ฉีดยาและดันกานหลอดฉีดยาจนดันตอไปไมได ปริมาตรของ อากาศจะเปนอยางไรและเม่ือปลอยกานหลอดฉีดยา ปริมาตร ของอากาศจะเปนอยางไร ทํากิจกรรมเพ่ือตรวจสอบการ คาดคะเน) 3.3 ในการบันทึกผลการสังเกต นักเรียนทําอยางไร ครูใหนักเรียน เปดแบบบันทกึ และแนะนาํ วิธบี นั ทึก สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

189 คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดุและสสาร 4. ตัวแทนนกั เรียนมารบั อปุ กรณและเรมิ่ ทํากจิ กรรม ตามลําดับขั้นตอน ดังน้ี • ดงึ กานหลอดฉีดยาจนสุด บนั ทึกปรมิ าตรอากาศ (S1, S2) • คาดคะเนวาถาใชมือปดปลายหลอดฉีดยาและดันกานหลอด ฉีดยาจนดันตอไปไมได ปริมาตรของอากาศจะเปนอยางไร และเม่ือปลอยกานหลอดฉีดยา ปริมาตรของอากาศจะเปน อยางไร บนั ทกึ ผล • ทํากจิ กรรมเพ่ือตรวจสอบการคาดคะเน บันทึกผล เม่ือดันกาน หลอดฉีดยาไมได และเมื่อปลอยกานหลอดฉีดยา (S1, S5) (C4, C5) • อภิปรายและลงขอสรุปเกยี่ วกบั ปริมาตรของแกส (S8) 5. หลังจากทํากิจกรรมเสร็จแลวใหนักเรียนแตละกลุมเก็บอุปกรณให เรยี บรอ ยและและนําเสนอผลการทาํ กิจกรรม 6. ครแู ละนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม ตามแนวคําถาม ดังตอไปน้ี 6.1 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบางเมื่อดันกานหลอดฉีดยา จนดัน ตอไปไมไดและเม่ือปลอยมือที่ดันกานหลอดฉีดยา (สามารถ ดันกานหลอดฉีดยาไดระดับหนึ่ง พบวาปริมาตรของอากาศ ลดลงและเม่ือปลอ ยมอื ที่ดนั กานหลอดฉีดยาจะเล่ือนขึ้นแสดง วาปรมิ าตรของอากาศเพิ่มข้ึน) 6.2 อากาศภายในหลอดฉีดยาออกมาภายนอกหลอดฉีดยาหรือไม (ไมม ี เพราะ อุดปลายหลอดฉดี ยาแนน จนอากาศออกมาไมได) 6.3 จากส่งิ ทีค่ น พบ ลงความเหน็ ไดวาอยางไร (ปริมาตร ของอากาศเปลย่ี นแปลงได) 6.4 จากสิ่งท่คี น พบ แกส มีสมบตั ิอยางไร (ปริมาตรของแกส ไมคงที่) 7. ครูนําเขาสูกิจกรรมตอนท่ี 2 โดยใหนักเรียนอภิปรายวาแกสยังมี สมบัติอะไรอีกบาง จากนั้นใหนักเรียนอาน ทําอยางไร ตอนท่ี 2 และอภิปรายรวมกัน โดยครูอาจใชคําถามวาจุดประสงคของ กจิ กรรมตอนท่ี 2 คอื อะไร (เพ่ือสงั เกตรปู รางของอากาศ) 8. หลงั จากนกั เรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมแลว ครูใหตัวแทนนักเรียน มารับอุปกรณและเริม่ ทาํ กิจกรรม ตามข้ันตอนดังนี้  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วัสดุและสสาร 190 • เปาอากาศเขาไปในลูกโปง • คาดคะเนวาถาใหอากาศจากลูกโปงผานหลอดพลาสติกแข็ง เขา ไปในถุงมือยาง รูปรา งของถุงมือยางจะเปนอยา งไร • ทํากิจกรรมเพ่ือตรวจสอบการคาดคะเน บันทึกผล (S1, S5) (C5) • อภปิ รายและลงขอสรปุ เกีย่ วกับรูปรา งของแกส (S8) 9. หลังจากทํากิจกรรมเสร็จแลวนักเรียนแตละกลุมเก็บอุปกรณให เรียบรอ ยและนาํ เสนอผลการทาํ กิจกรรม 10.ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม ตามแนวคําถาม ดงั ตอไปน้ี 10.1 รูปรางของอากาศในลูกโปงเปนอยา งไร (อากาศ มรี ูปรางคลา ยทรงกลมเหมือนลกู โปง ) 10.2 เม่ือปลอยอากาศจากลูกโปงเขาไปในถุงมือยางรูปรางของ อากาศเปนอยางไร (อากาศที่เขาไปในถุงมือยาง จะมีรูปราง เหมือนถุงมือ) 10.3 จากสิ่งที่คนพบ นักเรียนลงความเห็นไดวาอยางไร (อากาศมี รูปรางไมคงที่ เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ และฟุง กระจายเต็มภาชนะ) 10.4 จากส่ิงที่คนพบ แกสมีสมบัติอยางไร (แกสมีรูปราง ไมคงที่ เปลี่ยนแปลงตามภาชนะท่ีบรรจุ และฟุงกระจายเต็ม ภาชนะ) 11. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายกิจกรรมที่ 3.1 และ 3.2 และลง ขอสรุปรวมกันวา แกสมีมวล ตองการท่ีอยู รูปรางและปริมาตรไม คงที่ ครอู าจใชค าํ ถามเพื่อเปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง 3 สถานะ วาสมบัติของแกสเหมือนและแตกตางจากของแข็งและของเหลว อยางไร (แกสมีมวลและตองการที่อยูเชนเดียวกับของแข็งและ ของเหลว แกส มสี มบตั ิแตกตางจากของแขง็ คือ ปริมาตรและรูปราง ของแกสไมคงที่ ในขณะท่ีปริมาตรและรูปรางของของแข็งคงที่ เมื่อ เปรียบเทียบสมบัติของแกสกับของเหลวพบวา แกสและของเหลวมี สมบัตทิ ีเ่ หมือนกนั คอื รปู รา งไมคงที่ เปลีย่ นแปลงตามภาชนะที่บรรจุ แตสมบัติที่แตกตางกันคือ ของเหลวไมฟุงกระจายขณะท่ีแกสฟุง สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

191 คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดแุ ละสสาร กระจายได และปริมาตรของของเหลวคงที่ ขณะที่ปริมาตรของแกส ไมคงท่ี) 12.นักเรียนตอบคําถาม ฉันรูอะไร และ อยากรูอีกวา ในแบบบันทึก กิจกรรมหนา 65-67 จากน้ัน นักเรียนนําเสนอคําถามคนละ 1 ขอ หนาชั้นเรียน และใหระบุวา ในกิจกรรมน้ีนักเรียนไดฝกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะในศตวรรษท่ี 21 อะไรบาง แลวบนั ทกึ ลงในแบบบันทกึ กจิ กรรมหนา 65 13. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบใน ฉันรูอะไร โดยครูอาจเพิ่มเติม คําถามในการอภิปรายเพ่ือใหไดแนวคําตอบตามคําถามทาย กจิ กรรมน้ี 14. นกั เรียนเขียนสรปุ สิ่งท่ีไดเรยี นรูในกจิ กรรมน้ีดว ยสํานวนภาษาของ ตนเอง จากนั้นนักเรียนอาน ส่ิงท่ีไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับ ขอสรุปของตนเอง 15. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามจากเนื้อเรื่องในเรื่องแกส วามี อะไรบางที่เปนแกสและมีสมบัติอยางไร (จากเนื้อเร่ือง มีแกส คารบ อนไดออกไซด ไอนา้ํ และลมหายใจ แกสมีสมบัติดังนี้ แกสมี มวล ตองการที่อยูมรี ปู รา งและปรมิ าตรไมคงท่ี) 16. นักเรียนรวมกันอาน รูอะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียน หนา 66 จากน้นั ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือนาํ ไปสูขอสรุปเกี่ยวกับ สิ่ ง ที่ ไ ด เ รี ย น รู ใ น เ รื่ อ ง นี้ แ ล ะ ก า ร นํ า แ ก ส ม า ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ใ น ชีวติ ประจาํ วัน เชน จากน้นั ครูชักชวนใหนกั เรียนอภิปรายเก่ียวกับ การนําแกสมาใชประโยชน เชน การเปาอากาศเขาไปในหวงยาง สําหรบั ใชพ ยุงตวั ในการวายนาํ้ เปน ตน  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร 192 แนวคําตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม สังเกตและอธิบายเก่ยี วกับมวลของแกส ปรมิ าตรของอากาศเทากบั ……………..ลกู บาศกเซนตเิ มตร ขนึ้ อยกู ับผลการคาดคะเน ข้นึ อยูกับผลการสังเกต ข้นึ อยูก ับผลการคาดคะเน ขึน้ อยูก ับผลการสังเกต สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

193 คูม ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร สังเกตและอธบิ ายรปู รางของแกส ลูกโปง ข้นึ อยกู ับการ รูปรางของอากาศ คาดคะเน เหมือนกบั ลกู โปง ถุงมือยาง ขน้ึ อยกู ับการ รปู รา งของอากาศ คาดคะเน เหมอื นกับถุงมือยาง  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วสั ดุและสสาร 194 ปรมิ าตรของอากาศในหลอดฉดี ยามีการเปลย่ี นแปลง ดงั น้ี เมอื่ ดงึ กานหลอดฉดี ยาจนสุดปรมิ าตรของอากาศ เทา กับ ...ลูกบาศกเซนตเิ มตร เมอื่ ดนั กา นหลอดฉีดยาปริมาตรอากาศเทากบั ...ลูกบาศกเ ซนติเมตร และเม่อื ปลอ ยกา นหลอดฉดี ยาปริมาตรของอากาศ...ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร ปริมาตรของอากาศจะเทา กับขนาดของหลอดฉดี ยา อากาศมีปริมาตรไมค งที่เพราะคาปรมิ าตรท่ีอา นไดแตล ะครัง้ แตกตา งกัน อากาศมปี รมิ าตรไมค งท่ี อากาศท่บี รรจอุ ยใู นลูกโปง มีรปู รางเปน รูปคลายทรงกลมเหมือนกับลูกโปง อากาศในลกู โปงจะเคลอ่ื นทีเ่ ขาไปอยใู นถงุ มอื ยาง มผี ลทําใหลูกโปงมีขนาดเล็กลง ถุงมอื ยางมีขนาดใหญขึ้น สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

195 คูม ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร เปน เพราะอากาศสวนหนึง่ จากลูกโปงถายเทเขาไปอยใู นถงุ มือยาง ทําใหถุงมือยางพองขน้ึ อากาศมีรูปรา งเหมอื นถุงมือยาง อากาศเปลีย่ นแปลงรปู รางได ข้นึ อยกู ับรูปรา งของภาชนะท่บี รรจุ อากาศจะมีรปู รางเหมือนภาชนะทบี่ รรจุ เม่ือบรรจุอากาศในลกู โปง และถงุ มือยาง รูปรางของอากาศจะเปลยี่ นแปลงตามรูปรา งของ ลกู โปงและถุงมือยาง แกส มปี ริมาตรและรูปรา งไมคงที่  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดุและสสาร 196 คาํ ถามของนกั เรียนทตี่ ้ังตามความอยากรขู องตนเอง        สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

197 คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วัสดุและสสาร แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรียนรูข องนกั เรยี นทาํ ได ดังน้ี 1. ประเมนิ ความรูเดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรยี น 2. ประเมินการเรียนรูจ ากคําตอบของนักเรยี นระหวางการจัดการเรยี นรแู ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทาํ กจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทาํ กจิ กรรมที่ 3.2 แกสมปี ริมาตรและรปู รางเปนอยา งไร ระดบั คะแนน 2 คะแนน หมายถงึ พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี รหัส ส่ิงท่ปี ระเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S2 การวัด S5 การหาความสัมพันธระหวางสเปซ กับสเปซ S8 การลงความเหน็ จากขอมลู ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว มมือ รวมคะแนน  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วัสดแุ ละสสาร 198 ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต ามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดังน้ี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) สามารถใชป ระสาทสมั ผสั S1 การสังเกต การสงั เกตการ เก็บรายละเอียดเก่ียวกบั สามารถใชป ระสาทสัมผัสเกบ็ ไมส ามารถใชประสาท การเปล่ียนแปลงปริมาตร เปลยี่ นแปลง และรูปรา งของอากาศได รายละเอียดเกยี่ วกับการ สมั ผัสเกบ็ รายละเอยี ด ถกู ตองดวยตนเอง ปริมาตรและ เปลย่ี นแปลงปรมิ าตรและ เกยี่ วกบั การเปล่ยี นแปลง รปู รา งของอากาศ รูปรา งของอากาศไดถูกตอง ปริมาตรและรปู รา งของ โดยตอ งอาศยั การช้ีแนะจาก อากาศได แมวา ครหู รอื ครูหรือผูอ ่นื ผูอน่ื ชวยแนะนาํ หรอื ชีแ้ นะ S2 การวัด การวัดปรมิ าตร สามารถวดั ปริมาตรและ สามารถวดั ปรมิ าตรและระบุ ไมส ามารถวัดปรมิ าตรและ S5 การหา และระบหุ นว ย ระบหุ นวยปริมาตรของ หนว ยปรมิ าตรของอากาศ ระบหุ นวยปรมิ าตรของ ความสัมพนั ธ ระหวางสเปซ ปรมิ าตรของ อากาศโดยใชห ลอดฉีดยา โดยใชหลอดฉีดยาไดถกู ตอง อากาศโดยใชห ลอดฉดี ยา กบั สเปซ อากาศโดยใช ไดถ ูกตองดวยตนเอง โดยอาศัยการชแี้ นะจากครู ได แมวา ครหู รือผูอนื่ ชว ย S8. การลง ความเห็นจาก หลอดฉดี ยา หรอื ผูอื่น แนะนาํ หรือชี้แนะ ขอมูล การอธบิ าย สามารถบอกความสัมพันธ สามารถบอกความสัมพนั ธ ไมส ามารถบอก ความสัมพนั ธ ระหวา งรูปรางของอากาศ ระหวา งรูปรางของอากาศใน ความสมั พนั ธระหวา ง ระหวา งรปู รา งของ ในลูกโปง กับถุงมือยางและ ลูกโปงกบั ถุงมือยางและ รูปรา งของอากาศในลูกโปง ลกู โปง กบั ถงุ มือ ความสัมพันธร ะหวาง ความสัมพนั ธระหวาง กับถงุ มือยางและ ยาง ปรมิ าตรของ ปริมาตรของอากาศใน ปริมาตรของอากาศในหลอด ความสัมพนั ธร ะหวา ง อากาศกบั การกด หลอดฉีดยาเม่ือดันกา น ฉดี ยาเม่ือดันกานหลอดฉีดยา ปริมาตรของอากาศใน และปลอ ยกา น หลอดฉีดยาและปลอ ยกา น และปลอยกานหลอดฉดี ยา หลอดฉดี ยาเมื่อดนั กา น หลอดฉีดยา หลอดฉีดยาไดถ ูกตอ งดว ย ไดถูกตอ งโดยอาศยั กการ หลอดฉดี ยาและปลอยกาน ตนเอง ชี้แนะจากครหู รือผอู น่ื หลอดฉีดยาไดแมวา ครูหรอื ผูอืน่ ชวยแนะนาํ หรอื ชแ้ี นะ การใชขอ มลู จาก สามารถใชข อมูลจากการ สามารถใชขอมลู จากการ ไมสามารถใชข อมูลจากการ การสงั เกตและการ สงั เกตและการวดั เพ่ือสรุป สงั เกตและการวดั เพื่อสรปุ สงั เกตและการวัดเพ่ือสรุป วดั เพือ่ สรปุ เกีย่ วกับ เกี่ยวกับปรมิ าตรและรปู รา ง เกี่ยวกบั ปริมาตรและรปู รา ง เกย่ี วกับปริมาตรและรูปราง ปริมาตรและรปู รา ง ของอากาศไดอยา งถูกตอ ง ของอากาศไดอ ยางถูกตอง มี ของอากาศได แมวา ครูหรือ ของอากาศ มีเหตผุ ลดวยตนเอง เหตุผลโดยอาศยั การชแี้ นะ ผอู นื่ ชวยแนะนาํ หรือช้แี นะ จากครูหรอื ผูอนื่ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

199 คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดุและสสาร ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเกณฑก ารประเมิน ดงั น้ี ทักษะแหง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) C4 การสือ่ สาร การนาํ เสนอขอ มูล สามารถนําเสนอขอมูลที่ได สามารถนําเสนอขอมูลท่ีได ไมสามารถนําเส นอ จากการสังเกตและการวัด จากการสังเกตและการวัด ข อ มู ล ท่ี ไ ด จ า ก ก า ร ปริมาตรและรูปรางของแกส ปริมาตรและรูปรางของแกส สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร วั ด ในรูปแบบท่ีชัดเจนแล ะ ในรูปแ บบท่ีชัด เจนแล ะ ปริมาตรและรูปรางของ เขา ใจงา ยไดด ว ยตนเอง เขาใจงายโดยอาศัยการ แกสไดแมวาครูหรือ ชแ้ี นะจากครูหรอื ผูอน่ื ผูอื่นชวยแนะนําหรือ ช้ีแนะ C5 ความ การทํางานรวมมือ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน ไม ส า มา ร ถทํ าง า น รว มมอื กันในกลมุ รวมท้ังยอมรับฟงความ รวมทั้งยอมรับฟงความ ร ว ม กั บ ผู อ่ื น อ ย า ง คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู อ่ื น อ ย า ง คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู อ่ื น อ ย า ง ส ร า ง ส ร ร ค ใ น ก า ร สรางสรรคในการสังเกต สรา งสรรคใ นการสงั เกตและ สังเกตและวัดปริมาตร และวัดปริมาตรและรูปราง วัดปริมาตรและรูปรางของ และรูปรางของแกส ของแกส อยางตอเนื่อง แ ก ส ทั้ ง นี้ เ ป น ไ ป บ า ง แมวา จะได รับกา ร ตั้งแตเร่ิมทํากิจกรรมจน ชวงเวลาโดยตองอาศัยการ กระตุนจากครูหรือ สิน้ สุดการทาํ กิจกรรม กระตุน จากครหู รอื ผูอ ืน่ ผอู ่ืน  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดุและสสาร 200 กจิ กรรมทา ยบทที่ 2 สถานะของสสาร ( 1 ชวั่ โมง) 1. นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูจากบทน้ี ในแบบ บนั ทึกกจิ กรรม หนา 68 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูของตนเองโดย เปรียบเทยี บกับ แผนภาพในหัวขอ รูอะไรในบทน้ี ในหนังสือเรียน หนา 67 3. นกั เรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอน เรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 34 อีกครั้ง หากคําตอบของ นักเรียนไมถูกตองใหขีดเสนทับขอความเหลาน้ัน แลวแกไขให ถูกตอง หรืออาจแกไขคําตอบดวยปากกาตางสี นอกจากน้ีครูอาจ นําสถานการณ ในรูปนําบทในหนังสือเรียน หนา 40 มารวมกัน อภิปรายคําตอบอีกคร้ัง ดังน้ี “การเปาฟองสบู มีสสารในสถานะ ใดบาง” ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน มีแกส ของแข็งและของเหลว โดยน้ําสบูเปนของเหลว ขวดเปน ของแข็ง อากาศทอี่ ยูในฟองสบูเปนแกส 4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทท่ี 2 จากน้ันนําเสนอคําตอบหนาชั้น เรยี น ถาคําตอบไมถกู ตองครูนําอภปิ รายหรอื ใหสถานการณเพิ่มเติมเพื่อ แกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนใหถกู ตอ ง 5. นักเรยี นรว มกนั ทํากิจกรรม รว มคดิ รว มทํา 6. นักเรยี นรวมกันอา นและอภปิ รายเนอ้ื เร่อื งในหัวขอ วิทยใกลต วั สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

201 คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดุและสสาร สรปุ ผลการเรยี นรูข องตนเอง คาํ ตอบของนกั เรยี นข้ึนอยูกับความเขาใจของนกั เรียน ซึ่งควรสรปุ ไดวา สสารมีทั้งของแขง็ ของเหลว และแกส ทัง้ 3 สถานะมสี มบัตเิ หมอื นกนั คือมี มวลและตอ งการท่ีอยู สวนสมบตั ิทีแ่ ตกตา งกันคอื ของแข็งมลี ักษณะเปน กอน หยิบจับได มีปริมาตรและรูปรา งคงท่ี ของเหลวหยบิ ไมได มีปริมาตรคงทแี่ ตรูปรางไมคงที่ เปลี่ยนแปลงตามรูปรา ง ของภาชนะที่บรรจุ ผิวหนา รกั ษาระดับในแนวราบเสมอ แกสหยิบไมไ ด มีปริมาตรและรูปรางไมค งทีเ่ ปล่ยี นแปลงตามภาชนะทบ่ี รรจุ  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร 202 แนวคําตอบในแบบฝก หัดทายบท / / / / / สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

203 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร สมบตั ิของของแข็งคอื มีปริมาตรและรปู รางคงที่ ดงั นัน้ สาร A มีสมบัติ ดงั กลา วจงึ เปน ของแขง็ สมบัตขิ องของเหลวคือมีปริมาตรคงทแี่ ตรปู รา งไมคงท่ี ดังนัน้ สาร C มี สมบัตดิ ังกลาวจึงเปน ของเหลว  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วัสดแุ ละสสาร 204 สมบัติของแกสคือมีปรมิ าตรและรปู รา งไมค งท่ี ดังนนั้ สาร B มปี ริมาตรและ รปู รางเปล่ยี นแปลงตามภาชนะทบ่ี รรจุจงึ เปนแกส แกสทงั้ สองถงั มีมวลเทากนั คือ 20 กโิ ลกรมั แตปรมิ าตรของแกส จะ เปล่ยี นแปลงตามภาชนะที่บรรจุคือมีปริมาตร 20 ลิตรและ 40 ลิตร ดงั นัน้ มวลของแกส ท้งั สองถงั เทา กันแตป รมิ าตรไมเ ทากัน สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

205 คูม ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดุและสสาร นา้ํ เปนของเหลว จึงมีปรมิ าตรคงที่ และรูปรางเปล่ียนแปลงตามรูปรา งของ ภาชนะ จากรปู รูปรา งของภาชนะท้ังสองถังเทากัน ดังน้ันรูปรางของน้าํ จงึ เหมอื นเดมิ ไมเปล่ียนแปลง  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร 206 คาํ ตอบขน้ึ อยูกบั นักเรียน เชน ถา แปงฝนุ มี สถานะเปน ของเหลว ผวิ หนาของแปงฝุน จะตองมีระดบั ผิวหนา อยใู นแนวราบ อาจใหเพ่ือนเทแปงฝุนลงในภาชนะแลว สงั เกตผิวหนา ของแปงฝุน ซึ่งจะพบวา ผวิ หนาของแปงฝนุ ไมไดร กั ษาระดบั ใน แนวราบเหมอื นน้ํา ดงั นัน้ แปง ฝนุ จึงไมใช ของเหลว สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

207 คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 5 โลกและอวกาศ หนว ยท่ี 5 โลกและอวกาศ ภาพรวมการจัดการเรียนรปู ระจําหนว ยท่ี 5 โลกและอวกาศ บท เรือ่ ง กจิ กรรม ลาํ ดบั การจดั การเรยี นรู ตัวชีว้ ดั บทที่ 1 ดวงจันทรของ เร่ืองท่ี 1 การข้ึนและตก • ดวงจันทรเปนดาวที่มีลักษณะ มาตรฐาน ว 3.1 ป. 4 เรา และรปู รางของดวงจันทร คลายทรงกลม เปนบริวารของ 1. อธิบายแบบรูป กจิ กรรมท่ี 1.1 ดวงจันทรมีการ โลก ข้ึนและตกหรอื ไม อยา งไร • ในคืนวันเพ็ญจะมองเห็นดวง เสนทางการข้ึนและ จันทรมีรูปรางคลายวงกลม มีสี ตกของดวงจันทร กิจกรรมที่ 1.2 ในแตละวัน ขาวนวล มรี อ งรอยสีเทาแตงแตม โดยใชหลักฐานเชิง มองเห็นดวงจันทรมรี ูปรา ง อยา งไร •ดวงจันทรมีปรากฏการณการข้ึน ประจกั ษ และตก ซ่ึงเกิดจากการที่โลก 2. สรางแบบจําลองท่ี หมนุ รอบตวั เองในทิศทางทวนเข็ม นาฬิกาเมื่อมองจากบริเวณเหนือ อธิบายแบบรูปการ ขั้วโลกเหนือ ทําใหคนบนโลก เปล่ียนแปลงรูปราง มองเห็นดวงจันทรปรากฏข้ึนจาก ปรากฏของ ขอบฟาทางดา นตะวันออกและลับ ด ว ง จั น ท ร แ ล ะ ขอบฟา ทางดา นตะวนั ตก พ ย า ก ร ณ รู ป ร า ง •รปู รา งของดวงจันทรท่ีมองเห็นบน ป ร า ก ฏ ข อ ง ทองฟาในแตละวันแตกตางกัน ดวงจนั ทร โดยชวงเวลาท่ีมองเห็นดวงจันทรมี สวนสวางมากขึ้นจนสวางเต็มดวง เปนขางขึ้น สวนชวงเวลาท่ีสวน สวางลดลง จนมืดทั้งดวงเปน ขางแรม  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 5 โลกและอวกาศ 208 บท เรอ่ื ง กจิ กรรม ลําดับการจดั การเรยี นรู ตัวชวี้ ดั บทที่ 2 ระบบ เรอ่ื งที่ 1 ระบบสรุ ยิ ะ กิจกรรมท่ี 1 ระบบสุริยะมี • ระบบสุริยะเปนระบบ มาตรฐาน ว 3.1 ป. 4 สุริยะของเรา ลักษณะอยางไร ท่ีมีดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง 3. สรางแบบจําลอง และมีดาวบริวารโคจรอยู แสดงองคประกอบของ โ ด ย ร อ บ ร ะ บ บ สุ ริ ย ะ ระบบสุริยะ และอธิบาย ประกอบดวย ดวงอาทิตย เปรียบเทียบคาบการ และดาวเคราะห 8 ดวง ดาว โคจรของ ดาวเคราะห เคราะห แตละดวงมีขนาด และระยะทางเฉล่ียจากดวง ตาง ๆ จากแบบจําลอง อา ทิต ยแ ตก ต าง กัน ด า ว เ ค ร า ะ ห ที่ อ ยู ไ ก ล จ า ก ด ว ง อาทิตยจึงมีคาบการโคจรหรือ เวลาท่ีใชในการโคจรรอบดวง อาทิตยมากกวาดาวเคราะห ดวงอ่ืน • นอกจากน้ี ระบบสุริยะ ยังประกอบดวย ดาวเคราะห แคระ ดาวเคราะหนอย ดาว หาง และวัตถุขนาดเล็กอ่ืน ๆ โคจรอยรู อบดวงอาทิตย สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

209 คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 5 โลกและอวกาศ บทที่ 1 ดวงจันทรของเรา จดุ ประสงคการเรยี นรูประจําบท เมอ่ื เรียนจบบทน้ี นักเรยี นสามารถ 1. อธิบายแบบรูปการมองเห็นการขึ้นและตกของดวง จนั ทร 2. สรางแบบจําลองที่อธิบายและพยากรณการ เปลี่ยนแปลงรปู รา งของดวงจันทรใ นแตล ะวนั แนวคิดสําคญั ดวงจนั ทรมปี รากฏการณการขึน้ และตกและการ เปล่ยี นแปลงรูปรา งอยา งตอเนอื่ งและคงทีเ่ ปนแบบรปู สอื่ การเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู บทน้ีมอี ะไร 1. หนงั สือเรียน ป. 4 เลม 2 หนา 73-88 เรื่องที่ 1 การขึน้ และตกและรปู รา งของดวงจันทร คําสําคัญ ดวงจันทร (Moon) โคจร (orbit) 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป. 4 เลม 2 หนา 76-88 กิจกรรมท่ี 1.1 ดวงจนั ทรม กี ารข้ึนและตกหรือไม อยา งไร 3. โปรแกรมประยุกตทางดาราศาสตร เชน Lumos, The moon กจิ กรรมท่ี 1.2 ในแตละวันมองเห็นดวงจนั ทรมีรูปราง อยางไร  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี