Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรต้านทุจริต

หลักสูตรต้านทุจริต

Published by janvisitk022532, 2019-05-14 02:49:11

Description: หลักสูตรต้านทุจริต

Search

Read the Text Version

- ๔๖ - 6. กรณตี ัวอยา่ งระบบคดิ เพื่อแยกแยะระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม ตัวอยา่ งระบบคิดฐานสบิ & ระบบคิดฐานสอง ตัวอยา่ งระบบคิดฐานสิบ & ระบบคิดฐานสอง

- ๔๗ - คดิ ฐานสอง คดิ ฐานสิบ คดิ ฐานสอง คิดฐานสิบ คิดฐานสอง คิดฐานสิบ คดิ ฐานสอง คดิ ฐานสิบ

- ๔๘ - คิดแบบไหน ? ...ไม่ทุจริต คิดได้ - คิดกอ่ นทา (ก่อนกระทาการทจุ ริต) - คิดถึงผลเสียผลกระทบต่อประเทศชาติ (ความเสียหายที่เกดิ ข้ึนกับ คดิ ดี ประเทศในทุกๆ ดา้ น) คิดเป็น - คดิ ถึงผู้ได้รบั บทลงโทษจากการทจุ ริต (เอามาเป็นบทเรียน) - คิดถึงผลเสียผลกระทบที่จะเกิดขึน้ กับตนเอง (จะต้องอยกู่ ับความ เสยี่ งท่จี ะถูกร้องเรียน ถกู ลงโทษไล่ออกและติดคุก) - คิดถงึ คนรอบข้าง (เส่อื มเสียตอ่ ครอบครวั และวงศ์ตระกลู ) - คิดอยา่ งมีสตสิ ัมปชญั ญะ - คดิ แบบพอเพยี ง ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบยี นผู้อน่ื และไม่ เบียดเบยี นประเทศชาติ - คิดอยา่ งรับผดิ ชอบตามบทบาทหน้าที่ กฎระเบยี บ - คดิ ตามคุณธรรม วา่ “ทาดีไดด้ ี ทาชว่ั ไดช้ ่วั ” - คิดแยกเรอ่ื งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวมออกจากกนั อยา่ งชัดเจน - คิดแยกเรื่องตาแหน่งหน้าท่ี กบั เร่ืองสว่ นตัวออกจากกัน - คดิ ที่จะไมน่ าประโยชน์ส่วนตนกับประโยชนส์ ว่ นรวมมาปะปนกัน มาก้าวกา่ ยกนั - คิดที่จะไมเ่ อาประโยชน์ส่วนรวมมาเป็นประโยชน์สว่ นตน - คดิ ทจ่ี ะไมเ่ อาผลประโยชน์สว่ นรวมมาตอบแทนบญุ คุณสว่ นตน - คิดเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ่วนรวมมากกว่าประโยชนส์ ่วนตน เครือญาติ และพวกพ้อง - คดิ ฐานสองและท้ิงฐานสบิ

- ๔๙ - บรรณานุกรม - ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) - พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และ ทีแ่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ - คมู่ ือการปอ้ งกนั ผลประโยชนท์ ับซ้อน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ - คู่มอื ปอ้ งกนั ผลประโยชน์ทับซอ้ น สานกั งานปลดั สานักนายกรัฐมนตรี - คมู่ ือการป้องกันผลประโยชนท์ ับซ้อน สานกั งานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม - คู่มอื การปอ้ งกันผลประโยชนท์ ับซ้อน สานกั งานปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ - คู่มือการปอ้ งกันผลประโยชนท์ ับซ้อน กรมสรรพากร - หนงั สอื ชดุ ความรกู้ ารเฝ้าระวงั การทุจริตของหน่วยงานภาครัฐ ชุดที่ 3 สานักงาน ป.ป.ช. - กาชัยจงจักรพันธ์“การขัดกันแห่งผลประโยชน์และมาตรา 100 พ.ร.บ. ป.ป.ช.”จัดพิมพ์และเผยแพร่ โดยสานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ - สุทธินันท์ สาริมาน. การกาหนดตาแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีต้องห้ามดาเนินกิจการอันเป็นการขัดกัน ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ตามบทบัญญัติมาตรา 100 พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควชิ านิตศิ าสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2552. - สุวรรณาตุลยวศินพงศ์ และคณะ. (2546). รายงานผลการวิจัยเร่ืองความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม. กรงุ เทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. - เวบ็ ไซต์สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (www.nacc.go.th)

- ๕๐ - ชดุ วิชาที่ ๒ ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ 2.1 การทุจรติ ปัญหาการทุจริต เป็นปัญหาท่ีสาคัญท้ังของประเทศไทยและประเทศอ่ืนๆ ท่ัวโลก ปัญหาการทุจริต จะทาให้เกิดความเสื่อมในด้านต่างๆ เกิดข้ึน ทั้งสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และนับวันปัญหาดังกล่าว ก็จะรุนแรงมากขึ้น และมีรูปแบบการทุจริตที่ซับซ้อน ยากแก่การตรวจสอบมากขึ้น จากเดิมท่ีกระทาเพียงสองฝ่าย ปัจจุบันการทุจริตจะกระทากันหลายฝ่าย ท้ังผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่ของรัฐ และเอกชน โดยประกอบด้วยสองส่วนใหญ่ๆ คือ ผู้ให้ผลประโยชน์กับผู้รับผลประโยชน์ ซ่ึงท้ังสองฝ่ายนี้จะมีผลประโยชน์ ร่วมกัน ตราบใดท่ีผลประโยชน์สมเหตุสมผลต่อกัน ก็จะนาไปสู่ปัญหาการทุจริตได้ บางครั้งผู้ท่ีรับผลประโยชน์ก็ เป็นผใู้ หป้ ระโยชนไ์ ด้เช่นกัน โดยผู้รับผลประโยชน์และผู้ให้ผลประโยชน์ คอื 1. ผรู้ ับผลประโยชน์ จะเปน็ เจา้ หน้าทีข่ องรฐั ซ่งึ มอี านาจ หน้าที่ในการกระทา การดาเนินการต่างๆ และ รับประโยชน์จะเป็นไปในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การเรียกรับประโยชน์โดยตรง การกาหนดระเบียบ หรือคุณสมบตั ิที่เอื้อต่อตนเองและพวกพ้อง 2. ผู้ให้ผลประโยชน์ เช่น ภาคเอกชน โดยการเสนอผลตอบแทนในรูปแบบต่างๆ เช่น เงิน สิทธิพิเศษอ่ืนๆ เพื่อจูงใจให้นักการเมือง เจ้าหน้าท่ีของรัฐ กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งในตาแหน่งหน้าท่ี ซึ่งการกระทาดังกลา่ วเป็นการกระทาท่ฝี ่าฝนื ต่อระเบยี บหรือผิดกฎหมาย เป็นต้น 2.๑.1 ทุจรติ คืออะไร คาวา่ ทุจริต มีการให้ความหมายได้มากมาย หลากหลาย ขึ้นอยู่กับว่าจะมีการให้ความหมายดังกล่าวไว้ว่า อย่างไร โดยท่ีคาว่าทุจริตน้ัน จะมีการให้ความหมายโดยหน่วยงานของรัฐ หรือการให้ความหมาย โดยกฎหมายซ่ึงไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมายจากแหล่งใด เนื้อหาสาคัญของคาว่าทุจริตก็ยังคงมีความหมายท่ี สอดคลอ้ งกนั อยู่ น่ันคือ การทุจรติ เป็นสงิ่ ทีไ่ ม่ดี มีการแสวหาหรือเอาผลประโยชน์ของส่วนรวม มาเป็นของส่วนตัว ทงั้ ๆ ทต่ี นเองไมไ่ ด้มสี ิทธใิ นสิ่งๆ นั้น การยดึ ถือ เอามาดังกล่าวจงึ ถือเปน็ ส่ิงท่ีผิด ท้งั ในแงข่ องกฎหมายและศลี ธรรม ในแง่ของกฎหมายน้ัน ประเทศไทยได้มีการกาหนดถึงความหมายของการทุจริตไว้หลักๆ ในกฎหมาย 2 ฉบบั คอื ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (1) “โดยทุจริต” หมายถึง “เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรือผู้อ่นื ” พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542มาตรา 4 คาว่า “ทุจริตต่อหน้าท่ี” หมายถึง “ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตาแหน่งหรือหน้าที่หรือปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ ท่ีอาจทาให้ผู้อ่ืนเชื่อว่ามีตาแหน่งหรือหน้าที่ทั้งท่ีตนมิได้มีตาแหน่งหรือ หน้าท่ีนั้น หรือใช้อานาจในตาแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพ่ือแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสาหรับตนเองหรือ ผู้อ่นื ” นอกจากน้ี คาว่าทจุ ริต ยังไดม้ ีการบญั ญตั ใิ หค้ วามหมายเอาไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 โดยระบุไว้ว่าทุจริต หมายถงึ “ความประพฤตชิ ว่ั คดโกง ฉอ้ โกง”

- ๕๑ - ในคาภาษาอังกฤษ คาว่าทุจริตจะตรงกับคาว่า Corruption (คอร์รัปชัน) โดยในประเทศไทย มักมีการ กล่าวถึงคาว่าคอร์รัปชันมากกว่าการใช้คาว่าทุจริต โดยการทุจริตนี้สามารถใช้ได้กับทุกท่ีไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน ราชการ หนว่ ยงานของเอกชน หากเกดิ กรณกี ารยดึ เอา ถอื เอาซง่ึ ประโยชนส์ ่วนตนมากกว่าส่วนร่วม ไม่คานึง ถึงว่า สิ่งๆ น้ันเป็นของของตนเอง หรือเป็นสิทธิที่ตนเองควรจะได้มาหรือไม่แล้วน้ัน ก็จะเรียกได้ว่าเป็นการทุจริต เช่น การทุจริตในการเบิกจา่ ยเงิน ไม่ว่าจะเกดิ ขึน้ ในหนว่ ยงานของรฐั หรอื ของเอกชน การกระทาเช่นน้ีก็ถือเป็นการ ทุจริต อย่างไรก็ตาม เนื่องจากคอร์รัปชันมิได้เกิดเฉพาะในวงราชการเท่านั้น ดังน้ัน ในอีกมุมหน่ึง คอร์รัปชัน จึงต้องหมายรวมถึงการแสวงหาผลประโยชน์ของภาคธุรกิจเอกชน ในรูปของการให้สินบนหรือสิ่งตอบแทน แก่ นั ก ก า ร เ มื อ ง ห รื อ ข้ า ร า ช ก า ร เ พ่ื อ ใ ห้ ไ ด้ ม า ซ่ึ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ท่ี ต น เ อ ง อ ย า ก ไ ด้ ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ป ร ะ มู ล การสัมปทาน เป็นต้น รูปแบบเหล่าน้ีจะสามารถสร้างกาไรให้แก่ภาคเอกชนเป็นจานวนมากหากภาคเอกชน สามารถเขา้ มาดาเนินงานได้ รวมถึงการที่เจา้ หน้าท่ีของรัฐมีความต้องการทรัพย์สิน ประโยชน์อ่ืนนอกเหนือจากส่ิง ทีไ่ ดร้ ับตามปกติ เม่อื เหตผุ ลของท้ังสองฝ่ายสามารถบรรจบหากันได้ การทจุ ริตก็เกดิ ขึน้ ได้ จากนิยามของการทุจริตคอร์รัปชันไม่เพียงแต่จะกินความถึงการทุจริตคอร์รัปชันในระบบราชการเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเร่ืองกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมในภาคเอกชนอีกด้วย ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าการ ทจุ ริตคอรร์ ปั ชนั คอื การทุจริต และการประพฤติมิชอบของขา้ ราชการ ดังน้ัน การทุจริตคือ การคดโกง ไม่ซ่ือสัตย์สุจริต การกระทาที่ผิดกฎหมาย เพื่อให้เกิดความได้เปรียบใน การแข่งขัน การใช้อานาจหน้าที่ในทางท่ีผิดเพ่ือแสวงหาประโยชน์หรือให้ได้รับส่ิงตอบแทน การให้หรือการรับ สินบน การกาหนดนโยบายทีเ่ อือ้ ประโยชน์แก่ตนหรอื พวกพอ้ งรวมถึงการทุจริตเชิงนโยบาย 2.1.๒ รูปแบบการทจุ รติ รูปแบบการทจุ รติ ทีเ่ กิดขึน้ สามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ แบ่งตามผู้ที่เกี่ยวข้อง แบ่งตามกระบวนการท่ีใช้และ แบง่ ตามลกั ษณะรูปธรรม ดงั นี้คือ 1) แบ่งตามผทู้ เ่ี กีย่ วขอ้ ง เป็นรปู แบบการทจุ รติ ในเร่อื งของอานาจและความสมั พันธ์แบบอุปถัมภ์ระหว่าง ผู้ท่ีให้การอปุ ถัมภ์ (ผใู้ ห้การช่วยเหลอื ) กับผถู้ กู อปุ ถัมภ์ (ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือ) โดยในกระบวนการการทุจริตจะมี 2 ประเภทคอื (1) การทุจริตโดยข้าราชการ หมายถึงการกระทาท่ีมีการใช้หน่วยงานราชการเพื่อมุ่งแสวงหา ผลประโยชน์จากการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานนนั้ ๆ มากกว่าประโยชน์ส่วนรวมของสังคมหรือประเทศ โดยลักษณะ ของการทุจรติ โดยข้าราชการสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทย่อย ดังน้ี ก) การคอร์รัปชันตามน้า (corruption without theft) จะปรากฏขึ้นเม่ือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ต้องการสินบนโดยให้มีการจ่ายตามช่องทางปกติของทางราชการ แต่ให้เพ่ิมสินบนรวมเข้าไว้กับการจ่ายค่าบริการ ของหน่วยงานนั้นๆ โดยท่ีเงินค่าบริการปกติที่หน่วยงานน้ันจะต้องได้รับก็ยังคงได้รับต่อไป เช่น การจ่ายเงินพิเศษ ให้แก่เจา้ หน้าทใี่ นการออกเอกสารต่างๆ นอกเหนอื จากค่าธรรมเนียมปกตทิ ตี่ ้องจ่ายอยแู่ ล้ว เป็นต้น ข) การคอร์รัปชันทวนน้า (corruption with theft) เป็นการคอร์รัปชันในลักษณะที่เจ้าหน้าที่ ของรัฐจะเรียกร้องเงินจากผู้ขอรับบริการโดยตรง โดยที่หน่วยงานน้ันไม่ได้มีการเรียกเก็บเงินค่าบริการแต่อย่างใด เชน่ ในการออกเอกสารของหน่วยงานราชการไมไ่ ด้มีการกาหนดให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ แต่กรณีน้ีมี การเรียกเก็บคา่ ใช้จ่ายจากผู้ท่มี าใชบ้ ริการของหน่วยงานของรฐั

- ๕๒ - (2) การทจุ ริตโดยนักการเมือง (political corruption) เป็นการใชห้ น่วยงานของทางราชการโดย บรรดานักการเมืองเพ่ือมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ในทางการเงินมากกว่าประโยชน์ ส่วนรวมของสังคมหรือประเทศ เช่นเดียวกนั โดยรปู แบบหรือวธิ กี ารท่วั ไปจะมีลกั ษณะเชน่ เดียวกบั การทุจริตโดยข้าราชการ แตจ่ ะเปน็ ในระดับท่ีสูง กว่า เช่น การทุจริตในการประมูลโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ และมีการเรียกรับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือ ประโยชนต์ า่ งๆ จากภาคเอกชน เปน็ ตน้ 2) แบ่งตามกระบวนการท่ีใช้มี 2 ประเภทคือ (1) เกิดจากการใช้อานาจในการกาหนด กฎ กติกาพ้ืนฐาน เช่น การออกกฎหมาย และกฎระเบียบตา่ งๆ เพือ่ อานวยประโยชน์ต่อกลุ่มธุรกิจของตนหรือพวกพ้องและ (2) เกิด จากการใช้อานาจหนา้ ที่เพื่อแสวงหาผลประโยชนจ์ ากกฎ และระเบียบที่ดารงอยู่ ซ่ึงมักเกิดจากความไม่ชัดเจนของ กฎและระเบียบเหล่าน้ันท่ีทาให้เจ้าหน้าท่ีสามารถใช้ความคิดเห็นของตนได้ และการใช้ ความคิดเห็นน้ันอาจไม่ ถูกตอ้ งหากมีการใชไ้ ปในทางทผ่ี ิดหรอื ไม่ยตุ ิธรรมได้ 3) แบ่งตามลักษณะรูปธรรม มที ัง้ หมด 4 รูปแบบคือ (1) คอร์รัปชันจากการจัดซ้ือจัดหา (Procurement Corruption) เช่น การจัดซ้ือสิ่งของ ในหน่วยงาน โดยมีการคดิ ราคาเพ่มิ หรือลดคุณสมบตั ิแต่กาหนดราคาซื้อไวเ้ ทา่ เดิม (2) คอร์รัปชันจากการให้สัมปทานและสิทธิพิเศษ (Concessionaire Corruption) เช่น การให้เอกชนรายใดรายหน่ึงเข้ามามีสทิ ธิในการจัดทาสมั ปทานเปน็ กรณีพเิ ศษต่างกบั เอกชนรายอ่ืน (3) คอรร์ ัปชนั จากการขายสาธารณสมบตั ิ (Privatization Corruption) เชน่ การขายกิจการของ รัฐวสิ าหกิจ หรอื การยกเอาทีด่ นิ ทรัพย์สินไปเป็นสทิ ธิการครอบครองของต่างชาติ เปน็ ตน้ (4) คอร์รัปชันจากการกากับดูแล (Regulatory Corruption) เช่น การกากับดูแล ในหน่วยงานแล้วทาการทุจรติ ตา่ ง เปน็ ตน้ นักวิชาการท่ีได้ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการทุจริต ได้มีการกาหนดหรือแบ่งประเภทของการทุจริตเป็น รูปแบบต่างๆ ไว้ เชน่ การวิจยั ของรองศาสตราจารย์ ดร.นวลน้อย ตรีรัตน์ และคณะ ได้แบ่งการทุจริตคอร์รัปชัน ออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) การใช้อานาจในการอนุญาตให้ละเว้นจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐเพ่ือลด ตน้ ทนุ การทาธรุ กจิ 2) การใชอ้ านาจในการจัดสรรผลประโยชน์ในรปู ของสิง่ ของ และบริการ หรือสิทธิให้แก่เอกชน และ 3) การใช้อานาจในการสรา้ งอุปสรรคในการให้บรกิ ารแก่ภาคประชาชนและภาคธรุ กจิ เนื่องจากเงินเดือนและ ผลตอบแทนในระบบราชการตา่ เกินไปจนขาดแรงจูงใจในการทางาน นอกจากนี้ จากผลการสอบสวนและศึกษาเรื่องการทุจริต ของคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาสอบสวน และศึกษาเรื่องเก่ียวกับการทุจริตของวุฒิสภา (วิชา มหาคุณ) มีการแบ่งรูปแบบการทุจริตคอร์รัปช่ันออกเป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) การทจุ รติ เชิงนโยบาย เป็นรูปแบบใหม่ของการทจุ ริตทแ่ี ยบยล โดยอาศัยรูปแบบของกฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือมติ ของคณะกรรมการเปน็ เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาผลประโยชน์ ทาใหป้ ระชาชนสว่ นใหญเ่ ข้าใจผิดว่าเป็นการกระทาที่ ถกู ตอ้ งชอบธรรม 2) การทจุ รติ ตอ่ ตาแหน่งหนา้ ที่ราชการ เป็นการใช้อานาจและหน้าท่ีในความรับผิดชอบของตนในฐานะของเจ้าหน้าที่ของรัฐเอื้อประโยชน์ให้แก่ ตนเองหรือบคุ คลใดบคุ คลหนึง่ หรอื กลมุ่ ใดกลุ่มหน่งึ ปจั จุบันมกั เกิดจากความร่วมมือกันระหว่างนักการเมือง พ่อค้า และข้าราชการประจา

- ๕๓ - 3) การทุจรติ ในการจดั ซือ้ จดั จ้าง การทุจริตประเภทน้ีจะพบได้ท้ังรูปแบบของการสมยอมราคา ต้ังแต่ข้ันตอนการออกแบบ กาหนด รายละเอียดหรือสเป็กงาน กาหนดเงื่อนไข คานวณราคากลางออกประกาศประกวดราคา การขายแบบ การรับ และเปดิ ซอง การประกาศผล การอนุมตั ิ การทาสัญญาทกุ ขน้ั ตอนของกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล้วนมีช่องโหว่ให้มี การทุจริตกันได้อย่างง่ายๆ นอกจากน้ี ยังมีการทุจริตท่ีมาเหนือเมฆคือการอาศัยความเป็นหน่วยงานราชการ ดว้ ยกนั จึงไดร้ บั การยกเว้นและการไม่ถูกเพ่งเล็ง แต่ความจริง ผลประโยชน์จากการรับงานและเงินท่ีได้จากการรับ งานไม่ได้นาส่งกระทรวงการคลัง แต่เป็นผลประโยชนข์ องกลุ่มบุคคล ซง่ึ ไม่แตกต่างอะไรกับการจ้างบรษิ ทั เอกชน 4) การทุจริตในการให้สมั ปทาน เป็นการแสวงหาหรือเอ้อื ประโยชน์โดยมิชอบจากโครงการหรือกิจการของรัฐ ซ่ึงรัฐได้อนุญาตหรือมอบให้ เอกชนดาเนนิ การแทนให้ลักษณะสัมปทานผกู ขาดในกจิ การใดกิจการหน่ึง เช่น การทาสัญญาสัมปทานโรงงานสุรา การทาสญั ญาสมั ปทานโทรคมนาคม เปน็ ต้น 5) การทุจริตโดยการทาลายระบบตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ เป็นการพยายามดาเนินการให้ได้บุคคลซ่ึงมีสายสัมพันธ์กับผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองในอันท่ีจะเข้าไป ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญซึ่งมีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เช่น คณะกรรมการการเลือกต้ัง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ เป็นต้น ทาให้องค์กรเหล่าน้ีมี ความออ่ นแอ ไม่สามารถตรวจสอบการให้อานาจรัฐได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2.1.๓ สาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดการทจุ รติ จากการศึกษาวิจัยโครงการประเมินสถานการณ์ด้านการทุจริตในประเทศไทยของเสาวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์ ได้ ระบุ เงอื่ นไข/สาเหตทุ ท่ี าให้เกดิ การทจุ ริตคอรร์ ัปชนั่ อาจมาจากสาเหตภุ ายในหรือสาเหตภุ ายนอกดงั นี้ (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ พฤติกรรมส่วนตัวของข้าราชการบางคนท่ีเป็นคนโลภมาก เห็นแก่ได้ไม่รู้จักพอ ความเคยชินของข้าราชการที่คุ้นเคยกับการท่ีจะได้ “ค่าน้าร้อนน้าชา” หรือ “เงินใต้โต๊ะ” จากผู้มาติดต่อราชการ ขาดจิตสานึกเพอื่ ส่วนรวม (๒) ปจั จัยภายนอก ประกอบดว้ ย 1) ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ของข้าราชการน้อยหรือต่ามากไม่ได้สัดส่วนกับการครองชีพท่ี สูงข้ึน การเติบโตของระบบทุนนิยมที่เน้นการบริโภค สร้างนิสัยการอยากได้ อยากมี เม่ือรายได้ไม่เพียงพอก็ต้อง หาทางใชอ้ านาจไปทจุ รติ ๒) ด้านสังคม ได้แก่ ค่านิยมของสังคมท่ียกย่องคนมีเงิน คนร่ารวย และไม่สนใจว่าเงินนั้นได้มา อย่างไร เกิดลัทธเิ อาอย่าง อยากได้สงิ่ ทคี่ นรวยมี เม่ือเงนิ เดอื นของตนไม่เพยี งพอ กห็ าโดยวธิ มี ิชอบ ๓) ด้านวัฒนธรรม ได้แก่ การนิยมจ่ายเงินของนักธุรกิจให้กับข้าราชการท่ีต้องการความสะดวก รวดเรว็ หรอื การบรกิ ารทดี่ กี ว่าดว้ ยการลดตน้ ทุนท่จี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ 4) ด้านการเมือง ได้แก่ การทุจริตของข้าราชการแยกไม่ออกจากนักการเมือง การร่วมมือของ คนสองกลุ่มนีเ้ กิดขึน้ ได้ในประเดน็ การใชจ้ า่ ยเงนิ การหารายได้และการตดั สินพิจารณาโครงการของรฐั 5) ด้านระบบราชการ ได้แก่ - ความบกพรอ่ งในการบรหิ ารงานเปิดโอกาสใหเ้ กิดการทจุ รติ

- ๕๔ - - การใช้ดุลพนิ ิจมากและการผูกขาดอานาจจะทาให้อตั ราการทจุ ริตในหน่วยงานสูง - การท่ีข้ันตอนของระเบียบราชการมีมากเกินไป ทาให้ผู้ท่ีไปติดต่อต้องเสียเวลามาก จงึ เกดิ การสมยอมกนั ระหว่างผ้ใู หก้ บั ผรู้ ับ - การตกอย่ใู ต้ภาวะแวดล้อมและอิทธิพลของผู้ทุจริตมีทางเป็นไปได้ที่ผู้น้ันจะทาการทุจริต ดว้ ย - การรวมอานาจ ระบบราชการมีลักษณะท่ีรวมศูนย์ ทาให้ไม่มีระบบตรวจสอบท่ีเป็นจริง และมปี ระสิทธภิ าพ - ตาแหนง่ หน้าทใี่ นลกั ษณะอานวยต่อการกระทาผดิ เช่น อานาจในการอนุญาต การอนุมัติ จัดซอ้ื จดั จา้ ง ผู้ประกอบการเอกชนมักจะยอมเสยี เงนิ ติดสนิ บนเจ้าหน้าทเี่ พื่อให้เกดิ ความสะดวกและรวดเร็ว - การที่ข้าราชการผู้ใหญ่ทุจริตให้เห็นเป็นตัวอย่างแล้วไม่ถูกลงโทษข้าราชการชั้นผู้น้อยจึง เลียนแบบกลายเป็นความเคยชิน และมองไม่เห็นว่าการกระทาเหล่าน้ันจะเป็นการคอร์รัปช่ัน หรือมีความสับสน ระหว่างสินน้าใจกับคอรร์ ัปช่นั แยกออกจากกนั 6) กฎหมายและระเบยี บ ได้แก่ - กฎหมายหลายฉบับทใ่ี ช้อยู่ยงั มี “ชอ่ งโหว่” ท่ที าให้เกดิ การทุจริตที่ดารงอยไู่ ด้ - การทจุ ริตไมไ่ ด้เป็นอาชญากรรมให้คู่กรณีท้งั สองฝา่ ย หาพยานหลักฐานได้ยากยิ่งกว่าน้ัน คู่กรณีทง้ั สองฝ่ายมกั ไม่คอ่ ยมีฝา่ ยใดยอมเปดิ เผยออกมา และถ้าหากมีฝ่ายใดต้องการที่จะเปิดเผยความจริงในเร่ือง นี้ กฎหมายหม่ินประมาทก็ยับย้ังเอาไว้ อีกท้ังกฎหมายของทุกประเทศเอาผิดกับบุคคลผู้ให้สินบนเท่าๆ กับผู้รับ สินบน จึงไมค่ อ่ ยมีผู้ให้สินบนรายใดกล้าดาเนินคดกี ับผรู้ บั สนิ บน - ราษฎรท่ีรู้เห็นการทุจริตก็เป็นโจทย์ฟ้องร้องมิได้เน่ืองจากไม่ใช่ผู้เสียหาย ย่ิงกว่าน้ัน กระบวนการพจิ ารณาพพิ ากษายงั ยุ่งยากซับซ้อนจนกลายเปน็ ผลดีแก่ผู้ทุจริต - ขั้นตอนทางกฎหมายหรือระเบียบปฏิบัติยุ่งยาก ซับซ้อน มีข้ันตอนมาก ทาให้เกิด ชอ่ งทางใหข้ ้าราชการหาประโยชนไ์ ด้ 7) การตรวจสอบ ได้แก่ - ภาคประชาชนขาดความเข้มแข็ง ทาให้กระบวนการตอ่ ต้านการทุจริตจากฝ่ายประชาชน ไม่เขม้ แขง็ เท่าที่ควร - การขาดการควบคมุ ตรวจสอบ ของหนว่ ยงานทีม่ หี นา้ ที่ตรวจสอบหรอื กากับดูแลอย่างจริงจัง 8) สาเหตุอ่นื ๆ - อิทธิพลของภรรยาหรือผู้หญิง เนื่องจากเป็นผู้ใกล้ชิดสามีอันเป็นตัวการสาคัญ ทีส่ นบั สนุนและส่งเสริมให้สามีของตนทาการทุจริตเพือ่ ความเปน็ อยู่ของครอบครวั - การพนนั ทาให้ข้าราชการที่เสียพนนั มแี นวโน้มจะทจุ ริตมากขนึ้

- ๕๕ - 2.1.๔ ระดับการทุจรติ ในประเทศไทย 1) การทุจริตระดับชาติ เป็นรูปแบบการทุจริตของนักการเมืองท่ีใช้อานาจในการบริหารราชการ รวมถึง อานาจนติ ิบัญญตั ิ เปน็ เคร่อื งมือในการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมาย การออกนโยบายต่างๆ โดยการอาศัยช่องว่าง ทางกฎหมาย 2) การทุจรติ ในระดับท้องถ่ิน การบริหารราชการในรูปแบบท้องถ่ินเป็นการกระจายอานาจเพื่อให้บริการ ตา่ งๆ ของรัฐสามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชนได้มากข้ึน แต่การดาเนินการในรูปแบบของท้องถ่ิน ก็ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาการทุจริตเป็นจานวนมาก ผู้บริหารท้องถ่ินจะเป็นนักการเมืองท่ีอยู่ในท้องถ่ินนั้น หรือนักธุรกิจที่ ปรับบทบาทตนเองมาเป็นนักการเมือง และเม่ือเป็นนักการเมือง เป็นผู้บริหารท้องถิ่นแล้วก็เป็นโอกาสในการ แสวงหาผลประโยชน์สาหรบั ตนเองและพวกพ้องได้ ระดบั การทจุ รติ ในประเทศไทยทแี่ บง่ ออกเป็นระดับชาติและระดับท้องถิ่นส่วนใหญ่มักจะมีรูปแบบการทุจริต ที่คล้ายกัน เช่น การจัดซ้ือจัดจ้าง การประมูล การซื้อขายตาแหน่ง โดยเฉพาะในระดับท้องถ่ินท่ีมีข่าวจานวนมาก เก่ยี วกับผูบ้ รหิ ารทอ้ งถิน่ เรียกรับผลประโยชนใ์ นการปรับเปลี่ยนตาแหน่ง หรือเลื่อนตาแหน่งเป็นต้น โดยการทุจริต ท่เี กดิ ขน้ึ อาจจะไมใ่ ช่การทุจริตทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ ให้เหน็ ไดช้ ดั เจนเทา่ ใด แตจ่ ะแฝงตัวอยู่ในรปู แบบต่างๆ หากไม่พิจารณา ใหด้ ีแลว้ อาจมองไดว้ ่าการกระทาดังกลา่ วไม่ใช่การทุจริต แต่แท้จริงแล้วการกระทานั้นเป็นการทุจริตอย่างหน่ึง และ ร้ายแรงมากพอท่ีจะส่งผลกระทบ และก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคม ประเทศชาติได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่น การ ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านซง่ึ ผู้บงั คบั บัญชาให้คะแนนประเมนิ พเิ ศษแก่ลูกน้องท่ีตนเองชอบ ทาให้ได้รับเงินเดือนใน อัตราที่สูงกว่าความเป็นจริงท่ีบุคคลน้ันควรจะได้รับ เป็นต้น การกระทาดังกล่าวถือเป็นความผิดทางวินัย ซง่ึ เจา้ หน้าท่ีของรัฐจะมีบทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั ประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื นให้ยึดถือปฏิบัติอยู่แล้ว ซึ่งหากเกิด กรณีดังกลา่ วขึ้นเทา่ กับว่าเป็นการกระทาท่ที จุ รติ และประพฤตผิ ิดประมวลจริยธรรมอีกดว้ ย 2.1.๕ สถานการณก์ ารทุจรติ ของประเทศไทย การทุจริตที่เกิดข้ึนย่อมส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศ หากประเทศใดมีการทุจริตน้อยจะส่งผลให้ ประเทศน้ันมีความเป็นอยู่ท่ีดี นักลงทุนมีความต้องการท่ีจะมาลงทุนในประเทศ ซึ่งหมายถึงเศรษฐกิจของประเทศ จะสามารถพัฒนาไปได้อย่างต่อเนื่อง แต่หากมีการทุจริตเป็นจานวนมากนักธุรกิจย่อมไม่กล้าที่จะลงทุน ในประเทศน้ันๆ เน่ืองจากต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทาธุรกิจที่มากกว่าปกติ แต่หากสามารถดาเนินธุรกิจดังกล่าว ได้ผลท่ีเกิดข้ึนย่อมตกแก่ผู้บริโภคท่ีจะต้องซื้อสินค้าและบริการที่มีราคาสูง หรืออีกกรณีหน่ึงคือการใช้สินค้า และ บริการท่ีไม่มีคุณภาพ ดังน้ัน จึงได้มีการวัดและจัดอันดับประเทศต่างๆ เพื่อบ่งบอกถึงสถานการณ์การทุจริต ซึ่งการ ทุจริตที่ผ่านมานอกจากจะพบเหน็ ขา่ วการทุจรติ ด้วยตนเอง และผา่ นสื่อตา่ งๆ แล้ว ยังมีตัวช้ีวัดท่ีสาคัญอีกตัวหน่ึงท่ี ได้รับการยอมรบั คือ ตัวช้ีวัดขององค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ (transparency international : TI) ได้จัดอันดับดัชนี ช้ีวัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันประจาปี 2560 พบว่า ประเทศไทยได้ 37 คะแนน จากคะแนนเต็ม100 คะแนน อยู่ อันดับที่ 96 จากการจัดอันดับทั้งหมด 180 ประเทศท่ัวโลก หากเทียบกับปี 2559 ประเทศไทยได้คะแนน 35 คะแนน อยู่ลาดบั ที่ 101 เท่ากับวา่ ประเทศไทย มีคะแนนความโปร่งใสดีข้ึน แต่ยังแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยยัง มีการทจุ รติ คอร์รัปชันอยใู่ นระดบั สงู ซงึ่ สมควรได้รบั การแก้ไขอยา่ งเร่งด่วน โดยคะแนนที่ประเทศไทยได้รับตั้งแต่อดีต – ปจั จุบัน ได้คะแนนและลาดบั ดังนี้

- ๕๖ - ตารางท่ี 1 แสดงภาพลกั ษณ์คอรร์ ปั ชนั ของประเทศไทย ระหว่างปี 2547 – 2560 ปี พ.ศ. คะแนน อันดับ จานวนประเทศ 2547 3.60 (คะแนนเตม็ 10) 64 146 2548 3.80 (คะแนนเต็ม 10) 59 159 2549 3.60 (คะแนนเตม็ 10) 63 163 2550 3.30 (คะแนนเตม็ 10) 84 179 2551 3.50 (คะแนนเต็ม 10) 80 180 2552 3.40 (คะแนนเตม็ 10) 84 180 2553 3.50 (คะแนนเต็ม 10) 78 178 2554 3.40 (คะแนนเต็ม 10) 80 183 2555 37 (คะแนนเต็ม 100) 88 176 2556 35 (คะแนนเต็ม 100) 102 177 ๒๕๕๗ ๓๘ (คะแนนเต็ม 100) ๘๕ ๑๗๕ ๒๕๕๘ ๓๘ (คะแนนเต็ม 100) ๗๖ ๑๖๘ 2559 35 (คะแนนเตม็ 100) 101 176 2560 37 (คะแนนเตม็ 100) 96 180 และเม่ือจัดอันดับประเทศในกลุ่มอาเซียน จานวน 10 ประเทศ เพ่ือเปรียบเทียบดัชนีช้ีวัดภาพลักษณ์ คอร์รัปชันในปี พ.ศ. 2560 ประเทศสิงคโปร์ยังคงอันดับหนึ่งในกลุ่มอาเซียนเช่นเดียวกับ ปี พ.ศ. 2559 ตาม ตารางด้านล่างน้ี ตารางที่ 2 แสดงภาพลักษณ์คอร์รปั ชนั ประจาปี 2558 - 2560 ในภูมิภาคอาเซยี น อนั ดบั ในอาเซยี น ประเทศ คะแนนปี ๒๕60 คะแนนปี ๒๕๕9 คะแนนปี ๒๕๕๘ 84 ๘4 ๑ สงิ คโปร์ 62 58 ๘๕ 2 บรไู น 47 49 - 3 มาเลเซยี 37 ๓7 ๕๐ 4 อนิ โดนีเซีย 37 ๓5 ๓๖ 5 ไทย 35 ๓3 ๓๘ 6 เวียดนาม 34 ๓๕ ๓๑ 7 ฟลิ ิปปินส์ 30 28 ๓๕ 8 พมา่ 29 30 ๒๒ 9 ลาว 21 ๒๑ ๒๖ 10 กัมพชู า ๒๑ ในการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริตท่ีผ่านมา จะถูกประเมินจากแหล่งข้อมูล 9 แหล่ง ครอบคลุมด้าน ต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง การจัดการของรัฐบาล ความสามารถในการแข่งขันระดับประเทศ ความคิดเห็น เก่ียวกับการรับรู้การทุจริต ประสิทธิภาพของภาครัฐและภาคเอกชนในการดาเนินงานและการวัดด้านความเป็น ประชาธิปไตยของประเทศ โดยวัดจากความคิดเห็นของประชาชนว่าประเทศนั้นมีความเป็นประชาธิปไตยมากน้อย

- ๕๗ - แค่ไหน เช่น การมีส่วนร่วม ความเป็นเอกฉันท์ การเลือกตั้ง ความเท่าเทียม ความเป็นเสรีโดยท้ังหมดน้ีจะใช้รูปแบบ ของการสอบถามจากนกั ลงทนุ ชาวต่างชาติที่เขา้ มาทาธรุ กจิ ในประเทศ 2.1.๖ ผลกระทบของการทจุ ริตตอ่ การพัฒนาประเทศ การทุจริตมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในทุกๆด้าน เป็นพ้ืนฐานที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งของคน ในชาติ จากการเห็นประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ของประเทศ ประชาชนได้รับบริการสาธารณะหรือ สิ่งอานวยความสะดวกไม่เต็มท่ีอย่างที่ควรจะเป็น เงินภาษีของประชาชนตกไปอยู่ในกระเป๋าของผู้ทุจริต และ ผลกระทบอื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนี้แล้ว หากพิจารณาในแง่การลงทุนจากต่างประเทศเพื่อประกอบกิจการต่างๆ ภายในประเทศ พบว่า นักลงทุนต่างประเทศจะมองว่าการทุจริตถือว่าเป็นต้นทุนอย่างหน่ึง ซ่ึงนักลงทุนจาก ต่างประเทศจะใช้ประการพิจารณาการลงทุนประกอบกับปัจจัยด้านอ่ืน ๆ ทั้งนี้ หากต้นทุนที่ต้องเสียจากการทุจริตมี ต้นทุนที่สูง นักลงทุนจากต่างประเทศอาจพิจารณาตัดสินใจการลงทุนไปยังประเทศอื่น ส่งผลให้การจ้างงาน การ สรา้ งรายไดใ้ หแ้ กป่ ระชาชนลดลง เมอ่ื ประชาชนมีรายได้ลดลงก็จะส่งผลต่อการจัดเก็บภาษีอากรซ่ึงเป็นรายได้ของ รฐั ลดลง จงึ สง่ ผลต่อการจัดสรรงบประมาณและการพัฒนาประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยได้สารวจดัชนสี ถานการณ์คอร์รัปชันไทยจากกลุ่มตัวอย่าง 2,400 ตัวอย่างจาก ประชาชนทั่วไป ผู้ประกอบการภาคเอกชน และข้าราชการ/ภาครัฐ เม่ือเดือนมิถุนายน 2559 พบว่า หาก เปรียบเทียบความรุนแรงของปัญหาการทุจริตในปัจจุบันกับปีท่ีผ่านมา พบว่า ผู้ท่ีตอบว่ารุนแรงเพ่ิมข้ึน มี 38% รุนแรงเท่าเดิม 30% ส่วนสาเหตุการทุจริตอันดับหนึ่ง คือ กฎหมายเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ใช้ดุลพินิจที่ เอือ้ ตอ่ การทจุ รติ อันดับสอง ความไม่เขม้ งวดของการบังคับใช้กฎหมาย อันดับสาม กระบวนการทางการเมืองขาด ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ยาก ส่วนรูปแบบการทุจริตท่ีเกิดข้ึนบ่อยที่สุด อันดับหนึ่ง คือ การให้สินบน ของกานัล หรือรางวัล อันดับสอง การใช้ช่องโหว่ทางกฎหมายเพ่ือแสวงหาประโยชน์ส่วนตัว อันดับสาม การใช้ตาแหน่งทาง การเมอื งเพอ่ื เอื้อประโยชน์แก่พรรคพวก สาหรบั ความเสียหายจากการทจุ ริต โดยการประเมินจากงบประมาณรายจ่ายปี 2559 ท่ี 2.72 ล้านล้านบาทว่า แม้จะมีการจ่ายเงินใต้โต๊ะ แต่อัตราการจ่ายอยู่ท่ีเฉล่ีย 1-15% โดยหากจ่ายท่ี 5% ความเสียหายจะอยู่ท่ี 59,610 ล้านบาท หรอื 2.19% ของงบประมาณ และมีผลทาให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง 0.42%แต่ หากจ่ายท่ี 15% คิดเป็นความเสียหาย 178,830 ล้านบาท หรือ 6.57% ของเงินงบประมาณ และมีผลทาให้ เศรษฐกิจลดลง 1.27% โดยการลดการเรียกเงินสินบนลงทุกๆ 1% จะทาให้มูลค่าความเสียหายจากการทุจริตลดลง 10,000 ลา้ นบาท ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศไทยจะมีหน่วยงานหลักท่ี ดาเนินการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต คือ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) นอกจากน้ียังมีหน่วยงานอ่ืนที่มีภารกิจในลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกับสานักงาน ป.ป.ช. เช่นสานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดิน สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน ภาครัฐ นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานภาคเอกชนท่ีให้ความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอีกหลาย หน่วยงาน และสาหรับหน่วยงานภาครัฐในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) เพ่ือเป็นมาตรการ แนวทางการดาเนินงาน ทัง้ ของภาครัฐและภาคเอกชน

- ๕๘ - 2.1.๗ ทิศทางการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต ประเทศไทยได้มีความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริตมาอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือท้ัง หน่วยงานของรฐั หนว่ ยงานของเอกชน และภาคประชาชนในการร่วมมือป้องกันและปราบปรามการทุจริต รวมถึง ได้มีการออกกฎหมายลงโทษผู้ที่กระทาความผิด มีการจัดตั้งศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบเพื่อทาหน้าที่ ในการดาเนินคดีกับบุคคลที่ทาการทุจริต นอกจากนี้ยังได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต ซ่ึงฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 3 มีกาหนดใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2560 – 2564 โดยมีวิสัยทัศน์ว่า “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) และมีพันธกิจ คือ สร้าง วัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูป กระบวนการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตทง้ั ระบบให้มีมาตรฐานสากล โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ จานวน 6 ยุทธศาสตร์ เป็นการดาเนินการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริตทงั้ ระบบ ตง้ั แตก่ ารป้องกันการทุจริตโดยใช้ประบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ผ่าน กิจกรรมและการเรียนการสอน รวมถึงการป้องกันการทุจริตเชิงระบบ นอกจากน้ีรวมไปถึงการดาเนินการในส่วน การตรวจสอบทรัพย์สิน ท่ีเป็นการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหน้ีสินของเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าจะมี แนวทางในการดาเนนิ งานอย่างไร และด้านการปราบปรามการทุจริตเพื่อให้การดาเนินการด้านปราบปรามการทุจริต มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท้ังนี้ เพื่อเป็นการยกระดับค่า CPI ให้ได้คะแนน 50 คะแนน ตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้ โดยมี รายละเอยี ดแตล่ ะยุทธศาสตร์ ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : สรา้ งสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจรติ มีวัตถุประสงค์ในการปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยให้มีค่านิยมร่วมต้านทุจริต มีจิตสานึกสาธารณะ และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และสร้างกระบวนการกล่อมเกลาทาง สังคมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นระบบ รวมถึงการบูรณาการและเสริมพลังการมีส่วนร่วมของทุก ภาคสว่ นในการผลกั ดนั ให้เกิดสงั คมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ยกระดบั เจตจานงทางการเมอื งในการตอ่ ต้านการทจุ ริต มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตของประชาชนได้รับการปฏิบัติให้ เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อรักษาเจตจานงทางการเมืองในการแก้ไขปัญหาการทุจริตให้เป็นส่วนหนึ่งของ นโยบายรัฐบาลในแต่ละช่วง ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : สกดั ก้ันการทจุ รติ เชิงนโยบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กระบวนการนโยบายเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล สามารถกระจายผลประโยชน์สู่ ประชาชนอย่างเป็นธรรม และไม่มีลักษณะของการขัดกันแห่งผลประโยชน์ และเพ่ือแก้ไขปัญหาการทุจริต เชงิ นโยบายทกุ ระดับ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : พฒั นาระบบปอ้ งกนั การทุจริตเชงิ รกุ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลไกการป้องกันการทุจริตให้เท่าทันต่อสถานการณ์การทุจริตพัฒนกระบวนการ ทางานด้านการป้องกันการทุจริต ให้สามารถป้องกันการทุจริตให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดความเข้มแข็ง ในการบูรณาการการทางานระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริต และเป็นการป้องกันไม่ให้มีการทุจริต เกิดขึน้ ในอนาคต

- ๕๙ - ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 : ปฏริ ูปกลไกและกระบวนการปราบปรามการทุจริต มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนากลไกและกระบวนการปราบปรามการทุจริตให้มีความรวดเร็ว มปี ระสทิ ธภิ าพ และเทา่ ทันตอ่ พลวตั ของการทจุ ริตการตรากฎหมายและปรับปรงุ กฎหมายให้กระบวนการปราบปรามการ ทุจริตมีประสิทธิภาพบูรณาการกระบวนการปราบปรามการทุจริตของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทั้งระบบ และเพอื่ ให้ผูก้ ระทาความผิดถกู ดาเนนิ คดแี ละลงโทษอย่างเปน็ รูปธรรมและเท่าทันต่อสถานการณ์ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 : ยกระดับคะแนนดชั นกี ารรบั ร้กู ารทจุ รติ มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทยให้มีระดับร้อยละ 50 ข้ึนไปเป็น เป้าหมายท่ีต้องการยกระดับคะแนนให้มีค่าสูงข้ึน หากได้รับคะแนนมากจะหมายถึงการท่ีประเทศน้ัน มีการทุจริตน้อย ดังน้ัน ยุทธศาสตร์ท่ี 6 นี้ จึงถือเป็นเป้าหมายสาคัญในการท่ีจะต้องมุ่งมั่นในการดาเนินการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริต 2.1.๘ กรณตี วั อย่างผลท่เี กดิ จากการทุจริต คดที จุ ริตจัดซื้อรถและเรอื ดับเพลิงของกรุงเทพมหานคร แต่เดิมภารกิจด้านการดับเพลิงเป็นภารกิจของตารวจดับเพลิง มีฐานะเป็นกองบังคับการตารวจดับเพลิง ปฏบิ ตั ิงานทางดา้ นป้องกันระงับอัคคีภัยและบรรเทาสาธารณภัยจนกระทั้งได้มีแนวคิดท่ีจะปรับปรุงโครงสร้างของ สานักงานตารวจแห่งชาติ ซ่ึงเป็นหน่วยงานต้นสังกัดของ กองบังคับการตารวจดับเพลิง ให้มีขนาดเล็กลง โดยมีแนวคิดที่จะโอนภารกิจที่ไม่ใช่หน้าที่ของตารวจโดยตรงให้ไปอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ รับผิดชอบโดยตรง งานด้านดับเพลิงและกู้ภัย ถือเป็นภารกิจหน่ึงที่มิใช่หน้าท่ีโดยตรงของสานักงานตารวจแห่งชาติ จึง เห็นควรที่จะโอนภารกิจดังกล่าวให้กรุงเทพมหานคร รับไปดาเนินการ โดยเมื่อปี พ.ศ. 2546 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้สานักงานตารวจแห่งชาติถ่ายโอนภารกิจป้องกันและระงับอัคคีภัยให้กรุงเทพมหานคร มีสถานะ เปน็ สานกั ชอ่ื ว่า สานักปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย คดีทุจริตจัดซื้อรถและเรือดับเพลิงของกรุงเทพมหานคร มีผู้เกี่ยวข้องทั้งเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และเอกชนโดย เอกชนท่ีเข้ามาทาธุรกิจการขายรถและเรือดับเพลิงคือบริษัท ส. โดยเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 บริษัท สไตเออร์เดมเลอร์พุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์จากัดถูกบริษัท General Dynamics Worldwide Holdings, Inc.ของ สหรฐั อเมริกาซอื้ กิจการทงั้ หมด แต่ยงั คงเปน็ บริษทั ถูกต้องตามกฎหมายของประเทศออสเตรีย บริษัทสไตเออร์เดม เลอร์พุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์ จากัด ว่าจ้างบริษัท Somati Vehicle N.V. ของประเทศเบลเยี่ยมเป็นผู้รับจ้างจัดหา ผลิตและประกอบรถดับเพลิงและอุปกรณ์บรรเทาสาธารณภัย (ยกเว้นเรือดับเพลิง) ให้กับกรุงเทพมหานครโดยได้รับค่าจ้าง ผลติ ราว 28 ลา้ นยูโร หรอื ราว 1,400 ลา้ นบาท บรษิ ทั สไตเออร์ฯ จึงไม่ใช่ผู้ผลิตและประกอบสินค้าเพื่อเสนอขาย โดยตรง แตเ่ ป็นเพยี งนายหน้าและบรหิ ารจัดการในการจัดหาสนิ ค้าใหก้ บั กรุงเทพมหานครเทา่ นน้ั ในช่วงเดือนมิถุนายน 2546 เอกอัครราชทูตออสเตรียประจาประเทศไทยได้มีหนังสือถึงรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยเสนอโครงการขายรถดับเพลิงและอุปกรณ์บรรเทาสาธารณภัยของ บริษัท สไตเออร์เดม เลอร์พุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์ จากัด โดยเป็นข้อเสนอให้ดาเนินการในลักษณะรัฐต่อรัฐ และบริษัท สไตเออร์ฯ ได้เชิญนาย ป. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยดูงานโรงงานผลิตของบริษัท MAN ซ่ึงผลิตตัวรถดับเพลิงให้ บริษัท สไตเออร์ฯ ท่ปี ระเทศออสเตรียและเบลเย่ียม และนาย ส. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้อนุมัติโครงการ จัดซื้อครุภัณฑ์เพ่ือใช้ในกิจการดับเพลิง ตามท่ี พล.ต.ต. อ. ผู้อานวยการสานักป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย กรงุ เทพมหานครเสนอ ได้แก่ รถดับเพลิงชนิดต่างๆและรถบรรทุกน้ารวม 315 คัน และเรือดับเพลิง 30 ลาตลอดจน

- ๖๐ - อุปกรณ์สาธารณภัยอื่นๆซึ่งตรงกันกับรายการในใบเสนอราคาของบริษัท สไตเออร์ฯ ผ่านเอกอัครราชทูตออสเตรีย จากน้ันคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการโดยมีการจัดทา A.O.U. (Agreement of Understanding) และ ข้อตกลงซื้อขาย (Purchase/Sale Agreement) โดยทูตพาณิชย์แห่งสาธารณรัฐออสเตรียยื่นร่าง A.O.U.ให้แก่ พล.ต.ต. อ. ซึ่งนาเสนอต่อนาย ส. โดยตรงโดยไม่ผ่านปลัดกรุงเทพมหานคร นาย ส.ลงนามรับทราบบันทึกและ เสนอต่อนาย ภ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และหลังจากท่ีได้มีการลงนามร่วมกันคุณหญิง ณ. ปลัด กรุงเทพมหานคร ได้ส่งร่างข้อตกลงซื้อขายยานพาหนะและอุปกรณ์ดับเพลิงระหว่างกรุงเทพมหานครกับ บริษัท สไตเออร์ฯ ให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องการพัสดุ พ.ศ. 2538 และ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้กระทรวงมหาดไทย (กรุงเทพมหานคร) ดาเนินการก่อหน้ีผูกพันข้ามปีงบประมาณ โครงการจัดซ้ือรถและเรือดับเพลิงในวงเงิน 6,687,489,000 บาท และอนุมัติวงเงินเพ่ิมเติม เพ่ือเป็น ค่าธรรมเนียมในการเปิด Letter of Credit (L/C) อีกจานวน 20,000,000 บาท หรือตามจานวนท่ีจ่ายจริง รวมทั้งให้กระทรวงพาณิชย์เร่งรัดดาเนินการเกี่ยวกับการค้าต่างตอบแทนตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือ 20 ก.ค. 2547 โดยให้เนน้ ไก่ต้มสุกเป็นสินคา้ ท่จี ะดาเนินการเป็นลาดับแรก ในปี พ.ศ. 2547 ได้มีการเปลีย่ นแปลงผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นนาย อ. และก่อนมอบหมายงาน ในหน้าท่ีให้กับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใหม่ นาย ส. ซ่ึงเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคน เดิม ได้มีหนังสือถึงผู้จัดการธนาคารกรุงไทย ขอเปิด L/C วงเงิน 133,749,780 ยูโรให้กับบริษัท สไตเออร์ฯ โดยกรุงเทพมหานครชาระค่าธรรมเนียม เป็นเงิน 20,000,000บาท และมอบอานาจให้พล.ต.ต.อ. อานวยการสานัก ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรงุ เทพมหานครเปน็ ผ้ดู าเนินการและลงนาม ในปี พ.ศ. 2548 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ดาเนินการไต่สวนการดาเนินการดังกล่าวของ กรุงเทพมหานคร และยื่นฟอ้ งต่อศาลฏีกาแผนกคดอี าญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง จากการกระทาดังกล่าว ที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดผลกระทบท่ีเสียหายและรุนแรง โดยราคาของรถและเรือดับเพลิงท่ีกรุงเทพมหานครซ้ือมาน้ันมี ราคาทสี่ งู มาก ส่งผลให้รัฐสญู เสยี งบประมาณไปอยา่ งน่าเสียดาย ซงึ่ ความเสียหายทีเ่ กดิ ข้นึ มดี งั น้ี ตารางที่ 3 เปรียบเทยี บราคาจากการจัดซ้อื ของกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เมอ่ื พ.ศ. 2547 กบั กรงุ เทพมหานคร รถดับเพลิง 4x4 + สูบนา้ แบกหาม รายละเอียด ความแตกตา่ ง โครงประธานรถเครอ่ื งยนตย์ ่หี ้อมติ ซบู ิชิ 2,500 ซซี ี กรงุ เทพมหานครซ้ือแพงกว่า คนั ละ 4x4 ประกอบโดย บริษัท กาญจนาอิควปิ เมน้ ท์ 2,154,050 บาท รวม 72 คนั เป็นเงินแพงกว่า จากัด 154,875,600 บาท เคร่ืองดับเพลิงชนิดหาบหามจากญี่ปุ่น รถดับเพลิง + บันได 13 เมตร รายละเอียด ความแตกตา่ ง โครงประธานรถผลติ ภัณฑฟ์ นิ แลนด์ กรุงเทพมหานครซ้ือแพงกว่า คนั ละ 17,143,200 บาทรวม ซื้อจาก บริษทั เชส เอน็ เตอร์ไพรส์ (สยาม) จากัด 9 คนั เปน็ เงินแพงกวา่ 154,875,600 บาท มาตรฐานใกล้เคียงกนั เครื่องสูบนา้ สมรรถนะสูงกวา่

- ๖๑ - รถดับเพลิง 2,000 ลติ ร รายละเอียด ความแตกตา่ ง ซือ้ จาก บรษิ ทั ตรีเพชรอีซซู เุ ซลส์ จากดั กรุงเทพมหานครซ้ือแพงกว่า คันละ 15,455,370 บาท รวม 144 คนั เป็นเงิน แพงกว่า 2,225,573,280 บาท รถถังนา้ 20,000 ลิตร รายละเอียด ความแตกต่าง ขนาด 10,000 ลิตรซื้อจาก กรงุ เทพมหานครซ้ือแพงกวา่ คนั ละ บริษัท มิตซบู ิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จากัด 15,189,100 บาท รวม 72 คนั เปน็ เงนิ แพงกวา่ 1,093,615,200 บาท รถไฟฟ้าส่องสว่าง 30 KVA รายละเอียด ความแตกตา่ ง ซ้อื จาก บริษัท มิตซบู ชิ ิ มอเตอรส์ (ประเทศไทย) กรงุ เทพมหานครซ้ือแพงกวา่ คนั ละ จากัด 56,577,250 บาท รวม 7 คัน เปน็ เงิน แพงกวา่ 396,040,750 บาท ตารางที่ 4 เปรียบเทียบข้อมูลและราคาเรือดับเพลิง ขอ้ มลู เรอื ดับเพลงิ บรษิ ัท สไตเออร์เดมเลอร์พุคสเปเชียลฟาหร์ ซอยก์ บริษทั สไตเออรเ์ ดมเลอรพ์ ุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์ จากัด ซ้ือเรือดับเพลงิ จาก บริษทั ซีทโบ๊ต จากัด จากดั ขายให้ กรุงเทพมหานคร ราคาลาละ ผลิตและประกอบท่ีเมืองพทั ยา ราคาลาละ 25,462,100 บาท 14,300,000 บาท จากตารางข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากการทุจริต ความเสียหายที่เกิดข้ึนนอกจากจะ สามารถแสดงเปน็ ตวั เลขให้ไดเ้ หน็ วา่ สูญเสียงบประมาณจานวนเท่าไร แต่การสูญเสียดังกล่าวแทนที่รัฐ และประชาชน จะได้ใช้ประโยชน์จากรถและเรือดับเพลิง ซึ่งถือเป็นส่ิงจาเป็นท่ีช่วยในการป้องกันและบรรณเทาสาธารณภัย โดยเฉพาะอัคคีภัยได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อมีการทุจริตแล้วยังส่งผลให้ไม่สามารถนารถและเรือดับเพลิงมาใช้งานได้ เท่ากับว่าสูญเสียงบประมาณแล้วยังไม่สามารถนาสิ่งเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ได้อีก ซึ่งหากเกิดอัคคีภัยเกิดขึ้นอุปกรณ์ ตา่ งๆ ทม่ี อี ยอู่ าจไม่เพียงพอต่อการใช้งาน สง่ ผลให้เกดิ ความเสยี หายอย่างต่อเนื่องจากเหตุนั้นๆ อีก 2.2 ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต การสร้างสงั คมท่ีไมท่ นต่อการทุจริต เป็นการปรับเปลี่ยนสภาพสังคมให้เกิดภาวะ “ที่ไม่ทนต่อการทุจริต” โดย เร่ิมต้ังแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกช่วงวัย เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความ พอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ ผ่านทางสถาบันหรือกลุ่มตัวแทนที่ทาหน้าที่ใน การกล่อมเกลาทางสังคม เพ่ือให้เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ เกิดพฤติกรรมท่ีละอายต่อการกระทาความผิด การไม่ยอมรับ และต่อตา้ นการทุจรติ ทุกรูปแบบ

- ๖๒ - 2.2.1 ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต คืออะไร คาวา่ “ความละอาย” และ “ความไม่ทน” ได้มกี ารให้ความหมายไว้ ดังน้ี พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคาว่าละอาย หมายถึง การรู้สึกอายท่ีจะทาในส่ิงท่ีไม่ถูก ไม่ควร เชน่ ละอายทจี่ ะทาผิด ละอายใจ ความละอาย เป็นความละอายและความเกรงกลวั ตอ่ สง่ิ ท่ีไม่ดี ไมถ่ ูกต้อง ไม่เหมาะสม เพราะเห็นถึงโทษหรือ ผลกระทบท่ีจะได้รับจากการกระทาน้ัน จึงไม่กล้าที่จะกระทา ทาให้ตนเองไม่หลงทาในส่ิงที่ผิด นั่นคือ มีความ ละอายใจ ละอายตอ่ การทาผดิ พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคาว่า ทน หมายถึง การอดกลั้นได้ ทานอยู่ได้ เช่น ทนดา่ ทนทุกข์ ทนหนาว ไมแ่ ตกหักหรือบุบสลายงา่ ย ความอดทน คือ การรู้จักรอคอยและคาดหวัง เป็นการแสดงให้เห็นถึงความม่ันคง แน่วแน่ต่อส่ิงท่ีรอคอยหรือ สง่ิ ท่จี งู ใจให้กระทาในสิ่งท่ีไม่ดี ไมท่ น หมายถึง ไมอ่ ดกลัน้ ไม่อดทน ไมย่ อม ดังนั้น ความไม่ทน หมายถึง การแสดงออกต่อการกระทาท่ีเกิดข้ึนกับตนเอง บุคคลท่ีเก่ียวข้องหรือสังคมใน ลักษณะที่ไม่ยินยอม ไม่ยอมรับในสิ่งที่เกิดข้ึน ความไม่ทนสามารถแสดงออกได้หลายลักษณะท้ังในรูปแบบของ กรยิ าท่าทางหรอื คาพูด ความไม่ทนต่อการทุจริตหรือการกระทาท่ีไม่ถูกต้อง ต้องมีการแสดงออกอย่างใดอย่างหน่ึงเกิดขึ้น เช่น การแซงคิวเพ่ือซ้ือของ การแซงคิวเป็นการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ผู้ถูกแซงคิวจึงต้องแสดงออกให้ผู้ท่ีแซงคิวรับรู้ว่า ตนเองไม่พอใจ โดยแสดงกิริยาหรือบอกกล่าวให้ทราบ เพื่อให้ผู้ที่แซงคิวยอมท่ีจะต่อท้ายแถว กรณีน้ีแสดงให้เห็น ว่าผทู้ ่ถี กู แซงคิว ไมท่ นตอ่ การกระทาท่ไี มถ่ กู ต้อง และหากผู้ที่แซงคิวไปต่อแถวก็จะแสดงให้เห็นว่าบุคคลน้ันมีความ ละอายต่อการกระทาท่ีไมถ่ ูกต้อง เปน็ ต้น ความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต บุคคลจะมคี วามไม่ทนต่อการทุจริตมาก – น้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตสานึก ของ แต่ละบุคคลและผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการกระทานั้นๆ แล้วมีพฤติกรรมที่แสดงออกมา ซ่ึงการแสดงกริยา หรือ การกระทาจะมีหลายระดับ เช่น การว่ากล่าวตักเตือน การประกาศให้สาธารณชนรับรู้ การแจ้งเบาะแส การร้อง ทุกข์กล่าวโทษ การชุมนุมประท้วงซ่ึงเป็นข้ันตอนสุดท้ายท่ีรุนแรงท่ีสุด เน่ืองจากมีการรวมตัว ของคนจานวนมาก และสรา้ งความเสียหายอยา่ งมากเชน่ กนั ความไม่ทนของบุคคลต่อสิ่งต่างๆ รอบตัวที่ส่งผลในทางไม่ดีต่อตนเองโดยตรง สามารถพบเห็นได้ง่าย ซ่ึง ปกติแล้วทุกคนมักจะไม่ทนต่อสภาวะ สภาพแวดล้อมที่ไม่ดีและส่งผลกระทบต่อตนเองแล้ว มักจะแสดงปฏิกิริยา ออกมา แต่การท่ีบุคคลจะไม่ทนต่อการทุจริตและแสดงปฏิกิริยาออกมานั้นอาจเป็นเร่ืองยาก เนื่องจากปัจจุบัน สังคมไทยมีแนวโน้มยอมรับการทุจริต เพื่อให้ตนเองได้รับประโยชน์หรือให้งานสามารถดาเนินต่อไปสู่ความสาเร็จ ซึ่งการยอมรับการทุจริตในสังคมไม่เว้นแม่แต่เด็กและเยาวชน และมองว่าการทุจริตเป็นเร่ืองไกลตัวและไม่มี ผลกระทบกบั ตนเองโดยตรง

- ๖๓ - 2.2.2 ลกั ษณะของความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ลักษณะของความละอายสามารถแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ความละอายระดับต้น หมายถึง ความละอาย ไม่กล้าท่ีจะทาในส่ิงท่ีผิด เน่ืองจากกลัวว่าเม่ือตนเองได้ทาลงไปแล้วจะมีคนรับรู้ หากถูกจับได้จะได้รับการลงโทษ หรอื ไดร้ บั ความเดือดรอ้ นจากส่งิ ท่ตี นเองไดท้ าลงไป จึงไมก่ ล้าที่จะกระทาผิด และในระดับที่สองเป็นระดับที่สูง คือ แม้วา่ จะไม่มใี ครรบั รหู้ รือเห็นในส่งิ ทต่ี นเองได้ทาลงไป กไ็ มก่ ลา้ ที่จะทาผิด เพราะนอกจากตนเองจะได้รับผลกระทบ แล้ว ครอบครัว สังคมก็จะได้รับผลกระทบตามไปด้วย ทั้งชื่อเสียงของตนเองและครอบครัวก็จะเส่ือมเสีย บางคร้ังการ ทุจริตบางเรื่องเป็นส่ิงเล็กๆ น้อยๆ เช่น การลอกข้อสอบ อาจจะไม่มีใครใส่ใจหรือสังเกตเห็น แต่หากเป็นความละอาย ขั้นสูงแลว้ บคุ คลนั้นกจ็ ะไมก่ ลา้ ทา สาหรับความไม่ทนต่อการทุจริต จากความหมายที่ได้กล่าวมาแล้ว คือ เป็นการแสดงออกอย่างใดอย่าง หน่ึงเกิดข้ึน เพ่ือให้รับรู้ว่าจะไม่ทนต่อบุคคลหรือการกระทาใดๆ ที่ทาให้เกิดการทุจริต ความไม่ทนต่อการทุจริต สามารถแบง่ ระดับต่างๆ ไดม้ ากกว่าความละอาย ใช้เกณฑค์ วามรุนแรงในการแบ่งแยก เช่น หากเพื่อนลอกข้อสอบ เรา และเราเห็นซ่ึงเราจะไม่ยินยอมให้เพื่อนทุจริตในการลอกข้อสอบ เราก็ใช้มือหรือกระดาษมาบังส่วนที่เป็น คาตอบไว้ เช่นนก้ี เ็ ปน็ การแสดงออกถึงการไม่ทนต่อการทุจริต นอกจากการแสดงออกด้วยวิธีดังกล่าวที่ถือเป็นการ แสดงออกทางกายแล้ว การว่ากล่าวตักเตือนต่อบุคคลที่ทุจริต การประณาม การประจาน การชุมนุมประท้วง ถือว่า เป็นการแสดงออกซึ่งการไม่ทนต่อการทุจริตท้ังสิ้น แต่จะแตกต่างกันไปตามระดับของการทุจริต ความตื่นตัวของ ประชาชน และผลกระทบท่เี กิดข้นึ จากการทจุ ริต โดยทา้ ยบทนไี้ ด้ยกตัวอย่างกรณีศกึ ษาทมี่ ีสาเหตุมาจากการทุจริต ทาใหป้ ระชาชนไมพ่ อใจและรวมตวั ต่อต้าน ความจาเป็นของการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตถือเป็นส่ิงสาคัญ เพราะการทุจริตไม่ว่าระดับเล็กหรือใหญ่ย่อม ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคม ประเทศชาติ ดังเช่นตัวอย่างคดีรถและเรือดับเพลิงของกรุงเทพมหานครผลของ การทจุ รติ สร้างความเสยี หายไว้อยา่ งมาก รถและเรือดับเพลิงก็ไม่สามารถนามาใช้ได้ รัฐต้องสูญเสียงบประมาณไป โดยเปลา่ ประโยชน์ และประชาชนเองกไ็ มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนด์ ้วยเชน่ กนั หากเกดิ เพลิงไหม้พร้อมกันหลายแห่ง รถ เรือ และอุปกรณ์ดับเพลิงจะไม่มีไม่เพียงพอที่จะดับไฟได้ทันเวลา เพียงแค่คิดจากมูลค่าความเสียหายท่ีรัฐสูญเสีย งบประมาณไปยงั ไมไ่ ดค้ ดิ ถึงความเสยี หายทเ่ี กดิ จากความเดือดรอ้ นหากเกิดเพลงไม้แล้วถือเป็นความเสียหายท่ีสูงมาก ดังนัน้ หากยังมีการปลอ่ ยใหม้ ีการทุจรติ ยินยอมให้มกี ารทุจริตโยเหน็ วา่ เป็นเรอื่ งของคนอนื่ เป็นเรื่องของเจ้าหน้าที่ รัฐ ไม่เก่ียวข้องกับตนเองแล้ว สุดท้ายความสูญเสียที่จะได้รับตนเองก็ยังคงท่ีจะได้รับผลนั้นอยู่แม้ไม่ใช่ทางตรงก็ เป็นทางออ้ ม ดงั น้นั การทีบ่ ุคคลจะเกิดความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริตได้ จาเปน็ อย่างย่ิงท่ีจะต้องสร้างให้เกิด ความตระหนักและรับรู้ถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการทุจริตในทุกรูปแบบ ทุกระดับ ซ่ึงหากสังคมเป็นสังคมที่ มี ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริตแล้ว จะทาใหเ้ กดิ สังคมทนี่ า่ อยู่ และมีการพฒั นาในทุกๆ ด้าน 2.2.3 การลงโทษทางสังคม (Social Sanctions) คาว่า “การลงโทษโดยสังคม” หรือเรียกว่า “การลงโทษทางสังคม” ซ่ึงตรงกับภาษาอังกฤษคาว่า “Social Sanction” พจนานุกรมศัพทส์ งั คมวิทยาฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน (2532 : 361 - 362) ไดใ้ ห้ความหมายของ คาว่า “Social Sanctions” เป็นภาษาไทยว่า สิทธานุมัติทางสังคม หมายถึง การขู่ว่าจะลงโทษหรือการสัญญาว่าจะให้ รางวัลตามที่กลุ่มกาหนดไว้สาหรับการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกเพื่อชักนาให้สมาชิกกระทาตาม ข้อบังคับและ กฎเกณฑ์

- ๖๔ - Radcliffe-Brown (1952 : 205) อธิบายการลงโทษโดยสังคมว่าเป็นปฏกิ ิริยาตอบสนองทางสังคมอย่าง หนงึ่ และเป็นการแสดงออกถึงพฤติกรรมท่ีเป็นด้านตรงกันข้ามระหว่างการเห็นชอบกับการไม่เห็นชอบพูดอีกอย่าง หน่ึงก็คือการลงโทษโดยสังคมนั้นมีคุณลักษณะวิภาษ (Dialectic) คือมีท้ังด้านบวกและด้านลบอยู่ภายใน ความหมายของตัวเองสาหรับการลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูปของการให้ การสนับสนุนหรือการสร้างแรงจูงใจฯลฯ ให้แก่ปัจเจกบุคคลและสังคมให้ประพฤติปฏิบัติให้สอดคล้องกับปทัสถาน ของชุมชนหรือของสังคมจากการศึกษายังพบด้วยว่าการลงโทษโดยสังคมเชิงบวกนั้น อาจเป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้แก่สังคม เพ่ือยกระดับปทัสถานของสังคมในระดับท้องถ่ินให้ไปสอดคล้องกับปทัสถานใหม่ในระดับระหว่าง ประเทศ Whitmeyer (2002 : 630-632) กล่าวว่า การลงโทษโดยสังคม มีท้ังเชิงบวกและเชิงลบ เป็นการ ทางานตามกลไกของสังคม การลงโทษโดยสังคมเป็นมาตรการควบคุมทางสังคมท่ีต้องการให้สมาชิกในสังคม ประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ท่ีสังคมยอมรับร่วมกัน เม่ือสมาชิกปฏิบัติตามก็จะมีการให้รางวัลเป็น แรงจูงใจ และลงโทษเมื่อสมาชิกไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคมและจะแสดงการไม่ยอมรับสมาชิกคนหน่ึงหรือ กล่มุ คนกลุม่ หนงึ่ โดยสรุปแล้ว การลงโทษโดยสังคม (Social Sanction) หมายถึง ปฏิกิริยาปฏิบัติทางสังคม เป็นมาตรการ ควบคุมทางสังคมท่ีต้องการให้สมาชิกในสังคมประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ที่สังคมกาหนด โดยมีทั้ง ด้านลบและด้านบวก การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanction) เป็นการลงโทษ โดยการกดดันและ แสดงปฏิกิริยาต่อต้านพฤติกรรมของบุคคลท่ีไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม ทาให้บุคคลน้ันเกิดความ อับอายขายหน้า สาหรับการลงโทษโดยสังคมเชิงบวกหรือการกระตุ้นสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanction) เป็นการแสดงออกในเชิงสนับสนุนหรือให้รางวัลเป็นแรงจูงใจ เพื่อให้บุคคลในสังคมประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ สังคม การลงโทษทางสังคม เป็นการลงโทษกับบุคลที่ปฏิบัติตนฝ่าฝืนกับธรรมเนียม ประเพณี หรือแบบแผนท่ี ปฏิบัติต่อๆ กันมาในชมุ ชน มักใช้ในลกั ษณะการลงโทษทางสงั คมเชิงลบมากกว่าเชิงบวก การฝ่าฝืนดังกล่าวอาจจะ ไม่ผดิ กฎหมาย แต่ดว้ ยธรรมเนยี มท่ีปฏบิ ตั ิสืบต่อกันมาน้ันถูกละเมิด ถูกฝ่าฝืน หรือถูกดูหม่ินเกี่ยวกับความเช่ือของ ชุมชน ก็จะนาไปสกู่ ารต่อต้านจากคนในชุมชน แม้ว่าการฝ่าฝืนดังกล่าวจะไม่ผิดกฎหมายก็ตาม และท่ีสาคัญไปกว่า นน้ั หากการกระทาดังกล่าวผิดกฎหมายด้วยแล้ว อาจสร้างให้เกิดความไม่พอใจข้ึนได้ ไม่เพียงแต่ ในชุมชนน้ัน แต่อาจ เกย่ี วเน่ืองไปกับชุมชนอน่ื รอบข้าง หรอื เป็นชุมชนที่ใหญ่ท่ีสุด นั่นคือ ประชาชนท้ังประเทศซึ่งการลงโทษทางสังคม มีทั้งด้านบวกและดา้ นลบ ดงั นี้ การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูปของการให้การสนับสนุนหรือการ สร้างแรงจูงใจ หรือการให้รางวัล ฯลฯ แก่บุคคลและสังคม เพื่อให้ประพฤติปฏิบัติสอดคล้องกับปทัสถาน (Norm) ของสงั คมในระดบั ชุมชนหรือในระดับสงั คม การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanctions) จะอยู่ในรูปแบบของการใช้มาตรการต่างๆ ใน การจัดระเบียบสังคม เช่น การว่ากล่าวตักเตือน ซ่ึงเป็นมาตรการขั้นต่าสุดเรื่อยไปจนถึงการกดดันและบีบคั้นทาง จิตใจ (Moral Coercion) การต่อต้าน (Resistance) และการประท้วง (Protest) ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะโดย ปัจเจกบุคคลหรือการชมุ นมุ ของมวลชน

- ๖๕ - การลงโทษทางสังคมทางลบ จะสร้างให้เกิดการลงโทษต่อบุคคลที่ถูกกระทา การลงโทษประเภทนี้ เป็นลงโทษเพ่ือใหห้ ยุดกระทาในส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง และบุคคลที่ถูกลงโทษจะเกิดการเข็ดหลาบ ไม่กล้าท่ีจะทาในส่ิงนั้นอีก การลงโทษประเภทน้ีมีความรุนแรงแตกต่างกัน ตั้งแต่ การว่ากล่าวตักเตือน การนินทา การประจาน การชุมนุมขับไล่ ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการไม่ทน ไม่ยอมรับต่อส่ิงที่บุคคลอ่ืนได้กระทาไป ดังนั้น เม่ือมีใคร ท่ีทาพฤติกรรม เหล่านั้นขึ้น จึงเป็นการสร้างให้เกิดความไม่พอใจแก่บุคคลรอบข้าง หรือสังคม จนนาไปสู่การ ตอ่ ต้านดงั กลา่ ว การลงโทษทางสังคมจะมีความรุนแรงมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับการกระทาของบุคคลนั้นว่าร้ายแรงขนาด ไหน หากเป็นเรื่องเล็กน้อยจะถูกต่อต้านน้อย แต่หากเรื่องนั้นเป็นเรื่องร้ายแรง เรื่องที่เกิดข้ึนประจา หรือมี ผลกระทบต่อสังคม การลงโทษกจ็ ะมคี วามรุนแรงมากขึ้นด้วย เช่น หากมีการทุจริตเกิดขึ้นก็อาจนาไปเป็นประเด็น ทางสังคมจนนาไปสู่การต่อต้านจากสังคมได้ เพราะการทุจริตถือว่าเป็นส่ิงที่ไม่ถูกต้อง ผิดกฎหมาย และผิดต่อ ศลี ธรรม บอ่ ยครัง้ ทมี่ กี ารทุจรติ เกิดข้ึนจนเป็นสาเหตุของการชุมนุมประท้วง เพ่ือกดดัน ขับไล่ให้บุคคลนั้นหยุดการ กระทาดังกล่าว หรือการออกจากตาแหน่งน้ันๆ หรือการนาไปสู่การตรวจสอบและลงโทษโดยกฎหมาย โดยใน หัวข้อสุดท้ายของชุดวิชานี้ ได้นาเสนอตัวอย่างที่ได้แสดงออกถึงความไม่ทนต่อการทุจริตท่ีมีการชุมนุมประท้วง บางเหตุการณ์ผู้ที่ถูกกล่าวหาได้ลาออกจากตาแหน่ง ซึ่งการลาออกจากตาแหน่งน้ันถือเป็นความรับผิดชอบอย่าง หนึ่งและเปน็ การแสดงออกถึงความละอายในส่ิงที่ตนเองไดก้ ระทา 2.2.4 ตวั อยา่ งความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต การทุจริตมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ทาให้เกิดความเสียหายอย่างมากในด้านต่างๆ หากนาเอาเงินท่ี ทุจริตไปมาพัฒนาในส่วนอื่น ความเจริญหรือการได้รับโอกาสของผู้ที่ด้อยโอกาสก็จะมีมากขึ้น ความเหลื่อมล้า ทางด้านโอกาส ทางด้านสังคม ทางด้านการศึกษา ฯลฯ ของประชาชนในประเทศก็จะลดน้อยลง ดังท่ีเห็น ในปัจจุบันว่าความเจริญต่างๆ มักอยู่กับคนในเมืองมากกว่าชนบท ท้ังๆ ที่คนชนบทก็คือประชาชนส่วนหนึ่งของ ประเทศ แต่เพราะอะไรทาไมประชาชนเหล่านนั้ ถงึ ไม่ได้รับโอกาสใหท้ ัดเทียมหรอื ใกลเ้ คยี งกับคนในเมืองปัจจัยหนึ่ง คือการทจุ ริต สาเหตกุ ารเกดิ ทุจริตมหี ลายประการตามท่ีกลา่ วมาแล้วข้างต้น แต่ทาอย่างไรถึงทาให้มีการทุจริตได้มาก อย่างหนึ่งคือการลงทุน เม่ือมีการลงทุนก็ย่อมมีงบประมาณ เมื่อมีงบประมาณก็เป็นสาเหตุให้บุคคลที่คิดจะทุจริต สามารถหาช่องทางดังกล่าวในทางทุจริตได้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายหลายฉบับเพ่ือป้องกันการทุจริต ปราบปรามการทุจรติ แตน่ ัน่ กค็ ือตัวหนงั สอื ท่ีได้เขยี นเอาไว้ แตก่ ารบังคับใชย้ งั ไมจ่ ริงจังเท่าท่ีควร และยิ่งไปกว่าน้ัน หากประชาชนเห็นว่าเรื่องดังกล่าวไม่เกี่ยวข้องกับตนเองก็มักจะไปอยากเข้าไปเก่ียวข้อง เนื่องจากตนเองก็ไม่ได้รับ ผลกระทบที่เกิดข้ึน แต่การคิดดังกล่าวเป็นสิ่งท่ีผิด เน่ืองจากว่าตนเองอาจจะไม่ได้รับผลกระทบโดยตรงต่อการท่ีมีคน ทุจรติ แต่โดยอ้อมแล้วถือว่าใช่ เชน่ เม่ือมีการทุจริตมาก งบประมาณของประเทศท่ีจะใช้พัฒนาหรือลงทุนก็น้อย อาจ ส่งผลใหป้ ระเทศไมส่ ามารถจา้ งแรงงานหรือลงทนุ ได้ ความเสียหายที่เกิดจากการทุจริต หากเป็นการทุจริตในโครงการใหญ่ๆ แล้ว ปริมาณเงินท่ีทุจริตย่อมมีมาก ความเสียหายกย็ อ่ มมีมากตามไปด้วย โดยในบทน้ีได้ยกกรณตี วั อย่างท่ีเกิดขึ้นจากการทุจริตไว้ในท้ายบท ซึ่งจะเห็น ได้ว่าความเสียหายท่ีเกิดขึ้นน้ันมีมูลค่ามากมาย และน้ีเป็นเพียงโครงการเดียวเท่าน้ัน หากรวมเอาการทุจริตหลายๆ โครงการ หลายๆ กรณีเข้าด้วยกัน จะพบว่าความเสียหายที่เกิดข้ึนมาน้ันมากมายมหาศาล ดังน้ัน เม่ือเป็นเช่นนี้ แล้ว ประชาชนจะต้องมีความต่ืนตัวในการท่ีจะร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การร่วมมือกันใน การเฝ้าระวังเหตุการณ์ สถานการณ์ที่อาจเกิดการทุจริตได้ เมื่อประชาชนรวมถึงภาคเอกชน ภาคธุรกิจ มีความ ต่ืนตัวที่จะร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัญหาการทุจริตจะถือเป็นปัญหาเพียงเล็กน้อยของประเทศไทย

- ๖๖ - เพราะไม่ว่าจะทาอย่างไรก็จะมีการสอดส่อง ติดตาม เฝ้าระวังเร่ืองการทุจริตอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นแล้วสิ่งสาคัญสิ่ง แรกที่จะต้องสร้างให้เกิดขึ้น คือ ความตระหนักรู้ถึงผลเสียที่เกิดขึ้นจากการทุจริต สร้างให้เกิดความตื่นตัวต่อการ ปราบปราบการทจุ ริต การไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ใหเ้ กดิ ขึ้นในสงั คมไทย เมื่อประชาชนในประเทศมคี วามตืน่ ตัวที่ว่า “ไมท่ นต่อการทุจริต” แล้ว จะทาให้เกิดกระแสการต่อต้านต่อ การกระทาทจุ รติ และคนทที่ าทุจรติ ก็จะเกดิ ความละอายไมก่ ล้าที่จะทาทจุ ริตตอ่ ไป เช่น หากพบเห็นว่ามีการทุจริต เกิดข้ึนอาจมีการบันทึกเหตุการณ์หรือลักษณะการกระทา แล้วแจ้งข้อมูลเหล่าน้ันไปยังหน่วยงานหรือส่ือมวลชน เพ่ือร่วมกันตรวจสอบการกระทาทเ่ี กิดขนึ้ และยงิ่ ในปัจจบุ ันเปน็ สังคมสมัยใหม่ และกาลังเดินหน้าประเทศไทยก้าว สู่ยคุ ไทยแลนด์ 4.0 แต่การจะเป็น 4.0 ให้สมบูรณ์แบบได้นั้น ปัญหาการทุจริตจะต้องลดน้อยลงไปด้วย เม่ือประชาชน มีความตื่นตัวต่อการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตแล้ว ผลที่เกิดข้ึนจะเป็นอย่างไร ตัวอย่างท่ีจะนามากล่าวถึงต่อไปนี้เป็น กรณีท่ีเกิดขึ้นในต่างประเทศ แสดงให้เห็นถึงความไม่ทนต่อการทุจริตท่ีประชาชนได้ลุกข้ึนมาต่อสู้ ต่อต้านต่อ นักการเมืองที่ทาทุจริต จนนาในท่ีสุดนักการเมืองเหล่าน้ันหมดอานาจทางการเมืองและได้รับบทลงโทษทั้งทาง สังคมและทางกฎหมาย ดงั น้ี 1. ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ถือเป็น ประเทศหนึ่งท่ีประสบความสาเร็จในด้านของ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต แต่ก็ยังคงมี ปัญหาการทุจรติ เกดิ ข้ึนอยู่บ้าง เชน่ เมื่อปี พ.ศ. 2559 มีข่าวกรณีของ ประธานาธิบดีถูกปลดออกจากตาแหน่งเพราะ เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการเอื้อประโยชน์ให้ พวกพ้อง โดยการถูกกล่าวหาว่าให้เพ่ือนสนิท ของครอบครัวเขา้ มาแทรกแซงการบรหิ ารประเทศ ทมี่ า : http://www.bbc.com/thai/international-39227441 รวมถึงใช้ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับประธานาธิบดีแสวงหาประโยชน์ส่วนตัว ผลที่เกิดขึ้นคือถูกดาเนินคดี และ ต้ังข้อหาว่าพัวพันการทุจริตและใช้อานาจหน้าที่ในทางมิชอบเพ่ือเอ้ือผล ประโยชน์ให้แก่พวกพ้อง กรณีท่ีเกิดขึ้นน้ีประชาชนเกาหลีใต้ได้มีการรวมตัวกันประท้วงกว่าพันคนเรียกร้องให้ประธานาธิบดีคนดังกล่าวลาออก จากตาแหน่งหลังมเี หตุอื้อฉาวทางการเมือง อกี กรณีที่จะกล่าวถึงเพื่อเป็นตัวอย่างการต่อต้านการกระทาที่ไม่ถูกต้อง คือ การที่นักศึกษาคนหน่ึงได้เข้า เรียนในมหาวิทยาลัยทั้งที่ผลคะแนนท่ีเรียนมาน้ันไม่ได้สูง และ การที่คุณสมบัติของนักศึกษาดังกล่าวมีคุณสมบัติไม่ตรงกับการ คัดเลือกโควต้านักกีฬาท่ีกาหนดไว้ว่าจะต้องผ่านการ แข่งขัน ประเภทเด่ียว แต่นักศึกษาคนดังกล่าวผ่านการแข่งขันประเภท ทีม เท่ากับว่าคุณสมบัติไม่ถูกต้องแต่ได้รับเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยดังกล่าว การกระทาเช่นน้ีจึงเป็นสาเหตุหน่ึงของ การนาไปสู่การประท้วง ต่อต้านจากนักศึกษาและอาจารย์ของ มหาวิทยาลัยดังกล่าว ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถ ทมี่ า : https://teen.mthai.com/education ใหค้ าตอบทีช่ ัดเจนแก่กลุม่ ผู้ประท้วงได้ จนในทส่ี ดุ ประธานของ / มหาวิทยาลัยดงั กล่าวจึงลาออกจากตาแหน่ง 119903.html

- ๖๗ - 2. ประเทศบราซิล ปลายปี พ.ศ. 2559 ประชาชน ในประเทศบราซิลได้มีการชุมนุมประท้วงการทุจริตท่ีเกิดข้ึน เป็นการแสดงออกถงึ ความไม่พอใจตอ่ วฒั นธรรม การโกงของระบบ ราชการของประเทศ โดยมีประชาชนจานวนหลายหม่ืนคนเข้า ร่วมการชุมนุมในครั้งนี้ และมีการแสดงภาพหนูเพ่ือเป็น สัญลักษณ์ในการประณามต่อนักการเมืองที่ทุจริต การประท้วง ดังกล่าวยังถือว่ามีขนาดเล็กกว่าคร้ังก่อน เพราะที่ผ่านมาได้มี การทุจริตเกิดข้ึนและมีการประท้วง จนในท่ีสุดประธานาธิบดี ได้ถูกปลดจาตาแหน่ง เน่ืองจากการกระทาท่ีละเมิดต่อ ทมี่ า : https://www.dailynews.co.th/ กฎระเบยี บเรื่องงบประมาณ foreign จากตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความตื่นตัวของ /540734 ประชาชนที่ออกมาต่อต้านต่อการทุจริต ไม่ว่าจะเป็นการทุจริตในระดับหน่วยเล็กๆ หรือระดับประเทศ เป็นการ แสดงออกซึ่งการไมท่ นต่อการทุจริต การไม่ทนต่อการทุจริตสามารถแสดงออกมาได้หลายระดับต้ังแต่การเห็นคนท่ี ทาทุจริตแล้วตนเองรู้สึกไม่พอใจ มีการส่งเรื่องตรวจสอบ ร้องเรียน และในที่สุดคือการชุมนุม ประท้วง ตาม ตัวอย่างท่ีได้นามาแสดงให้เห็นข้างต้น ตราบใดท่ีสามารถสร้างให้สังคมไม่ทนต่อการทุจริตได้ เมื่อนั้นปัญหาการ ทุจริตก็จะลดน้อยลง แต่หากจะให้เกิดผลดีย่ิงขึ้น จะต้องสร้างให้เกิดความละอายต่อการทุจริต ไม่กล้าที่จะทา ทุจริต โดยนาเอาหลกั ธรรมทางศาสนามาเป็นเคร่ืองมือในการส่ังสอน อบรม ในขณะเดียวกันหากมีการทุจริตเกิดขึ้น กระบวนการในการแสดงออกต่อการไม่ทนต่อการทุจริตจะต้องเกิดข้ึน และมีการเปิดเผยชื่อบุคคลท่ีทุจริตให้กับ สาธารณะชนไดร้ บั ทราบอยา่ งท่วั ถึง เมอ่ื สงั คมมีท้งั กระบวนการในการป้องกันการทุจริต การปราบปรามการทุจริตท่ีดี รวมถึงการสร้างให้สงั คมเป็นสังคมท่ีไมท่ นต่อการทุจริต มีความละอายต่อการทาทุจริตแล้ว ปัญหาการทุจริตจะลด น้อยลง ประเทศชาตจิ ะสามารถพฒั นาได้มากขนึ้ สาหรบั ระดับการทจุ ริตทีเ่ กดิ ข้ึน ไม่ว่าจะเป็นในระดับใดล้วนแล้วแตส่ ง่ ผลกระทบต่อสังคมและประเทศชาติ ท้ังสิ้น บางครั้งการทุจริตเพียงนิดเดียวอาจนาไปสู่การทุจริตอย่างอื่นที่มากกว่าเดิมได้ การมีวัฒนธรรม ค่านิยม หรือ ความเชื่อทไี่ ม่ถูกต้องก็สง่ ผลให้เกิดการทจุ รติ ไดเ้ ช่นกัน เชน่ การมอบเงนิ อุดหนุนแก่สถานศึกษาเพ่ือให้บุตรของตนได้ เขา้ ศึกษาในสถานทแ่ี หง่ น้นั หากพจิ ารณาแล้วอาจพบวา่ เป็นการช่วยเหลือสถานศึกษาเพื่อท่ีสถานศึกษาแห่งน้ันจะได้ นาเงินท่ีได้ไปพัฒนาสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนของทางสถานศึกษาต่อไป แต่การกระทาดังกล่าวน้ีไม่ถูกต้อง เปน็ การปลูกฝงั ส่ิงที่ไม่ดีให้เกิดข้ึนในสังคม และต่อไปหากกระทาเช่นนี้เร่ือยๆ จะมองว่าเป็นเร่ืองปกติที่ทุกคนทากัน ไม่มีความผิดแต่อย่างใด จนทาให้แบบแผนหรือพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีถูกกลืนหายไปกับการกระทาที่ไม่เหมาะสม เหล่าน้ี ตวั อยา่ งการมอบเงินอุดหนุนแก่สถานศกึ ษายังคงเกิดข้ึนในประเทศไทยอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในสถานศึกษาท่ี มีช่ือเสียงซึ่งหลายคนอยากให้บุตรของตนเข้าศึกษาในสถานท่ีแห่งน้ัน แต่ด้วยข้อจากัดที่ไม่สามารถรับนักเรียน นักศึกษาได้ทั้งหมด จงึ ทาใหผ้ ู้ปกครองบางคนต้องให้เงินกับสถานศึกษา เพอ่ื ใหบ้ ตุ รของตนเองไดเ้ ข้าเรียน

- ๖๘ - บรรณานุกรม ดชั นช้ี ้ีวดั ภาพลักษณ์คอรร์ ัปชัน. (2560). เขา้ ถงึ ได้จาก http://thaipublica.org/2017/01/corruption- perceptions-index-2016-thailand/ (วันท่คี น้ ขอ้ มูล : 15 กมุ ภาพันธ์ 2560). ประวัติหน่วยดับเพลิงในประเทศไทย. (ม.ป.ป.). เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.firefara.org/firebrigade.html (วนั ที่ค้นข้อมลู : 24 กมุ ภาพันธ์ 2560). พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ.2542 สงั ศติ พิริยะรังสรรค์ และคณะ. (2559). โครงการส่งเสรมิ และสนับสนนุ มาตรการลงโทษทางสังคม. ทุนสนบั สนนุ การวิจัยจากสานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เสาวนีย์ ไทยรงุ่ โรจน์ และคณะ. (2553). โครงการประเมินด้านสถานการณด์ า้ นการทจุ ริตในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะอนกุ รรมการฝ่ายวิจยั สานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแหง่ ชาติ สานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาต.ิ (2558). เปิดแฟ้ม 10 คดที จุ รติ บทเรยี น ราคาแพงของคนไทย. กรงุ เทพมหานคร : อมรินพริ้นตง้ิ แอนดพ์ ับลชิ ชิ่ง ________________________________________________. (2560). ยุทธศาสตรช์ าติว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต.https://www.nacc.go.th/ more_news.php?cid=36 (วนั ทค่ี ้น ขอ้ มลู : 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2560). หอการคา้ ไทย. (ม.ป.ป.). ผลกระทบจากการทุจรติ . เข้าถึงไดจ้ ากhttp://www.thairath.co.th/content/661992 (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 15 กมุ ภาพันธ์ 2560). Radcliffe-Brown, A.R. (1952). Structure and function in primitive society. Illinois. The free Press.

- ๖๙ - ชุดวชิ าท่ี ๓ STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทุจรติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จข้ึน เถลิงถวัลยราชสมบัติ และเมื่อวันท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ณ พระที่น่ังไพศาลทักษิณ พระราชพิธี บรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นับเป็นเวลา 70 ปี ท่ีพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงครองราชย์ ทรงมีพระราชปณิธาณท่ีจะให้ประชาชนชาวไทยได้ประโยชน์และ ความสุขของอย่างทั่วถึงกันทั้งประเทศ โดย “คน” เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา และทรงพระวิริยะอุตสาหะที่จะ ขจัดปัญหาต่างๆ ท้ัง อาทิ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรรม สังคม การศึกษา เป็นต้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนชาวไทยสามารถพ่ึงพาตนเองอย่างมน่ั คงและย่ังยนื ต่อไป พระบาทส มเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุล ยเดช ทรง พร ะราช ทานแนว พระราช ดาริหลั กปรัช ญา เศรษฐกิจพอเพียง จากพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วัน พฤหัสบดีท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ โดยมีใจความตอนหนึ่งว่า “...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ตอ้ งสร้างพืน้ ฐาน คือ ความพอมพี อกิน พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญเ่ ปน็ เบอ้ื งต้นกอ่ น โดยใชว้ ิธกี ารและใช้อุปกรณ์ ที่ประหยดั แตถ่ กู ตอ้ งตามหลักวิชา เม่ือได้พ้ืนฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความ เจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจข้ึนให้รวดเร็วแต่ ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะ เกิดความไม่สมดุลในเร่อื งตา่ งๆ ขึน้ ซึง่ อาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในท่ีสุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศหลาย ประเทศกาลังประสบปัญหาทางเศรษฐกจิ อยา่ งรุนแรงอยู่ในเวลานี้...” ซ่ึงเป็นแนวพระราชดาริท่ีพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชพระราชทานแก่ราษฎรมานานกว่า 40 ปี เพ่ือให้ราษฎรสามารถดารงชีวิตด้วยการพึง พาตนเอง มสี ตอิ ยอู่ ยา่ งประมาณตนสามารถดารงชพี ปกติสขุ อย่างม่ันคงและย่ังยืน เมื่อวันท่ี 26 พฤษภาคม 2549 องค์การสหประชาชาติ (United Nations :UN) โดยนายโคฟีอันนัน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติไดท้ ูลเกลา้ ทลู กระหม่อม ถวายรางวัลความสาเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ของ โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ(The Human Development Lifetime Achievement Award) เพือ่ เทิดพระเกยี รตเิ ป็นกรณีพเิ ศษ ในวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดยนายโคฟีอันนันได้กล่าวสุดดี พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และกล่าวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น หลักการที่มุ่งเน้นการกลั่นกรองในการบริโภคเน้นความพอประมาณและการมีภูมิคุ้มกันในตัวสามาร ถต้านทาน ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ \"ทางสายกลาง\" จึงเป็นการตอกย้าแนวทางท่ีสหประชาชาติท่ีมุ่งเน้นคนเป็น ศูนย์กลางการพัฒนาเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและย่ังยืนต่อมาในปี พ.ศ. 2550 สานักงานโครงการพัฒนาแห่ สหประชาชาติประจาประเทศไทย (United Nations Development Programme : UNDP) ได้กล่าวถึงปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดพิมพ์ในรายงานประจาปี 2007 เพื่อเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปยังประเทศ สมาชกิ กวา่ 150 ประเทศทัว่ โลก

- ๗๐ - 3.1 จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้มีการ วิเคราะห์ภาพอนาคตของประชาชนและสังคมไทยในระยะ ๕ ปีข้างหน้าไว้ว่า หากยุทธศาสตร์ชาติฯ ได้รับความ ร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนของสังคมไทยในการนาไปปฏิบัติจริง ประชาชนไทยจะมีความต่ืนตัวต่อการทุจริต มากข้ึน มีการให้ความสนใจต่อข่าวสารและตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อประเทศมากขึ้น มีการ แสดงออกซึ่งการต่อต้านการทุจริตท้ังในชีวิตประจาวันและการแสดงออกผ่านสื่อสาธารณะและสื่อสังคมออนไลน์ ตา่ งๆ ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รบั กระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมว่าการทุจริตถอื เป็นพฤติกรรมที่นอกจากจะ ผิดกฎหมายและทาให้เกิดความเสียหายต่อประเทศแล้ว ยังเป็นพฤติกรรมท่ีผิดจริยธรรม ไม่ได้รับการยอมรับจาก สงั คม ประชาชนจะเรม่ิ เรยี นรกู้ ารปรับเปลย่ี นฐานความคิดทที่ าใหส้ ามารถแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับ ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ วัฒนธรรมทางสังคมท่ีมีฐานอยู่บนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะหล่อหลอมให้ ประชาชนไม่กระทาการทุจริตเน่ืองจากมีพ้ืนฐานจิตท่ีพอเพียงมีความละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ และไม่ ยอมใหผ้ ูอ้ น่ื กระทาการทุจรติ อันสง่ ผลให้เกดิ ความเสยี หายต่อสังคมสว่ นรวม เพือ่ ให้ภาพอนาคตดังกล่าวสามารถบรรลุผลได้จริง หน่วยงานทุกภาคส่วนต้องให้ความสาคัญอย่างแท้จริง กับการปรับประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ประกอบกับหลักการต่อต้านการทุจริตอ่ืนๆเพ่ือสร้าง ฐานคดิ จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ ใหเ้ กิดขึ้นเป็นพ้ืนฐานความคิดของปัจเจกบุคคล โดยประยุกต์หลัก “STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต” ซึ่งคิดค้นโดย รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ในปี พ.ศ. 2560 มาเป็นแนวทาง ในการพัฒนาวฒั นธรรมหนว่ ยงาน

- ๗๑ - คาอธิบายความหมายของ “STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต” ๑) S (sufficient) : ความพอเพียง ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชนน้อมนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์เป็นหลักความพอเพียงในการทางาน การดารงชีวิต การพัฒนา ตนเองและสว่ นรวม รวมถึงการป้องกันการทจุ ริตอย่างย่งั ยืน ความพอเพียงต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึง ของมนุษย์แม้ว่าจะแตกต่างกันตามพ้ืนฐาน แต่การตัดสินใจว่า ความพอเพียงของตนเองต้องตงั้ อยู่บนความมีเหตมุ ีผลรวมทง้ั ต้องไม่เบียดเบยี นตนเอง ผ้อู ่นื และส่วนรวม ความพอเพียงดังกล่าวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลนั้นไม่กระทาการทุจริต ซ่ึงต้องให้ความรู้ความ เข้าใจ(knowledge) และปลุกให้ตน่ื รู้ (realise) ๒) T (transparent) : ความโปร่งใส ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชนต้อง ปฏิบัติงานบนฐานของความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดังนั้น จึงต้องมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมาย ดา้ นความโปรง่ ใส ซึ่งตอ้ งให้ความรคู้ วามเข้าใจ(knowledge) และปลกุ ให้ตืน่ รู้ (realise) ๓) R (realize) : ความต่ืนรู้ ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน มีความรู้ความ เข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาและภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบภายในชุมชนและประเทศ ความตน่ื รู้จะบังเกิดเมอื่ ได้พบเห็นสถานการณท์ เี่ สย่ี งตอ่ การทุจริต ยอ่ มจะมีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและไม่ยินยอมต่อการ ทุจริตในท่ีสุดซ่ึงต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) เกี่ยวกับสถานการณ์การทุจริตท่ีเกิดข้ึน ความร้ายแรง และผลกระทบต่อระดับบุคคลและส่วนรวม ๔) O (onward) : มุ่งไปข้างหน้า ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน มุ่งพัฒนา และปรับเปล่ียนตนเองและส่วนรวมให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างย่ังยืน บนฐานความโปร่งใส ความพอเพียงและ ร่วมสรา้ งวฒั นธรรมสจุ ริตให้เกิดขึ้นอยา่ งไม่ย่อทอ้ ซ่ึงตอ้ งมีความรูค้ วามเข้าใจ(knowledge) ในประเด็นดงั กล่าว ๕) N (knowledge) : ความรู้ ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจสามารถนาความรูไ้ ปใช้ สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ ในเรื่อง สถานการณ์การ ทุจริต ผลกระทบที่มีต่อตนเองและส่วนรวม ความพอเพียงต้านทุจริต การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและ ผลประโยชน์ส่วนรวมที่มีความสาคัญยิ่งต่อการลดการทุจริตในระยะยาว รวมทั้ง ความอายไม่กล้าทาทุจริตและ ความไม่ทนเมือ่ พบเห็นว่ามกี ารทจุ ริตเกดิ ขึ้น เพอื่ สรา้ งสังคมไมท่ นต่อการทุจริต ๖) G (generosity) : ความเอื้ออาทร คนไทยมีความเอ้ืออาทร มีเมตตา น้าใจ ต่อกันบนฐานของจิต พอเพยี งต้านทุจรติ ไมเ่ ออ้ื ตอ่ การรบั หรือการให้ผลประโยชนห์ รอื ตอ่ พวกพ้อง S (sufficient) ความพอเพียง พระราชดารัสพระราชทานแก่บุคคลต่างๆ ท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดาฯ พระราชวังดุสติ วันศกุ ร์ที่ 4 ธันวาคม 2541 “...คาว่าพอเพียง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้ของตัวเองมีความหมาย วา่ พอมี พอกิน พอมีพอกนิ น้ี ถา้ ใครได้มาอยู่ทน่ี ี่ ในศาลาน้ีเม่ือ ๒๔ ปี ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑ ก็ ๒๔ ปีใช่ไหม วันนั้นได้ พดู ถงึ ว่า เราควรจะปฏบิ ัติใหพ้ อมีพอกนิ พอมี พอกินน้ีก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเองถ้าแต่ละคนพอมี พอกินก็ ใช้ได้ ยิ่งถ้าท้ังประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยก็เวลาน้ัน ก็เริ่มจะเป็นไม่พอมี พอกิน บางคนก็มีมาก

- ๗๒ - บางคนกไ็ มม่ เี ลย สมัยก่อนน้ีพอ มีพอกิน มาสมัยน้ีชักจะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมีนโยบายท่ีจะทาเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ ทจี่ ะใหท้ กุ คนมีพอเพยี งได้...” “...คาว่าพอก็เพียง พอเพียงน้ีก็พอดังน้ันเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เม่ือมีความ โลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศใดมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทาอะไร ต้อง พอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณ พูดจาก็พอเพียงทาอะไรก็พอเพียง ปฏบิ ตั ติ นก็พอเพียง…” “...อย่างเคยพูดเหมือนกันว่า ท่านท้ังหลายท่ีน่ังอยู่ตรงน้ี ถ้าไม่พอเพียงคืออยากจะไปนั่งบนเก้าอี้ของ ผู้ท่ีอยู่ข้างๆ อันน้ันไม่พอเพียงและทาไม่ได้ ถ้าอยากนั่งอย่างน้ันก็เดือดร้อนกันแน่เพราะว่าอึดอัด จะทาให้ทะเลาะ กนั และเมื่อมกี ารทะเลาะกันก็ไมม่ ีประโยชนเ์ ลย ฉะนนั้ ควรท่จี ะคดิ วา่ ทาอะไรพอเพียง...” “...ถ้าใครมีความคิดอย่างหนึ่งและต้องการให้คนอื่นมีความคิดอย่างเดียวกับตัวซ่ึงอาจจะไม่ถูก อันนี้ก็ไม่ พอเพียง การพอเพียงในความคิดก็คือแสดงความคิด ความเห็นของตัวและปล่อยให้อีกคนพูดบ้างและมาพิจารณา ว่าท่ีเขาพูดกับที่เราพูด อันไหนพอเพียงอันไหนเข้าเร่ือง ถ้าไม่เข้าเร่ืองก็แก้ไขเพราะว่าถ้าพูดกันโดยท่ีไม่รู้เร่ืองกัน ก็จะกลายเป็นการทะเลาะ จากการทะเลาะด้วยวาจาก็กลายเป็นการทะเลาะด้วยกาย ซึ่งในท่ีสุดก็นามาสู่ความ เสยี หาย เสียหายแก่คนสองคนทเ่ี ป็นตวั การ เปน็ ตัวละครทั้งสองคน ถ้าเปน็ หม่กู ็เลยเป็นการตกี นั อยา่ งรนุ แรง ซ่ึงจะ ทาให้คนอืน่ อีกมากเดอื ดรอ้ น ฉะนั้น ความพอเพยี งน้ีกแ็ ปลวา่ ความพอประมาณและความมเี หตผุ ล...” สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ประมวลและกลั่นกรองจาก พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตนาไปเผยแพร่ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาปรับปรุง แกไ้ ขและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามที่ขอพระมหากรุณาโดย มีใจความวา่ “เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรชั ญาชี้ถงึ แนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัด ระวังอย่างย่ิงในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และ ขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรมความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทง้ั ดา้ นวัตถุ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี” คุณลักษณะท่ีสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไข คือแนวทางการ ดาเนินชีวิตให้อยู่บนทางสายกลางตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพ้นจากภัยและวิกฤติการณ์ต่าง ท่ีเกดิ ขึ้นกอ่ ให้เกิดคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีอยา่ งมัน่ คงและย่งั ยืน

- ๗๓ -  ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดตี อ่ ความจาเป็นไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไปและ ต้องไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน  ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่างๆ อย่างมีเหตุผลตามหลัก วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมท่ีดีงาม คิดถึงปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องอย่างถ่ีถ้วน โดยคานงึ ถึงผลทคี่ าดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ  มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ มทจี่ ะเกดขึน้ เพื่อให้สามารถปรับตัวและรับมือได้อย่างทนั ท่วงที เงื่อนไขในการตัดสินใจในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่างๆ ที่เก่ียวข้องรอบด้านความ รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการ ปฏิบตั ิ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วามซื่อสตั ย์สจุ ริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต ทมี่ า : สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางดาเนินชีวิตทางสายกลาง การพึ่งตนเอง รู้จักประมาณตน อย่างมีเหตุผล อยู่บนพื้นฐานความรู้และคุณธรรมในการพิจารณา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดาเนินการไม่ได้ เฉพาะเจาะจงในเร่ืองของเศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียวแต่ยังครอบคลุมไปถึงการดาเนินชีวิตด้านอื่นๆ ของมนุษย์ให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข อย่างเช่น หากเรามีความพอเพียง เราจะไม่ทุจริต คดโกง ไม่ลกั ขโมยของ เบยี ดเบยี นผู้อื่น กจ็ ะส่งผลใหผ้ ้อู ืน่ ไม่เดอื ดร้อน สงั คมก็อยไู่ ด้อย่างปกตสิ ุข

- ๗๔ - ๓.๒ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชแบบอย่างในเรอ่ื งของความพอเพียง เร่ือง ฉลองพระองค์ บนความ “พอเพียง”: หนงั สือพมิ พ์คม ชดั ลึก 24 ตลุ าคม 2559 นายสุนทร ชนะศรีโยธิน เจ้าของร้านสูท “วินสัน เทเลอร์” ได้บอกเล่าพระราชจริยวัตรในด้าน “ความพอเพียง”ที่พระองค์ท่านทรงปฏิบัติมาอย่างต่อเน่ือง ว่า “นายตารวจนามาให้ผมซ่อม เป็นผ้ารัดอกสาหรับ เล่นเรือใบสภาพเก่ามากแล้ว นายตารวจท่านน้ันบอกว่าไม่มีร้านไหนยอมซ่อมให้เลย ผมเห็นว่ายังแก้ไขได้ก็รับมา ซอ่ มแซมให้ไม่คิดเงิน เพราะแค่นึกอยากบริการแก้ไขให้ดีให้ลูกค้าประทับใจ แต่ไม่รู้มาก่อนว่าเขาเป็นเจ้าหน้าท่ีใน พระราชสานกั ตอนนั้นผมบอกไมค่ ิดคา่ ตดั บอกเขาว่าไม่รับเงิน แก้ไขแค่นี้ ผมมีน้าใจ ผมเปิดร้านเสื้อเพราะต้องการ ให้มีช่ือเสียงด้านคุณภาพและบริการลูกค้ามากกว่า แก้ไขนิดเดียวก็อยากทาให้เขาดีๆ ไม่ต้องเสียเงิน ตอนนั้นเขา ถามผมอีกว่า แล้วจะเอามาให้ทาอีกได้ไหม เราก็บอกได้เลยผมบริการให้ จากนั้นเราก็รับแก้ชุดให้ให้นายตารวจ ท่านน้ีเร่อื ยๆ เขาขอให้คดิ เงนิ กไ็ มค่ ดิ ให้ พอครงั้ ที่ 5 นสี่ ิ ทา่ นเอาผ้ามา 4-5 ผืน จะให้ตัดถามผมว่า เท่าไหร่ๆ แล้ว ก็รบี ควักนามบัตรมาให้ผม ท่านชือ่ พล.ต.ต.จรสั สุดเสถียร ตาแหนง่ เขยี นว่า เปน็ นายตารวจประจาราชสานัก ท่าน บอกว่า “ส่ิงทีเ่ ถ้าแก่ทาให้เป็นของพระเจ้าอยู่หัวนะ” ผมอึ้งมากรีบยกมือท่วมหัว ดีใจที่ได้รับใช้เบ้ืองพระยุคลบาท แลว้ ” นายสุนทรเล่าด้วยน้าเสียงต้ืนตันใจแต่ละฉลองพระองค์ที่ได้รับมาให้ซ่อมแซม ถ้าเป็นคนอื่นผ้าเก่าขนาดน้ัน เขาไม่ซอ่ มกนั แลว้ เอาไปท้ิงหรือให้คนอ่ืนๆ ได้แล้ว แต่พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีความมัธยัสถ์แต่ละองค์ที่เอา มาเก่ามาก เช่น เสื้อสูทสีฟ้าชัยพัฒนา ผ้าเก่าสีซีดมากแล้ว ตรงตราชัยพัฒนามัวหมอง ตรงด้ินทองก็หลุดเกือบหมด ผมเอามาแกะหมดเลยให้โรงงานปักใหม่ให้เหมือนแบบเดิม เพราะเข้าใจว่าท่านอยากได้ฉลองพระองค์องค์เดิม แต่ เปล่ียนตราให้ดูใหม่ ถ้าสมมุติวันนี้มีเจ้าหน้าท่ีมาส่งซ่อม พรุ่งน้ีเย็นๆ ผมก็ทาเสร็จส่งคืนเข้าไป เจ้าหน้าที่ท่ีมารับ ฉลองพระองค์ชอบถามว่า ทาไมทาไว ผมตอบเลยว่า เพราะตั้งใจถวายงานครับ ผมอยู่ผืนแผ่นดินไทย ใต้ร่มพระ บารมขี องพระองค์ ผมกอ็ ยากไดร้ ับใช้เบ้อื งพระยุคลบาทสกั เรื่อง ผมเปน็ แค่ช่างตดั เส้อื ได้รบั ใช้ขนาดนี้ผมก็ปล้ืมปีติ ทส่ี ุดแล้ว “ผมถอื โอกาสนาหลกั เศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านมาใช้ตลอด เส้ือผ้าเก่าๆ ที่ได้รับมาวันแรกทาให้ รวู้ ่าพระองคท์ รงอย่อู ย่างประหยัด มัธยัสถ์ ทรงเป็นแบบอย่างความพอเพียงให้แก่ประชาชน และ เม่ือได้ถวายงาน บ่อยครั้งทาให้ผมตระหนักว่าคนเราวันหน่ึงต้องคิดพิจารณาตัวเองว่าส่ิงไหนบกพร่องก็ต้องแก้ไขส่ิงนั้น ทุกคนต้อง แก้ไขสิ่งท่ีบกพร่องก่อน งานถึงจะบรรลุเป้าหมาย และเม่ือประสบความสาเร็จแล้วอย่าลืมตั้งใจทาส่ิงดีๆ ให้ ประเทศชาตติ ลอดไป” ขอ้ คิดและข้อปฏบิ ตั ิดๆี ทไี่ ด้จากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวของช่างสุนทร ฉลองพระบาท ก.เปรมศิลป์ ชา่ งซ่อมฉลองพระบาท รอยเท้าในหลวง ร. 9 รอยเท้าของความพอเพียง นายศรไกร แน่นศรีนิลหรือช่างไก่ ช่างนอกราชสานักผู้ถวายงานซ่อมฉลองพระบาท ในหลวงรัชกาลที่ 9 มา นานกว่า 10 ปี ปัจจุบันยังเป็นเจ้าของร้านซ่อมรองเท้า ก.เปรมศิลป์ บริเวณสี่แยกพิชัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ ประมาณปี 2546 มลี ูกคา้ สวมชดุ พระราชสานักมา 2 คน เดินประคองถุงผ้าลายสก๊อต ด้านในเป็นรองเท้าเข้ามา ในร้าน พอวางรองเท้าลงก็ก้มลงกราบ เลยถามว่า เอาอะไรมาให้ ลูกค้ารายน้ันตอบว่า ฉลองพระบาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ยินเท่าน้ัน ทาตัวไม่ถูก ขนลุก พูดอะไรไม่ถูก ในใจคิดแต่เพียงว่าโชคดีแล้ว ไม่นึกไม่ฝันว่าจะมีโอกาสได้ซ่อมรองเท้าของเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดินช่างไก่ เล่าว่า รองเท้าคู่แรกที่ในหลวง ร. 9 ทรง นามาซ่อม เป็นรองเท้าหนังสีดา ทรงคัทชู แบรนด์ไทย เป็นฉลองพระบาทคู่โปรดของพระองค์ เบอร์ 43 เท่าท่ี สังเกตสภาพชารุดทรุดโทรม ราวกับใส่ใช้งานมาแล้วหลายสิบปี ภายในรองเท้าผุกร่อนหลุดลอกหลายแห่ง ถา้ เปน็ คนท่ัวไปจะแนะนาใหท้ ง้ิ แลว้ ซอื้ ใหม่

- ๗๕ - “จริงๆ ผมใช้เวลาซ่อมรองเท้าคู่น้ันไม่ถึง 1 ชั่วโมงก็เสร็จ แต่ด้วยความที่อยากให้รองเท้าคู่น้ันอยู่ ในบ้านให้นาน เลยบอกเจ้าหน้าท่วี า่ ใช้เวลาซ่อม 1 เดอื น ซงึ่ ฉลองพระบาทคนู่ ี้ ทรงโปรดใชท้ รงดนตรี” นบั จากน้นั เป็นต้นมาชา่ งไกย่ ังมโี อกาสไดถ้ วายงานซ่อมฉลองพระบาทอีกหลายคู่ ซึ่งคู่ท่ี 2 และคู่ท่ี 3 เป็น รองเท้าหนังสีดา ทรงคัทชู คู่ที่ 4 ฉลองพระบาทหนังวัว ทรงฮาฟมักใส่ในงานราชพิธี ซ่ึงฉลองพระบาทคู่นี้ มีรอย พระบาทติดมากับแผ่นรองเท้า ช่างไก่เก็บแผ่นรองเท้าไว้ท่ีร้านเพื่อความเป็นสิริมงคล ส่วนฉลองพระบาทคู่ท่ี 5 ทรงนามาเปลย่ี นพนื้ ฉลองพระบาทค่ทู ี่ 6 เป็นรองเท้าเปิดสน้ ซ่งึ คณุ ทองแดง สุนัขทรงเลี้ยงกดั รวมแล้วทัง้ หมด 6 คู่ “ผมซ่อมฉลองพระบาททุกคู่อย่างสุดความสามารถ ซ่ึงรองเท้าของพระองค์จะนาไปวางปนกับของลูกค้า คนอ่ืนไม่ได้ เลยซ้ือพานมาใส่พร้อมกับผ้าสีเหลืองมารอง แล้วนาไปวางไว้ที่สูงที่สุดในร้าน เพราะท่านคงทรงโปรด มาก สภาพรองเท้าชารดุ มาก ซบั ในรองเทา้ หลุดออกมาหมด ถา้ เปน็ เศรษฐีท่ัวไปคงจะไม่นามาใช้แล้ว แต่นี่พระองค์ ยงั ทรงใช้ค่เู ดิมอยู่” ประการสาคญั ที่ทาให้ชายผู้น้ีได้เรียนรู้จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คือ “ความ พอเพียง” ขนาดฉลองพระบาทขาดและเก่ายังส่งมาซ่อม หากคนไทยเดินตามรอยของพระองค์ท่าน ชีวิตไม่ฟุ้งเฟ้อ จะเป็นสขุ กันมากกวา่ น้ี “ดร.สเุ มธ ตันติเวชกุล” เขียนไว้ในหนงั สอื “ใต้เบ้อื งพระยคุ ลบาท” “...พระองค์ท่าน ทรงเป็นผู้นาอย่างแท้จริง ดูแค่ฉลองพระบาทเป็นต้น พวกตามเสด็จฯ ท้ังหลาย ใสร่ องเทา้ นอก และยง่ิ มาจากตา่ งประเทศใส่แล้วนุม่ เท้าดี พระองค์กลับทรงรองเท้าท่ีผลิตในเมืองไทยคู่ละร้อยกว่า บาทสดี าเหมือนอย่างที่นักเรยี นใส่กนั แมก้ ระทงั่ พวกเรายงั ไมซ่ ้อื ใส่เลย...” “ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกุล” เขยี นไว้ในหนงั สอื “ใตเ้ บอื้ งพระยุคลบาท” นาฬิกาบนขอ้ พระกร วันงานเปิดตัวรายการทีวี “ธรรมดีที่พ่อทา” และงานสัมมนา “ถอดรหัส”ธรรมดีท่ีพ่อทาพอเร่ิมบรรยาย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ถามผู้ฟังว่า พวกเรามีเส้ือผ้าคนละก่ีชุด ใส่นาฬิกาเรือนละเท่าไหร่ หลายคนแย่กันตอบและ พากันองึ้ เมอ่ื ดร.สุเมธ ตันตเิ วชกลุ เลา่ วา่ \"คร้ังหนึง่ ผมพยายามจะแอบดูว่า พระองค์ท่านใส่นาฬิกาย่ีห้ออะไร จน พระองค์ท่านรู้สึกได้ว่าผมพยายามอยากจะดูย่ีห้อ ท่านจึงย่ืนข้อพระหัตถ์มาให้ดูตรงหน้า จึงทราบว่าพระองค์ท่าน ใส่นาฬิการาคาเพียงเรือนละ 750 บาทเท่านั้นซึ่งก็เดินตรงเหมือนกันกับนาฬิกาเรือนแพง แม้กระทั่งฉลอง พระองคก์ ท็ รงมไี ม่กี่ชุด ทรงใช้จนเป่ือยซีด แต่พวกเรามกั คิดว่า การมีแบบเหลือกินเหลือใช้จึงจะดี เพราะคนสมัยน้ี เรม่ิ ไม่เอาเกษตรกรรม แตเ่ ลอื กทจ่ี ะทาอตุ สา่ หากรรม (เปน็ ศพั ท์ทบี่ ัญญัติขนึ้ เอง สุดท้ายอนาคตก็จะอดกิน\" ดร.สุเมธ ตันติเวชกุลถามอีกว่า คนในห้องน้ีมีรองเท้าคนละกี่คู่ ก็มีนักธุรกิจสตรีตอบว่า ร้อยกว่าคู่ ดร.สุเมธ จึงถามต่อว่า วันนี้ใส่มากค่ี ู่ ถ้าจะใช้ใหค้ ้มุ ทาไมไมเ่ อามาแขวนคอด้วย (ทาเอาบรรยากาศในห้องเงียบสงัด เพราะโดนใจกันเต็มๆ) ก่อนจะบอกว่า พระองค์ทรงฉลองพระบาทคู่ละ 300-400 บาท ขณะท่ีข้าราชบริพาร ใส่รองเท้าคู่ละ 3-4 พัน แต่เวลาที่พระองค์ทรงออกเย่ียมราษฎรในพ้ืนที่ห่างไกล ที่สุดแล้วข้าราชบริพารก็เดินตาม พระองค์ไม่ทันอยู่ดี เวลาเดินคนเราใส่รองเท้าได้คู่เดียว อีกทั้งฉลองพระบาทของพระองค์ยังถูกนาส่งไปซ่อมแล้ว ซ่อมอีก ดินสอทรงงาน สารคดีเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 หมวด พระบารมบี ันดาลตอน ดนิ สอของพระเจ้าอยู่หวั

- ๗๖ - ดินสอธรรมดาซ่ึงคนท่ัวไปอาจหาซ้ือได้ด้วยราคาเพียงไม่ก่ีบาทน้ีเป็นดินสอชนิดเดียวที่ปรากฏอยู่บน พระหัตถข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ขณะทรงงานอนั เน่อื งมาจากพระราชดารติ ่างๆ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดินสอไม้ธรรมดาๆ โดยมีบันทึกว่าในปีหนึ่งๆ ทรง เบิกดินสอใช้เพียง 12 แท่ง โดยทรงใช้ดินสอเดือนละ 1 แท่งเท่าน้ัน เม่ือดินสอสั้นจะทรงใช้กระดา ษมาม้วนต่อ ปลายดินสอให้ยาวเพื่อให้เขียนได้ถนัดมือจนกระทั่งดินสอน้ันกุดใช้ไม่ได้แล้วเนื่องจาก พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชทรงมีแนวพระราชดารทิ ี่เปน็ เหตุ เป็นผล ดนิ สอ 1 แท่ง ท่านไม่ได้มองว่าเราต้อง ประหยัดเงินในกระเป๋าแต่ท่านมองว่าดินสอ 1 แท่ง ต้องใช้ทรัพยากรหรือพลังงานเท่าไหร่ ต้องใช้ทรัพยากร ธรรมชาติคือไม้ แร่ธาตุท่ีทาไส้ดินสอ การนาเข้าวัตถุดิบที่นาเข้าต่างประเทศ พลังงานในกระบวนการผลิตและ ขนส่ง ดังนั้น การผลิตดินสอทุกแท่งมีผลต่อการรายรับรายจ่ายของประเทศ เป็นส่วนหนึ่งมูลค่าสินค้านาเข้าด้าน วัตถุดิบและเป็นการนาทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีจากัดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความประหยัดไม่ใช่หมายถึงการ ไมใ่ ช้ แตย่ ังรวมถึงการใชส้ ิง่ ต่างๆ อยา่ งมสี ติและมีเหตผุ ล อันเปน็ สาคัญของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ดร.สเุ มธ ตันติเวชกุล” เขยี นไวใ้ นหนังสือ “ใตเ้ บือ้ งพระยคุ ลบาท” “ท่านผู้หญิงบุตรี” บอกผมมาว่า ปีหน่ึงท่านทรงเบิกดินสอ ๑๒ แท่ง เดือนละแท่ง ใช้จนกระท่ังกุดใคร อย่าได้ไปทิ้งของพระองค์ท่านนะ จะทรงกร้ิว ทรงประหยัดทุกอย่าง ทรงเป็นต้นแบบทุกอย่าง ของทุกอย่างมีค่าสาหรับ พระองค์ทา่ นท้งั หมด ทุกบาท ทกุ สตางค์ จะทรงใช้อย่างระมดั ระวัง ทรงส่งั ใหเ้ ราปฏิบัตงิ านด้วยความรอบคอบ... หลอดยาสพี ระทนต์ หลอดยาสพี ระทนต์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีลักษณะแบนราบเรียบคล้าย แผ่นกระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดยิ่งปรากฏรอยบุ๋มลึกลงไปจนถึงเกลียวคอหลอด สาเหตุท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะ พระองค์ท่านทรงใช้ด้ามแปรงสีพระทนต์ช่วยรีดและกดจนเป็นรอยบุ๋มศาสตราจารย์พิเศษ ทันตแพทย์หญิง ท่านผู้หญิงเพ็ชรา เตชะกัมพุช ทันตแพทย์ประจาพระองค์ อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้เขียนเล่าในว่า \"คร้ังหน่ึงทันตแพทย์ประจาพระองค์ กราบถวายบังคมทูลเรื่องศิษย์ทันตแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย บางคนมคี า่ นิยมในการใช้ของต่างประเทศ และมรี าคาแพง รายท่ีไม่มีทรัพย์พอซื้อหาก็ยัง ขวนขวาย เช่ามาใช้เป็นการช่ัวคร้ังชั่วคราว ซ่ึงเท่าที่ทราบมา มีความแตกต่างจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทีท่ รงนยิ มใชก้ ระเป๋าทีผ่ ลิตภายในประเทศเช่นสามัญชนทว่ั ไป ทรงใช้ดนิ สอสั้นจนตอ้ งต่อด้าม แม้ยาสีพระทนต์ของ พระองค์ท่าน ก็ทรงใช้ด้ามแปรงพระทนต์รีดหลอดยาจนแบนจนแน่ใจว่าไม่มียาสีพระทนต์หลงเหลืออยู่ในหลอด จรงิ ๆ\" \"เม่อื กราบบงั คมทลู เสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับส่ังว่า ของพระองค์ท่านก็เหมือนกัน และยัง ทรงรบั สง่ั ตอ่ ไปอีกด้วยว่า เม่ือไมน่ านมาน้เี องมหาดเล็กห้องสรง เห็นว่ายาสีพระทนต์ของพระองค์คงใช้หมดแล้วจึง ได้นาหลอดใหม่มาเปลี่ยนให้แทน เม่ือพระองค์ได้ทรงทราบ ก็ได้ขอให้เขานายาสีพระทนต์หลอดเก่ามาคืนและ พระองคท์ า่ นยงั ทรงสามารถใชต้ อ่ ไปได้อีกถึง 5 วัน จะเห็นได้ว่าในส่วนของพระองค์ท่านเองนั้น ทรงประหยัดอย่าง ย่ิง ซงึ่ ตรงกันขา้ มกับพระราชทรัพย์ส่วนพระองคท์ ที่ รงพระราชทานเพอ่ื ราษฎรผ้ยู ากไรอ้ ยู่เป็นนจิ \" \"พระจริยวัตรของพระองค์ได้แสดงให้เห็นอย่างแจ่มชัดถึงพระวิริยะ อุตสาหะ ตลอดจนความประหยัดใน การใช้ของอย่างคุ้มค่า หลังจากนั้นทันตแพทย์ประจาพระองค์ได้กราบพระบาททูลขอพระราชทานหลอดยาสีพระ ทนตห์ ลอดน้นั เพ่อื นาไปใหศ้ ษิ ยไ์ ด้เห็นและรับใสเ่ กล้าเป็นตัวอยา่ งเพ่ือประพฤตปิ ฏิบัติในโอกาสต่อ ๆ ไป\" \"ประมาณหนึ่งสัปดาห์หลังจากน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานส่งหลอดยาสีพระทนต์ เปล่าหลอดน้ันมาให้ถึงบ้าน ทันตแพทย์ประจาพระองค์รู้สึกซาบซ้ึงในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นเกล้ายิ่ง เม่ือได้

- ๗๗ - พจิ ารณาถึงลักษณะของหลอดยาสีพระทนต์เปล่าหลอดนั้นแล้วทาให้เกิดความสงสัยว่า เหตุใดหลอดยาสีพระทนต์ หลอดนจี้ งึ แบนราบเรยี บโดยตลอด คลา้ ยแผ่นกระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดยังปรากฏรอยบุ๋มลึกลงไปเกือบ ถงึ เกลียวคอหลอด เม่อื ได้มโี อกาสเขา้ เฝา้ ฯ อกี ครัง้ ในเวลาต่อมา จึงได้รับคาอธิบายจากพระองค์ว่า หลอดยาสีพระ ทนต์ที่เห็นแบนเรียบน้ันเป็นผลจากการใช้ด้ามแปรงสีพระทนต์ช่วยรีดและกดจนเป็นรอยบุ๋มที่เห็นนั่นเอง และ เพื่อที่จะขอนาไปแสดงให้ศิษย์ทันตแพทย์ได้เห็นเป็นอุทาหรณ์ จึงได้ขอพระราชานุญาต ซึ่งพระองค์ท่านก็ได้ทรง พระเมตตาด้วยความเตม็ พระราชหฤทยั \" ภาพหลอดยาสีพระทนต์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีที่มาจากทันตแพทย์ประจาพระองค์ (ท่านผู้หญิงเพ็ชรา เตชะกัมพุช) ได้กราบถวายบังคมทูลพระองค์ท่านเร่ืองลูกศิษย์บางคนมีค่านิยมใช้ของ ต่างประเทศ และของมีราคาแพง แม้บางรายไม่มีเงินพอที่จะซ้ือหาก็ยังขวนขวายไปเช่ามาช่ัวคร้ังชั่วคราว ซ่ึงเท่าท่ีทราบมาแตกต่างจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ท่ีทรงนิยมใช้กระเป๋าท่ีผลิตภายในประเทศเช่นสามัญ ชนทัว่ ไป ทรงใชด้ นิ สอส้ันจนตอ้ งตอ่ ด้าม แม้จนยาสีฟันพระทันต์ของพระองค์ท่านก็ใช้ด้ามแปรงพระทนต์รีดหลอด ยาจนแบน จนแน่ใจว่าไม่มียาสีพระทนต์หลงเหลืออยู่ในหลอดจริงๆ เม่ือกราบบังคมทูลเสร็จ พระเจ้าอยู่หัวทรง ตรัสว่า “...ของเราก็มี วันก่อนยังใช้ไม่หมด มหาดเล็กมาทาความสะอาดห้องสรง คิดว่าหมดแล้วมาเอาไป แล้ว เปลี่ยนหลอดใหม่มาให้ เราบอกให้ไปตามกลับมา เรายังใช้ต่อได้อีก ๕ วัน...” จึงได้กราบพระบาทของทูล ขอ พระราชทานหลอดยาสีพระทนต์หลอดน้ัน หลอดยาสีพระทนต์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใช้จนแบน ราบเรียบโดยตลอด คล้ายแผ่นกระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดยังปรากฏรอยบุ๋มลึกลงไปเกือบถึงเกลียวคอ หลอด ซึ่งได้รับคาอธิบายจากพระองค์ภายหลังว่า หลอดยาสีพระทนต์ท่ีเห็นแบนเรียบน้ันเป็นผลจากการใช้ด้าม แปรงสีพระทนตช์ ว่ ยรีดและกดจนเป็นรอยบมุ๋ อยา่ งทเ่ี ห็นน่นั เอง รถยนต์พระที่น่ัง นายอนันต์ ร่มร่ืนวาณิชกิจ ช่างดูแลรถยนต์พระที่นั่ง ได้ให้สัมภาษณ์รายการตีสิบ เม่ือวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2552 โดยมีใจความว่า \"คร้ังหนึ่งผมต้องซ่อมรถตู้เชฟโรเลต ซึ่งเป็นรถที่พระบาทสมเด็ จ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานแก่สมเด็จพระเทพรตั นฯ์ สมัยท่านเรียนจบที่จุฬาฯ และเป็นคันโปรดของท่านด้วยก่อน ซ่อมข้างประตูด้านท่ีท่านประทับเวลาฝนตกจะมีน้าหยด แต่หลังจากท่ีซ่อมแล้ว วันหน่ึงท่านก็รับส่ังกับสารถีว่า วันน้รี ถดูแปลกไป นา้ ไม่หยด อยา่ งน้กี ็ไม่เยน็ นะ่ สิ แต่กด็ เี หมอื นกนั ไมต่ อ้ งเอากระป๋องมารอง\" นายอนันต์เปิดเผยว่า ภายในรถยนต์พระที่น่ังของแต่ละพระองค์น้ัน เรียบง่ายมากไม่มีอะไรเลยที่เป็นสิ่ง อานวยความสะดวก มีแต่ถังขยะเล็กๆ กับที่ทรงงานเท่านั้น ส่วนการได้มีโอกาสดูแลรถยนต์พระท่ีน่ัง ทาให้ได้เห็น ถงึ พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วยน้ัน นายอนันต์กล่าวว่า ครั้งหนึ่งมีรถยนต์พระที่น่ังท่ีเพิ่งทรง ใชใ้ นพระราชกรณียกิจมาทา เห็นว่าพรมใต้รถมีน้าแฉะขังอยู่และมีกลิ่นเหม็นด้วย แสดงว่าพระองค์ท่านทรงนารถ ไปทรงพระราชกรณียกิจในที่ที่น้าท่วม แถมน้ายังซึมเข้าไปในรถพระที่นั่งด้วย แสดงว่าน้าก็ต้องเปียกพระบาทมา ตลอดทาง จงึ ถามสารถีวา่ ทาไมไมร่ ีบเอารถมาซ่อม ก็ไดค้ าตอบว่าต้องรอให้เสร็จพระราชกรณียกิจก่อน เม่ือพิธีกร ถามวา่ จากการทไ่ี ดม้ ีโอกาสรบั ใช้เบอื้ งพระยคุ ลบาท ไดเ้ หน็ ถงึ ความพอเพียงของพระองค์อย่างไร นายอนันต์ ตอบ วา่ \"ปกตถิ ้าทรงงานส่วนพระองค์ ท่านก็ใชร้ ถคนั เล็กเพื่อประหยัดน้ามัน และเม่ือเราสังเกตสีรถพระท่ีน่ัง จะเห็นว่า มีรอยสีถลอกรอบคันรถ กว่าที่ท่านจะนามาทาสีใหม่ก็รอบคันแล้วแต่คนใช้รถอย่างเราแค่รอยนิดเดียวก็รีบเอามา ทาสีแล้ว และครั้งหน่ึงระหว่างท่ีผมกาลังประสานงานไปรับรถพระท่ีนั่งของสมเด็จพระเทพรัตน์ฯ ก็มีวิทยุของข้า ราชบริพารบอกกันวา่ รถตดิ มาก สมเดจ็ พระเทพรัตน์ฯ เสด็จฯ ข้ึนรถไฟฟา้ ไปแล้ว\"

- ๗๘ - ห้องทรงงาน ห้องทรงงานพระตาหนักจิตรลดารโหฐานไม่ได้หรูหราประดับด้วยของแพงแต่อย่างใด เวลาทรงงาน จะประทับบนพ้ืนพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน มิได้ประทับพระเก้าอ้ีเวลาทรงงาน เพราะทรงวางส่ิงของต่างๆได้ สะดวก ห้องทรงงานเป็นห้องเล็กๆ ขนาด 3 x 4 เมตร ภายในห้องทรงงานจะมีวิทยุ โทรทัศน์ โทรสาร โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เทเล็กซ์เคร่ืองบันทึกเสียง เคร่ืองพยากรณ์ อากาศ เพ่ือจะได้ทรงสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ทันท่วงทีโดย ผนงั หอ้ งทรงงานโดยรอบมแี ผนท่ีทางอากาศแสดงถงึ พื้นทปี่ ระเทศ ห้องทรงงานของพระองคก์ เ็ ปน็ อีกส่ิงหนึ่ง ที่เตือนสติคนไทยได้อย่างมาก โต๊ะทรงงานหรือเก้าอี้โยกรูปทรง หรูหราไม่เคยมีปรากฏในห้องนี้ ดังพระราชดารัสของพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตอนหน่ึงที่ว่า “...สานักงานของทา่ น คอื ห้องกวา้ งๆ ไม่มเี กา้ อี้ มีพ้ืน และท่านก็ก้มทรงงานอยู่กับพื้น...” น่ันเองนับเป็นแบบอย่าง ของความพอดี ไมฟ่ ุ้งเฟอ้ โดยแท้ “ห้องทรงงาน” เป็นเพียงห้องขนาดธรรมดา กว้างยาวรวม ๕ คูณ ๑๐ เมตร โปร่งๆ โล่งๆ พ้ืนที่ เป็นไม้ปาร์เกต์ ผมกราบบังคมทูลและถวายตารา จากนั้นได้ทรงสอบถามรายละเอียดของตาราพร้อมทั้งเรื่องราว ความคืบหนา้ งานอืน่ ทกี่ าลงั ดาเนนิ เปน็ เวลากวา่ หนึ่งช่วั โมง เครื่องประดบั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฉลองพระองค์ธรรมดา ห้อยกล้องถ่ายภาพไว้ ที่พระศอ มิทรงโปรดการสวมใส่เคร่ืองประดับอื่น เช่น แหวน สร้อยคอหรือของมีค่าต่างๆ เว้นแต่นาฬิกาบน ข้อพระกรเท่าน้นั ซึง่ กไ็ ม่ไดม้ รี าคาแพงแต่อย่างใด “...เครื่องประดับ พระองค์ก็มิทรงโปรดที่จะสวมใส่สักชิ้น นอกเสียจากว่าจะทรงแต่งองค์เพื่อเสด็จฯ ไปงานพระราชพธิ ตี า่ งๆ หรอื ต้อนรบั แขกบ้านแขกเมืองเท่าน้ัน...” ดร.สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ เขียนไวใ้ นหนังสือ “ใต้เบือ้ งพระยุคลบาท” “...เมื่อปี ๒๕๒๔ ที่ได้รับแต่งต้ังจากรัฐบาลให้ไปถวายงาน ผมตื่นเต้นมาก สังเกตรายละเอียดรอบๆ ตัวไปเสียทุกอย่าง มองไปท่ีข้อพระหัตถ์ว่า ทรงใช้นาฬิกาอะไร มองจนพระองค์ทรงยื่นข้อพระหั ตถ์มาให้ดู ทรงตรัสอย่างมีพระอารมณ์ขันว่า “ย่ีห้อใส่แล้วโก้” ผมจาแบบไว้ เพราะอยากรู้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใชน้ าฬิกาเรอื นละเท่าไร พอวนั หยุดก็รบี ไปที่ร้าน ก็ทราบว่ามีราคาเพยี งแค่ ๗๕๐ บาท...” “ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล” เขียนเล่าไว้ใน “ประสบการณ์สนองพระราชดาริเรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว” พระตาหนักจติ รลดา พระตาหนักจิตรลดา “...ไม่มีพระราชวังไหนในโลกเหมือนพระตาหนักจิตรลดา และบริเวณ สวนจติ รลดาที่เตม็ ไปด้วยบ่อเลี้ยงปลา และไร่นาทดลอง อีกท้ังผองโคนม ผสมด้วยโรงสีและโรงงานหลากหลายจึง พูดได้เต็มปากว่า ในประเทศไทยไม่มีช่องว่างระหว่างเกษตรกรกับพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงทางานอย่าง \"หลงั สูฟ้ ้าหน้าสู่ดิน” ด้วยพระองค์เอง”

- ๗๙ - กราบบังคมทูลถวายพระพรชัยมงคลของ พลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธานรัฐสภาในพระราชพิธีเฉลิม พระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓ “โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา” เกิดจากพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภาย หลังจากเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมพสกนิกรในพ้ืนท่ีต่างๆ ด้วยทรงปรารถนาจะได้เห็นประชาชนอยู่ดีมีสุข ตามสมควรแก่อตั ภาพ โดยเฉพาะอาชีพด้านเกษตรกรรม ซึ่งถือเป็นอาชีพหลักของประเทศ จึงทาให้เกิด โครงการ ส่วนพระองค์เก่ียวกับการเกษตร สวนจิตรลดา ภายในบริเวณพระตาหนักสวนจิตรลดารโหฐาน อันเป็น พระราชฐานที่ประทับในปี พ.ศ.๒๕๐๔ โดยเริ่มต้นจาก “นาข้าวทดลอง” และ “ป่าไม้สาธิต” ต่อมากิจกรรม การเกษตรอ่ืนๆ จึงค่อยๆ ทยอยหยั่งรากฝังลึกภายใต้ร่มเงาวังสวนจิตรลดา กระทั่งโครงการต่างๆ เร่ิมประสบ ความสาเร็จ จึงจัดทาโครงการตวั อยา่ ง เพือ่ ใหป้ ระชาชนทส่ี นใจสามารถเข้ามาศึกษา และนากลับไปดาเนินการเอง ได้ โดยโครงการต่างๆ ที่เกิดข้ึนภายในสวนจิตรลดา เป็นโครงการท่ีไม่หวังผลตอบแทน (เชิงธุรกิจ) ทาให้วันน้ี โครงการสว่ นพระองค์ สวนจิตรลดา กลายเป็นแหล่งรวมนวัตกรรมด้านการเกษตรของแผ่นดินท่ีเปิดพร้อมสาหรับ ประชาชนทส่ี นใจศกึ ษาเรียนร้กู จิ กรรมการเกษตรตามพระราชดดาริ ซองเอกสารตา่ งๆ ท่จี ะส่งขนึ้ ทูลเกล้า “... แต่หากเป็นเร่ือง “งานในราชการ” แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระบรมราโชวาทมายังข้าราชบริพารในพระองค์ว่า “เอกสารต่างๆ ท่ีจะส่งข้ึนทูลเกล้าฯ ถวาย หากเป็นซองแล้ว ก็ขอให้ติดกาวเฉพาะตรงหัวมุม หรือหากเป็นต้องใช้เทปกาวติด ก็ให้ติดแค่สองน้ิวก็พอ ไม่ใช่ปิดทั้งหมด เพราะเป็นการเปลืองเทปและเปิดยาก” พระองค์จะไม่พอพระราชหฤทัย เพราะไม่เป็นการประหยัด ซ่ึงตรงนี้เป็น ส่ิงสาคัญ นอกจากน้ี กระดาษและซองจดหมายภายใน หากไม่ใช่เอกสารสาคัญ ก็ควรใช้กระดาษรีไซเคิลแต่หาก เป็นจดหมายลบั หรือสาคญั ก็สามารถใช้ของใหมไ่ ด้”

- ๘๐ - บรรณานกุ รม https://www.youtube.com/watch?v=buvNmqtbz_g http://www.amarin.com/royalspeech/speech41.htm http://www.tsdf.or.th/th/kingspeech.aspx

- ๘๑ - ชดุ วชิ าท่ี ๔ พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๔.1 ความหมายและท่ีมาของคาศัพท์ทีเ่ ก่ียวข้องกับพลเมือง คาว่า “พลเมือง” มีความหมายในหลายแง่มุม และมีการนาไปใช้เทียบกับคาอื่นๆ อาทิ ประชากร ประชาชน ปวงชน และราษฎร์ ฯลฯ แต่หากพิจารณาให้ละเอียดจะสามารถทาความเข้าใจความหมายของคาต่างๆ ที่ คล้ายกัน ได้ดงั น้ี ประชาชน หมายความถึง คนทั่วไป คนของประเทศ ซ่ึงไม่ใช่ผู้ปกครอง เป็นสามัญชนอยู่ภายใต้รัฐ เช่น ประชาชนทกุ คนมีหนา้ ทตี่ ้องรกู้ ฎหมาย ใครจะปฏิเสธว่าไม่รไู้ มไ่ ด้ ประชากร หมายถงึ คนโดยทัว่ ไป โดยมกั ใช้ในกรณีพจิ ารณาถงึ จานวน ราษฎร คาว่า \"ราษฎร\" เป็นคาเกา่ แก่ทม่ี ีใชก้ ันมานาน ในกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาและกฎหมายตราสาม ดวง ก็มีการใชค้ าวา่ “ราษฎร” หมายถึงคนโดยทว่ั ไป แตว่ า่ “ราษฎร” เปน็ คาที่ใช้ในชว่ งสมัยรัชกาลท่ี 5 เน่ืองจาก สังคมไทยสมยั โบราณ ประชาชนเป็นไพร่หรือทาสเกือบท้ังหมด พอมาถึงช่วงรัชกาลท่ี 5 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการ บริหารราชการแผ่นดินครั้งใหญ่และได้ทาการเลิกทาสเลิกไพร่ทาให้ประชาชนเหล่านั้นกลายเป็นราษฎรหรือเสรีชนที่ ไม่ต้องเป็นข้ารับใช้มูลนายและมีสถานะทางกฎหมายเท่าเทียมกัน จึงเรียกอดีตไพร่ ทาส ขุนนาง รวมท้ังชนช้ันใหม่ๆ ว่า “ราษฎร”ในความหมายของ ผู้ท่ีต้องเสียภาษีให้กับรัฐและต้องปฏิบัติตามกฎหมายของบ้านเมืองเช่นเดียวกัน หมด ปัจจุบนั คาว่าราษฎร และประชาชน มคี วามหมายเกือบจะเหมือนกัน แต่ประชาชน สื่อถึงการเป็นเจ้าของ ประเทศ และเจ้าของอานาจอธิปไตย มากกว่าราษฎร ส่วนราษฎรมีนัยของคนที่เสียเปรียบคนท่ีด้อยกว่าอยู่ด้วย และมีนัยความหมายเป็นทางการน้อยกว่าคาว่า ประชาชนเช่น แม้เราจะเป็นราษฎรธรรมดา แต่ถ้าผู้บริหารประเทศคด โกงฉอ้ ราษฎร์บังหลวง เรากต็ อ้ งไปคดั ค้าน ท่ีผ่านมาขา้ ราชการมักจะกดขี่ราษฎร ด้ังน้ัน ราษฎรแปลว่า คนของรัฐ เดมิ หมายถงึ สามัญชน คือคนที่ไมใ่ ช่ขนุ นาง โดยทั่วไปมกั หมายถึง คนธรรมดา หมู่คนทมี่ ิใช่ขา้ ราชการ พลเมือง คาว่า “พลเมือง” เกิดข้ึนครั้งแรกเมื่อเกิดการปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส เริ่มต้นเมื่อปี ค.ศ. 1789 ชาว ฝรง่ั เศสลกุ ฮอื กนั ขึ้นมาล้มล้างระบอบการปกครองของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 16 ล้มล้างระบบชนชั้นต่างๆขณะนั้นได้แก่ พระราชวงศ์ ขุนนางข้าราชการ สมณะ นักพรต นักบวช และไพร่ ประกาศความเสมอภาคของชาวฝรั่งเศสทุกคน ตอ่ มาคาว่า \"Citoyen\" จงึ แปลเป็น \"Citizen\" ในภาษาองั กฤษ สาหรับประเทศไทย คาว่า “พลเมือง” น่าจะถูกนามาใช้สมัยหลังเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เน่ืองจากผู้นาคณะราษฎรบางท่านเคยเรยี นที่ประเทศฝร่ังเศส จึงได้นาเอาคานี้มาใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ซ่ึง ประกาศใช้เม่ือวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ต่อมากลายเป็นวิชาบังคับท่ีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาจะต้องเรียน ควบคู่กบั วชิ าศีลธรรม กลายเป็นวิชา \"หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม\" ในส่วนท่ีเป็นหน้าท่ีพลเมืองก็ลอกมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2475 เร่ือยมาจนถึง รัฐธรรมนญู ฉบบั ปี 2475 แก้ไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ.2495 และเลกิ ใชเ้ มือ่ จอมพลสฤษดธิ์ นะรชั ต์ ทาการรัฐประหารเม่ือ วนั ที่ 16 กันยายน 2500 แตว่ ชิ าหนา้ ท่ีพลเมอื งกย็ ังคงเรยี นและสอนกันต่อมาอีกหลายปีจึงเลิกไปพร้อมๆ กับคาว่า \"พลเมือง\" โดยต่อมาก็ใช้คาว่า \"ปวงชน\" แทน คาว่าราษฎรคงเป็นการใช้แทนคาว่า “ประชาชน” หรือคาว่า

- ๘๒ - People ในภาษาอังกฤษ อาจจะมาจากอิทธิพลของอเมริกาสืบเนื่องมาจากสุนทรพจน์เกตทีสเบิร์ก ของ ประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น ท่ีให้คาจากัดความของรัฐบาลประชาธิปไตยไว้ว่า เป็น \"รัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน และเพ่ือประชาชน\" แต่แทนที่เราจะใช้คาว่า \"ประชาชน\" แทนคาว่า \"ราษฎร\" เรากลับใช้คาว่า \"ปวงชน\" แทน อย่างไรก็ตาม คาว่าปวงชนก็ใช้แต่ในรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ เท่าน้ัน แต่ไม่ติดปากท่ีจะใช้กันทั่วไปในที่ อ่ืนๆ ไมว่ ่าในหน้าหนังสอื พิมพ์หรือในส่อื อื่นๆ ยงั นยิ มใชค้ าว่า \"ประชาชน\" มากกว่าคาวา่ \"ปวงชน\" อย่างไรก็ตาม คาว่า \"พลเมือง\" ได้มาปรากฏอีกคร้ังในร่างรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่หมวดที่ 2 ประชาชน สว่ นที่ 1 ความเปน็ พลเมอื งและหน้าที่ของพลเมือง มาตรา 26 บัญญัติไว้ว่า \"ประชาชนชาวไทยย่อมมี ฐานะเป็นพลเมือง\" ที่น่าสังเกตก็คือ ในมาตรานี้ใช้คาว่า \"ประชาชน\" ชาวไทย แทนคาว่า \"ปวงชน\" ชาวไทยท่ีเขยี นไว้ในมาตรา 3 \"อานาจอธิปไตยเปน็ ของปวงชนชาวไทย\" และมาตรา 5 \"ปวงชนชาวไทยไม่ว่าเหล่า กาเนิดเพศหรือศาสนาใด ย่อมอยู่ในความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญเสมอกัน\" ซ่ึงร่างรัฐธรรมนูญมีท้ังคาว่า \"ปวงชน\" \"ประชาชน\" และ \"พลเมือง\" ในท่ีต่างๆ แทนคาว่า \"ปวงชน\" เหมือนรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ (วีรพงษ์ รามางกรู , 2558) สาหรบั คาว่า “พลเมอื ง” มีนักวชิ าการให้ความหมาย สรปุ ได้พอสงั เขป พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมาย “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมือง ชาวประเทศ ประชาชน“วิถี” หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน และ “ประชาธิปไตย” หมายถึง แบบการปกครองท่ีถือมติปวงชนเป็น ใหญ่ ดงั นั้น คาว่า “พลเมืองดใี นวถิ ชี ีวติ ประชาธปิ ไตย” จึงหมายถงึ พลเมืองทม่ี คี ณุ ลกั ษณะที่สาคัญ คือ เป็นผู้ที่ยึด ม่ันในหลักศีลธรรมและคุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการดารงชีวิตปฏิบัติตนตามกฎหมาย ดารงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมกี ารช่วยเหลอื เกอ้ื กลู กันอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ให้ เปน็ สงั คมและประเทศประชาธิปไตยอย่างแทจ้ ริง วราภรณ์ สามโกเศศ อธิบายว่า ความเป็นพลเมือง หมายถึง การเป็นคนที่รับผิดชอบได้ด้วยตนเอง มีความสานึกในสนั ตวิ ธิ ี มีการยอมรบั ความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น ปริญญา เทวานฤมิตรกุล กล่าวว่า ความเป็นพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การท่ีสมาชิก มอี ิสรภาพ ควบค่กู บั ความรบั ผิดชอบ และมีอิสรเสรภี าพควบคกู่ ับ “หน้าท่ี ” จากความหมายของนักวิชาต่างๆ พอสรุปได้ว่า “พลเมือง” หมายถึง ประชาชนที่นอกจากเสียภาษีและ ปฏิบัติตามกฏหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทในทางการเมือง คือ อย่างน้อยมีสิทธิไปเลือกต้ัง แต่ยงิ่ ไปกวา่ นั้นคือมีสิทธิในการแสดงความคดิ เห็นต่างๆ ต่อทางการหรือรัฐได้ ท้ังยังมีสิทธิเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ กบั รฐั และอาจเปน็ ฝา่ ยรุกเพอื่ เรยี กรอ้ งกฏหมาย นโยบายและกิจกรรมของรัฐตามที่เห็นพ้อง พลเมืองนั้นจะเป็นคน ท่ีรู้สึกเป็นเจ้าของในส่ิงสาธารณะ มีความกระตือรือร้นอยากมีส่วนร่วม เอาใจใส่การทางานของรัฐ และเป็น ประชาชนที่สามารถแก้ไขปัญหาสว่ นรวมได้ในระดับหนึ่ง โดยไมต่ ้องรอใหร้ ัฐมาแกไ้ ขใหเ้ ท่าน้นั อย่างไรกต็ าม มีการเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่างความเป็นราษฏร และความเป็นพลเมือง ดังตาราง(อ้าง จาก จดหมายข่าวสถาบันพระปกเกล้า ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 7 เดอื นกรกฎาคม 2552) (ความเป็นราษฎร, ม.ป.ป.)

- ๘๓ - ความเป็นราษฎร ความเปน็ พลเมือง - ปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ทเี่ ท่าน้นั เชน่ เสยี ภาษี ปฏิบต้ ิ - นอกจากเสียภาษีและปฏบิ ตั ิตามกฏหมายแลว้ ตอ้ ง ตามกฏหมาย มีสานึกในทางการเมือง อย่างน้อยต้องไปใช้สิทธิ เลือกต้ัง หรือมากกวา่ นัน้ คือแสดงความคดิ เห็นต่างๆ - ยอมรบั กฏหมาย นโยบาย กิจการ ต่อบา้ นเมืองใช้สิทธเิ ข้าร่วมการทากิจกรรมต่างๆ กจิ กรรม ต่างๆ ของรฐั รว่ มกบั รัฐ - มีอิสรภาพ ศกั ด์ิศรี มีความเท่าเทียมกับผ้อู นื่ ใหค้ วามสนใจตอ่ สว่ นรวมมีบทบาทและมสี ่วนรว่ ม ทางการเมือง - ไมก่ ระตอื รือรน้ ท่จี ะมีสว่ นร่วมทางการเมอื ง - เคารพตนเองและเคารพสิทธขิ องผอู้ ื่น หรอื กจิ กรรมสาธารณะ เป็นเจ้าของชีวติ ตนเอง ไมอ่ ยู่ใตร้ ะบบอปุ ถมั ภ์ หรือ อทิ ธิพลอานาจของใคร - คดิ วา่ ตนเองเป็นผู้น้อย ต้องคอยรบั การอุปถัมภ์ - ไม่ตกอยู่ใต้อิทธพิ ลของพรรคการเมือง และ จากผ้ใู หญ่ นกั การเมือง ไม่รบั เงนิ หรือความช่วยเหลือ ท่ไี ดม้ าอย่างไม่ถกู ต้อง ไม่ซ้ือสิทธิ ไมข่ ายเสียง - เอาใจใส่ แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การทางานของ รฐั บาล ตรวจสอบ ร้องเรียน เมื่อมีการดาเนิน นโยบายผดิ พลาด รู้สึกเดอื ดร้อน เมือ่ รัฐบาลทาเรื่อง ไม่ดี ทางานผดิ พลาด หรือดาเนนิ นโยบายผดิ - เป็นฝา่ ยรกุ เพอ่ื เรยี กร้องกฏหมาย นโยบาย หรือ กจิ การท่ตี นเองเห็นพ้อง - สามารถแก้ปญั หาส่วนรวมเบือ้ งตน้ ได้ ไม่ต้องรอแต่ รัฐบาลมาแกไ้ ข ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งความเป็นราษฏร และความเป็นพลเมือง กล่าวโดยสรุป “พลเมือง” มีความแตกต่างจากคาว่า “ประชาชน” และ “ราษฎร” ตรงที่ว่า พลเมืองจะ แสดงออกถึงความกระตือรือร้นในการรักษาสิทธิต่างๆ ของตน รวมถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยการ แสดงออกซึ่งสทิ ธิ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ความเป็นพลเมือง (Citizen) มีความหมายที่สะท้อนให้เห็นถึง บทบาท หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของสมาชิกทางสงั คมที่มตี อ่ รัฐ ตา่ งจากคาวา่ ประชาชน ที่กลายเป็นผู้รับคาสั่ง ทาตามผ้อู ื่น ดงั นนั้ การเปล่ียนแปลงท่สี าคัญจงึ อย่ทู กี่ ารเปลีย่ นให้ประชาชนคนธรรมดา กลายเป็นพลเมืองที่มีสิทธิ กาหนดทิศทางของประเทศได้

- ๘๔ - ๔.2 ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง ๔.2.1 ความหมายของพลเมืองศึกษา พลเมืองศึกษา (Civic education) หมายถึง การจัดการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ใหเ้ ปน็ พลเมืองดีของประเทศ มีความภาคภูมิใจในความเป็นพลเมืองตนเอง มีสิทธิมีเสียง สนใจต่อส่วนรวม และมี ส่วนร่วมในกิจการบ้านเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย หรือการเรียนรู้เก่ียวกับรัฐบาล รัฐธรรมนญู กฎหมาย ระบบการเมืองการปกครองสิทธิและความรับผิดชอบของพลเมือง ระบบการบริหารจัดการ สาธารณะและระบบตุลาการ ๔.2.2 คณุ ลกั ษณะของพลเมือง “พลเมอื ง\" ในระบอบประชาธิปไตย ประกอบด้วยลกั ษณะ 6 ประการ (ปรญิ ญา เทวานฤมิตรกุล, 2555) คือ 1) มีอิสรภาพและพ่ึงตนเองได้ หมายความว่า ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็น เจ้าของอานาจสงู สดุ ในประเทศ ประชาชนจึงมีฐานะเป็นเจ้าของประเทศ เป็นเจ้าของชีวิตและมีสิทธิเสรีภาพในประเทศ ของตนเอง ระบอบประชาธิปไตยจึงทาให้เกิดหลักสิทธิเสรีภาพ และทาให้ประชาชนมีอิสรภาพ คือ เป็นเจ้าของ ชวี ิตตนเอง “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยจึงเป็นไท คือ เป็นอิสระชนท่ีพึ่งตนเองและสามารถรับผิดชอบตนเอง ได้ และไมย่ อมตกอยภู่ ายใต้อทิ ธพิ ลอานาจ หรอื “ระบบอุปถมั ภ์” ของผใู้ ด 2) เหน็ คนเท่าเทียมกัน หมายความว่า ประชาธิปไตยคือระบอบการปกครองท่ีอานาจสูงสุดในประเทศเป็นของ ประชาชน ดังน้ัน ไม่ว่าประชาชนจะแตกต่างกันอย่างไรทุกคนล้วนแต่เท่าเทียมกันในฐานะที่เป็นเจ้าของประเทศ “พลเมือง” จึงต้องเคารพหลักความเสมอภาคและจะต้องเห็นคนเท่าเทียมกัน คือ เห็นคนเป็นแนวระนาบ (horizontal) เห็นตนเท่าเทียมกับคนอ่ืน ทุกคนล้วนมีศักดิ์ศรีของความเป็นเจ้าของประเทศอย่าง เสมอกนั ถึงแม้จะมกี ารพึ่งพาอาศยั แต่จะเป็นไปอยา่ งเทา่ เทยี ม 3) ยอมรับความแตกต่าง หมายความว่า ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็นเจ้าของ ประเทศ ประชาชนจึงมีเสรีภาพ ระบอบประชาธิปไตยจึงให้เสรีภาพและยอมรับความหลากหลายของ ประชาชน ประชาชนจึงแตกต่างกันได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเลือกอาชีพ วิถีชีวิต ความเช่ือทางศาสนาหรือความ คิดเห็นทางการเมือง ดังนั้น เพ่ือมิให้ความแตกต่างนามาซึ่งความแตกแยกในสังคม “พลเมือง” ในระบอบ ประชาธปิ ไตยจึงต้องยอมรับและเคารพความแตกต่างของกันและกัน เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ และจะต้องไม่มี การใช้ความรนุ แรงต่อผูท้ ี่เห็นแตกต่างไปจากตนเอง 4) เคารพสิทธิผอู้ ่นื หมายความว่า ในระบอบประชาธิปไตยทุกคนเป็นเจ้าของประเทศทุกคนจึงมีสิทธิแต่ถ้า ทุกคนใช้สิทธิโดยคานึงถึงแต่ประโยชน์ของตนเอง หรือเอาแต่ความคิดของตนเองเป็นท่ีต้ัง โดยไม่คานึงถึงสิทธิผู้อ่ืน หรือไม่สนใจว่าจะเกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ใดย่อมจะทาให้เกิดการใช้สิทธิท่ีกระทบซึ่งกันและกัน สิทธิ ในระบอบประชาธิปไตยจึงจาเป็นต้องมีขอบเขต คือ มีสิทธิและใช้สิทธิได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิผู้อ่ืน “พลเมือง” ในระบอบประชาธปิ ไตยจึงตอ้ งเคารพสทิ ธิผ้อู ่นื และจะต้องไม่ใชส้ ิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิของผู้อ่นื 5) รับผิดชอบต่อสังคม หมายความว่า ประชาธิปไตยมิใช่ระบอบการปกครองตามอาเภอใจหรือใคร อยากจะทาอะไรก็ทาโดยไม่คานึงถึงส่วนรวม ดังนั้น “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยยังจะต้องใช้สิทธิเสรีภาพของ ตนโดยรับผิดชอบต่อสังคมด้วย ด้วยเหตุท่ีสงั คมหรอื ประเทศชาติมิไดด้ ขี นึ้ หรอื แย่ลง โดยตัวเอง หากสังคมจะดีข้ึนได้ก็ ด้วยการกระทาของคนในสงั คม

- ๘๕ - 6) เข้าใจระบอบประชาธิปไตยและมีส่วนร่วม หมายความว่า ประชาธิปไตยคือการปกครอง โดยประชาชน ใช้กติกาหรือกฎหมายท่ีมาจากประชาชนหรือผู้แทนประชาชน ระบอบประชาธิปไตยจะประสบ ความสาเร็จได้ก็ต่อเม่ือมี “พลเมือง” ท่ีเข้าใจหลักการพื้นฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตามสมควร ท้ังในเร่ืองหลักประชาธิปไตยหรือการปกครองโดยประชาชน และหลักนิติรัฐหรือการปกครองโดย กฎหมาย ถ้ามีความขัดแย้งก็เคารพกติกาและใช้วิถีทางประชาธิปไตยในการแก้ปัญหาโดยไม่ใช้กาลังหรือ ความรุนแรง ๔.3 องค์ประกอบของการศกึ ษาความเป็นพลเมอื ง สาหรับนักวชิ าการต่างประเทศ ได้เขียนบทความวิชาการเกี่ยวกับการศึกษาเพ่ือสร้างพลเมือง อาทิ John Porter เขียนบทความเร่ือง “The Challenge of education for active citizenship” โดยอธิบายการศึกษา ความเป็นพลเมืองว่ามี 3 ประเด็นท่ีเชื่อมกับมิติพลเมือง การเมือง และสังคม ท้ังน้ี พลเมืองประกอบด้วย สิทธิ จ า เ ป็ น ส า ห รั บ ค ว า ม อิ ส ร ะ เ ส รี ภ า พ ร ะ ดั บ ปั จ เ จ ก บุ ค ค ล ก า ร เ มื อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย สิ ท ธิ ใ น ก า ร มีส่วนร่วมในการใช้อานาจทางการเมือง ส่วนสังคมประกอบด้วยสิทธิที่มีต่อสวัสดิการทางเศรษฐกิจ และความมั่งคง ทม่ี ตี ่อสิทธทิ ี่จะรว่ มมอื กนั และเพือ่ อาศัยอย่ใู นชวี ติ ของความศิวไิ ล ๔.3.1 ความรับผดิ ชอบทางสังคม (Social Responsibility) การเรียนรู้ของเด็กจะเร่ิมต้นจากความไว้ใจตนเอง เก่ียวกับสังคม ศีลธรรม พฤติกรรมความรับผิดชอบ ทัง้ ในและอยูเ่ หนือหอ้ งเรยี น การเรยี นรขู้ องเด็กควรทาหรือแสดงบทบาทในกลุม่ หรือมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมของชุมชน ๔.3.2 ความเก่ียวพนั ชมุ ชน (Community Involvement) การเรียนรูผ้ า่ นชมุ ชนหรือการบริการในชุมชนมี 2 สาขาของความเป็นพลเมือง มันไม่จากัดเวลาของเด็ก ท่โี รงเรียน แต่ควรรับรู้ในฐานะเป็นกลมุ่ อาสาสมคั รทไ่ี มเ่ ป็นการเมือง ๔.3.3 ความสามารถในการอา่ นและเขยี นทางการเมอื ง (Political Literacy) การเรียนของนักเรียนเก่ียวกับการทาให้ ”ชีวิตสาธารณะ” มีประสิทธิผล โดยผ่านความรู้ ทักษะ และ ค่านิยม คาว่า “ชีวิตสาธารณะ” ถูกใช้ในความรู้สึกท่ีกว้างที่สุดเพ่ือท่ีจะล้อมรอบความรู้ที่สมเหตุสมผลของการมี ส่วนรว่ มในการแกป้ ญั หาความขัดแย้ง และเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจต่อเศรษฐกิจหลักและปัญหาสังคมของทุกวัน รวมทั้งแต่ละการคาดหมายของบุคคลและการตระเตรียมสาหรับโลกของการจ้างงาน และการอภิปรายของการ จดั สรรทรพั ยากรภาครัฐและการสมเหตสุ มผลของระบบการจดั เก็บภาษี Joseph KuiFoon และ Chow–Kerry J. Kennedy(2012) เขียนบทความเรื่อง “Citizenshipand Governance in the Asian Region : Insights from the International Civic and Citizenship Education Study” โดยเขาเสนอว่า ขอบเขตเนื้อหาของการศึกษาความเป็นพลเมืองประกอบด้วย 4 อย่าง คือ 1) ประชา สังคมและระบบ 2) องค์ประกอบข้อปฏิบัติพลเมือง 3) การมีส่วนร่วมพลเมือง และ 4) อัตลักษณ์พลเมืองส่วน ขอบเขตกระบวนการความคิด คือ การรู้จัก การวิเคราะห์และการให้เหตุผล และขอบเขตพฤติกรรมอารมณ์ คือ ความ เชือ่ คา่ นิยม ทัศนคติ ความสนใจเก่ยี วกับพฤติกรรมและพฤติกรรม JaapScheerens เขียนบทความเร่ือง “Indicators on Informal learning for Active Citizenshipat School” มีสาระว่าเป้าหมายของการศึกษาสาหรับความเป็นพลเมืองมี 3 มิติ คือ มิติ 1 การรับรู้เข้าใจกับการนับถือความรู้ เก่ียวกับสถาบันประชาธิปไตย มิติ 2 เน้นการปฏิบัติจริง (pragmatic) ในอารมณ์ความรู้สึกของการกระทาและการ

- ๘๖ - ได้รับประสบการณ์ และมิติ 3 เกี่ยวกับอารมณ์ในศัพท์ของการผูกติดกับสังคมและชุมชน ซ่ึงอันหน่ึงเป็นเจ้าของ สมรรถนะการสอ่ื สารและสงั คม John Patrick เขียนบทความเรื่อง “Defining, Delivering, and Defending a Common Education for Citizenship in a Democracy” ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดการศึกษาหลักสูตรพลเมือง ที่ว่านิยาม ตามองคป์ ระกอบการศกึ ษาความเป็นพลเมอื งในระบอบประชาธิปไตย อันไดแ้ ก่ 1) ความรู้ของความเปน็ พลเมอื งและรฐั บาลในระบอบประชาธิปไตย 2) ทกั ษะท่ีเฉลียวฉลาดของความเปน็ พลเมืองในระบอบประชาธปิ ไตย 3) ทักษะการมีสว่ นรว่ มของความเปน็ พลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย (ทักษะความเป็นพลเมืองแบบ มีส่วนร่วม) 4) แนวโน้มท่ีจะกระทาการบางอย่างของความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (ความเอนเอียงของ พลเมอื ง) Joel Westheimerและ Joseph Kahne (2004) ได้เขียนบทความเร่ือง “What kind of Citizen ? The Politic of Educating for Democracy” โดยมีสาระว่านักการศึกษาและผู้กาหนดนโยบายได้ติดตามแผนงาน เพ่ิมข้ึนที่ว่าได้มีจุดมุ่งหมายทาให้ประชาธิปไตยเข้มแข็งผ่านการศึกษาความเป็นพลเมือง การเรียนรู้การบริการ และการสอน ท้ังน้ี Westheimerและ Kahneได้ให้แนวคิดที่สาคัญ 3 แนวคิดของความเป็นพลเมืองที่ดี คือ การ มุ่งเน้นความรับผิดชอบระดับบุคคล การมีส่วนร่วม และความยุติธรรมที่เน้นย้าโดยนัยทางการเมืองของการศึกษา ประชาธิปไตย อนั มรี ายละเอียดแสดงเปน็ ตาราง ดงั นี้ การม่งุ เน้นความรับผดิ ชอบ การมสี ว่ นรว่ ม ความยุตธิ รรม ระดบั บคุ คล การอธบิ าย สมาชกิ ทก่ี ระตือรือรน้ ขององค์กร การประเมินโครงสรา้ งทางสงั คม การกระทาความสามารถ รับผิดชอบในชุมชน ชมุ ชน และหรอื การปรับปรุง การเมือง เศรษฐกจิ โดยเปน็ ช่วง การทางานและการจา่ ยภาษี ความพยายาม สาคัญอนั ตรายเพื่อมองเห็น การเช่อื ฟงั กฎหมาย นอกเหนือสาเหตุพืน้ ผวิ อาสาสมคั รทจ่ี ะลงมือในเวลา ชมุ ชนที่มกี ารจดั โครงสร้างกลุ่ม การแสวงหาจากภายนอกและการ วกิ ฤติ พยายามที่จะดูแลความต้องการ ระบปุ ระเดน็ ของความไมย่ ุตธิ รรม สมมตฐิ านแกนหลัก เพอ่ื แกป้ ัญหาสังคมและปรับปรงุ จาเป็นเหลา่ นี้ สนบั สนุนการพัฒนา สงั คม ความเป็นพลเมืองทด่ี ีมี เศรษฐกจิ หรอื การทาให้สะอาด ดา้ นส่ิงแวดล้อม การรจู้ ักว่าหน่วยงานรฐั ทางาน การระบุเก่ยี วกับการเคลอื่ นไหวสังคม อยา่ งไร ประชาธปิ ไตยและการกระทาท่จี ะแก้ สาเหตุทเี่ ป็นรากปัญหา การร้จู ักกลยทุ ธ์ที่ทาให้งาน โดยสวนรวม/กล่มุ บรรลเุ ปา้ หมาย เพอื่ แกป้ ญั หาสังคมและปรบั ปรุง เพื่อแก้ปญั หาสงั คมและปรบั ปรงุ สังคม ความเปน็ พลเมืองท่ีดตี ้องมี สังคม ความเปน็ พลเมืองทดี่ ี

- ๘๗ - คุณลกั ษณะนั่นคือ ต้องมคี วาม ส่วนร่วมอย่างกระตือรือรน้ และ ตอ้ งมีคาถามการอภปิ รายและ ซอ่ื สตั ย์ รับผิดชอบต่อสังคม เอาตาแหน่งภาวะผนู้ าภายใต้การ การเปลีย่ นแปลง เพ่ือจดั ต้งั ระบบ ตลอดไปและการเป็นสมาชกิ จดั ต้ังระบบ และโครงสร้างชมุ ชน และโครงสร้างทวี่ ่ากลับมาเป็น ตลอดไปของชมุ ชน รปู แบบผลติ ซ้าของความยตุ ิธรรมมา เกนิ ไป ตารางท่ี 4 ประเภทของความเปน็ พลเมือง 4.๔ แนวทางการปฏิบัติตนเปน็ พลเมอื งดี ณฐั นนั ท์ ศริ เิ จรญิ (2555) ได้กล่าวถึง แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยควร มีแนวทางการปฏิบตั ติ น ดังน้ี ดา้ นสังคม ไดแ้ ก่ 1) การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล 2) การรบั ฟงั ขอ้ คดิ เหน็ ของผู้อนื่ 3) การยอมรับเม่ือผอู้ ่นื มีเหตุผลท่ีดกี วา่ 4) การตดั สินใจโดยใช้เหตผุ ลมากกว่าอารมณ์ 5) การเคารพระเบยี บของสังคม 6) การมจี ติ สาธารณะ คอื เห็นแก่ประโยชนข์ องส่วนรวมและรักษาสาธารณสมบัติ ดา้ นเศรษฐกิจ ได้แก่ 1) การประหยดั และอดออมในครอบครัว 2) การซื่อสัตย์สจุ รติ ต่ออาชีพทท่ี า 3) การพฒั นางานอาชีพให้ก้าวหนา้ 4) การใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 5) การสร้างงานและสรา้ งสรรค์ส่งิ ประดษิ ฐ์ใหมๆ่ เพ่อื ให้เกิดประโยชน์ต่อสงั คมไทยและสังคมโลก 6) การเป็นผ้ผู ลติ และผูบ้ รโิ ภคทด่ี ี มคี วามซอ่ื สตั ย์ ยึดมน่ั ในอดุ มการณ์ที่ดีต่อชาติเป็นสาคัญ ดา้ นการเมอื งการปกครอง ได้แก่ 1) การเคารพกฎหมาย 2) การรบั ฟังขอ้ คดิ เห็นของทุกคนโดยอดทนตอ่ ความขัดแย้งที่เกดิ ข้นึ 3) การยอมรับในเหตผุ ลทด่ี ีกวา่ 4) การซอื่ สตั ย์ต่อหนา้ ทีโ่ ดยไมเ่ ห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน 5) การกล้าเสนอความคิดเห็นต่อส่วนรวมกล้าเสนอตนเองในการทาหน้าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ สมาชกิ วุฒสิ ภา 6) การทางานอย่างเต็มความสามารถเตม็ เวลา ดังนนั้ ความเป็นพลเมืองสามารถแยกพิจารณาทาความเขา้ ใจ วา่ ประกอบดว้ ย 3 ส่วนคอื ส่วนที่ 1 คณุ ค่า ค่านยิ ม สว่ นท่ี 2 ความรู้ และส่วนที่ 3 ทักษะพฤติกรรม รายละเอยี ดดังนี้ (จากwww.thaiciviceducation.org)

- ๘๘ - คณุ คา่ คา่ นยิ ม ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและพฤตกิ รรม -รักความเปน็ ธรรมและ -สิทธมิ นษุ ยชน(เสรีภาพความ -เข้าใจผ้อู นื่ (Consider others) ความเสมอภาคและตระหนัก หลากหลาย และความเท่าเทียม) -ปฏิบตั ใิ นอยา่ งเท่าเทียมกนั ในผลรา้ ยของความไม่เปน็ ธรรม -สทิ ธทิ างสงั คมการเมืองและเศรษฐกิจ (Treat others as equal) และความไมเ่ สมอภาค -ความเท่าเทยี มทางเพศ -เรียกร้องหรอื ตอ่ สู้เพอื่ ความ -เชื่อมั่นในความเปน็ ธรรมในสังคม -ใชห้ ลักความยุตธิ รรมเปน็ พ้ืนฐาน เป็นธรรมบอกได้ว่าอะไรเปน็ -เชอ่ื ม่ันในการปฏบิ ัตติ ่อกนั สาคัญของสังคมประชาธปิ ไตย ความยตุ ิธรรมไม่ยุติธรรม อย่างเท่าเทยี ม -ร้จู ักแยกแยะไดว้ า่ อะไรคือ ในสถานการณต์ า่ งๆ -เคารพความเทา่ เทียมทางเพศ ความเป็นธรรมอะไรคือความไม่ เปน็ ธรรมและอะไรคือความเสมอ ภาคอะไรคือความไมเ่ สมอภาค เชือ่ ในเสรภี าพทีม่ ีความ -สทิ ธิมนุษยชน -เสรีภาพอย่างรับผดิ ชอบ รับผิดชอบต่อสังคม (เสรีภาพ ความหลากหลาย และ -แก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสนั ติวธิ ี -เคารพในสทิ ธแิ ละเสรภี าพ ความเทา่ เทยี ม) -ให้ความสาคัญกับสทิ ธแิ ละ ของผู้อน่ื -ความรบั ผดิ ชอบทงั้ ต่อตนเองและ ผลประโยชนข์ องผ้อู ่นื -เคารพในเสรภี าพที่จะ สังคม -รบั ผดิ ชอบผลอันเกิดจากการ แสดงออกหรือการกระทา กระทา -รบั ผดิ ชอบต่อการตัดสนิ และ -มีสว่ นร่วมกบั วิถีชุมชนด้วยการ การกระทาของตนทจ่ี ะมีผล ทางานอาสาสมัคร ต่อผู้อืน่ -รับผิดชอบต่อการตัดสินและ การกระทาของตนทจี่ ะมีผลต่อผู้อื่น -เห็นคณุ ค่าของการใช้สทิ ธิ -สทิ ธิมนษุ ยชน (เสรภี าพความ -ใชส้ ทิ ธแิ ต่ไม่ละทง้ิ หนา้ ที่ แต่ไมล่ ะท้งิ หน้าทแ่ี ละตระหนัก หลากหลาย และความเท่าเทียม) -ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายจา่ ยภาษี ในผลร้ายของการใชส้ ทิ ธิ -สทิ ธทิ างสังคม การเมอื ง และ ไปเลอื กต้งั และออกเสียงประชามติ อย่างไม่รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี เศรษฐกิจ อยา่ งมวี จิ ารณญาณท่ีดี ยดึ หลกั การใชส้ ิทธแิ ต่ไม่ละทิ้ง -กระตือรอื รน้ ในการเปน็ สงั คมแบบ หน้าท่ไี ว้เสมอ ประชาสงั คม(Civil society) -มสี ่วนรว่ มในสังคม กระตอื รือร้น ทางการเมอื ง -มภี ราดรภาพและเคารพ -สิทธิมนษุ ยชน (เสรีภาพความ -แกป้ ัญหาความขัดแยง้ ดว้ ยสันตวิ ิธี ความแตกตา่ ง หลากหลาย และความเทา่ เทียม) -ความสามารถในการอยู่และ -เหน็ คณุ คา่ ของความแตกตา่ ง -ความรูเ้ กย่ี วกบั สังคมท่ีมีความ ทางานท่ามกลางความหลากหลาย หลากหลาย แตกตา่ งทางวฒั นธรรม ทางวัฒนธรรม -เปดิ ใจกวา้ งตอ่ ความเห็นตา่ ง -ความเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เปลย่ี นแปลงความเห็นส่วนตน -การอยรู่ ว่ มกนั อย่างสมานฉันท์ และประนปี ระนอม -เคารพความเห็นทแี่ ตกต่างกัน

- ๘๙ - คุณค่า คา่ นยิ ม ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและพฤตกิ รรม ยอมรบั หลักของประชามติ และ ยอมรบั เสียงข้างน้อย -ยดึ ประโยชนข์ องสว่ นรวม -สิทธมิ นษุ ยชน (ความหลากหลาย -ปฏบิ ตั ติ ามคณุ คา่ ร่วมและ เป็นสาคญั ความเท่าเทยี ม) ความเป็นธรรมในสงั คม -มีจติ สาธารณะ -ความเขา้ ใจวา่ องค์ทางการเมือง -มสี ่วนร่วมในประชาสังคม -มงุ่ ม่ันในหลักการคนมีความคิด และรฐั จาเป็นตอ้ งมีความ -มสี ่วนร่วมในชมุ ชน ความเช่อื คุณคา่ ต่างกัน แต่ทุก รบั ผิดชอบอย่างกระตือรือร้น -มีส่วนรว่ มในชมุ ชนทางการเมือง คนกม็ ีคุณค่าเท่าเทยี มกัน เพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมายร่วมกนั การรว่ มมอื กับผู้อน่ื หรือมีสว่ นรว่ ม -เหน็ คณุ คา่ ของการใชส้ ิทธแิ ต่ไม่ -ความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั -คดิ อยา่ งมีวิจารญาณและมเี หตผุ ล ละทิ้งหน้าที่และตระหนักใน การเมือง ความสามารถในการประเมนิ ผลร้ายของการใชส้ ิทธอิ ยา่ งไม่ -ความรู้เก่ยี วกบั หลักของการเคารพ สถานะหรือการตดั สินใจ รับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ี สทิ ธแิ ละวัฒนธรรมท่แี ตกต่างกนั -แยกแยะระหว่างข้อเทจ็ จรงิ กับ - ยดึ หลกั การใช้สิทธแิ ต่ไม่ละทงิ้ ของผู้คน ความคิดเหน็ สามารถทจี่ ะประเมิน หนา้ ทไ่ี วเ้ สมอ -ร้เู กีย่ วกับการตัง้ คาถามหรอื การหา ข่าวสารต่างๆอย่างมวี จิ ารณญาณ ขอ้ มลู เพิม่ ประกอบการตดั สินใจ มที ักษะการสือ่ สารอยา่ งเปน็ กระบวนการสามารถการให้การ ตัดสนิ ใจเกิดผลในระดับรัฐ -ม่ันใจทีจ่ ะมีส่วนร่วมทาง -บทบาทของส่ือทีม่ ีต่อบุคคลและ -ตคี วามสาระจากสื่อ(ระบบการจงู การเมือง สงั คม ใจและการให้คุณคา่ / การคิดอย่าง - รจู้ ักสิทธขิ องบคุ คลทจี่ ะ -มีความรูพ้ ื้นฐานทางการเมอื ง : มีวิจารณญาณ)สามารถใชส้ อ่ื ในทาง มีส่วนรว่ ม ความหมายและความสาคญั ของ ทีถ่ กู ต้อง การเมือง -มสี ว่ นรว่ มทางการเมือง -ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกับรฐั สามารถนาความรู้พน้ื ฐานทาง (ความหมายลักษณะประเภท การเมืองไปใชไ้ ด้อยา่ งถูกต้องและ รปู แบบของรฐั ) เหมาะสมไปเลือกต้ังและออกเสียง -ระบอบการเมืองการปกครอง ประชามติอย่างมีวจิ ารณญาณทด่ี ี (ความหมาย หลักการ ลักษณะ ตดิ ตามตรวจสอบพฤติกรรมและ ประเภท รูปแบบข้อดีและข้อเสีย การทางานของนกั การเมือง ของระบอบประชาธปิ ไตยและเผดจ็ -สามารถวพิ ากษว์ จิ ารณแ์ ละตัดสนิ การ) นโยบาย ผลงานและกรณีต่างๆได้ -ระบบเศรษฐกิจ(ความหมาย อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม หลกั การ ลกั ษณะ ประเภท -สามารถนาหลกั การประชาธิปไตย รปู แบบขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของระบบ ไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ และการ ทุนนิยมและสงั คมนิยมและ ทางานได้อย่างถูกต้องและ ความสมั พนั ธข์ องระบอบการเมือง เหมาะสม การปกครองกับระบบเศรษฐกิจ -สามารถถา่ ยทอดความรูพ้ ้ืนฐาน -ความรูพ้ นื้ ฐานเกีย่ วกับกฎหมาย ทางการเมอื งไปสผู่ อู้ ่นื ได้

- ๙๐ - คุณค่า ค่านยิ ม ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและพฤติกรรม -เคารพกฎกตกิ าและกฎหมาย (ความหมายความสาคญั หลกั การ -พัฒนาคณุ ค่าทางการเมืองให้แก่ ชน่ื ชมในความหลากหลายของ สทิ ธไิ ดแ้ ก่ สิทธมิ นุษยชนและ ลกั ษณะ ประเภทและศักดิ์ของ ตนเองมีทักษะและความม่นั ใจทจ่ี ะ การประยุกตเ์ ป็นความ รับผิดชอบทง้ั ในระดับปัจเจก กฎหมาย) ประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติ และองค์กร -ประวัตศิ าสตร์การเมอื งการ ปกครองของไทย (สภาพเหตุการณ์ สาเหตผุ ลความสาคัญของ เหตกุ ารณ์ และสิง่ ท่ีได้เรยี นร้จู าก เหตกุ ารณ์) -สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญและ กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญของ ไทยในปัจจบุ นั (กลไก สถาบันและ กระบวนการทางการเมืองการ ปกครองของไทยในปจั จบุ นั ) -รู้จกั แยกแยะได้วา่ อะไรคือการ -ปฏิบัติตามกฎหมาย เคารพกฎกติกาและกฎหมายและ รวู้ ่าในสถานการณ์ใดทจี่ ะนาเรอ่ื ง อะไรคือการไม่เคารพกฎกตกิ าและ สิทธไิ ปใชใ้ นการปกปอ้ งสทิ ธิหรอื กฎหมาย การสร้างสมดลุ -ความรู้เก่ียวกับกฎกติกา กฎหมาย (ทาไมจงึ ต้องมีกฎกติกา) -บทบาทของกฎหมายในการท่จี ดั ระเบยี บสังคมและแกป้ ญั หาความ ขดั แยง้ -การดาเนนิ การที่เป็นธรรมเป็น อย่างไรเมื่ออยภู่ ายใต้กระบวนการ ของกฎหมาย -ความเป็นธรรมท่ีมีการปรบั ใช้ ในสถานการณท์ แ่ี ตกต่างกัน -กระบวนการของกฎหมายมหาชน ท่ีมกี ารปรบั เปลีย่ นโดยประชาชน และกระบวนการมสี ่วนรว่ มในสภา รัฐ และศาล ตารางที่ 5 องคป์ ระกอบของความเปน็ พลเมือง ๔.5 แนวทางการสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมือง : กรณีศกึ ษาประเทศไทย จากรายงานการศกึ ษาแนวทางการสร้างเสริมสานกึ ความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน โดยสภาพัฒนาการเมือง สถาบนั พระปกเกลา้ รว่ มมอื กบั หนว่ ยงานในพ้นื ทจ่ี ดั ทารายงานการศกึ ษาในระดบั พ้ืนที่ เชน่

- ๙๑ - กรณีภาคเหนอื : จงั หวดั ลาปาง 1) กจิ กรรมเพื่อเสริมสรา้ งสานึกความเป็นพลเมืองแกเ่ ยาวชนในจังหวดั ลาปาง ภาพรวมของการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนและภาพรวมของการ สนับสนุนส่งเสริมจากภาคส่วนต่างๆ ในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนในจังหวัด ลาปาง สว่ นใหญ่เป็นการดาเนินการจัดกิจกรรมเพ่ือการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเด็กและเยาวชน ไม่ได้ต้ังวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนโดยตรง เหมือนเช่นโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน พระปกเกล้าท่ีได้ดาเนินการในโรงเรียนบางแห่งของจังหวัดลาปาง แต่อย่างไรก็ตามการจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็ก และเยาวชนต่างๆ ท่ีได้ดาเนินการในจังหวัดลาปางนั้นท้ายที่สุดแล้วก็จะส่งผลหนุนเสริมเติมเต็มสานึกความเป็น พลเมืองของเด็กและเยาวชนได้เช่นกัน ในขณะเดียวกัน ภาคส่วนต่างๆ ที่ดาเนินการสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมการ พัฒนาเดก็ และเยาวชนหรือกิจกรรมสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน ซึ่งประกอบไปด้วย กลุ่มผู้ปฏิบัติการ กลุ่มผู้สนับสนุนงบประมาณ กลุ่มผู้สนุบสนุนวิชาการองค์ความรู้ กลุ่มผู้สนับสนุนบุคลากรวิทยากรกลุ่มผู้สนับสนุน อาคารสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดกิจกรรมต่างๆ มีความร่วมมือระหว่างกัน ตาม ภาระหนา้ ท่ี พนั ธกิจและตามความสัมพันธข์ องภาคส่วนตา่ งๆ เหล่าน้ี 2) ปัญหาอุปสรรคและปัจจัยสู่ความสาเร็จในการสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและ เยาวชน การดาเนนิ กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สานกึ ความเป็นพลเมอื งแก่เยาวชนในจังหวดั ลาปาง มีปัญหาอุปสรรคและ ความสาเร็จเกิดขึ้นมาก จากการศึกษาข้อมูลผ่านเวทีสะท้อนในการประชุมกลุ่มย่อย สามารถสรุปปัจจัยสาคัญที่ เป็นปัจจัยปัญหาอุปสรรคของการดาเนินงานสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน เกิดจาก3 ปัจจัย คือ ปัจจัยครอบครัว พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ปัจจัยการสนับสนุนของหน่วยงานองค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับงานด้านเด็กและ เยาวชน และปจั จัยโอกาสการเขา้ ถึงกจิ กรรมของเดก็ และเยาวชน สว่ นปัจจัยสาคัญท่ีเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จน้ัน เกิดจาก 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยพลังเด็กและเยาวชน ปัจจัยครอบครัว พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ปัจจัยบุคคล หน่วยงาน องคก์ ร ชมุ ชน และปัจจัยเครอื ข่ายการทางาน 3) แนวทางในการพัฒนารูปแบบกจิ กรรมเพื่อเสริมสร้างสานกึ ความเปน็ พลเมืองแก่เดก็ และเยาวชน การพัฒนาเด็กและเยาวชนเป็นงานที่ต้องอาศัยเวลาและต้องมีรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสม สอดคล้องกับ บริบทการทางานของแต่ละพ้ืนที่ ซ่ึงจาเป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมอยู่อย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้เหมาะสมทันต่อ สภาวการณ์ของเด็กและเยาวชน และสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน อย่าง รวดเร็ว จากการศึกษาพบว่า แนวทางการพฒั นารปู แบบกจิ กรรมเพ่ือสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน ในจังหวัดลาปาง ควรพัฒนารูปแบบกิจกรรมโดยเน้นการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน การบูรณาการกิจกรรมใน พื้นที่ระดับตาบล การพัฒนาเครือข่ายการทางานด้านเด็กและเยาวชน และการส่ือสารสร้างความรู้ความเข้าใจใน พ้ืนที่อยา่ งทว่ั ถึง กรณภี าคตะวันออกเฉยี งเหนือ : จังหวัดสกลนคร 1) กิจกรรมการสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชนในจังหวดั สกลนคร ในรอบ 3 ปีท่ีผ่านมา เป็นการดาเนินกิจกรรมของหน่วยงานทั้งภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน ที่ทางาน ขับเคล่ือนการพัฒนาเด็กและเยาวชน แต่พบว่าเป็นกิจกรรมที่มักจะพัฒนาแนวคิดการดาเนินงานที่เป็นลักษณะ นโยบายสว่ นกลาง เพ่อื รองรับงบประมาณ เช่น สานักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ แต่ถ้าเป็นกิจกรรม เดน่ ๆ ทเ่ี กดิ จากมมุ มองในปัญหาของเดก็ และเยาวชนและผู้ทีท่ างานกับเดก็ และเยาวชนจริงๆ จะเห็นว่ายังไม่ได้เกิด

- ๙๒ - ในหนว่ ยงานภาครัฐ กจิ กรรมทีส่ ามารถสร้างสานึกพลเมืองเด็กและเยาวชนที่เห็นผลของการพัฒนาการสร้างสานึก ความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน ท่ีมีเสียงจากกลุ่มเด็กและเยาวชน คือ กิจกรรมค่ายท่ีให้โอกาสเด็กและ เยาวชนได้คิดสร้างสรรค์กิจกรรมดีๆ และหลากหลาย โดยอยู่ภายใต้การดูแลให้คาแนะนาและได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากผู้ใหญ่ใจดี เช่น กิจกรรมของชมรมคนรักศิลป์ กิจกรรมของกลุ่มเด็กฮักถ่ิน สรุปภาพรวมผลการ สนทนากล่มุ ยอ่ ยในการสรา้ งสานึกความเปน็ พลเมืองแก่เดก็ และเยาวชนในจังหวัดสกลนคร มีสาระสาคัญ คือ การให้ นยิ ามความหมายของเด็ก เยาวชนและผู้ใหญ่ไม่ได้แตกต่างกัน ส่วนสานึก พลเมืองเด็กและเยาวชนในปัจจุบันควรจะมี ต้นแบบสานึกพลเมืองจากผู้ใหญ่ ส่วนสานึกพลเมืองของเด็กและเยาวชนนั้น ได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมค่ายที่มุ่งเน้น การพัฒนาจติ อาสา 2) ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสานึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน ในจงั หวัดสกลนคร ปัจจัยที่เป็นปัญหาและอุปสรรคในการเสริมสร้างสานึกพลเมืองแก่เด็กและเยาวชนในพื้นท่ีจังหวัด สกลนคร สรุปได้ดังนี้ 1) การขาดโอกาสในการเรียนรู้ความเป็นพลเมืองของเด็กและเยาวชน 2) พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ใหญ่ในสังคม ไม่เป็นต้นแบบที่ดีแก่ลูกหลานขาดต้นแบบผู้ใหญ่ที่ดี 3) สถาบันการศึกษาขาดความเข้าใจในการสร้าง สานึกพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน ผ่านหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และ 4) หน่วยงานท่ีดูแลด้านเด็กและ เยาวชนขาดการประสานงาน ขาดความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งของการสร้างสานกึ พลเมืองและทางานซา้ ซ้อน 3) แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสานึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน จังหวัดสกลนคร มี 2 มมุ มอง คอื มมุ มองของผู้ใหญ่ และ มมุ มองของเด็กและเยาวชน มุมมองของผ้ใู หญ่ การสร้างต้นแบบให้กับเด็กและเยาวชนผ่านส่ือต่างๆ การส่งเสริมต้นแบบคนดีโดยมี เวทีแสดงความดีเชิงประจักษ์ เชิดชูความดีคนดีเพ่ือเป็นกาลังใจแก่คนทาดี โดยเร่ิมจากระดับครอบครัวและการ พัฒนาแบบผสมผสานหลักธรรมคาสอนกับกิจกรรมในชีวิตประจาวัน รวมท้ังการบรรจุหลักสูตรการเสริมสร้าง สานกึ พลเมืองแกเ่ ดก็ และเยาวชนในทกุ ระดับการศึกษาทคี่ รอบคลุมเน้ือหาทุกวชิ า ทุกมิติ มุมมองของเดก็ และเยาวชน รปู แบบกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสานึกพลเมืองท่ีอยากเห็นและต้องการคือ การให้โอกาสได้เข้าร่วมกาหนดกรอบแนวทางเพื่อสร้างสานึกพลเมืองกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง โดยสอดแทรกกิจกรรม จิตอาสาพัฒนาสาธารณะใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชนอย่างตอ่ เนอื่ งและย่ังยนื กรณีภาคใต้ : จงั หวดั ยะลา บริบทปัญหาส่วนใหญ่ท่ีคุกคามหรือส่งเสริมการสร้างสานึกพลเมืองจังหวัดยะลา คือ เยาวชนว่างงาน เยาวชนเล่นการพนัน เยาวชนติดยาเสพติด เยาวชนขับรถช่ิง เยาวชนขาดการศึกษา ขาดทุนทรัพย์ใน การศึกษา แต่ท่ีสาคัญจากผลการวิจัย พบว่า ปัญหาสาคัญในจังหวัดยะลา คือ เยาวชนติดยาเสพติด และเยาวชนได้รับ การศกึ ษานอ้ ย สาหรบั ทผ่ี า่ นมา การดาเนนิ งานด้านการพัฒนาเยาวชนในจังหวัดยะลา จากข้อมูลประเด็นยุทธศาสตร์ของ จังหวัดยะลา สรปุ ไดว้ า่ โครงการพฒั นาเยาวชนเพ่ือสร้างงานโครงการจา้ งงานนักเรียน นักศึกษาในช่วงปิดภาคฤดู รอ้ น โครงการฝึกอาชีพแกเ่ ยาวชนในสถาบนั การศึกษาปอเนาะ โครงการมหกรรมเปิดโลกการศึกษาและอาชีพเพ่ือ การมีงานทาโครงการศูนย์ยะลาสันติสุขคืนคนดีสู่สังคม โครงการมวลชนสานสัมพันธ์สานฝันสู่อามานดามัน และ โครงการครอบครัวปอ้ งกนั ภัยแก่ไขปัญหายาเสพติด ตลอดจนมีโครงการพัฒนาเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โครงการ ทูบีนับเบอร์วัน เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่า การสร้างเยาวชนให้มีสานึกพลเมือ เร่ิมต้นจากการอบรม ดูแล เอาใจใส่ ศึกษาให้ความรู้ของครอบครัว พ่อแม่ และญาติพ่ีน้อง การได้รับการศึกษาจากสถาบันที่เยาวชนศึกษาและ

- ๙๓ - หนว่ ยงานภาครัฐทมี่ หี น้าท่เี ก่ยี วกบั เยาวชน คอื สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัดยะลา และ สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดยะลา 1) กจิ กรรมการสรา้ งเสริมสานึกความเปน็ พลเมืองแกเ่ ดก็ และเยาวชนในระดับพน้ื ที่จังหวดั ยะลา - จัดโครงการสอนภาษาไทยให้ผู้ไม่รู้หนังสือหรือผู้อ่านภาษาไทยไม่ได้ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยมคี วามเปน็ เจา้ ของประเทศมากข้ึน - โครงการสอนภาษามลายใู ห้แกท่ หารพรานเพื่อให้สามารถส่ือสารสรา้ งความเขา้ ใจกับประชาชน - โครงการสานึกรักษ์ท้องถ่ินเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพ่ือให้เยาวชนทากิจกรรมร่วมกันและเป็น โครงการทีส่ ง่ เสรมิ ปลกู จติ สานกึ ใหเ้ ยาวชนรักบ้านเกดิ รู้สกึ ความเปน็ เจา้ ของ - โครงการนาเยาวชนสู่สันติเพื่อเรยี นรู้วิธกี ารสร้างสนั ตภิ าพการจัดการความขัดแย้ง - โครงการคา่ ยเอดสแ์ ละยาเสพติด - จัดต้ังศนู ย์บรกิ ารทเี่ ป็นมติ รแก่เยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีความพอใจ มีความประทับใจรู้สึกว่าตนเอง มีความสาคญั ทาให้มคี วามรกั ต่อประเทศชาติ - จัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเพ่ือให้เยาวชนมีส่วนร่วมกับทุกฝ่ายในการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ในชุมชนทาใหเ้ ยาวชนภมู ใิ จและมคี วามรักต่อชุมชน - โครงการส่งเสริมอาชีพแก่เยาวชน เพ่ือให้เยาวชนเห็นช่องทางอาชีพในอนาคต ใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มีความรบั ผิดชอบมากขึน้ - กิจกรรมนันทนาการเช่น กิจกรรมฟุตบอลภาคฤดูร้อน และกิจกรรมออเครสตร้าเพ่ือสะท้อน การอยรู่ ว่ มกัน - โครงการสานพลังเยาวชนนาสังคมเข้มแขง็ - โครงการส่งเสริมอาชพี ให้เดก็ และเยาวชน เชน่ ปลูกผัก เลีย้ งไก่ ซ่อมรถจกั รยานยนต์ 2) ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนนิ กิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างสานึก ความเป็นพลเมอื งแกเ่ ยาวชนใน จงั หวดั ยะลา ปัญหาส่วนใหญ่ที่คุกคามหรือส่งเสริมการสร้างสานึกพลเมืองจังหวัดยะลา คือ เยาวชนขาดความ รับผิดชอบในการร่วมกิจกรรมเพื่อการพัฒนาศักยภาพและในการทาโครงการ ปัญหาความไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของ การทากิจกรรม เยาชนขาดจิตอาสาจิตสาธารณะ ปัญหาด้านยาเสพติด งบประมาณในการพัฒนาศักยภาพของเยา ชนในการทาโครงการไมต่ ่อเน่ือง การใชง้ บประมาณไม่โปรง่ ใส ขาดความเปน็ อสิ ระ 3) แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชนใน ระดับพ้ืนทจ่ี งั หวัดยะลา - กิจกรรมการสร้างเสริมสานึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน ควรดาเนินการทั้งในระบบและ นอกระบบโรงเรียน เน้นกิจกรรมการมีส่วนร่วมและสรุปบทเรียนร่วมกัน เพ่ือก่อให้เกิดการเรียนรู้และ ย้าสานกึ พลเมอื งบอ่ ยๆ เพ่อื ใหก้ ลายเป็นวัฒนธรรมของชมุ ชนต่อไป - กิจกรรมนอกหลักสูตร ท่ีทานอกเหนือกิจกรรมในชั้นเรียน นอกจากน้ี ยังรวมทั้งการให้หน่วยงาน ราชการภาคที ่ีมีหนา้ ท่เี กย่ี วกบั โครงการทเี่ ยาวชนดาเนินการ หรือบคุ คลท่ีมบี ทบาทในชุมชนมาร่วมรับรู้ เป็นสักขีพยานการ ทางานของโครงการ โดยเน้นวางระบบการทางานแบบเป็นทางการและลายลักษณ์อักษร มีกาหนดการทางานท่ีชัดเจน และมคี ณะบุคคลทีม่ ีหน้าทเี ก่ียวข้องมารว่ มตดิ ตาม

- ๙๔ - ๔.6 การศึกษาเกย่ี วกบั ความเปน็ พลเมืองในบรบิ ทตา่ งประเทศ ในหลายประเทศมีการส่งเสรมิ เรือ่ งการศกึ ษาเรื่องความเป็นพลเมือง ซึ่งแต่ละประเทศมีแนวคิดและประเด็นใน การศึกษาที่แตกต่างกัน โดยเอกสารนี้จะนาเสนอแนวคิด พร้อมทั้งประเด็นการปฏิบัติท่ีน่าสนใจท่ีเกิดข้ึนจากการ ส่งเสริมด้านความเป็นพลเมือง โดยเน้ือหาหลักนามาจากบทความของเสิศพงษ์ อุดมพงศ์ เร่ือง การศึกษาเพื่อความ เป็นพลเมือง (Civic/Citizenship Education) ในการส่งเสริมบทบาทของภาคพลเมืองในการเมืองระบบตัวแทน : แนวทางทย่ี ่ังยืนผา่ นประสบการณจ์ ากต่างประเทศ (2558) ซ่งึ มปี ระเทศท่ีน่าสนใจดงั นี้ ประเทศญป่ี นุ่ ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่อยู่ในทวีปเอเชียมีรูปแบบของรัฐเป็นรัฐเดี่ยวและปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ในระบบรัฐสภามีองค์พระจักรพรรดิหรือกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นาในการบริหารประเทศ เช่นเดียวกับประเทศไทย (ชานาญ จันทร์เรือง, 2554) ในปีคศ. 2013 ได้รับการจัดอันดับด้านความเป็นประชาธิปไตย (Democracy Ranking) เป็นอันดับ 20 ของโลก (แคมป์เบลล์และคณะ Campbell et.al., 2013) นับเป็นประเทศ ประชาธปิ ไตยในฝ่ังเอเชยี เพยี งไม่กปี่ ระเทศท่ีไดร้ บั การประเมนิ อยู่ในอนั ดบั ต้นๆ ของโลก การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองในประเทศญี่ปุ่น คือ การพัฒนาพลเมืองผู้ซ่ึงจะสร้างสังคม ประชาธปิ ไตยในอนาคต ซง่ึ ประชาธิปไตยมีท้ังทางตรงและทางอ้อมความ เป็นพลเมืองมีทั้งรูปแบบเสรีนิยมและรัฐ นิยม จึงมีความหลากหลายและความยากท่ีจะนิยามคานี้ให้มีความหมายที่ครอบคลุมได้ในระดับนโยบายเรื่อง การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองนั้นอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงหลัก 2 กระทรวง คือ กระทรวง สาธารณสุข แรงงาน และสวัสดกิ าร และกระทรวงศึกษาธิการ วฒั นธรรม วิทยาศาสตร์ กฬี า และเทคโนโลยี โดยที่รัฐบาลมีการกาหนดแผนนโยบายการพัฒนาเด็กและเยาวชนข้ึนในปีคศ. 2003 โดยได้กล่าวถึง หลักการสาคัญ 4 ขอ้ สาหรับการจัดการศึกษาเพ่อื ความเปน็ พลเมอื งของญีป่ ่นุ ประกอบด้วย 1) สนบั สนนุ ความเปน็ อสิ ระทางสังคม 2) สนบั สนุนให้ได้รับประสบการณ์ตามความตอ้ งการของแต่ละบุคคล 3) ปรับเปลย่ี นมมุ มองของเยาวชนในฐานะสมาชกิ ทก่ี ระตือรือรน้ ของสังคม 4) กระตุ้นใหเ้ กิดบรรยากาศท่ีเปน็ อิสระและมีการอภิปรายไดอ้ ยา่ งเปิดกวา้ งในสังคม ในปีคศ. 2006 มีการปฏิรูปพระราชบัญญัติการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของญ่ีปุ่น ซึ่งนับตั้งแต่ปี คศ. 1947 ทย่ี งั ไมเ่ คยมกี ารปฏิรปู แต่หลักการที่สาคัญประการหนึ่งที่ยังคงไว้อยู่ในพระราชบัญญัติโดยที่มิได้มีการเปลี่ยนแปลง มี ใจความสาคัญในวรรคแรกวา่ เป้าหมายของการศึกษาทส่ี าคัญ คอื การศกึ ษาจะกอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาบุคลิกภาพโดย สมบูรณ์ พยายามอย่างหนักในการสั่งสอนขัดเกลาบุคคล มีจิตใจท่ีสดใสร่างกายท่ีสมบูรณ์เป็นผู้ซ่ึงรักในความถูก ต้องและความยุติธรรม เคารพในคุณค่าของตนเอง เคารพผู้ใช้แรงงาน มีความตระหนักต่อความสานักรับผิดชอบ อย่างลึกซ้ึง ซึมซับจิตวิญญาณที่เป็นอิสระในฐานะเป็นผู้สร้างสันติภาพแห่งรัฐและสังคม ซ่ึงเป้าหมายที่กาหนดขึ้น นั้น เปน็ ประเด็นสาคัญทจ่ี ะสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนเป็นพลเมอื งอยา่ งแท้จรงิ มีการส่งเสริมเร่ืองจิตสาธารณะ ซึ่งนาไปสู่การมีส่วนร่วมอย่างอิสระในการสร้างสังคมพร้อมท้ังการ พัฒนาทัศนคติที่มีต่อความต้องการรับผิดชอบต่อการเติบโตของสังคม ซึ่งปัจจุบันทาให้ประชาชนในประเทศ มจี ิตสาธารณะ สามารถเหน็ ได้ในหลายๆ เหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ขึน้ ในประเทศญีป่ ุ่น การศึกษาความเป็นพลเมืองถูกบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแต่ในระดับประถมศึกษา เนื้อหาวิชาพลเมอื งเปน็ ศูนยก์ ลางของการสรา้ งความเป็นพลเมือง โดยอาศัยฐานของการตระหนักในประชาธิปไตยและ

- ๙๕ - ความร้คู วามเข้าใจในสิทธมิ นษุ ยชน และความหมายและแนวคิดในเรอื่ งความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ “สร้างความ เชือ่ มโยงกับครอบครัวและชุมชน สร้างให้นักเรียนมีความตระหนักว่ามนุษย์เป็นจุดเริ่มต้นท่ีสาคัญของสังคม สร้าง ให้นักเรียนมีความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องส่วนตัวและสังคมความมีศักดิ์ศรีของต นเองในระบบ ครอบครัวแบบร่วมสมัย ความเท่าเทียมทางเพศ และสร้างให้เยาวชนตระหนักถึงความสาคัญของแบบแผน ประเพณีของชวี ติ ในสงั คม การรกั ษาขนบธรรมเนยี มและความสานกึ รบั ผดิ ชอบของแต่ละบุคคล” ประเด็นศึกษาเกยี่ วกับหน้าที่พลเมืองในประเทศญีป่ ุ่น สาหรับประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยคร้ัง แต่ละคร้ังมีความรุนแรงและ สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็นจานวนมาก แต่จากความยากลาบากจากสิ่งท่ีเกิดขึ้น ก็ได้เกิดส่ิงที่ น่าสนใจจากพฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความเปน็ พลเมือง ท้ังในส่วนของความรับผิดชอบต่อสังคม จิตสาธารณะ ความ มวี ินัย และอื่นๆ โดยจะนาเสนอเป็นเรื่องราวส้ันๆ เพื่อง่ายต่อการทาความเข้าใจ ดังน้ี โดยเนื้อหานามาจากบทความ เรือ่ ง “เร่ืองราวดๆี ของคนญป่ี ุ่นยามภาวะฉุกเฉนิ ”(“เรือ่ งราวดีๆ”, 2554) กรณีท่ี 1 ที่สวนสนุกแห่งหนึ่ง เกิดเหตุการณ์ซึ่งทาให้นักท่องเท่ียวจานวนมากไม่สามารถออกไป ข้างนอกได้ และทางร้านขายของก็ได้เอาขนมมาแจกนักท่องเท่ียว มีนักเรียนช้ันมัธยมปลายหญิงกลุ่มหน่ึงไปเอามา เป็นจานวนมาก ซึ่งมากเกนิ กว่าท่ีจะบริโภคหมด ข้าพเจา้ รู้สกึ ทนั ทีวา่ “ทาไมเอาไปเยอะ” แต่วินาทีต่อมากลายเป็น ความรู้สึกต้ืนตันใจ เพราะ “เด็กกลุ่มนั้นเอาขนมไปให้เด็กๆ ซึ่งพ่อแม่ไม่สามารถไปเอาเองได้ เนื่องจากต้องอยู่ดูแล ลกู จากเหตกุ ารณน์ ี้แสดงใหเ้ ห็นถึงความเอ้ือเฟ้ือ การชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกนั และมีความรับผิดชอบต่อผ้อู ่ืน กรณีที่ 2 ในซุปเปอร์มาร์เก็ตแห่งหนึ่ง มีของตกระเกะระกะเต็มพื้นเพราะแรงแผ่นดินไหว แต่คนท่ีเข้า ไปซื้อของได้ชว่ ยกนั เก็บของข้นึ ไว้บนชนั้ แลว้ กห็ ยบิ ส่วนที่ตนอยากซื้อไปต่อคิวจา่ ยเงนิ จากเหตุการณ์น้ีแสดงให้เห็นถึงความเป็นระเบียบเรียบร้อย การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และ มีความรับผดิ ชอบตอ่ ผอู้ นื่ กรณีท่ี 3 ในจังหวัดจิบะเกิดแผ่นดินไหวบ้านเรือนพังเสียหาย คุณลุงคนหนึ่งท่ีหลบภัยอยู่ก็ได้เปรย ออกมาว่า ต่อจากนี้ไปจะเป็นอย่างไร เด็กหนุ่ม ม.ปลาย ก็ตอบกลับไปว่า “ไม่เป็นไรครับ ไม่ต้องห่วง ต่อจากน้ีไปเม่ือ เป็นผูใ้ หญ่ พวกผมจะทาให้มนั กลับมาเหมอื นเดมิ แนน่ อน จากเหตุการณ์น้ีแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนบ้านเกิด มีความคิดท่ีจะสร้างชุมชนบ้านเกิด กลบั มาใหเ้ หมอื นเดิม ไมย่ อ่ ท้อตอ่ ความยากลาบาก กรณีท่ี 4 หลังจากเกิดเหตุการณ์สึนามิครั้งใหญ่ อาคารบ้านเรือนพังเสียหาย ประชาชนไม่มีท่ีอยู่อาศัย และอาหารไมเ่ พียงพอตอ่ การบรโิ ภค มกี ารแจกจ่ายอาหาร ประชาชนไม่มีการแย่งอาหารกัน ประชาชนต่อแถวเพ่ือ รับอาหารอย่างเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) ต้ังอยู่ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี มีระบบการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย โดยมีประมุขของประเทศ คือ ประธานาธิบดี ซ่ึงได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็น หัวหน้าฝ่ายบริหาร และมีนายกรัฐมนตรี ซ่ึงได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา (กระทรวงการต่างประเทศ, 2556) เกาหลีใต้เป็นประเทศในเอเชียเพียงไม่ก่ีประเทศที่ได้รับการจัดอันดับด้าน ความเปน็ ประชาธิปไตย (Democracy Ranking) ติด 1 ใน 30 ของโลก โดยได้เป็นอันดับ 26 จากการประเมินปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook