คูม่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 4 บท เรื่อง กจิ กรรม ลำดับแนวคิดตอ่ เน่อื ง ตัวชวี้ ัด พฤษภาคม เพราะช่วงเวลานี้ บทที่ 2 ปรากฏ อุณหภูมขิ องอากาศทาง ซีกโลก การณ์เรือน เหนือและอุณหภมู ิของอากาศทางซกี กระจก โลกใต้แตกต่างกนั เล็กน้อย ทำให้ อุณหภมู ขิ องอากาศของประเทศไทย ในช่วงเวลาน้เี ป็นผลมาจากพลังงาน ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์เปน็ ส่วน ใหญ่ ช่วงเวลาดังกลา่ วของประเทศ ไทยจงึ เป็นฤดรู ้อน • มรสุมมผี ลต่อการเกดิ ฤดูของประเทศ ไทย ซง่ึ จะส่งผลตอ่ ปรมิ าณฝนและ อุณหภูมขิ องอากาศของประเทศไทย และมผี ลต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม ในดา้ นตา่ ง ๆ รว่ มคิด ร่วมทำ เรื่องที่ 1 ปรากฏการณ์ กจิ กรรม 1.1 • โลกของเรามปี รากฏการณเ์ รือน ว 3.2 ป.6/8 เรือนกระจกและภาวะ ปรากฏการณ์เรือน กระจกเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงเป็น สรา้ งแบบจำลอง โลกรอ้ น กระจกของโลกเปน็ ผลมาจากแกส๊ เรือนกระจกใบรรยา ที่อธบิ ายการเกดิ อย่างไร กาศกักเก็บความร้อนแลว้ คาย ปรากฏการณ์ ความรอ้ นบางสว่ นกลับส่ผู ิวโลกทำ เรอื นกระจก และ ให้อากาศบนโลกมีอณุ หภมู ิ ผลของ เหมาะสมต่อการดำรงชวี ิต ปรากฏการณ์ • เนื่องจากมนุษย์ทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เรอื นกระจกต่อ ส่งิ มีชีวิต ท่ปี ลอ่ ยแก๊สเรือนกระจกสู่ บรรยากาศเพ่ิมขึ้น ทำให้การกกั เก็บ และคายความร้อนกลบั สู่ผวิ โลกมี ปริมาณเพิ่มขึ้น ส่งผลให้อณุ หภูมิ ของอากาศโดยเฉล่ยี บนโลกสูงข้นึ เรื่อย ๆ และอาจเกดิ ภาวะโลกรอ้ น ถ้าภาวะนเ้ี กิดขึ้นอยา่ งต่อเนื่องและ ยาวนานจะส่งผลให้เกดิ การ เปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5 คูม่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภยั ธรรมชาติ บท เรื่อง กิจกรรม ลำดบั แนวคดิ ตอ่ เนอ่ื ง ตวั ชวี้ ัด บทที่ 3 เร่ืองท่ี 1 ร้จู กั ภัย • การปลอ่ ยแกส๊ เรอื นกระจกสู่ ภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติ บรรยากาศเกดิ ขึ้นทง้ั จากธรรมชาติ และจากกิจกรรมต่าง ๆ ทมี่ นุษย์ สร้างข้นึ กจิ กรรม 1.2 เราจะลด • ทกุ คนควรลดการปลอ่ ยแก๊สเรอื น ว 3.2 ป.6/9 ปริมาณแกส๊ เรอื น ตระหนกั ถึง กระจกสบู่ รรยากาศ โดย กระจกได้อย่างไร ผลกระทบของ ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมและลด กจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีก่อใหเ้ กิดแก๊ส ปรากฏการณ์ เรือนกระจก และชว่ ยเพมิ่ แหล่งท่ี เรอื นกระจก โดย จะชว่ ยลดแกส๊ เรอื นกระจกโดย นำเสนอแนว ชว่ ยกนั ปลูกตน้ ไม้และอนรุ ักษ์ป่าไม้ ทางการปฏิบัติตน เพอ่ื ลดกิจกรรมท่ี ก่อใหเ้ กดิ แกส๊ เรือนกระจก รว่ มคิด รว่ มทำ กจิ กรรมท่ี 1 ปฏิบัติ • นำ้ ทว่ ม การกัดเซาะชายฝ่งั ดินถล่ม ว 3.2 ป.6/7 ตนอย่างไรใหป้ ลอดภยั แผ่นดินไหว และสนึ ามิ เป็นภัย ตระหนกั ถึง จากภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติที่เกิดข้นึ ในบางบริเวณ ผลกระทบของ ของโลก ซง่ึ ภัยธรรมชาติแตล่ ะอย่าง ภัยธรรมชาตแิ ละ จะมีลักษณะ สาเหตุการเกดิ ธรณพี ิบตั ิภยั โดย บรเิ วณทีเ่ กิด และมีผลกระทบตอ่ นำเสนอแนวทาง สง่ิ มชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อมในดา้ นต่าง ในการเฝ้าระวัง ๆ ท่แี ตกตา่ งกนั และปฏิบตั ติ นให้ • ผลกระทบของภยั ธรรมชาติแตล่ ะ ปลอดภัยจาก ภัยธรรมชาตแิ ละ อยา่ งที่มีตอ่ สิง่ มชี วี ิตและ สงิ่ แวดลอ้ มจะมีลกั ษณะและมคี วาม ธรณีพิบัติภัยที่ รนุ แรงแตกต่างกัน ขนึ้ อยู่กับภมู ิ อาจเกดิ ขึน้ ใน ประเทศ สภาพแวดลอ้ มของแตล่ ะ ท้องถิ่น พืน้ ที่ ชว่ งเวลาท่ีเกดิ และการ เปลย่ี นแปลงท่เี กิดข้ึนในบางบริเวณ ท่ใี ตผ้ วิ โลก สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 6 บท เรอ่ื ง กจิ กรรม ลำดบั แนวคิดตอ่ เนือ่ ง ตวั ช้วี ดั • ภยั ธรรมชาติบางอยา่ งอาจมี สญั ญาณบอกเหตุก่อนเกิดภัยน้นั ๆ เราจงึ ควร ติดตามสถานการณ์ และ การประกาศเตือนภยั ตา่ ง ๆ อย่าง สม่ำเสมอ เพอื่ เตรยี มตวั วางแผนรับ ภยั ธรรมชาติไดท้ นั ท่วงทแี ละจะได้ ปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัยจากภัย ธรรมชาตติ า่ ง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม รว่ มคดิ ร่วมทำ ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
7 คมู่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ บทที่ 1 ลมบก ลมทะเล และมรสุม จุดประสงค์การเรียนร้ปู ระจำบท บทนม้ี อี ะไร เม่อื เรยี นจบบทนี้ นักเรียนสามารถ เรอื่ งท่ี 1 การเกิดลมบก ลมทะเล 1. เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม จาก และมรสมุ กจิ กรรมท่ี 1.1 ลมบก ลมทะเลเปน็ อย่างไร แบบจำลอง กจิ กรรมท่ี 1.2 การเกิดมรสุมเกี่ยวข้องกับ 2. อธิบายผลของลมบก ลมทะเล และมรสุมที่มีต่อ ฤดูของประเทศไทยอยา่ งไร สิ่งมชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม 3. อธิบายผลของมรสุมต่อการเกดิ ฤดขู องประเทศไทย เวลา 6 ช่ัวโมง แนวคดิ สำคญั ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดจากความ แตกต่างระหวา่ งอุณหภูมิอากาศเหนอื พื้นดินและเหนือ พื้นน้ำ จึงเกิดการเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มี อุณหภูมิต่ำไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ทั้งลมบก ลมทะเล และมรสุมมีหลักการเกิดเช่นเดียวกัน ลมบก ลมทะเลเกิดบริเวณชายฝั่ง แต่มรสุมเกิดขึ้นในบริเวณ เขตร้อนของโลก ทั้งลมบก ลมทะเล และมรสุมมีผลต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้มรสุมยังมีผลต่อ การเกดิ ฤดูของประเทศไทย สอื่ การเรียนรูแ้ ละแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป.6 เลม่ 2 หนา้ 1-27 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.6 เลม่ 2 หน้า 1-21 3. เวบ็ ไซต์กรมอตุ ุนยิ มวิทยาhttps://www.tmd.go.th/ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 8 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 รหสั ทกั ษะ กจิ กรรมที่ 1.1 1.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวดั S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสัมพนั ธ์ระหว่าง สเปซกบั สเปซ สเปซกับเวลา S6 การจัดกระทำและส่ือความหมายขอ้ มลู S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S9 การตงั้ สมมตฐิ าน S10 การกำหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการ S11 การกำหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การส่ือสาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร หมายเหตุ: รหสั ทกั ษะทีป่ รากฏน้ี ใชเ้ ฉพาะหนงั สือคูม่ ือครเู ลม่ นี้ ⎯สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
9 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ แนวคดิ คลาดเคลื่อน แนวคดิ คลาดเคล่อื นท่ีอาจพบและแนวคดิ ทถ่ี ูกต้องในบทที่ 1 ลมบก ลมทะเล และมรสมุ มีดังตอ่ ไปนี้ แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคิดท่ีถกู ตอ้ ง รังสีจากดวงอาทิตย์ไมม่ ผี ลทำให้ผวิ โลกมี รงั สจี ากดวงอาทิตย์มีท้ังพลงั งานความร้อนและพลังงานแสง อณุ หภมู สิ ูงขน้ึ (AAAS, 2020) เมอื่ รงั สีจากดวงอาทติ ย์แผม่ ายงั โลก ผิวโลกจะกกั เกบ็ ความ ร้อนไวบ้ างส่วน ทำใหผ้ วิ โลกมีอณุ หภูมสิ งู ขึ้น (Ahrens, 2013; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) การถา่ ยโอนความร้อนไม่เกดิ ขึ้นใน อากาศสามารถถา่ ยโอนความร้อนได้ เชน่ อากาศจะพาความ อากาศ (CPALMS, 2020) ร้อนจากบริเวณหนึ่งไปยงั อกี บริเวณหนึ่ง (Ahrens, 2013; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012) ถ้าครูพบว่ามีแนวคิดคลาดเคลื่อนใดที่ยังไม่ได้แก้ไขจากการทำกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรจัดการ เรียนรเู้ พิม่ เตมิ เพอ่ื แกไ้ ขต่อไปได้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 10 บทน้ีเร่ิมตน้ อย่างไร (1 ช่วั โมง) ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเกิดลม ซึ่ง เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน นักเรียนเคยเรียนเรื่องการเกิดลมมาแล้วในช้ัน นักเรียนต้องตอบคำถามเหล่านี้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใชค้ ำถามดังน้ี ได้ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืม 1.1 ลมคอื อะไร (ลมคอื อากาศที่เคล่ือนท่ี) ครตู ้องใหค้ วามรู้ทถี่ กู ต้องทันที 1.2 ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร (ลมเกิดจากความแตกต่าง ของอุณหภูมิของอากาศบริเวณที่อยู่ใกล้กัน โดย ในการตรวจสอบความรู้เดิม อากาศบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะเคลื่อนที่สูงขึ้น ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น และอากาศบรเิ วณที่มีอณุ หภูมิตำ่ จะเคลื่อนเข้าไป สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แทนท)่ี แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง จากกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในบทเรียนนี้ 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนกั เรียนเกี่ยวกับเรื่อง ลม บก ลมทะเล และมรสุม โดยอาจยกตัวอย่างข่าว พยากรณ์อากาศของประเทศไทย และถามคำถาม เกยี่ วกบั ขา่ วพยากรณ์อากาศดังกล่าวกบั นักเรียน และ ใหน้ ักเรียนร่วมกนั อภิปรายในประเดน็ คำถามดงั กลา่ ว ตวั อยา่ งข่าวพยากรณอ์ ากาศ “พยากรณ์อากาศวันที่ 10 ธันวาคม 2562 สภาพอากาศ 24 ชัว่ โมงขา้ งหนา้ ประเทศไทยตอนบน มีอากาศหนาวเย็นกับมีลมแรง บริเวณพื้นราบใน ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอากาศ หนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมติ ำ่ สดุ 5-14 องศาเซลเซียส ส ำ ห ร ั บ ภ า ค ก ล า ง ภ า ค ต ะ ว ั น อ อ ก ร ว ม ท้ั ง กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีอากาศเย็นถึงหนาว อุณหภมู ติ ่ำสุด 13-20 องศาเซลเซยี ส” หมายเหตุ: ข่าวพยากรณ์อากาศบางส่วนของวันที่ 10 ธนั วาคม 2562 ตวั อยา่ งคำถามจากข่าวพยากรณอ์ ากาศ 2.1 เพราะเหตุใดช่วงเวลาดังกล่าวของประเทศไทย จงึ มอี ากาศหนาวถึงหนาวจัด (นกั เรยี นตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง เช่น ในชว่ งเวลาดังกล่าว ประเทศไทยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัดเป็นผล มาจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่อากาศ เหนือพื้นทวีปทางตอนเหนือของประเทศจีนที่มี ⎯สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
11 ค่มู ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภยั ธรรมชาติ อุณหภูมิต่ำและมีความชื้นน้อยได้พัดผ่าน ประเทศไทยในช่วงกลางเดือนตุลาคมจนถึง เดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งในช่วงวันที่ 10 ธันวาคม ก็ อยู่ในชว่ งระยะเวลาดังกล่าว) 2.2 มรสุมที่ทำให้ประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าวมี อากาศหนาวถึงหนาวจัด มีการเกิดเหมือนหรือ แตกต่างจากลมบก ลมทะเล หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มรสุม และลมบก ลมทะเล มีหลักการเกิด เหมือนกันคือเกิดจากความแตกต่างระหว่าง อุณหภูมิของอากาศเหนอื พนื้ ดนิ และพ้นื น้ำ) 3. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องปรากฏการณ์ของโลก และภัยธรรมชาติ โดยให้อ่านชื่อหน่วย และอ่าน คำถามสำคัญประจำหน่วยท่ี 4 ดงั นี้ - ลมบก ลมทะเล มรสุม และปรากฏการณ์เรือน กระจกเกิดขึ้นได้อย่างไร และมีผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างไร - ภัยธรรมชาติมีลักษณะอย่างไร และจะปฏิบัติตน ให้ปลอดภยั จากภัยธรรมชาติได้อยา่ งไร นักเรียนตอบคำถาม โดยครูยังไม่ต้องเฉลย คำตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตอบอีกครั้ง หลงั จากเรียนจบหนว่ ยนแี้ ล้ว 4. ครูให้นักเรียนอ่านชื่อบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ ประจำบท ในหนังสือเรียนหน้า 1 จากนั้นครูใช้ คำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ ดังนี้ 4.1 บทนี้จะได้เรียนเรื่องอะไร (เรื่องลมบก ลมทะเล และมรสมุ ) 4.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถทำอะไรได้บ้าง (สามารถ เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม อธิบายผลของลมบก ลมทะเล และมรสุมที่มีต่อ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 12 สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และอธิบายผลของ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ มรสุมต่อการเกดิ ฤดขู องประเทศไทย) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 5. นักเรียนอ่านชื่อบทและแนวคิดสำคัญ ในหนังสือ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน เรียนหน้า 2 จากนั้นครูใช้คำถาม ดังนี้ จากการอ่าน คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง แนวคิดสำคัญ นักเรียนคิดว่าจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อดทน และรับฟังแนวความคิด อะไรบ้าง (เรียนเรื่องการเกิดลมบก ลมทะเล และ ของนักเรยี น มรสุม ผลของลมบก ลมทะเล และมรสุมที่มีต่อ สิง่ มชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม และผลของมรสุมต่อการเกิด ฤดูของประเทศไทย) 6. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และอ่านเนื้อเรื่องใน หนังสือเรียนหน้า 2 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตาม วิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถาม ดังนี้ 6.1 รูปและเนื้อหานี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ลมที่พัดอยู่ ตรงบริเวณชายฝง่ั และมรสุม) 6.2 จากภาพ ลมที่พัดธงที่อยู่บนเรือเป็นลมอะไร (นักเรยี นตอบจากประสบการณข์ องตนเอง) 6.3 เมื่อมีมรสุมพัดเข้าประเทศไทย ประชาชน รวมถึงชาวประมงควรระมัดระวังอะไรบ้าง (ควร ระมดั ระวงั ในการนำเรือออกจากชายฝ่งั ) 6.4 มรสุมที่พัดเข้าประเทศไทยมีมรสุมอะไรบ้าง เกิดขึ้นได้อย่างไร และแต่ละมรสุมเกิดในช่วงใด ของปี (นักเรียนตอบจากประสบการณ์ของ ตนเอง) 7. ครูชักชวนให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับลมบก ลม ทะเล และมรสุม ในสำรวจความรกู้ ่อนเรียน 8. นักเรียนทำสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึก กิจกรรมหน้า 2-3 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน จนแน่ใจว่า นักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้นักเรียนตอบ คำถาม คำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และ คำตอบอาจถูกหรอื ผิดก็ได้ ⎯สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13 ค่มู ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 9. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบ การเตรยี มตัวลว่ งหน้าสำหรบั ครู ว่านักเรียนมีแนวคิดเกี่ยวกับลมบก ลมทะเล และ เพ่ือจดั การเรียนร้ใู นครง้ั ถัดไป มรสุมอย่างไร โดยอาจสมุ่ ใหน้ กั เรียน 2-3 คน นำเสนอ คำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังจากเรียน เรื่องที่ 1 การเกิดลมบก ลมทะเล และ จบบทนี้แล้ว ทั้งนี้ครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อน มรสุม ครูอาจเตรียมรูปหรือวีดิทัศน์ที่มี หรือแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน แล้วนำมาใช้ใน ลมพัดธง ต้นไม้ใหญ่ หรือสิ่งของต่าง ๆ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ไขแนวคิด ตรงบริเวณชายฝั่ง เพื่อใช้ในข้ันการ คลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อยอดแนวคิดที่น่าสนใจ นำเข้าสู่การจัดการเรียนรู้ ถ้าเป็นสื่อ ของนักเรยี น วีดิทัศน์ไม่ควรมีความยาวเกิน 3 นาที และควรเป็นวีดิทัศน์ที่แสดงภาพการ เคล่อื นไหวของส่งิ ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งชดั เจน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 14 แนวคำตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม การสำรวจความร้กู ่อนเรยี น นักเรยี นอาจตอบคำถามถกู หรือผดิ ก็ได้ข้นึ อยูก่ ับความรเู้ ดิมของนักเรียน แตเ่ มอ่ื เรยี นจบบทเรยี นแล้ว ให้นักเรยี นกลบั มาตรวจสอบคำตอบอีกครง้ั และแก้ไขให้ถกู ต้อง ดงั ตัวอย่าง ⎯สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
15 คู่มือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 16 เรื่องท่ี 1 การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบและ อธิบายการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ผลของลมบก ลมทะเล และมรสุมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และผลของมรสุมต่อการ เกดิ ฤดขู องประเทศไทย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายและเปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม จากแบบจำลอง 2. รวบรวมข้อมูลและอธิบายผลของลมบก ลมทะเล และมรสุม ท่ีมีต่อสงิ่ มชี ีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม 3. รวบรวมข้อมูลและอธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ ประเทศไทย เวลา 4 ชัว่ โมง สอื่ การเรียนรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ หนา้ 4-23 1. หนงั สอื เรียน ป.6 เลม่ 2 หน้า 4-17 วสั ดุ อุปกรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.6 เล่ม 2 ลูกโลก ⎯สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
17 คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ แนวการจดั การเรียนรู้ (60 นาที) ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน ข้ันตรวจสอบความรู้ (15 นาที) และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ ชักชวนใหน้ ักเรยี นไปหาคำตอบด้วย 1. ครตู รวจสอบความรเู้ ดิมเก่ียวกับการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ โดย ตนเองจากการอ่านเนือ้ เร่อื ง ครูให้นักเรียนศึกษารูปหรือชมวีดิทัศน์ที่มีลมพัดธง ต้นไม้ใหญ่ หรือพัด สง่ิ ของต่าง ๆ ตรงบรเิ วณชายฝั่ง จากน้นั นำอภิปรายโดยใช้คำถาม ดังนี้ 1.1 จากรูปหรือวีดิทัศน์ ลมพัดจากบริเวณใดไปบริเวณใด (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง หรือตอบตามสิ่งที่สังเกตได้จาก รูปหรือวดี ิทศั น์ เชน่ ลมพดั จากทะเลเขา้ หาชายฝัง่ ) 1.2 ลมที่เกิดขึ้นตรงบริเวณชายฝั่งน้ีเกิดขึ้นได้อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เกิดจากความแตกต่างระหว่าง อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินบริเวณชายฝั่งและอุณหภูมิของ อากาศเหนือพื้นทะเล ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของอากาศระหว่าง 2 บริเวณดังกลา่ ว) 1.3 ลมที่เกิดขึ้น มีการเกิดเหมือนหรือแตกต่างจากมรสุมหรือไม่ อยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ มีหลักการ เกิดเหมือนกันคือเกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของ อากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ำ และมีสิ่งที่แตกต่างกัน คือขนาด ของบรเิ วณท่เี กดิ และช่วงระยะเวลาการเกิด) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่อง การเกิดลมบก ลม ทะเล และมรสุม โดยใช้คำถามว่า ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกดิ ในชว่ ง ระยะเวลาที่แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร จากนั้นครูชักชวนนักเรียนหา คำตอบจากการอ่าน เรอื่ งการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ขัน้ ฝกึ ทกั ษะจากการอ่าน (30 นาที) 3. นกั เรียนอ่านชื่อเร่ือง และคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนงั สือเรียนหน้า 4 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาคำตอบและนำเสนอ ครูบันทึกคำตอบของ นักเรียนบนกระดานเพื่อให้นักเรียนเปรียบเทียบกับคำตอบหลังจากการ อา่ นเรื่อง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธิบายความหมายของคำสำคญั ตามความเขา้ ใจของตนเอง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 18 5. นกั เรยี นอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรยี นหนา้ 4-5 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครูใช้คำถาม คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใชค้ ำถามดังนี้ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.1 จากภาพในหนังสือเรยี นหน้า 4-5 มกี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากลมในการ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ทำส่ิงใด (แล่นเรือใบ เล่นกระดานโตค้ ล่ืน) และรับฟังแนวความคิดของ 5.2 ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร (ลมเกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิ นักเรยี น ของอากาศเหนือบริเวณ 2 บริเวณ โดยอากาศบริเวณที่มอี ุณหภมู ิ สูงกว่าจะเคลือ่ นที่สูงข้ึน และอากาศบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าจะ เคล่ือนเข้ามาแทนท)่ี 5.3 ปจั จัยใดบา้ งที่ทำให้เกดิ ลมประเภทต่าง ๆ (ลักษณะการเกิด พื้นที่ ท่เี กิด และช่วงเวลาการเกดิ ) 5.4 ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน หรอื ไม่ อยา่ งไร (ลมบก ลมทะเล และมรสมุ เกิดในช่วงระยะเวลา ที่แตกต่างกัน ลมบกเกิดในช่วงเวลากลางคืน ลมทะเลเกิดใน ช่วงเวลากลางวัน และมรสุมเกิดในช่วงระยะเวลานานตลอดฤดู หน่งึ ๆ) 5.5 ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดในบริเวณที่มีขนาดแตกต่างกัน หรือไม่ อย่างไร (ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดในบริเวณที่มี ขนาดแตกต่างกัน ลมบก ลมทะเลเกิดบริเวณชายฝั่ง ส่วนมรสุม เกิดในบริเวณที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยเกิดเป็นบริเวณกว้างระดับ ทวีป) 5.6 ประเทศไทยมีมรสุมใดพัดผ่านบ้าง (มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้) 5.7 รูปหรือวีดิทศั น์ท่ีมีลมพัดธง ตน้ ไม้ขนาดใหญ่ หรือพัดส่ิงของต่าง ๆ ตรงบรเิ วณชายฝ่ังเป็นลมประจำถิ่นหรอื เปน็ ลมประจำฤดู (เป็นลม ประจำถิน่ ทเี่ กิดเฉพาะบริเวณชายฝ่งั ) ข้ันสรุปจากการอ่าน (15 นาที) 6. ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกันสรุปเรอ่ื งท่อี า่ นซ่ึงควรสรุปได้ว่า ลมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศ ลมมีหลายประเภทตาม ลักษณะการเกดิ พ้ืนทท่ี ่ีเกิด และช่วงเวลาการเกดิ ลมบก ลมทะเล เป็นลมประจำถิ่นที่เกิดเฉพาะบริเวณชายฝั่ง ซ่ึง เกิดขึ้นในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน ส่วนมรสุมเป็นลมประจำฤดูที่ ⎯สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
19 คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ เกิดบริเวณเขตร้อนของโลก มรสุมเกิดเป็นบริเวณกว้างระดับทวีปและ การเตรยี มตัวล่วงหนา้ สำหรบั ครู เกดิ เปน็ เวลานานตลอดฤดูหนึง่ ๆ เพ่ือจดั การเรยี นรู้ในครง้ั ถดั ไป ประเทศไทยได้รับผลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุม ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำกิจกรรม ตะวนั ตกเฉียงใต้ ซ่ึงจะพัดผา่ นในช่วงระยะเวลาทแี่ ตกตา่ งกนั ที่ 1.1 ลมบก ลมทะเลเป็นอย่างไร ครู 7. นกั เรยี นตอบคำถามในรู้หรอื ยัง ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมหนา้ 4 อาจจัดเตรยี มส่ือหรือเตรียมการจัดการ 8. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของ นักเรียนใน เรียนการสอน โดยมอบหมายงานให้ รูห้ รอื ยงั กับคำตอบท่ีเคยตอบและบนั ทกึ ไว้ในคดิ ก่อนอา่ น นักเรียนอ่านสถานการณ์ เรื่องการ 9. ครูให้นักเรียนอ่านคำถามในย่อหน้าสุดท้ายของเรื่องที่อ่าน และให้ ทดลองเกี่ยวกับอุณหภูมิของอากาศ นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเพอื่ ตอบคำถาม ดังน้ี เหนือทรายและเหนือนำ้ เปน็ อยา่ งไร ใน - ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดขึ้นได้อย่างไร และมีผลต่อสิ่งมีชีวติ หนังสือเรยี นหน้า 7-9 มาล่วงหน้า และส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กจิ กรรม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 20 แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม ลมเกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศเหนือบริเวณ 2 บริเวณ โดยอากาศบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจะเคลื่อนที่สูงขึ้น และอากาศบริเวณที่มี อุณหภูมติ ำ่ กว่าจะเคลอ่ื นทเี่ ขา้ มาแทนท่ี การเคลอ่ื นทข่ี องอากาศทำใหเ้ กิดลม ลมบก ลมทะเล แตกต่างจากมรสุมในด้านขนาดของบริเวณที่เกิด และช่วงระยะเวลา การเกิด โดยลมบก ลมทะเลเกิดเฉพาะบริเวณชายฝั่ง ส่วนมรสุมเกิดเป็นบริเวณกว้าง ระดับทวีป ส่วนช่วงระยะเวลาการเกิด ลมบก ลมทะเล เกิดในช่วงเวลา 1 วัน คือ ชว่ งเวลากลางวนั และกลางคนื สว่ นมรสมุ เกดิ เป็นช่วงระยะเวลานานตลอดฤดูหนึ่ง ๆ มรสุมที่พัดผ่านประเทศไทย ได้แก่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุม ตะวันตกเฉยี งใต้ ซง่ึ จะพัดผา่ นในชว่ งระยะเวลาทแี่ ตกตา่ งกนั ⎯สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
21 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ กิจกรรมที่ 1.1 ลมบก ลมทะเลเปน็ อย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้วิเคราะห์ข้อมูลและอธิบายการ เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง อ ุ ณ ห ภ ู มิ ข อ ง อ า ก า ศ เ ห น ื อ ท ร า ย แ ล ะ เ ห น ื อ น้ ำ เปรียบเทียบและอธิบายการเกิดลมบก ลมทะเล จากแบบจำลอง รวบรวมข้อมูลและอธิบายผลของลมบก ลมทะเลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สง่ิ แวดลอ้ ม เวลา 1.5 ช่วั โมง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ อากาศเหนือทรายและเหนือนำ้ 2. เปรียบเทียบและอธิบายการเกิดลมบก ลมทะเล จาก แบบจำลอง 3. รวบรวมข้อมูลและอธิบายผลของลมบก ลมทะเลที่มีต่อ ส่ิงมชี วี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม วัสดุ อปุ กรณ์สำหรับทำกิจกรรม สือ่ การเรียนรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ หนา้ 6-14 - 1. หนังสือเรียน ป.6 เล่ม 2 หนา้ 5-11 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.6 เลม่ 2 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S3 การใช้จำนวน S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ S14 การสรา้ งแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมอื สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 22 แนวการจัดการเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูเพียงรับฟังเหตุผลของ 1. ครูตรวจสอบความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั ลมบก ลมทะเล โดยใชค้ ำถาม ดงั นี้ นักเรียนและยังไม่เฉลยคำตอบ 1.1 ลมบก ลมทะเล แตกต่างกันอย่างไร (นักเรียนตอบตามความ ใด ๆ แต่ชักชวนให้นักเรียนไป เข้าใจของตนเอง เช่น แตกต่างกันที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของ หาคำตอบดว้ ยตนเองจากการทำ ลม โดยลมบก ลมจะพัดจากชายฝั่งออกสู่ทะเล ส่วนลมทะเล กจิ กรรม ลมจะพัดจากทะเลเข้าสู่ชายฝง่ั ) 1.2 ลมบก ลมทะเลมีประโยชน์ต่อชาวประมงอย่างไร (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ชาวประมงอาศัยลมบก ช่วยในการพัดเรือออกสู่ทะเลในเวลากลางคืน และอาศัยลม ทะเลช่วยในการพดั เรอื กลับเขา้ ฝ่งั ในเวลากลางวัน) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.1 โดยใช้ คำถามดังนี้ ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมบก ลมทะเล เป็นอย่างไร และเราจะอาศัยลมบก ลมทะเล ในการทำสิ่งใดได้บ้าง เราจะเรียนรู้ ในกจิ กรรมท่ี 1.1 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกัน อภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำ กจิ กรรม โดยใช้คำถามดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนน้ี กั เรยี นจะไดเ้ รียนเร่ืองอะไร (การเกดิ ลมบก ลมทะเล และผลของลมบก ลมทะเลที่มีต่อสง่ิ มชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม) 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การวิเคราะห์ข้อมูล การ รวบรวมขอ้ มูล และการสร้างแบบจำลอง) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและเหนือน้ำ เปรียบเทียบและ อธิบายการเกิดลมบก ลมทะเล และอธิบายผลของลมบก ลมทะเลทม่ี ตี อ่ ส่งิ มีชีวติ และสิง่ แวดล้อม) 4. นกั เรียนบนั ทกึ จดุ ประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 5 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนที่ 1 ทีละข้อ และสถานการณ์ เรื่อง การทดลองเก่ียวกบั อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและเหนือน้ำเป็น อย่างไร ในหนังสือเรียนหน้า 7-9 โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านท่ี เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ กิจกรรม โดยใช้คำถามดังนี้ ⎯สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
23 คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 5.1 จากกิจกรรม เมื่อให้ความร้อนและหยุดให้ความร้อนแก่ทราย และน้ำในเวลาที่เท่ากันแล้ว ต้องอภิปรายและเปรียบเทียบ สิ่ง ใด (เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ทรายและเหนอื นำ้ ) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 5.2 จากขั้นตอนการทำกิจกรรมในข้อที่ 3 กำหนดให้โคมไฟที่เปิด คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด ทราย และน้ำ แทนสิง่ ใดตามธรรมชาติ ตามลำดบั (โคมไฟที่เปิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน แทนดวงอาทิตย์ที่ให้ความร้อน ทรายแทนพื้นดิน น้ำแทนแหล่ง และรบั ฟังแนวความคิดของนกั เรียน นำ้ ในธรรมชาติ) 5.3 จากขั้นตอนการทำกิจกรรมในข้อที่ 3 ให้ร่วมกันอภิปรายและ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศระหว่าง บริเวณใด และในช่วงเวลาใด (อภิปรายและเปรียบเทียบการ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศระหว่างเหนือพื้นดินและเหนือ และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ท่ี น้ำ ในชว่ งเวลากลางวนั และกลางคนื ) นักเรียนจะไดฝ้ ึกจากการทำกิจกรรม 5.4 ในขั้นตอนข้อที่ 3 การอภิปรายและเปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและเหนือน้ำใน ตอนที่ 1 ช่วงเวลากลางวันและกลางคืน นักเรียนต้องใช้ความรู้จากข้อใด S1 การสังเกตรายละเอียดการเปลีย่ นแปลง มาร่วมกนั อภิปราย (ใชค้ วามรู้ที่ไดจ้ ากการทำกิจกรรมในข้อท่ี 2 อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและ โดยอาศัยการเทียบเคียงโดยกำหนดให้โคมไฟที่เปิดแทนดวง อุณหภูมิของอากาศเหนือน้ำ เมื่อให้ความ อาทิตยท์ ใ่ี หค้ วามรอ้ น ทรายแทนพืน้ ดิน และนำ้ แทนแหล่งน้ำ) ร้อนและหยุดให้ความร้อนในเวลาเท่ากัน 6. เมือ่ นักเรียนเข้าใจวิธกี ารทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนท่ี 1 แลว้ ให้ โดยใช้ข้อมูลจากตารางและจากกราฟท่ี นักเรียนเร่ิมปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนการทำกจิ กรรม กำหนดให้ 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ S3 การใช้จำนวนเพื่อคำนวณหาการ คำถามดังตอ่ ไปน้ี เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือ 7.1 จากสถานการณ์ มีการให้ความร้อนและหยุดให้ความร้อนแก่ ทรายและเหนือน้ำ เมื่อให้ความร้อนและ ทรายและน้ำ เป็นเวลาเท่ากันหรือไม่ อย่างไร (มีการให้ความ หยุดให้ความร้อนในเวลาเท่ากัน โดยใช้ ร้อนและหยุดให้ความร้อนแก่ทรายและน้ำเป็นเวลาที่เท่ากัน ข้อมูลจากตารางและจากกราฟท่ีกำหนดให้ 30 นาท)ี S8 ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห ็ น เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร 7.2 เมอื่ ให้ความร้อนและหยุดให้ความร้อนในเวลาทเี่ ท่ากัน มีส่ิงใด เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือ เกิดการเปลี่ยนแปลงบ้าง (มีสิ่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ ทรายและเหนือน้ำ เมื่อให้ความร้อนละ อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและอุณหภูมิของอากาศเหนือ หยดุ ใหค้ วามร้อนในเวลาทีเ่ ทา่ กนั น้ำ) C4 การอภิปรายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมขิ องอากาศ C5 การร่วมมือในการอภิปรา ย ก า ร เปลย่ี นแปลงอุณหภูมขิ องอากาศ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 24 7.3 จากสถานการณ์การทดลองนี้ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัว ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ แปรควบคุม คืออะไร คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว (ตวั แปรตน้ ได้แก่ วัสดุทรายและนำ้ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ อณุ หภูมิของอากาศเหนอื วสั ดุ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ระยะเวลาที่ให้และหยุดให้ความร้อน และรับฟงั แนวความคดิ ของนักเรยี น มวลของทรายและน้ำ ขนาดบีกเกอร์ การจัดวางเทอร์มอ มิเตอร์ในชุดทดลอง ชนิดและขนาดของหลอดไฟ ลักษณะ โคมไฟ การจดั วางตำแหนง่ โคมไฟ สถานท่ีท่ีทำการทดลอง) 7.4 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและเหนือน้ำ เม่อื ใหค้ วามรอ้ นในเวลาทเี่ ทา่ กนั เป็นอย่างไร (เมื่อให้ความร้อน อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายมีการ เปลยี่ นแปลงจากอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 0 นาที เร็วกว่า และในช่วง 30 นาที ที่ให้ความร้อน อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายจะ มากกวา่ อณุ หภูมิของอากาศเหนือน้ำ) 7.5 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและเหนือน้ำ เมือ่ หยดุ ให้ความรอ้ นในเวลาทเ่ี ท่ากัน เป็นอยา่ งไร (เมื่อหยุดให้ความร้อน อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายมีการ เปลี่ยนแปลงจากอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 30 นาที เร็วกว่า และ ในช่วง 8 นาทีแรกที่หยุดให้ความร้อน อุณหภูมิของอากาศ เหนือทรายจะมากกว่าอณุ หภูมิของอากาศเหนือน้ำและในช่วง 22 นาทีถัดไปที่หยุดให้ความร้อน อุณหภูมิของอากาศเหนือ ทรายจะลดลงมากกวา่ อุณหภมู ขิ องอากาศเหนือน้ำ) 7.6 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือทรายและเหนือน้ำ เมื่อให้ความร้อนและหยุดให้ความร้อนในเวลาที่เท่ากัน มีการ เปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรอื ไม่ อยา่ งไร (- เมื่อให้ความร้อนในเวลาที่เท่ากัน อุณหภูมิของอากาศเหนือ ทรายและเหนือน้ำมีการเปล่ียนแปลงแตกต่างกัน คือ อุณหภูมิ ของอากาศเหนือทรายจะเพิ่มขึ้นรวดเร็วและเพิ่มขึ้นมากกว่า อณุ หภูมิของอากาศเหนือนำ้ - เมื่อหยุดให้ความร้อนในเวลาที่เท่ากัน อุณหภูมิของอากาศ เหนือทรายและเหนือน้ำมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน คือ อุณหภูมิของอากาศเหน ื อทร ายจ ะล ดลงรวดเ ร็วและ ล ด ล ง มากกว่าอณุ หภูมขิ องอากาศเหนือนำ้ ) ⎯สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
25 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ 7.7 ถ้าให้โคมไฟที่เปิดแทนดวงอาทิตย์ที่ให้ความร้อน ทรายแทน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ พื้นดิน และน้ำแทนแหล่งน้ำในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลง และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ที่ อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและเหนือพื้นน้ำ ในช่วงเวลา กลางวนั เป็นอย่างไร (ในช่วงเวลากลางวนั อุณหภมู ขิ องอากาศ นักเรยี นจะไดฝ้ ึกจากการทำกิจกรรม เหนือพื้นดนิ จะเพ่ิมขึ้นรวดเร็วและเพ่มิ ข้ึนมากกว่าอุณหภูมิของ อากาศเหนือแหลง่ น้ำ) ตอนที่ 2 S7 การพยากรณ์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ 7.8 ถ้าให้โคมไฟที่เปิดแทนดวงอาทิตย์ที่ให้ความร้อน ทรายแทน อากาศเหนือพื้นดินบริเวณชายฝั่งและ พื้นดิน และน้ำแทนแหล่งน้ำในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลง อากาศเหนือพื้นทะเลในช่วงเวลากลางวัน อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและเหนือพื้นน้ำ ในช่วงเวลา และกลางคืน และอุณหภูมิของอากาศ กลางคืนเป็นอยา่ งไร (ในชว่ งเวลากลางคนื อณุ หภมู ิของอากาศ ระหว่าง 2 บริเวณ เหนือพื้นดินจะลดลงรวดเร็วและลดลงมากกว่าอุณหภูมิของ S8 ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห ็ น เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร อากาศเหนือแหลง่ น้ำ) เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือ พื้นดินบริเวณชายฝั่งและเหนือพื้นทะเลใน 7.9 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและเหนือ ช่วงเวลากลางวันและกลางคนื แหล่งน้ำ ในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน มีการเปลี่ยนแปลง S14 การสร้างแบบจำลองเพื่อเปรียบเทียบ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ และอธิบายการเกิดลมบก ลมทะเล อากาศเหนือพื้นดินและเหนือแหล่งน้ำ ในช่วงเวลากลางวัน C4 การอภิปรายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง และกลางคืน มีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน ในช่วงเวลา อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินบริเวณ กลางวนั อณุ หภูมขิ องอากาศเหนอื พน้ื ดนิ จะเพม่ิ ข้นึ รวดเร็วและ ชายฝั่งและอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้น เพิ่มขึ้นมากกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือแหล่งนำ้ และในช่วง ทะเล ที่ทำให้เกิดลมบก ลมทะเล เวลากลางคืน อุณหภูมิของอากาศเหนือพน้ื ดินจะลดลงรวดเร็ว C5 รว่ มมอื ในการอภิปรายการเปล่ียนแปลง และลดลงมากกว่าอณุ หภูมขิ องอากาศเหนือแหลง่ นำ้ ) อุณหภูมิของอากาศ ที่ทำให้เกิดลมบก ลมทะเล 8. ครูเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากกิจกรรม ตอนที่ 1 เข้าสู่กิจกรรมตอนท่ี 2 โดยใช้คำถามว่า การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเหนือ พื้นดินและเหนือน้ำในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน ถ้าเกิดข้ึน บริเวณชายฝั่ง จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของอากาศระหว่างเหนือ พน้ื ดินบริเวณชายฝ่ังและเหนือพืน้ ทะเลอย่างไร 9. นักเรยี นอ่านทำอย่างไร ตอนที่ 2 ทลี ะข้อ โดยครูใชว้ ิธฝี กึ ทักษะการ อ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการ ทำกิจกรรม โดยใชค้ ำถามดังน้ี 9.1 ในตอนที่ 2 นี้เริ่มต้นนักเรียนต้องทำอะไร (พยากรณ์ว่าใน ช่วงเวลากลางวันและกลางคืน อากาศเหนือพื้นดินบริเวณ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 26 ชายฝั่งและอากาศเหนือพื้นทะเล จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ และอุณหภมู ขิ องอากาศระหว่าง 2 บริเวณเป็นอยา่ งไร) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 9.2 หลังจากพยากรณ์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของอากาศแล้ว จะ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด ตรวจสอบการพยากรณ์ได้อย่างไร (ตรวจสอบการพยากรณ์ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน โดยการอ่านใบความรู้ เร่ือง การเกิดลมบก ลมทะเล) และรบั ฟังแนวความคดิ ของนกั เรยี น 9.3 เมื่อตรวจสอบการพยากรณ์เสร็จแล้วต้องอภิปรายและบันทึก สิ่งใด (ร่วมกันอภิปรายและบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 7 ว่า ในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน อากาศเหนือ พน้ื ดนิ บริเวณชาฝงั่ และอากาศเหนือพื้นทะเลจะเคลื่อนท่ีจากที่ ใดไปที่ใด และอุณหภูมิของอากาศระหว่าง 2 บริเวณเป็น อย่างไร และระบุชื่อลม เพื่อสร้างแบบจำลองการเกิดลมบก ลมทะเล) 9.4 ในขั้นตอนการทำกิจกรรมข้อที่ 3 นักเรียนต้องทำส่ิงใด (นำ แบบจำลองการเกิดลมบก ลมทะเล ทนี่ กั เรียนบนั ทกึ ไว้ในแบบ บนั ทกึ กจิ กรรมหน้า 7 มารว่ มกนั อภปิ รายเปรียบเทยี บการเกิด ลมบก ลมทะเล และนำเสนอข้อมูล) 9.5 ในขั้นตอนการทำกิจกรรมข้อที่ 4 นักเรียนต้องอภิปราย ส่ิง ใด (อภิปรายผลของลมบก ลมทะเล ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิง่ แวดลอ้ ม) ครูอาจให้นักเรียนศึกษาการเกิดลมบก ลมทะเล ได้จากสื่อ เสรมิ เพิ่มความรู้ AR ในหนงั สือเรียนหนา้ ที่ 10 และ 11 ได้ 10. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 2 แล้ว ใหน้ ักเรยี นเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนการทำกจิ กรรม 11. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนว คำถามดงั นี้ 11.1 สาเหตุที่ทำให้เกิดลมบก ลมทะเล คืออะไร (ลมบก ลมทะเล เกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศ เหนือพื้นดินบริเวณชายฝั่งและอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้น ทะเลในแต่ละช่วงเวลา จึงเกิดการเคลื่อนที่ของอากาศจาก บรเิ วณทีม่ อี ุณหภูมติ ่ำไปยังบรเิ วณทีม่ ีอุณหภมู สิ ูง) 11.2 ลมบก ลมทะเล มีหลักการเกิดเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (ลม บก ลมทะเล มีหลักการเกิดเหมือนกัน คือเกิดจากความ ⎯สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
27 ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ แตกต่างระหว่างอณุ หภูมขิ องอากาศเหนือพื้นดนิ บริเวณชายฝั่ง ถ ้ า ค ร ู พ บ ว ่ า น ั ก เ ร ี ย น ย ั ง มี และอณุ หภมู ิของอากาศเหนอื พืน้ ทะเล) แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการ 11.3 ลมบก มีการเคลื่อนที่ของอากาศเป็นอย่างไร และเกิดใน เกิดลมบก ลมทะเล และผลของ ชว่ งเวลาใด (การเกิดลมบก อากาศจะเคล่ือนท่ีจากชายฝั่งออก ลมบก ลมทะเล ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต สูท่ ะเล ซึง่ จะเกดิ ข้นึ ในช่วงเวลากลางคืน) และสิ่งแวดล้อม ให้ร่วมกัน 11.4 ลมทะเล มีการเคลื่อนที่ของอากาศเป็นอย่างไร และเกิดใน อภิปรายจนนักเรียนมีแนวคิดท่ี ช่วงเวลาใด (การเกิดลมทะเล อากาศจะเคลื่อนท่ีจากทะเลเขา้ ถูกต้อง สู่ชายฝ่งั ซ่ึงจะเกดิ ข้นึ ในช่วงเวลากลางวนั ) 11.5 การเกดิ ลมบก ลมทะเล มีสิ่งใดทีแ่ ตกต่างกนั บ้าง (สิง่ ทีแ่ ตกต่าง กัน คือ ช่วงเวลาท่ีเกิด และทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ กล่าวคือ ลมบกเกิดในช่วงเวลากลางคืน ลมจะพัดจากชายฝั่ง ออกสู่ทะเล และลมทะเลเกิดในช่วงเวลากลางวัน ลมจะพัด จากทะเลเขา้ สชู่ ายฝ่ัง) 11.6 ชาวประมงได้รับประโยชน์จากลมบก ลมทะเลอย่างไร (ชาวประมงอาศัยลมบกที่พัดในเวลากลางคืนช่วยในการพัด เรือจากฝั่งออกส่ทู ะเล และอาศยั ลมทะเลที่พัดในเวลากลางวัน ชว่ ยพัดเรอื จากทะเลกลับเขา้ สชู่ ายฝ่ัง) 12 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการ เกิดลมบก ลมทะเล จากนนั้ ร่วมกนั อภปิ รายและลงข้อสรุปวา่ • ลมบกและลมทะเล มีหลักการเกิดเหมือนกัน คือเกิดจากความ แตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินบริเวณชายฝั่ง และเหนือพื้นทะเล แต่มีช่วงเวลาท่ีเกิดและทิศทางการเคลื่อนที่ ของอากาศที่แตกต่างกนั ) • ลมบกเกิดเนื่องจากพื้นดินบริเวณชายฝั่งเย็นเร็ว ในขณะที่พื้น ทะเลยังคงมีอุณหภูมิสูงอยู่ น้ำทะเลจึงคายความร้อนไปสู่อากาศ ทำให้อากาศเหนือพื้นทะเลมีอุณหภูมิสูงและเคลื่อนที่สูงข้ึน อากาศเหนือพื้นดินซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่าจึงเคลือ่ นที่เข้ามาแทนที่ เกดิ เป็นลมบก • ลมทะเลเกิดเนื่องจากพื้นดินบริเวณชายฝั่งและพื้นทะเลเมื่อ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ พื้นดินจะร้อนเร็วกว่าพื้นทะเล และคายความร้อนให้กับอากาศได้เร็วกว่า อุณหภูมิของอากาศ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 28 เหนือพื้นดินจึงสูงและเคลื่อนที่สงู ขึ้น อากาศเหนือพื้นทะเลซึ่งมี การเตรียมตัวล่วงหนา้ สำหรับครู อุณหภมู ติ ำ่ กวา่ จึงเคลื่อนเข้ามาแทนท่ี เกิดเปน็ ลมทะเล เพ่อื จดั การเรยี นร้ใู นครงั้ ถัดไป • ลมบกและลมทะเล มีผลทำให้บริเวณชายฝั่งมีลมพัดเกือบ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมที่ 1.2 ตลอดเวลา มีผลต่อการเดินเรือของชาวประมง มีผลต่อปริมาณ การเกิดมรสุมเกี่ยวขอ้ งกับฤดขู องประเทศไทย ความชื้นในอากาศและอุณหภูมิของอากาศตรงบริเวณชายฝั่ง มี อย่างไร ให้ครูจัดเตรียมลูกโลก 1 อัน ต่อกลุ่ม ผลตอ่ การกัดเซาะชายฝงั่ นอกจากนน้ั ยงั มปี ระโยชน์ในการใช้ลม เพื่อให้นักเรียนใช้สังเกตพื้นทวีปและพ้ืน บก ลมทะเล ในการผลิตไฟฟ้าโดยการติดตั้งกังหันลมบริเวณ มหาสมทุ รในบริเวณเขตร้อนของโลก ชายฝงั่ (S13) 13 นักเรียนตอบคำถามในฉันรู้อะไร และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้แนว คำตอบทถ่ี ูกต้อง 14 นกั เรยี นสรปุ สิง่ ทไี่ ดเ้ รียนรใู้ นกจิ กรรมนี้ จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนอ่านส่ิง ที่ได้เรยี นรู้ และเปรียบเทียบกบั ข้อสรุปของตนเอง 15 ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพ่มิ เตมิ ในอยากรู้อกี ว่า จากนน้ั ครอู าจสุ่มนกั เรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกีย่ วกับคำถามทนี่ ำเสนอ 16 ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างในขั้นตอน ใด แล้วบันทึกลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรมหน้า 11 ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
29 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม วเิ คราะหข์ ้อมูล และอธิบายการเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิของอากาศ เหนอื ทรายและเหนือน้ำ เร็ว เร็ว สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 30 เรว็ เรว็ 1. อธิบายและเปรยี บเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล จากแบบจำลอง 2. รวบรวมข้อมูลและอธิบายผลของลมบก ลมทะเลทม่ี ตี ่อสิ่งมชี ีวิต และสงิ่ แวดล้อม ⎯สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
31 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ พื้นดนิ บรเิ วณชายฝง่ั พ้ืนทะเล พน้ื ทะเล พื้นดนิ บรเิ วณชายฝั่ง ✓ ✓ พื้นทะเล พืน้ ดนิ บริเวณชายฝงั่ พน้ื ดนิ บรเิ วณชายฝงั่ พื้นทะเล สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 32 ผลของลมบก ลมทะเลท่ีมีต่อสิง่ มีชีวติ และสิ่งแวดล้อม มดี ังน้ี - ทำใหบ้ ริเวณชายฝั่งมีลมพัดเกอื บตลอดเวลา - มีผลต่อปริมาณความชน้ื ในอากาศ - มีผลต่ออณุ หภูมขิ องอากาศบรเิ วณชายฝัง่ - มีผลต่อการเดินเรอื ของชาวประมง - มีผลต่อการกดั เซาะชายฝงั่ - ใช้ลมบก ลมทะเล พัดกงั หันลมทตี่ ดิ ตั้งบรเิ วณชายฝัง่ เพื่อผลติ ไฟฟ้า ⎯สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
33 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ - เมื่อให้ความร้อนแก่ทรายและน้ำในเวลาที่เท่ากัน อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายมีการเปลี่ยนแปลง รวดเร็วกว่า สังเกตได้จากกราฟที่เปลี่ยนแปลงจากนาทีที่ 0 อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายเพิ่มขึ้นจาก นาทที ี่ 0 รวดเรว็ กว่า - เมื่อหยุดให้ความร้อนแก่ทรายและน้ำในเวลาที่เท่ากัน อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายมีการเปลี่ยนแปลง ไดร้ วดเร็วกวา่ สังเกตได้จากกราฟที่เปล่ยี นแปลงจากนาทีที่ 30 อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายลดลงจาก นาทที ่ี 30 รวดเร็วกว่า ใน 1 วัน โดยในช่วงเวลากลางวัน อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินจะเพิ่มข้ึน รวดเร็วกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือน้ำทะล และเพิ่มขึ้นมากกว่าอุณหภูมิของ อากาศเหนอื น้ำทะเล ในช่วงเวลากลางคืนอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินจะลดลงรวดเร็วกว่า อุณหภูมิของอากาศเหนือน้ำทะล และลดลงมากกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือน้ำ ทะเล เม่ือให้ความร้อนในเวลาท่ีเท่ากนั อุณหภมู ิของอากาศเหนือทรายและเหนือน้ำมี การเปลีย่ นแปลงแตกตา่ งกนั ดงั นี้ อณุ หภูมิของอากาศเหนือทรายจะเพิ่มข้ึนรวดเร็ว และเพม่ิ ข้ึนมากกว่าอุณหภมู ิของอากาศเหนอื นำ้ เมื่อหยุดให้ความรอ้ นในเวลาทีเ่ ท่ากนั อุณหภมู ขิ องอากาศเหนือทรายและเหนือ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน ดังนี้ อุณหภูมิของอากาศเหนือทรายจะลดลง รวดเร็วและจะลดลงมากกว่าอุณหภมู ขิ องอากาศเหนือน้ำ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 34 ลมบก ลมทะเล มีหลักการเกิดเหมือนกัน คือเกิดจากความแตกต่าง ระหวา่ งอณุ หภมู ิของอากาศเหนือพืน้ ดินบรเิ วณชายฝง่ั และอุณหภูมิของ อากาศเหนือ พื้นทะเล ส่วนสิ่งที่แตกต่างกันคือช่วงเวลาที่เกิด และ ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศระหว่างพื้นดินบริเวณชายฝั่งและพื้น ทะเล ลมบก ลมทะเล มีผลทำให้บริเวณชายฝั่งมีลมพัดเกือบตลอดเวลา มี ผลต่อการเดินเรือของชาวประมง มีผลต่อปริมาณความชื้นในอากาศ และอุณหภูมิของอากาศตรงบริเวณชายฝั่ง และมีผลต่อการกัดเซาะ ชายฝ่งั ลมบก ลมทะเล มีหลักการเกิดเหมือนกัน ส่วนสิ่งที่แตกต่างกันคือ ช่วงเวลาที่เกิด และทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ และมีผลทำให้ บริเวณชายฝั่งมีลมพัดเกือบตลอดเวลา และมีผลต่อส่ิงมีชีวิตและ ส่งิ แวดลอ้ มตรงบรเิ วณชายฝั่ง ลมบก ลมทะเล มีหลักการเกิดเหมือนกัน แต่เกิดในช่วงเวลาท่ี แตกตา่ งกันและมที ิศทางการเคลอื่ นทขี่ องอากาศแตกตา่ งกนั ลมบก ลมทะเล มีผลทำให้บริเวณชายฝั่งมีลดพัดเกือบ ตลอดเวลา มีผลต่อการเดินเรือของชาวประมง มีผลต่อปริมาณ ความชื้นในอากาศและอุณหภูมิของอากาศบริเวณชายฝั่ง และมีผลต่อ การกดั เซาะชายฝั่ง ⎯สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
35 ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ คำถามของนกั เรยี นทต่ี งั้ ตามความอยากรขู้ องตนเอง ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 36 แนวการประเมนิ การเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรู้ของนักเรยี นทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความรเู้ ดมิ จากการอภปิ รายในชัน้ เรียน 2. ประเมินการเรยี นร้จู ากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกจิ กรรมท่ี 1.1 ลมบก ลมทะเลเป็นอย่างไร รหัส ส่งิ ท่ีประเมิน คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S3 การใชจ้ ำนวน S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมือ รวมคะแนน ⎯สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
37 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใช้ประสาทสมั ผสั สามารถใช้ประสาทสมั ผัส สามารถใช้ประสาท รายละเอียด เก็บรายละเอียดข้อมลู เกบ็ รายละเอยี ดข้อมลู สมั ผสั เกบ็ เกี่ยวกบั การ เกย่ี วกับการเปลยี่ นแปลง เกยี่ วกับการเปลีย่ นแปลง รายละเอียดข้อมูล เปลีย่ นแปลง อณุ หภมู ิของอากาศเหนือ อุณหภมู ขิ องอากาศเหนือ เกีย่ วกับการ อณุ หภูมิของอากาศ ทรายและอณุ หภมู ิของ ทรายและอณุ หภมู ิของ เปล่ยี นแปลง เหนอื ทรายและ อากาศเหนือนำ้ ดว้ ย อากาศเหนือนำ้ ได้ จาก อณุ หภมู ิของอากาศ อุณหภมู ขิ องอากาศ ตนเอง โดยไม่เพิม่ เตมิ การช้ีแนะของครูหรือ เหนือทรายและ เหนอื น้ำ เม่ือให้ ความคิดเห็น ผ้อู ื่น หรือมีการเพิ่มเตมิ อณุ หภมู ิของอากาศ ความร้อนและหยุด ความคิดเห็น เหนอื น้ำไดเ้ พียง ให้ความร้อนใน บางสว่ น แมว้ า่ จะได้ เวลาเท่ากนั โดยใช้ รับคำชแ้ี นะจากครู ข้อมูลจากกราฟที่ หรือผู้อ่นื กำหนดให้ S3 การใช้จำนวน การคำนวณหาการ สามารถคำนวณหาการ สามารถคำนวณหาการ สามารถคำนวณหา เปลย่ี นแปลง เปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิของ เปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิของ การเปล่ียนแปลง อุณหภูมิของอากาศ อากาศเหนือทรายและ อากาศเหนือทรายและ อุณหภมู ิของอากาศ เหนือทรายและ อณุ หภมู ขิ องอากาศเหนือ อุณหภมู ิของอากาศเหนือ เหนอื ทรายและ อุณหภูมขิ องอากาศ น้ำในหนว่ ยองศาเซลเซยี ส นำ้ ในหนว่ ยองศา อณุ หภมู ขิ องอากาศ เหนือน้ำในหน่วย ไดถ้ ูกตอ้ งทง้ั หมดดว้ ย เซลเซยี สไดถ้ ูกตอ้ ง เหนอื นำ้ ในหน่วย องศาเซลเซียส โดย ตนเอง ทงั้ หมด จากการชแี้ นะ องศาเซลเซยี สได้ ใช้ขอ้ มูลจากตาราง ของครูหรือผูอ้ น่ื ถูกต้องเพียงบางส่วน และจากกราฟที่ แมว้ า่ จะไดร้ บั คำ กำหนดให้ ช้ีแนะจากครูหรือ ผู้อ่นื S7 การพยากรณ์ การคาดการณว์ า่ ใน สามารถคาดการณ์ได้วา่ ใน สามารถคาดการณ์ได้ว่า สามารถคาดการณ์ ชว่ งเวลากลางวนั ชว่ งเวลากลางวันและ ในชว่ งเวลากลางวันและ ไดว้ ่าในชว่ งเวลา และกลางคนื กลางคืน อากาศเหนอื กลางคนื อากาศเหนือ กลางวนั และ อากาศเหนือพ้ืนดนิ พืน้ ดนิ บริเวณชายฝั่งและ พ้ืนดินบริเวณชายฝ่งั และ กลางคนื อากาศ บรเิ วณชายฝง่ั และ อากาศเหนือพ้นื ทะเลจะ อากาศเหนอื พ้นื ทะเลจะ เหนือพนื้ ดนิ บรเิ วณ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 38 ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) อากาศเหนือพื้น เคล่อื นที่จากท่ใี ดไปที่ใด เคลอ่ื นทจ่ี ากท่ีใดไปท่ีใด ชายฝง่ั และอากาศ ทะเลจะเคล่ือนที่ และอุณหภูมขิ องอากาศ และอุณหภมู ขิ องอากาศ เหนอื พื้นทะเลจะ จากทีใ่ ดไปที่ใดและ ระหวา่ ง 2 บริเวณเป็น ระหว่าง 2 บรเิ วณเปน็ เคล่อื นทจ่ี ากทีใ่ ดไป อุณหภูมิของอากาศ อยา่ งไร โดยอาศัยข้อมูล อย่างไร โดยอาศยั ขอ้ มูล ทีใ่ ดและอณุ หภูมิ ระหวา่ ง 2 บรเิ วณ หรือความรทู้ ่ีมีอยู่ได้อย่าง หรือความรูท้ ี่มีอยู่ได้อย่าง ของอากาศระหว่าง เปน็ อยา่ งไร สมเหตสุ มผลและครบถว้ น สมเหตุสมผล แต่ไม่ 2 บริเวณเป็น ครบถ้วน อยา่ งไร โดยอาศัย ขอ้ มลู ท่ีไม่ สมเหตสุ มผล S8 การลงความ การลงความเหน็ สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ เหน็ จากข้อมลู จากข้อมลู ไดว้ ่า ข้อมูลไดว้ า่ การ ข้อมลู ได้วา่ การ จากข้อมูลไดว้ ่า การ การเปล่ียนแปลง เปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิของ เปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิของ เปลี่ยนแปลง อุณหภมู ิของอากาศ อากาศเหนือทรายและ อากาศเหนอื ทรายและ อุณหภูมิของอากาศ เหนือทรายและ เหนือนำ้ เมื่อให้ความร้อน เหนือน้ำ เม่ือใหค้ วามร้อน เหนอื ทรายและ เหนือน้ำ เม่ือให้ และหยุดให้ความร้อนใน และหยุดให้ความร้อนใน เหนอื นำ้ เม่ือให้ ความร้อนและหยุด เวลาทเ่ี ท่ากนั มีการ เวลาที่เทา่ กนั มีการ ความร้อนและหยดุ ใหค้ วามรอ้ นใน เปล่ยี นแปลงแตกตา่ งกนั เปลี่ยนแปลงแตกต่างกนั ให้ความรอ้ นในเวลา เวลาที่เท่ากนั มีการ และการเปลยี่ นแปลง และการเปล่ียนแปลง ทเ่ี ทา่ กนั มีการ เปลย่ี นแปลง อณุ หภมู ิของอากาศเหนือ อณุ หภูมขิ องอากาศเหนือ เปลี่ยนแปลง แตกต่างกนั และ พน้ื ดินบรเิ วณชายฝง่ั และ พน้ื ดินบริเวณชายฝง่ั และ แตกตา่ งกนั และการ การเปลีย่ นแปลง เหนอื พนื้ ทะเลในชว่ งเวลา เหนือพ้ืนทะเลในช่วงเวลา เปล่ียนแปลง อณุ หภูมขิ องอากาศ กลางวนั และกลางคนื มี กลางวนั และกลางคนื มี อุณหภมู ขิ องอากาศ เหนือพ้นื ดนิ บรเิ วณ การเปลีย่ นแปลงแตกต่าง การเปล่ียนแปลงแตกตา่ ง เหนือพืน้ ดนิ บริเวณ ชายฝ่งั และเหนอื กัน ไดด้ ้วยตนเอง กนั จากการช้แี นะของครู ชายฝ่ังและเหนือพื้น พ้ืนทะเลใน หรือผ้อู น่ื ทะเลในชว่ งเวลา ช่วงเวลากลางวนั กลางวนั และ และกลางคืน มกี าร กลางคืน มีการ เปลีย่ นแปลง เปลยี่ นแปลง แตกตา่ งกนั แตกต่างกัน แต่ไม่ สามารถบอกเหตุ ผลได้ แมว้ ่าจะไดร้ ับ ⎯สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
39 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) การชแ้ี นะจากครู หรอื ผ้อู ่นื S13 การตคี วาม การตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถ หมายขอ้ มูลและลง ข้อมลู จากการ ขอ้ มลู จากการสงั เกต จาก ขอ้ สรปุ สังเกต จากการ การรวบรวมขอ้ มูล และ ข้อมลู จากการสงั เกต จาก ตีความหมายข้อมูล รวบรวมขอ้ มลู และ จากการอภปิ รายได้ดว้ ย จากการอภปิ รายได้ ตนเองว่า ลมบก ลมทะเล การรวบรวมข้อมลู และ จากการสงั เกต จาก ว่า ลมบก ลมทะเล เกดิ ขนึ้ เน่ืองจากความ เกิดข้นึ เน่ืองจาก แตกตา่ งระหว่างอุณหภูมิ จากการอภิปรายไดจ้ าก การรวบรวมขอ้ มลู ความแตกตา่ ง ของอากาศเหนือพนื้ ดนิ ระหวา่ งอุณหภูมิ บริเวณชายฝง่ั และ การชแ้ี นะจากครูและผอู้ นื่ และจากการ ของอากาศเหนือ อุณหภูมขิ องอากาศเหนือ พนื้ ดินบรเิ วณ พ้นื ทะเลในแต่ะช่วงเวลา วา่ ลมบก ลมทะเลเกิดขน้ึ อภิปรายได้ว่า ลมบก ชายฝ่งั และอุณหภมู ิ จงึ เกดิ การเคล่อื นท่ีของ ของอากาศเหนือ อากาศจากบรเิ วณทมี่ ี เนอ่ื งจากความแตกตา่ ง ลมทะเลเกิดขน้ึ พ้ืนทะเลในแต่ะ อุณหภมู ิต่ำไปยงั บริเวณที่ ช่วงเวลา จึงเกดิ มีอณุ หภูมสิ งู เกิดเปน็ ลม ระหวา่ งอณุ หภูมิของ เน่ืองจากความ การเคลื่อนท่ขี อง บก ลมทะเล และลมบก อากาศจากบรเิ วณ ลมทะเลมผี ลต่อสงิ่ มชี วี ิต อากาศเหนอื พ้ืนดิน แตกต่างระหว่าง ท่มี ีอุณหภมู ิต่ำไปยงั และส่งิ แวดล้อม บรเิ วณทีม่ ีอุณหภมู ิ บริเวณชายฝั่งและ อุณหภูมิของอากาศ สูง เกิดเป็นลมบก ลมทะเล และลมบก อณุ หภมู ิของอากาศเหนือ เหนอื พ้ืนดินบรเิ วณ ลมทะเลมผี ลต่อ สง่ิ มีชวี ติ และ พ้ืนทะเลในแต่ะชว่ งเวลา ชายฝง่ั และอุณหภูมิ สิ่งแวดล้อม จงึ เกิดการเคลือ่ นท่ขี อง ของอากาศเหนือพนื้ อากาศจากบรเิ วณทมี่ ี ทะเลในแต่ะ อณุ หภมู ติ ่ำไปยังบริเวณท่ี ช่วงเวลา จึงเกิดการ มีอณุ หภูมสิ ูง เกดิ เป็นลม เคลื่อนที่ของอากาศ บก ลมทะเล และลมบก จากบริเวณทีม่ ี ลมทะเลมผี ลต่อสงิ่ มชี วี ติ อุณหภมู ิตำ่ ไปยัง และส่ิงแวดลอ้ ม บรเิ วณทม่ี ีอุณหภูมิ สูง เกิดเป็นลมบก ลมทะเล และลมบก ลมทะเลมีผลต่อ ส่ิงมีชีวิตและ สงิ่ แวดลอ้ ม แตล่ ง ข้อสรุปได้ไม่ ครบถว้ น แมว้ ่าจะได้ รบั คำชแ้ี นะจากครู หรอื ผู้อื่น สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 40 ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S14 การสรา้ ง การสร้าง สามารถสรา้ งแบบจำลอง สามารถสร้างแบบจำลอง สามารถสร้าง แบบจำลอง แบบจำลองเพื่อ เพ่ือเปรียบเทียบและ เพ่อื เปรยี บเทียบและ แบบจำลองเพื่อ เปรยี บเทียบและ อธบิ ายการเกิดลมบก ลม อธิบายการเกิดลมบก ลม เปรียบเทียบและ อธบิ ายการเกิดลม ทะเลไดว้ ่า ลมบก ลมทะเล ทะเลไดว้ ่าลมบก ลมทะเล อธบิ ายการเกดิ ลม บก ลมทะเลไดว้ ่า มีหลักการเกดิ เหมือนกัน มหี ลกั การเกดิ เหมือนกนั บก ลมทะเลได้ว่า ลมบก ลมทะเล มี แต่เกิดในชว่ งเวลาที่ แตเ่ กิดในช่วงเวลาที่ ลมบก ลมทะเล มี หลักการเกดิ แตกตา่ งกนั และมีทิศ แตกต่างกันและมีทิศ หลกั การเกดิ เหมอื นกัน แต่เกิด ทางการเคล่อื นที่ของ ทางการเคล่อื นที่ของ เหมือนกนั แตเ่ กิดใน ในช่วงเวลาที่ อากาศแตกต่างกัน ได้ อากาศแตกตา่ งกนั ได้ ช่วงเวลาท่ีแตกต่าง แตกตา่ งกนั และมี ถกู ต้องดว้ ยตนเอง ถูกต้องจากการชีแ้ นะของ กนั และมีทศิ ทางการ ทศิ ทางการ ครูหรอื ผอู้ ่ืน เคลือ่ นท่ีของอากาศ เคลอ่ื นท่ีของอากาศ แตกต่างกนั ได้ แตกต่างกนั ถกู ต้องบางสว่ น แม้ว่าจะไดร้ บั การ ชี้แนะจากครูหรือ ผู้อนื่ ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
41 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทักษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ควรปรับปรุง (1) ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) สามารถนำเสนอ C4 การสอ่ื สาร ข้อมลู จากการสังเกต การนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมลู จาก สามารถนำเสนอข้อมลู รวบรวมขอ้ มลู และ C5 ความร่วมมือ จากการอภปิ ราย จากการสังเกต การสังเกต รวบรวมข้อมูล จากการสังเกต รวบรวม เกี่ยวกับการ เปล่ียนแปลง รวบรวมข้อมูล และ และจากการอภิปราย ขอ้ มลู และจากการ อุณหภูมขิ องอากาศ และผลการ จากการอภปิ ราย เก่ยี วกบั การเปรียบเทยี บ อภิปรายเกี่ยวกับการ เปรียบเทยี บการเกดิ ลมบก ลมทะเล และ เก่ยี วกบั การ การเปลย่ี นแปลงอุณหภูมิ เปล่ียนแปลงอุณหภูมิของ ผลของลมบก ลม ทะเลทมี่ ีต่อสง่ิ มชี ีวติ เปรียบเทียบการ ของอากาศ และผลการ อากาศ และผลการ และสงิ่ แวดลอ้ ม โดย ใช้คำพดู และรูป เปลี่ยนแปลง เปรียบเทียบการเกดิ ลมบก เปรียบเทยี บการเกิดลม เพอ่ื ให้ผอู้ น่ื เข้าใจได้ บางส่วน แมว้ ่าจะได้ อุณหภมู ขิ องอากาศ ลมทะเล และผลของลม บก ลมทะเล และผลของ รับคำชแี้ นะจากครู หรอื ผูอ้ น่ื และผลการ บก ลมทะเลทีม่ ตี ่อ ลมบก ลมทะเลท่ีมตี ่อ สามารถทำงาน รว่ มกับผอู้ ืน่ และ เปรยี บเทียบการ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม การแสดงความ คดิ เห็นในการสังเกต เกดิ ลมบก ลมทะเล โดยใชค้ ำพดู และรูปเพ่ือให้ โดยใชค้ ำพูดและรูป และอภิปราย เกย่ี วกบั การ และผลของลมบก ผ้อู ่นื เขา้ ใจด้วยตนเอง เพ่อื ให้ผูอ้ น่ื เข้าใจได้ โดย เปรยี บเทยี บและ อธบิ ายการเกิดลม ลมทะเลที่มตี ่อ อาศัยการชแี้ นะจากครู บก ลมทะเล และผล ของลมบก ลมทะเล สงิ่ มีชีวิตและ หรอื ผู้อืน่ ที่มตี อ่ สิง่ มีชีวิตและ สิง่ แวดล้อม โดยใช้ คำพูดและรูป เพอ่ื ให้ผอู้ ่นื เขา้ ใจ การทำงานร่วมกบั สามารถทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานรว่ มกับ ผู้อ่นื และการแสดง ผอู้ ่นื และการแสดงความ ผู้อ่ืน และการแสดงความ ความคดิ เห็นในการ คดิ เห็นในการสงั เกตและ คดิ เห็นในการสังเกตและ สังเกตและอภิปราย อภิปรายเก่ยี วกบั การ อภปิ รายเกีย่ วกบั การ เกี่ยวกับการ เปรียบเทยี บและอธิบาย เปรยี บเทยี บและอธบิ าย เปรยี บเทยี บและ การเกิดลมบก ลมทะเล การเกิดลมบก ลมทะเล อธิบายการเกดิ ลม และผลของลมบก ลม และผลของลมบก ลม บก ลมทะเล และ ทะเล ท่มี ตี ่อสง่ิ มชี ีวติ และ ทะเล ทีม่ ตี ่อสงิ่ มชี วี ิตและ ผลของลมบก ลม สง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้งั ยอมรบั สิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ ทะเล ท่ีมีต่อ ความคดิ เห็นของผู้อน่ื ยอมรับความคดิ เหน็ ของ สิ่งมีชีวิตและ ตง้ั แต่เริ่มตน้ จนสำเรจ็ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 42 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) ส่งิ แวดล้อม รวมท้ัง ผู้อ่นื ในบางชว่ งเวลาทที่ ำ สง่ิ แวดล้อมในบาง ยอมรบั ความ กจิ กรรม ชว่ งเวลาที่ทำ คิดเหน็ ของผูอ้ ื่น กิจกรรม แต่ไม่คอ่ ย สนใจในความคดิ เห็น ของผู้อืน่ ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
43 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ กิจกรรมท่ี 1.2 การเกดิ มรสมุ เกยี่ วขอ้ งกบั ฤดขู องประเทศไทยอย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้อธิบายการเกิดมรสุมจาก แบบจำลอง อธิบายผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย และ ผลของมรสมุ ท่มี ีตอ่ สิง่ มีชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม และเปรยี บเทยี บการเกิด ลมบก ลมทะเล และมรสุมจากแบบจำลอง เวลา 1.5 ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดมรสุมจากแบบจำลอง 2. รวบรวมข้อมูลและอธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ ประเทศไทย และผลที่มผี ลตอ่ สิ่งมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม 3. เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุมจาก แบบจำลอง วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกิจกรรม ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ หนา้ 15-21 สง่ิ ทค่ี รูตอ้ งเตรียม/กลมุ่ 1. หนงั สอื เรียน ป.6 เล่ม 2 หนา้ 12-17 ลกู โลก 1 อัน 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.6 เล่ม 2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ S14 การสร้างแบบจำลอง ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความร่วมมือ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ 44 แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครู เพยี งรบั ฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิดมรสุม ผลของ ยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวน มรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย และผลที่มีต่อ ใหน้ กั เรียนไปหาคำตอบด้วยตนเอง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยให้นักเรียนสังเกตภาพใน จากการทำกจิ กรรม หนังสือเรียนหน้า 15 จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยใช้คำถาม ดงั นี้ 1.1 มรสุมคืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น มรสุมเกิดขึ้นจากความ แตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นทวีป และอณุ หภูมขิ องอากาศเหนือพนื้ มหาสมุทร จึงมีการ เคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำไปยัง บริเวณที่มีอุณหภมู ิสงู เกิดเป็นมรสุม) 1.2 มรสุมมีผลต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยและมีผล ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มรสุมมีผลต่อการ เกิดฤดูของประเทศไทย โดยประเทศไทยได้รับผล จากมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ทำให้เกดิ ฤดฝู น และได้รับ ผลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทำให้เกิดฤดูหนาว และส่งผลตอ่ ปริมาณฝนและอุณหภูมิของอากาศของ ประเทศไทย มีผลต่อการออกดอกและติดผลของพืช บางชนิด มีผลทำให้ในบางพื้นท่ีมีอากาศหนาวเย็น หรือมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง และมีผลทำให้เกิด การกัดเซาะชายฝง่ั ) 1.3 มรสุมเหมือนและแตกต่างจากลมบก ลมทะเล อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มรสุม และลมบก ลมทะเล มีหลักการเกิด เหมือนกัน แตม่ สี ิง่ ทแ่ี ตกตา่ งกนั คอื ขนาดของบรเิ วณ ทเ่ี กิด และชว่ งระยะเวลาการเกดิ ) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยใช้คำถามดังนี้ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมจนถึงเดือน กุมภาพันธ์ เราจะได้ยินข่าวเกี่ยวกับการมีลมหนาวพัดมา จากทางซีกโลกเหนือ หรือจากประเทศจนี นักเรียนคิดวา่ ลมหนาวทีพ่ ดั มาดังกลา่ วเก่ยี วขอ้ งกับมรสุมหรอื ไม่ ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
45 ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากน้ัน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่ จดุ ประสงค์ในการทำกจิ กรรม โดยใชค้ ำถามดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การเกิด นักเรียนจะไดฝ้ ึกจากการทำกจิ กรรม มรสุม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย และผลของมรสุมที่มตี ่อสง่ิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม และ S1 การสังเกตรายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่ง การเปรียบเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสมุ ) และขอบเขตบริเวณของพื้นทวีปและพื้น 3.2 นักเรียนจะได้เรยี นรู้เร่ืองนีด้ ้วยวิธีใด (การสังเกต การ มหาสมุทรในบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งอยู่ รวบรวมขอ้ มลู และการสรา้ งแบบจำลอง) ระหว่างละติจูด 23.5 องศาเหนือ และ 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายการเกิด ละตจิ ูด 23.5 องศาใต้ มรสุมอธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศ S7 การพยากรณ์เกย่ี วกบั การเคลื่อนท่ีของ ไทย และผลของมรสุมที่มีต่อส่ิงมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม อากาศเหนอื พนื้ ทวีปและเหนือพน้ื มหา และเปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม สมุ ทร เม่อื โลกเอียงขัว้ โลกเหนอื เขา้ หาและ ได)้ ออกจากดวงอาทติ ย์ S8 ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห ็ น เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศและการ 12 และอ่านส่งิ ทต่ี อ้ งใช้ในการทำกจิ กรรม เคลื่อนทข่ี องอากาศเหนือพ้นื ทวีปและเหนือ มหาสมุทร เมื่อโลกเอียงขั้วโลกเหนือเข้าหา 5. นักเรยี นอา่ นทำอยา่ งไร ทลี ะขอ้ โดยครใู ช้วิธีฝกึ ทักษะการ และออกจากดวงอาทิตย์ อ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครู S14 การสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายการ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จน เกิดมรสุม และเปรียบเทียบการเกิดลมบก นักเรยี นเขา้ ใจลำดับการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถามดงั นี้ ลมทะเล และมรสุม 5.1 เมื่อเอียงขั้วโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์แล้ว ต้อง C4 การอภิปรายเกี่ยวกบั การเกิดมรสุม และ อภิปรายสิ่งใด (อภิปรายเกี่ยวกับอุณหภูมิของอากาศ ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย เหนือพื้นทวีปและเหนือพื้นมหาสมุทรในบริเวณเขต และผลที่มีตอ่ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม และ ร้อนของโลก จะมอี ุณหภมู อิ ากาศเหมือนหรือแตกต่าง อภิปรายเปรียบเทียบการเกิดลมบก ลม กัน เพราะเหตใุ ด) ทะเล และมรสมุ 5.2 เมื่อเอียงขั้วโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์แล้ว ต้อง C5 การรว่ มมอื ในการอภิปรายการเกิดมรสุม พยากรณ์สิ่งใด (พยากรณ์ว่าอากาศเหนือพืน้ ทวีปและ และผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดูของประเทศ เหนือพื้นมหาสมุทรจะเคลื่อนทีจ่ ากท่ีใดไปที่ใด พร้อม ไทย และผลที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม บอกเหตุผล) และการเปรียบเทียบการเกิดลมบก ลม 5.3 เมื่อเอียงขั้วโลกเหนือออกจากดวงอาทิตย์แล้ว ต้อง ทะเล และมรสมุ อภิปรายสิ่งใด (อภิปรายเกี่ยวกับอุณหภูมิของอากาศ เหนือพื้นทวีปและเหนือพื้นมหาสมุทรในบริเวณเขต สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 46 รอ้ นของโลก จะมอี ุณหภูมิอากาศเหมือนหรือแตกต่าง ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ กัน เพราะเหตใุ ด) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 5.4 เมื่อเอียงขั้วโลกเหนือออกจากดวงอาทิตย์แล้ว ต้อง คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด พยากรณส์ ิง่ ใด (พยากรณ์ว่าอากาศเหนือพ้ืนทวีปและ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน เหนอื พ้นื มหาสมุทรจะเคลื่อนท่จี ากที่ใดไปที่ใด พร้อม และรบั ฟงั แนวความคิดของนักเรยี น บอกเหตผุ ล) 5.5 นักเรียนจะใช้ข้อมูลใดในการพยากรณ์ ว่าขณะที่โลก เอียงขั้วโลกเหนือเข้าหาและออกจากดวงอาทิตย์ อากาศเหนือพ้ืนทวีปและเหนือพื้นมหาสุมทรจะ เคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด (ข้อมูลอุณหภูมิของอากาศ เหนือพนื้ ทวีปและเหนอื พ้ืนมหาสมุทร) 5.6 เราจะตรวจสอบการพยากรณ์เกี่ยวกับการเคลื่อนท่ี ของอากาศเหนือพื้นทวีปและเหนือพื้นมหาสมุทรได้ อย่างไร (ตรวจสอบการพยากรณ์ได้จากการอ่านใบ ความรูเ้ รือ่ งมรสุมกบั การเกดิ ฤดขู องประเทศไทย) 5.7 เมื่อตรวจสอบการพยากรณ์เสร็จแล้วต้องทำสิ่งใด (ปรับปรุงข้อมูลแบบจำลองการเกิดมรสุมที่นักเรียน บันทึกไว้ในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 13-14 และระบุ ช่อื มรสุม) 5.8 เมื่อปรับปรุงข้อมูลแบบจำลองการเกิดมรสุมใน ขั้นตอนการทำกิจกรรมที่ 2 เสร็จแล้ว นักเรียนต้อง อภิปรายและบันทึกผล ส่ิงใด (ต้องอภิปรายว่ามรสุม ที่เกิดขึ้นมีผลใหเ้ กิดฤดใู ดของประเทศไทยและในช่วง เปลี่ยนมรสุมหรือได้รับผลจากมรสุมลดลงจะเกิดฤดู ใดของประเทศไทย และอภิปรายเกี่ยวกับผลของ มรสุมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และอภิปราย เปรียบเทียบการเกิดมรสุมกับลมบก ลมทะเล ว่ามี การเกดิ เหมือนและแตกตา่ งกนั อยา่ งไร) 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ให้นกั เรยี นเรม่ิ ปฏิบตั ติ ามข้ันตอนการทำกจิ กรรม คุณครูอาจให้นักเรียนศึกษาเรื่องมรสุมกับการเกิด ฤดูของประเทศไทยได้จากสื่อเสริมเพิ่มความรู้ AR ใน หนงั สือเรยี นหน้าที่ 17 ได้ ⎯สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
47 ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ โดยใช้คำถามดังตอ่ ไปนี้ 7.1 จากการสังเกตลูกโลก ประเทศไทยอยู่ในบริเวณเขต ครูสามารถอ่านความรู้เพิ่มเติม ร้อนของโลกหรือไม่ เพราะเหตุใด (ประเทศไทยอยู่ใน สำหรับครูในหน้าที่ 51-53 ก่อนการ บริเวณเขตร้อนของโลก เพราะอยู่ระหว่างละติจูด นำอภิปรายผลการทำกิจกรรมได้ 23.5 องศาเหนือ และละติจูด 23.5 องศาใต้ของ ลกู โลก และอยเู่ หนอื เส้นศนู ยส์ ตู รเลก็ นอ้ ย) ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ 7.2 มรสุมเกิดขึ้นได้อย่างไร (มรสุมเกิดจากความแตกต่าง ระหว่างอุณหภมู ขิ องอากาศเหนอื พืน้ ทวปี และอุณหภูมิ ในการสังเกตบริเวณเขตร้อนของ อากาศเหนือพื้นมหาสมุทร ซึ่งจะเกิดบริเวณเขตร้อน โลกซึ่งอยู่ระหว่างละติจูด 23.5 ของโลก) องศาเหนือและละติจูด 23.5 7.3 มรสุมที่พัดผ่านประเทศไทยมีมรสุมอะไรบ้าง และ องศาใต้ และตำแหน่งที่ตั้งของ เกิดขึ้นได้อย่างไร (มรสุมที่พัดผ่านประเทศไทย ได้แก่ ประเทศไทย ควรใช้ลูกโลกเพื่อให้ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ นกั เรยี นสังเกตไดช้ ัดเจน เกิดข้ึนเนื่องจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของ อากาศเหนือพื้นทวีปและอุณหภมู ิของอากาศเหนือพนื้ ความรู้เพิม่ เตมิ สำหรบั ครู มหาสมทุ ร) 7.4 การพัดผ่านของมรสุมส่งผลต่อประเทศไทยอย่างไร มรสุมเกิดตรงบริเวณชายฝั่งทวีป (ทำใหเ้ กิดฤดูฝน และฤดหู นาว ซง่ึ มผี ลต่อส่ิงมีชีวิตและ ในบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งอยู่ สิง่ แวดลอ้ มในดา้ นตา่ ง ๆ) บรเิ วณระหวา่ งละติจูด 23.5 องศา 7.5 ประเทศไทยมีฤดูอะไรบ้าง (ประเทศไทยมีทั้งหมด 3 เหนือและละตจิ ดู 23.5 องศาใต้ ฤดู ได้แก่ ฤดหู นาว ฤดรู ้อน และฤดฝู น) 7.6 ฤดูหนาวของประเทศไทยเกิดขึ้นได้อย่างไร (ฤดูหนาว ของประเทศไทยเกิดขึ้นเพราะได้รับผลจากมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงกลางเดือนตุลาคมจนถึง เดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นช่วงที่โลกเอียงขั้วโลกเหนือ ออกจากดวงอาทิตย์ ทำให้อากาศทางซีกโลกเหนือมี อุณหภูมิต่ำกว่าอากาศทางซีกโลกใต้ อากาศทางซีก โลกใตจ้ งึ เคลอ่ื นทีส่ ูงขน้ึ และอากาศทางซีกโลกเหนือจะ เคล่ือนเขา้ มาแทนท่ี ซงึ่ จะพัดพาอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ และมีความชื้นน้อยไปยังประเทศที่พัดผ่านประเทศ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 48 ไทยได้รับผลจากมรสุมดังกล่าว ทำให้ช่วงเวลานี้ของ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ประเทศไทยเปน็ ฤดหู นาว) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 7.7 ฤดูร้อนของประเทศไทยเกิดขึ้นได้อย่างไร (ฤดูร้อน คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ของประเทศไทยเกิดอยู่ในช่วงประมาณกลางเดือน และรบั ฟังแนวความคดิ ของนักเรยี น กุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งในช่วง เวลาดังกล่าวอุณหภูมิของอากาศทางซีกโลกเหนือ และอุณหภูมิของอากาศทางซีกโลกใต้แตกต่างกัน เล็กน้อย จึงเป็นช่วงเปลี่ยนมรสุมหรือได้รับผลจาก มรสุมลดลง ดังนั้นอุณหภูมิของอากาศของประเทศ ไทยในช่วงเวลาดังกล่าวจึงเป็นผลมาจากพลังงาน ความร้อนจากดวงอาทิตย์เป็นสว่ นใหญ่) 7.8 ฤดฝู นของประเทศไทยเกิดข้ึนได้อย่างไร (ฤดูฝนของ ประเทศไทยเกิดขึ้นเพราะได้รับผลจากมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง กลางเดือนตุลาคม ซึ่งเป็นช่วงที่โลกเอียงขั้วโลก เหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ ทำให้อากาศทาง ซีกโลก เหนือมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศทางซีกโลกใต้ อากาศ ทางซีกโลกเหนือเคลื่อนที่สูงขึ้นและอากาศทางซีก โลกใต้จะเคลื่อนเข้ามาแทนที่ ซึ่งเมื่อพัดผ่าน มหาสมุทรก็จะนำความชื้นไปยังประเทศที่พัดผ่าน ประเทศไทยได้รับผลจากมรสุมดังกล่าว ซึ่งจะพัด ผ่านประเทศไทยไปยังพื้นทวีปทางซีกโลกเหนือ ทำ ให้ช่วงเดือนนขี้ องประเทศไทยเป็นฤดฝู น) 7.9 มรสุมมีผลอย่างไรต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมบ้าง (มรสุมมีผลต่อปริมาณฝนและอุณหภูมิของอากาศ ของประเทศไทย มีผลต่อการออกดอกและติดผล ของพืชบางชนิด มีผลทำให้ในบางพื้นที่มีอากาศ หนาวเย็น หรือมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง และมีผล ทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝ่งั ) 7.10 การเกิดมรสุม ลมบก และลมทะเล มีสิ่งใดที่เหมือน และแตกต่างกัน (- สิ่งที่เหมือนกัน คือ มีหลักการเกิดเหมือนกนั โดย เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศ ⎯สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
49 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ เหนือพื้นดินและพื้นน้ำ จึงเกิดการเคลื่อนที่ของ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมีแนวคดิ อากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำไปยังบริเวณที่มี คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการเกิด อณุ หภมู สิ ูง มรสุม และผลของมรสุมต่อการ - สิ่งที่แตกต่างกัน คือขนาดของบริเวณที่เกิด และช่วง เกิดฤดูของประเทศไทย และ ระยะเวลาการเกดิ กลา่ วคือลมบก ลมทะเลเกิดบริเวณ การเปรียบเทียบการเกิดลมบก ชายฝั่ง ส่วนมรสุมเกิดขึ้นในบริเวณที่มีขนาดใหญ่กว่า ลมทะเล และมรสุม ให้ร่วมกัน โดยเกิดตรงบริเวณเขตร้อนของโลก (บริเวณระหว่าง อภิปรายจนนักเรียนมีแนวคิดท่ี ละติจูด 23.5 องศาเหนือและละติจูด 23.5 องศาใต้) ถกู ต้อง เช่น บริเวณภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ลมบก ลมทะเล เกิดในช่วงเวลา 1 วัน คือ ชว่ งเวลากลางวันและกลางคนื สว่ นมรสุมมรี ะยะเวลา ในการเกิดตอ่ เน่อื งยาวนานประมาณ 3-5 เดอื น) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้ เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเกิดมรสุม ผลของมรสุมต่อการ เกิดฤดูของประเทศไทย และผลของมรสุมต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลง ขอ้ สรุปวา่ • มรสมุ และลมบก ลมทะเล มีหลกั การเกดิ เหมือนกัน คือ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของ อากาศเหนือพื้นดินและอุณหภูมิของอากาศเหนือ พื้นน้ำ แต่มีขนาดของบริเวณที่เกิด และช่วง ระยะเวลาการเกิดแตกตา่ งกัน • มรสุมที่พัดผ่านประเทศไทย ได้แก่ มรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้เกิดฤดูหนาว และมรสุม ตะวนั ตกเฉียงใต้ ทำใหเ้ กดิ ฤดูฝน • ช่วงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือน พฤษภาคมของประเทศไทย เป็นช่วงเปลี่ยนมรสุม หรือได้รับผลจากมรสุมลดลง ทำให้ช่วงเวลานี้ของ ประเทศไทยเป็นฤดรู อ้ น • มรสุมมีผลต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยซึ่งจะ ส่งผลต่อปริมาณฝนและอุณหภูมิของอากาศของ ประเทศไทย นอกจากนั้นยังมีผลต่อการออกดอก สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 50 และติดผลของพืชบางชนิด มีผลทำให้ในบางพื้นที่มี การเตรียมตวั ล่วงหน้าสำหรับครู อากาศหนาวเย็น หรือมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง เพอื่ จดั การเรียนรูใ้ นครง้ั ถดั ไป และมีผลทำให้เกดิ การกัดเซาะชายฝ่ัง (S13) 9. นักเรียนตอบคำถามในฉันรู้อะไร และร่วมกันอภิปราย ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน เพอ่ื ใหไ้ ดแ้ นวคำตอบทถ่ี ูกต้อง บทที่ 2 ปรากฏการณ์เรือนกระจก ให้ครู 10. นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี้ จากนั้นครูให้ จัดเตรียมชุดเกม Too Little Too Late นักเรียนอ่านสิ่งที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับข้อสรุป จำนวน 1 ชุดต่อนักเรียน 1 กลุ่ม และให้ ของตนเอง ครูและนักเรียนศึกษาคู่มือการเล่นให้ 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัย เข้าใจมาล่วงหน้า หรืออยากรู้เพิ่มเติมในอยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่ม นักเรยี น 2-3 คน นำเสนอคำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน สามารถดาวน์โหลดชุดเกมได้ที่ และให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั คำถามทน่ี ำเสนอ เว็บไซต์ http://ipst.me/10926 หรือ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะ จากการสแกน QR Code ดา้ นลา่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างในขั้นตอนใด แล้วบันทึกลงในแบบบันทึก กิจกรรมหน้า 17 13. นักเรียนร่วมกนั อา่ นรู้อะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียนหนา้ 22-23 ครูนำอภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ เรยี นรูใ้ นเรอื่ งนี้ จากน้นั ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถาม ในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นคำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนเนื้อหาในเรื่องต่อไปดังนี้ “ปัจจุบันบางพื้นที่มี ฝนตกหนัก บางพื้นที่มีพายุเกิดขึ้นรุนแรง บางพื้นที่มี อุณหภูมิของอากาศสูงขึ้นกว่าปกติจนส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต แ ล ะ ม ี ห ล า ย ค น ก ล ่ า ว ว ่ า ส ิ ่ ง ท ี ่ เ ก ิ ด ข ึ ้ น น ี ้ เ ก ี ่ ย ว กั บ ปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจกคือ อะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร เราจะไปเรียนรู้กันในบทถัดไป” โดยให้นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายตอบคำถาม ซง่ึ ครูควรเน้น ให้นักเรียนตอบคำถามพร้อมอธิบายเหตุผลประกอบและ ชกั ชวนให้นักเรียนไปหาคำตอบรว่ มกนั จากการเรียนเรื่อง ต่อไป ⎯สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
51 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ ความรูเ้ พมิ่ เติมสำหรับครู ในขั้นตอนข้อที่ 1 ทำอย่างไรในหนังสือเรียนหน้า 15 ในการให้นักเรียนอภิปรายพร้อมบอกเหตุผลเกี่ยวกับความ เหมือนและความแตกต่างของอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นทวีปและเหนือพื้นมหาสมุทร ซึ่งอยู่ระหว่างละติจูด 23.5 องศาเหนือ และละติจูด 23.5 องศาใต้ของโลก เมื่อโลกเอียงขั้วโลกเหนือเข้าหาและเอียงออกจาก ดวงอาทิตย์นั้น ครูอาจ แสดงหรือวาดรปู ที่ 1 ลงบนกระดาษแผน่ ใหญ่ โดยกำหนดตำแหน่งโลกทโี่ คจรรอบดวงอาทติ ยต์ ามตำแหน่งตา่ ง ๆ 4 ตำแหน่ง ดงั รปู ท่ี 1 ประกอบกบั การใชล้ กู โลก และรว่ มกันอภิปรายกบั นกั เรยี นเปน็ ลำดับข้นั ดงั นี้ รูปที่ 1 แสดงตำแหน่งโลกท่โี คจรรอบดวงอาทติ ย์ เบื้องต้นให้ครูนำนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับโลกว่า โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะเป็นทรงกลมที่หมุนรอบตัวเอง ขณะทโี่ คจรรอบดวงอาทิตยใ์ นทศิ ทวนเข็มนาฬกิ าเมือ่ มองจากมุมมองดา้ นบนหรือขว้ั โลกเหนือ ดงั รปู ท่ี 1 จากรูปที่ 2 เส้นตรงสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือผา่ นทะลุโลกมายงั ขัว้ โลกใต้ เรียกว่า แกนโลก ซึ่งเอียงทำมุม 23.5 องศากับแนวต้ังฉากกับระนาบทางโคจรรอบดวงอาทิตย์ ขณะท่ีโลกหมุนและโคจรรอบดวงอาทติ ย์แกนของโลกจะเอียงคงท่ีใน แนวเดิมเสมอ ส่วนเส้นสมมติที่ลากรอบกึ่งกลางของโลกตามแนวนอนจนครบรอบ แบ่งโลกออกเป็นซีกโลกเหนอื และซีกโลก ใต้เท่า ๆ กัน เรียกว่า เส้นศูนย์สูตร การที่โลกเป็นทรงกลมและมีแกนหมุนเอียงคงทีเ่ สมอขณะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้ บริเวณต่าง ๆ ของโลกรับแสงจากดวงอาทิตย์ต่างกัน บางบริเวณได้รับแสงตกตั้งฉากจะมีอุณหภูมิสูงกว่าบางบริเวณที่ได้รับ แสงตกเฉียง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
ค่มู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ 52 รปู ท่ี 2 สว่ นต่าง ๆ ของโลก จากนั้นกำหนดให้ลูกโลกแทนโลก และวางลูกโลกไว้ที่ตำแหน่งที่ 1 (ดังรูปที่ 1) โดยหันขั้วเหนือของลูกโลกและ ประเทศไทยเข้าหาดวงอาทติ ย์ จากรูปที่ 1 เมื่อโลกโคจรมาอยู่ตำแหน่งที่ 1 ขั้วโลกเหนือจะเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์มากที่สุดประมาณวันที่ 21 มิถุนายน ของทุกปี ช่วงเวลานี้แสงอาทิตย์จะตกตั้งฉากบริเวณเหนือศูนย์สูตร ดังรูปที่ 3 จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับอุณหภูมิของอากาศบริเวณทางซีกโลกเหนือ และอุณหภูมิของอากาศบริเวณทางซีกโลกใต้ ซึ่งควรได้ข้อสรุปว่า ทาง ซีกโลกเหนือจะมีอุณหภูมิของอากาศสงู กว่าทางซกี โลกใต้ท่แี สงอาทติ ย์จะตกเฉียง รปู ท่ี 3 ลักษณะของแสงอาทิตย์ตกกระทบโลก เม่ือขั้วโลกเหนือเอยี งเข้าหาดวงอาทิตย์ เลอ่ื นลูกโลกมายังตำแหนง่ ท่ี 2 (ดงั รูปท่ี 1) โดยแกนของลกู โลกเอียงคงที่อยู่ในแนวเดิม เมื่อโลกโคจรเข้าสู่ตำแหน่งที่ 2 แกนของโลกขณะนี้ไม่ได้เอียงเข้าหาหรือเอียงออกจากดวงอาทิตย์ แสงจากดวงอาทิตย์จะตกตั้งฉากบริเวณเส้นศูนย์สูตร และตกเฉยี งบริเวณซกี โลกเหนือและใตเ้ ท่า ๆ กัน ประมาณวนั ท่ี 23 กันยายน ของทุกปี ทีต่ ำแหน่งนี้อณุ หภมู เิ ฉล่ยี ของซกี โลก เหนอื ค่อย ๆ ลดลง ส่วนบรเิ วณซกี โลกใต้ค่อย ๆ เพ่ิมข้ึน ⎯สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
53 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 ปรากฏการณ์ของโลกและภยั ธรรมชาติ เลื่อนลูกโลกมายังตำแหนง่ ที่ 3 (ดังรูปท่ี 1) โดยแกนของลกู โลกเอียงคงที่อยู่ในแนวเดิม เมื่อโลกโคจรมาอยู่ตำแหนง่ ที่ 3 (ดังรูปที่ 1) ขั้วโลกใต้จะเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์มากที่สุดประมาณวันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปี ช่วงเวลานี้แสงอาทิตย์ จะตกเฉียงบริเวณเหนอื ศูนยส์ ูตร ดังรปู ที่ 4 จากนัน้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั อุณหภมู ิของอากาศบริเวณทางซีกโลก เหนอื และอุณหภมู ิของอากาศบริเวณทางซีกโลกใต้ ซึง่ ควรไดข้ อ้ สรุปวา่ ทางซีกโลกเหนือจะมีอณุ หภมู ิของอากาศต่ำกว่าทาง ซกี โลกใต้ท่แี สงอาทติ ยจ์ ะตกต้ังฉาก รูปท่ี 4 ลกั ษณะของแสงอาทิตยต์ กกระทบโลก เมื่อข้วั โลกเหนือเอียงออกจากดวงอาทิตย์ เลือ่ นลูกโลกมายงั ตำแหน่งท่ี 4 (ดงั รปู ที่ 1) โดยแกนของลูกโลกเอียงคงท่ีอยู่ในแนวเดิม เมือ่ โลกโคจรเข้าสู่ตำแหน่งท่ี 4 (ดงั รูปที่ 1) แกนของโลกขณะนี้ไม่ได้เอียงเขา้ หาหรือออกจากดวงอาทิตย์ แสงจากดวงอาทิตยจ์ ะตกต้ังฉากบริเวณเส้นศูนย์ สูตร และตกเฉียงบริเวณซีกโลกเหนือและใต้เท่า ๆ กัน ประมาณวันที่ 21 มีนาคม ของทุกปี ที่ตำแหน่งนี้อุณหภูมิเฉลี่ยของ ซกี โลกเหนือคอ่ ย ๆ สูงข้ึน ส่วนบรเิ วณซีกโลกใตค้ อ่ ย ๆ ลดลง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: