Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

P.4

Published by janvisitk022532, 2019-05-14 03:03:23

Description: P.4

Search

Read the Text Version

- 98 - แบบประเมินการเขียนวิเคราะหข์ ่าว รายการ เลขที่ ชื่อ - สกุล เขยี นไดต้ รง เขียนแยกแยะ เขยี นมีเหตผุ ล การใช้ภาษาได้ การลาดบั สรปุ ผล ประเด็น ประเด็กได้ ประกอบอย่าง เหมาะสม ความคดิ การประเมิน ชดั เจน เหตกุ ารณอ์ ย่าง ๑๐ คะแนน ๒ คะแนน ๒ คะแนน เหมาะสม ๒ คะแนน ตอ่ เนอ่ื ง ๒ คะแนน ๒ คะแนน ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ผา่ น ไมผ่ า่ น เกณฑ์การประเมนิ ผ้ปู ระเมนิ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ) ลงชือ่ // ( /

- 99 - แบบสงั เกตพฤติกรรม เรื่อง ซอื่ สตั ย์ สุจรติ คาชแ้ี จง การบันทึกให้ทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกับพฤติกรรมท่เี กดิ ขนึ้ จริง รายการ รจู้ ัก แยกแยะ สรปุ ผล เลขท่ี ชอ่ื - สกลุ พดู ไมล่ กั ตรงไป ทาตวั ประโยชน์ การประเมนิ ความ ขโมย ตรงมา นา่ เชือ่ ถอื สว่ นตน จรงิ กบั ประโยชน์ ผ่าน ไม่ผ่าน ส่วนรวม เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ประเมนิ ปฏบิ ัติตัง้ แต่ ๓ รายการ ถือวา่ ผา่ น ) ปฏบิ ตั ิ ๒ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน // ลงชือ่ ( /

- 100 - แผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ หน่วยท่ี ๓ ช่อื หนว่ ย STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เรื่อง ตอ่ ต้านทจุ ริต เวลา ๑ ชัว่ โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นการทุจริต ๑.๒ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้ทู ี่ STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต ๑.๓ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ ริต ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 นกั เรยี นสามารถบอกผลเสียของการทุจริตได้ 2.2 นักเรียนสามารถบอกการกระทาทเ่ี ปน็ การต่อตา้ นการทุจรติ ได้ ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ ๑) ความหมายของการต่อต้านการทุจริต การต่อต้านการทุจริต หมายถึง การไม่สนับสนุนกิจการของกลุ่มหรือบุคคลท่ีกระทาการโดยมิชอบใน การแสวงหาผลประโยชน์ 3.2 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคดิ 3.3 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ซือ่ สตั ย์สจุ รติ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ๑) ครูเล่าข่าวเกี่ยวกับปัญหาการทุจริต เร่ือง “จาคุกทายาทซัมซุง 5 ปี ในคดีทุจริต” แล้วถาม นักเรยี น ดงั น้ี ๑.๑ ผลเสยี ของการทุจริตมอี ะไรบา้ ง ๑.๒ ถ้านกั เรยี นเปน็ ทายาทซัมซุงคนน้ี นกั เรียนจะทจุ รติ หรือไม่ เพราะเหตุใด ๒) ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ เร่อื ง “รปู แบบการทุจริต” แล้วทาแผนผงั ความคดิ ๓) ครูอธิบายความหมายของการต่อต้านการทุจริตและยกตัวอย่างการกระทาท่ีแสดงถึงการต่อต้าน การทจุ รติ ทุกรูปแบบ ๔) ครูแบง่ นักเรยี นออกเป็น ๔ กลุ่ม ให้แสดงบทบาทสมมติ เรื่อง การต่อต้านการทุจริตรูปแบบต่าง ดงั นี้ กล่มุ ท่ี ๑ เนอ้ื หาเกี่ยวกบั การต่อต้านการทจุ ริตในการจานาข้าวของรฐั บาล กลุ่มที่ ๒ เนอ้ื หาเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจรติ การเลือกตั้งนายก อบต. กล่มุ ท่ี ๓ เนอื้ หาเกีย่ วกับการต่อต้านการทจุ ริตโครงการต่าง เช่น โครงการสรา้ งทางรถไฟ เปน็ ตน้ กลุ่มท่ี ๔ เน้ือหาเก่ียวกับการต่อต้านการทุจริต การใช้อานาจหน้าท่ีแสวงหาผลประโยชน์ เช่น ข้าราชการทหารรับเงินใต้โต๊ะ เพอ่ื รับฝากเข้าทางาน

- 101 - ๕) ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปเก่ยี วกบั ลักษณะการกระทาที่แสดงออกให้เห็นถึงการต่อต้านการทุจริต เช่น นักเรียนเห็นเจ้าหน้าที่ตารวจจราจรกาลังรับเงินจากคนขับรถฝ่าไฟแดง นักเรียนโทรแจ้ง ๑๙๑ หรือบอก ผปู้ กครอง ผู้ใหญ่ เปน็ ตน้ ๖) ครูให้นักเรียนทาใบงาน เร่ือง ผลเสียของการทุจริตและการกระทาท่ีเป็นการต่อต้านทุจริต แล้ว นาไปจดั ปา้ ยนเิ ทศ 4.2 ส่ือการเรยี นรู้ ข่าว “จาคกุ ทายาทซมั ซุง 5 ปี ในคดีทจุ รติ ” ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ ีการประเมิน ๑) ตรวจใบงาน เรือ่ ง ผลเสยี ของการทจุ รติ และการกระทาทีเ่ ปน็ การต่อตา้ นทุจริต ๒) สงั เกตการแสดงบทบาทสมมติ ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการซ่อื สัตย์สจุ ริต ๕.๒ เครอ่ื งมือที่ใช้ในการประเมิน ๑) แบบให้คะแนนการตรวจใบงาน เร่ือง ผลเสียของการทุจริตและการกระทาที่เป็นการต่อต้าน ทุจริต ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมซื่อสัตยส์ ุจรติ 5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั 3 หมายถึง ดมี าก ระดับ ๒ หมายถึง ดี ระดบั ๑ หมายถึง พอใช้ ๖. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................ ครผู ูส้ อน (...........................................................)

- 102 - ขา่ ว เรื่อง “จาคุกทายาทซัมซงุ 5 ปี ในคดที จุ ริต” นายลถี กู กล่าวหาว่าบรจิ าคเงินจานวน 41 พันล้านวอน ให้กับองค์กรการกุศลของนาง นางชเว ซูน ซลิ เพื่อนสนทิ ของประธานาธิบดปี กั ซงึ่ ถูกรัฐสภาเกาหลใี ต้ลงมติถอดถอนไปเม่ือเดือน ธ.ค.ที่ผ่านมา โดยซัมซุง ถกู กลา่ วหาว่าบริจาคเงินให้องคก์ รแห่งน้เี พ่อื แลกเปลี่ยนกับผลประโยชน์ที่บริษัทจะได้จากโครงการของรัฐบาล แต่นายลแี ละบรษิ ทั ซมั ซงุ ยนื ยันว่าไม่เคยกระทาความผิดใด ซ่ึงศาลเกาหลีใต้สั่งจาคุกนายลี แจ-ยอง ทายาท มหาเศรษฐบี ริษทั ซมั ซุง เปน็ เวลา 5 ปี ในความผดิ ฐานคอรร์ ปั ชัน

- 103 - ใบงาน เรื่อง ผลเสียของการทจุ รติ และการกระทาที่เปน็ การตอ่ ตา้ นการทุจริต ชอื่ ......................................................................................................ช้ัน..........................เลขท่ี.................. คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑. จงบอกผลเสียของการทจุ ริตอย่างนอ้ ย ๓ ขอ้ ๑. ______________________________________________________________ ๒. ______________________________________________________________ ๓. ______________________________________________________________ ๒. จงบอกวธิ กี ารหรือการกระทาท่เี ปน็ การต่อตา้ นการทุจรติ อยา่ งนอ้ ย ๓ ข้อ ๑. ______________________________________________________________ ๒. _____________________________________________________________ ๓. _____________________________________________________________

- 104 - แบบสังเกตพฤติกรรม เร่อื ง ซือ่ สัตย์ สุจริต คาชแี้ จง การบันทึกให้ทาเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั พฤตกิ รรมท่ีเกดิ ขน้ึ จรงิ รายการ รจู้ ัก แยกแยะ สรปุ ผล เลขท่ี ช่ือ - สกลุ พดู ไมล่ กั ตรงไป ทาตัว ประโยชน์ การประเมิน ความ ขโมย ตรงมา น่าเชอ่ื ถือ ส่วนตน จรงิ กบั ประโยชน์ ผา่ น ไมผ่ ่าน สว่ นรวม เกณฑ์การประเมิน ผ้ปู ระเมิน ปฏบิ ตั ิ ๓ รายการขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน ) ปฏบิ ัติ ๒ รายการ ถอื ว่า ไมผ่ า่ น // ลงชือ่ ( /

- 105 - แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๓ ชือ่ หนว่ ย STRONG /จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ ริต ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑ ช่ัวโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เร่อื ง มงุ่ ไปข้างหน้า ๑. ผลการเรยี นรู้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนสามารถ ๒.๑ เพื่อให้นักเรียนบอกความหมายของการมุ่งไปข้างหนา้ ได้ ๒.๒ เพือ่ ใหน้ กั เรียนบอกความหมายของความพอเพียงได้ ๒.๒ เพื่อใหน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งบุคคลทดี่ ารงชวี ิตอยู่อยา่ งพอเพียง ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ การมงุ่ ไปข้างหน้าหมายถึง การพัฒนาต่อยอดเรื่องการตอ่ ต้านการทุจรติ โดยใช้ชีวติ อยา่ งพอเพยี ง เหน็ ประโยชนส์ ่วนตนมากกวา่ ประโยชน์ส่วนรวม ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ / ค่านิยม อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ๑) ครูใหน้ กั เรยี นดภู าพไรน่ าสวนผสมทป่ี ระสบผลสาเร็จ ๒) ครตู ั้งคาถามใหน้ ักเรียนตอบ ดังตอ่ ไปน้ี ๒.๑ นกั เรยี นเหน็ อะไรในภาพ ( ภาพทด่ี ินถูกแบ่งเปน็ ไรน่ า สวน บ่อนา้ และบ้าน) ๒.๒ ชาวนาในภาพมีความมุ่งมน่ั ในการทางานของตวั เองหรือไม่ อย่างไร ( มคี วามมุ่งมัน่ เพราะตงั้ ใจที่จะยนื หยดั ดว้ ยตนเอง ) ๒.๓ จากภาพ นอกจากความมุ่งมั่นแล้ว ชาวนายงั มีความโดดเดน่ ในด้านใดอีก ( ยึดมั่นในเศรษฐกจิ พอเพยี ง ) ๓) ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ รว่ มกันอภิปรายถึงเร่ืองเศรษฐกจิ พอเพียง ๔) ครูอธิบายเพิ่มเตมิ ว่า ความมงุ่ มนั่ ในการทางานควรอยู่บนพนื้ ฐานของความพอเพียง เพราะหาก บุคคลใดมุ่งมั่นทางานโดยเบยี ดเบยี นผูอ้ นื่ การทางานนน้ั ยอ่ มส่งผลเสียมากกวา่ ผลดี ๕) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเกย่ี วกับการอยู่อยา่ งพอเพยี ง แลว้ ทาใบงาน ๖) ครนู าแบบสารวจพฤตกิ รรมนกั เรยี นมาใหน้ กั เรียนประเมนิ ตนเอง 4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) ภาพไรน่ าสวนผสม ๒) ใบงาน

- 106 - ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธกี ารประเมนิ ๑) สงั เกตจากการตอบคาถาม ๒) ตรวจผลงาน ๒.๑ ใบงาน ๒.๒ แบบประเมนิ พฤติกรรมความพอเพยี ง ๕.๒ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมิน แบบสงั เกตพฤติกรรมความพอเพยี ง 5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไปถือว่าผา่ น ๖. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)

- 107 - ภาพไร่นาสวนผสม

- 108 - ใบงาน คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นผงั ความคดิ แสดงถึงการอยู่อย่างพอเพยี ง

- 109 - แบบสงั เกตพฤติกรรมความพอเพียง ที่ พฤติกรรม ระดับปฏิบัตกิ าร ประจา บางครงั้ น้อยครงั้ ไมท่ าเลย (๓) (๒) (๑) (๐) ๑ ใช้ทรัพยส์ ินต่าง ของตนเอง เชน่ เงิน ส่ิงของ เคร่ืองใช้ อยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดแู ลอย่างดี ๒ ใช้ทรพั ยากรของสว่ นรวมอย่างประหยดั คุม้ ค่าและเก็บ รักษาดแู ลอย่างดี ๓ ไม่ใชส้ ง่ิ ของเกินฐานะและความจาเปน็ ๔ แบง่ ปนั สิ่งของใหเ้ พ่ือนทข่ี าดแคลน ๕ ไมอ่ ยากได้ของผ้อู ื่นมาเป็นของตน ๖ รู้จกั เกบ็ ออม ๗ ไม่เอาเปรียบผ้อู น่ื และไม่ ทาให้ผอู้ นื่ เดือดร้อน ๘ วางแผนการเรยี น การทางานและการใชช้ วี ิต ประจาวัน บนพนื้ ฐานของความพอเพยี ง ๙ รู้เทา่ ทนั การ เปลยี่ นแปลง ของสังคม และสภาพ แวดลอ้ มยอมรับ และปรับตวั เพ่อื อยู่ รว่ มกับ ผูอ้ ืน่ ได้ อยา่ งมีความสขุ ๑๐ เห็นประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสนิ ดเี ย่ยี ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๑๕-๑๘ คะแนน ดี ได้คะแนนรวมระหว่าง ๑๑-๑๔ คะแนน พอใช้ ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง ๕-๑๐ คะแนน ปรบั ปรุง ไดค้ ะแนนรวมต่ากวา่ ๕ คะแนน ผปู้ ระเมิน  ครู  พ่อแม/่ ผปู้ กครอง  ตนเอง  เพอ่ื น ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน (.................................................)

- 110 - แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ หนว่ ยที่ ๓ ชอ่ื หน่วย STRONG /จติ พอเพียงต่อต้านการทจุ รติ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ เร่ือง ความเอือ้ อาทร เวลา ๑ ช่ัวโมง ๑. ผลการเรยี นรู้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรยี นสามารถ ๒.๑ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นบอกความหมายของความเอื้ออาทรได้ ๒.๒ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นยกตัวอย่างของความเอือ้ อาทรได้ ๒.๓ เพือ่ ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้มคี วามเอือ้ อาทร ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ความเอื้ออาทรหมายถึง ความเอ้ือเฟื้อ ความเอื้ออารี ความมีน้าใจ ตัวอย่างความเอื้ออาทร ได้แก่ การดูแล การมนี ้าใจช่วยเหลอื กัน และความห่วงใยซงึ่ กนั และกัน ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ / คา่ นิยม มจี ิตสาธารณะ ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ ๑) ใหน้ กั เรยี นดูภาพนิทานเรื่องราชสีหก์ บั หนู ๒) ครูเล่านิทานเรือ่ งราชสีหก์ ับหนใู หน้ ักเรียนฟัง ๓) ใหน้ กั เรียนบอกข้อคิดที่ได้จากการฟัง เชน่ หนมู ีนา้ ใจช่วยราชสีห์ ๔) ใหน้ กั เรียนอา่ นนิทานเรื่องมดกับนกเขาจากใบความรู้ ๕) ให้นักเรียนร่วมกนั สรปุ ข้อคดิ ทีไ่ ด้จากเร่ืองที่อ่าน เชน่ นกเขาช่วยเหลอื มดให้ข้ึนจากน้า ๖) ครูอธิบายเชื่อมโยงความเขา้ ใจใหน้ กั เรียนฟังถึงความหมายของความเอ้ืออาทรวา่ หมายถงึ ความ เอ้ือเฟ้ือ ความเอ้อื อารี ความมนี ้าใจ เราสามารถนาแบบอย่างไปประยกุ ตป์ ฏิบตั ิในการดาเนนิ ชีวติ ได้ ๗) นกั เรยี นบอกวธิ ีปฏิบัติตนของนักเรยี นท่แี สดงถึงความเอ้อื เฟ้ือ โดยเขียนลงในใบงานที่ ๑ ๘) สุ่มนักเรยี นนาเสนอวิธีปฏิบตั ิตนเปน็ ผเู้ อื้ออาทร 4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) ภาพนิทานเรื่องราชสีหก์ ับหนู 2) ใบความรู้ นทิ านเรื่อง ราชสหี ์กบั หนู ๓) ใบความรู้ นทิ านเรื่อง มดกับนกเขา ๔) ใบงานที่ ๑ บอกวธิ ปี ฏิบัติตนของนักเรียนทีแ่ สดงถึงความเอ้ือเฟ้ือ

- 111 - ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ ีการประเมนิ สงั เกตจากการบอกข้อคดิ ทไ่ี ด้จากการฟังนทิ านเรื่องราชสหี ์กบั หนูและเร่ืองมดกบั นกเขา และการ ปฏิบตั ิตนเป็นผ้มู ีความเออื้ อาทรในโรงเรียน ๕.๒ เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการประเมิน ๑) แบบสังเกตการบอกข้อคิดทไ่ี ด้จากการฟังและอา่ นนิทาน ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรม 5.3 เกณฑ์การตดั สิน นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไปถอื ว่าผ่าน ๖. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ................................................ ครูผ้สู อน (.................................................)

- 112 - นิทานเรอ่ื งราชสีห์กบั หนู มรี าชสีหต์ วั หน่ึงนอนพักผ่อนยามบ่ายอย่างมีความสุข แต่ต้องสะดุ้งตื่นข้ึนมาเพราะมีหนูตัวหนึ่งข้ึนมา วง่ิ ไต่ตามลาตวั โดยไมร่ ู้วา่ เป็นรา่ งของเจ้าปา่ ราชสหี ์ใชอ้ ุง้ เท้าตะครุบเอาไว้ดว้ ยความโกรธเกรี้ยว ขณะจะลงมือ สังหารหนูน้ันเองก็ได้ยินเสียงหนูกล่าวคาวิงวอนขึ้นว่า“ท่านผู้เป็นราชาแห่งสัตว์ท้ังปวง ได้โปรดไว้ชีวิตข้าสัก ครั้งเถิดท่าน เพราะตัวข้านั้นทาผิดไปโดยหารู้ไม่ ตัวข้านั้นมิได้มีเจตนาดูหม่ินท่านแม้แต่อย่างใด” “ฮึ..ก็ได้ ใน เม่อื เจา้ ไม่ไดม้ เี จตนาข้าก็จะปล่อยไปสักคร้ังหน่ึงแล้วเจ้าอย่ามากวนใจอีกล่ะ” ราชสีห์ไม่อยากได้ชื่อว่ารังแกผู้ ทอ่ี อ่ นแอกวา่ จงึ ยอมเลกิ รา “บุญคุณในครงั้ นข้ี ้าจะไมล่ ืมเลยตราบช่ัวชีวิตของข้า หากมีโอกาสในวันหน้าข้าต้อง ตอบแทนท่านอย่างแน่นอน ถ้าท่านมีเร่ืองเดือนร้อนอันใดหละก็ โปรดส่งเสียงคาราม ข้าจะรีบมาหาท่าน ในทันท”ี “ ฮะ..ฮะ..ฮะ..” ราชสีหห์ ัวเราะลัน่ ป่า “สตั ว์ตัวเล็ก เช่นเจ้าจะทาอะไรให้ข้าได้ ไป..รีบไปให้พ้นข้า จะได้นอนต่อเสียที”หลังจากน้ันไม่นาน ในขณะท่ีราชสีห์ออกล่าเหยื่อเกิดพลาดท่าเสียทีไปติดกับบ่วงของ นายพรานเข้า ดิ้นอย่างไรก็ไม่สามารถหลุดออกไปได้จึงได้ส่งเสียงร้องล่ันป่า หนูจาเสียงของราชสีห์ได้จึงรีบมา ช่วยกดั บ่วงของนายพรานจนขาด ราชสีหจ์ ึงได้เปน็ อสิ ระอีกครั้ง นิทานเรอื่ งนี้สอนใหร้ ูว้ า่ อยา่ ดถู ูกคนท่ีตา่ ต้อยกว่าตน คนที่อยูด่ ้วยกนั ควรมีน้าใจเอ้ืออาทรต่อกัน สังคมจะไดม้ คี วามสุข -

- 113 - นทิ านอสี ป เรือ่ ง มดกับนกเขา ในวันที่ป่าแห้งแล้งขาดแคลนน้า มดยักษ์ตัวหนึ่งที่กาลังกระหายน้าอย่างมาก พยายามที่จะไต่ไปกิน ตามบนน้าพุที่ไหลเชี่ยว ด้วยความที่เขาตัวเล็กจึงพลาดตกลงไปและไหลไปตามลาธาร มดยักษ์ตัวนั้นพยายาม ตะเกียกตะกายขึน้ ฝ่งั จนเจา้ นกตวั หนง่ึ เห็นเขา้ จงึ คาบใบไม้ทิ้งลงไปในนา้ ใหเ้ จ้ามดยกั ษเ์ กาะ “ขอบใจเจา้ มากนะ” เจ้ามดยักษ์กล่าวขอบคุณนกในความช่วยเหลอื ในคร้ังน้ี “ไม่เปน็ ไรหรอก ชีวติ ใครใครกร็ ัก” เจา้ นกกลา่ วตอบ “ขา้ รมู้ าว่าแถวนนี้ ายพรานเยอะนะ เจ้าไมก่ ลวั ถูกล่าหรอ” “ข้าแคแ่ วะมาหาอาหารเทา่ นั้นแหละ เด๋ยี วกไ็ ปแลว้ ” เจ้านกบอกพรอ้ มกบั ก้มลงหาอาหารตามพ้นื เพราะมวั แตห่ าอาหารอยู่ทาให้เจ้านกตัวน้ีไม่ได้สังเกตดูว่า ภยั กาลงั มาถงึ ตัวแต่ดีท่ีว่ามีเจา้ มดยกั ษ์อยู่เป็นเพ่อื นด้วยเลยช่วยเหลอื ไดท้ นั เวลา ระหวา่ งทก่ี าลงั สนทนากันมด ยักษเ์ หลอื บไปเห็นนายพรานคนหน่ึงกาลังใช้ตาข่ายเหว่ียงจับนกตัวน้ี เห็นดังนั้นมดยักษ์จึงรีบว่ิงไปกัดเท้าของ นายพรานเขา้ ทาให้เขาเหว่ียงตาข่ายผดิ ทาง เจ้านกได้ยนิ เสยี งร้องล่ันดว้ ยความเจ็บปวดของนายพรานจึงบินหนี ไปเพือ่ เอาชวี ติ รอด สว่ นเจ้ามดกร็ บี วง่ิ หนีไปกอ่ นจะโดยนายพรานเหยียบตายเพราะด้วยความมีน้าใจของนกทา ใหม้ ดยกั ษไ์ ดต้ อบแทนความชว่ ยเหลอื ทาให้ต่างคนต่างมีชวี ติ รอด คตสิ อนใจจากนทิ านอีสปเรื่องนี:้ “การมีนา้ ใจช่วยเหลือผ้อู ืน่ ย่อมไดร้ บั ความดตี อบแทน” ทีม่ า : http://www.charuaypontorranin.com/ http://dnfe5.nfe.go.th/download/80storytelling.pdf

- 114 - แบบประเมนิ คณุ ธรรมความเอ้อื อาทร ผ้ปู ระเมนิ  นกั เรยี น  ครู  ผู้ปกครอง คาชี้แจง โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงในแตล่ ะข้อรายการต่อไปนี้ทต่ี รงกบั ระดับความคิดเห็นของผ้ปู ระเมนิ ตามเกณฑใ์ นการพิจารณาดังน้ี ระดับ 5 หมายถึง นักเรยี นปฏบิ ตั ไิ ดค้ รบท้ัง 6 ดา้ น ระดบั 4 หมายถึง นักเรียนปฏิบัติได้ครบ 5 ดา้ น ระดบั 3 หมายถงึ นกั เรียนปฏิบัติได้ครบ 4 ด้าน ระดับ 2 หมายถึง นกั เรยี นปฏิบตั ไิ ดไ้ ม่ครบ 4 ดา้ น โดยมี 1 – 2 ด้าน ที่ตอ้ งชี้แนะกากบั และ ควบคมุ ระดบั 1 หมายถึง นกั เรียนปฏบิ ัตไิ ด้ไม่ครบ 4 ดา้ น โดยมี 3 – 4 ดา้ น ทีต่ ้องช้แี นะกากับและ ควบคมุ พฤติกรรมการปฏิบตั ิ ท่ี รายการพฤตกิ รรม ระดับ ระดบั ระดบั ระดับ ระดบั 5 4321 ๑ เอือ้ อาทรผู้อน่ื และกตญั ญูกตเวที 1 นักเรียนมคี วามเอื้อเฟ้ือเผือ่ แผ่ มนี ้าใจ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื 2 นกั เรยี นมีพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการเปน็ ลูกที่ดี (รวมถึงผปู้ กครองและ ผมู้ พี ระคุณ) 3 นกั เรียนมีพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการเปน็ นักเรียนท่ดี ี 4 นกั เรียนปฏบิ ัติตนบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม 5 นักเรยี นมีความโดดเด่นด้านบาเพ็ญประโยชน์ 6 นกั เรียนมีความโดดเด่นดา้ นอ่ืน อีกอย่างน้อย 1 ด้าน รวมจานวนความถี่ในแต่ละระดับคุณภาพ สรปุ ผลการประเมิน สรุปผลการประเมนิ ............................................................................................................................. .........................

- 115 - แบบสังเกตข้อคิดทีไ่ ด้จากการฟงั และการอ่านนทิ าน ช่อื สกลุ ราชสหี ก์ ับหนู มดกบั นกเขา คะแนนท่ไี ด้ สรปุ บอกถกู บอกไมถ่ กู บอกถูก บอกไม่ถูก (๑๐) ผา่ น ไมผ่ า่ น รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน บอกถกู ให้ ๕ คะแนน บอกไมถ่ กู ให้ ๐ คะแนน เกณฑก์ ารประเมิน ตอบถูก ๑-๒ เรือ่ ง ถอื ว่า ผา่ น ตอบไม่ถูกท้ัง ๒ เร่ือง ถือว่า ไม่ผ่าน

- 116 - หนว่ ยท่ี ๔ พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม

- 117 - แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๔ ชือ่ หน่วย พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การเคารพสิทธหิ น้าท่ตี ่อตนเองและผู้อ่ืนที่มีตอ่ ครอบครัว เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรูค้ วามเข้าใจ เกยี่ วกับพลเมืองและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นักเรียนบอกบทบาทหน้าท่ขี องสมาชิกในครอบครัวได้ ๒.๒ นักเรียนบอกแนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิหนา้ ท่ขี องสมาชิกในครอบครัวได้ ๒.๓ นักเรียนบอกผลทไี่ ด้รบั จากการปฏบิ ัตติ นในการเคารพสิทธหิ น้าท่ขี องสมาชกิ ในครอบครัวได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ สิทธใิ นครอบครัวและความเปน็ ส่วนตัว เป็นสิทธิท่ีชาวไทยทุกคนได้รับตามรัฐธรรมนูญ ทุกครอบครัว ย่อมมีสิทธิจัดการภายในครอบครัวของตนเอง ในการนาพาครอบครัวไปในด้านต่าง ตามความต้องการของ ตนเองได้ โดยจะต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของไทย รวมท้ังจะต้องไม่เป็นการ รบกวนสิทธคิ รอบครวั ของบุคคลอื่น ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๓.๓ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม ๑) มวี นิ ยั ๒) ใฝเ่ รยี นรู้ ๓) มุ่งมั่นในการทางาน ๔) รักความเป็นไทย ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้นั การเรียนรู้ ๑) ช่ัวโมงท่ี ๑ ๑. นาขา่ ว พอ่ ทารา้ ยลกู มาอ่านใหน้ ักเรยี นฟัง ๒. ให้นกั เรยี นรว่ มกันตอบคาถามต่อไปน้ี ๒.๑ นกั เรยี นฟังขา่ วน้แี ล้วมีความรสู้ ึกเชน่ ไร ๒.๒ การกระทานีน้ ักเรียนชอบหรอื ไม่ชอบ ๒.๓ นักเรียนคดิ ว่าจะเกิดผลอย่างไรกบั ทั้ง ๒ คนบ้าง ๓. นักเรียนอา่ นใบความรู้ เรื่อง การเคารพสิทธิหน้าทีต่ ่อตนเองและผ้อู ่ืนท่ีมีตอ่ ครอบครวั ๔. แบ่งนักเรียนเปน็ กลุม่ กลมุ่ ละประมาณ ๔-๕ คน ร่วมกนั อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ คน้ หา ขอ้ มูล ตอบคาถามลงในใบงานที่ ๑ เร่อื ง การเคารพสิทธหิ นา้ ท่ตี ่อตนเองและผอู้ น่ื ที่มตี ่อครอบครวั

- 118 - ๒) ชว่ั โมงที่ ๒ ๑. นกั เรยี นฟังเพลง ครอบครัวสุขสันตจ์ าก YouTube แล้วรว่ มกันร้อง ๑-๒ เทีย่ ว ๒. นกั เรียนวาดภาพ หวั ข้อ “ครอบครวั สขุ สนั ต์” พร้อมบรรยายใตภ้ าพ ๓-๕ บรรทัด และ ระบายสีใหส้ วยงาม ๓. ครูตรวจผลงานนกั เรยี น ๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้ ๑) ข่าวพ่อทารา้ ยลกู ๒) ใบความรู้ เร่ือง การเคารพสิทธหิ น้าท่ี ตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน ทม่ี ตี ่อครอบครวั ๓) ใบงานที่ ๑ เรื่อง การเคารพสิทธิหนา้ ท่ี ตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน ที่มตี ่อครอบครัว ๔) YouTube เพลง ครอบครวั สขุ สนั ต์ ๕) กระดาษ / สี ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมิน ๑) ตรวจใบงาน ๒) ประเมนิ ชิ้นงานการวาดภาพ ๕.๒ เคร่อื งมือในการประเมิน ๑) ใบงาน เรื่อง การเคารพสิทธิหน้าท่ี ตอ่ ตนเองและผู้อนื่ ทม่ี ตี อ่ ครอบครวั ๒) แบบประเมินผลงานนักเรียนเรอื่ ง การวาดภาพครอบครวั สขุ สันต์ ๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน ๑) การตรวจใบงาน รอ้ ยละ ๘๐ ถอื วา่ ผา่ น ๒) ประเมนิ ผลงานการวาดภาพ คะแนน ๖ – ๙ ถอื วา่ ผ่าน ๖. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ.................................................ครูผูส้ อน (.................................................)

- 119 - แบบประเมนิ ผลงานนกั เรียน เร่ือง การวาดภาพครอบครวั สุขสนั ต์ เลขท่ี ช่อื -สกุล รายการประเมิน รวมคะแนน ผลการ เนอื้ หา ความสวยงาม ประเมนิ ๓๒๑๓๒๑ บรรยายภาพ ผ่าน/ไม่ผา่ น ๓๒๑ ลงชอ่ื ................................................ประเมิน (.................................................) เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน ๖ - ๙ ถือว่าผา่ น เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน ประเด็นทป่ี ระเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับคุณภาพ ๑. เนอื้ หา ๓๒ ๑ ๒. ความสวยงาม ๓. บรรยายภาพ ตรงตามหัวขอ้ สื่อ ตรงตามหวั ข้อส่ือ ตรงตามหัวข้อส่ือ ความหมายไดม้ ากที่สดุ ความหมายไดป้ าน ความหมายได้ค่อนขา้ ง กลาง น้อย ความสวยงามระดบั ความสวยงามระดับ ความสวยงามค่อนขา้ ง มาก ปานกลาง น้อย เน้ือหาสัมพนั ธ์กบั ภาพ เนื้อหาสัมพันธ์กบั ภาพ เนื้อหาไม่สัมพันธ์กบั ภาพ มากที่สุดครบตามท่ี ปานกลางครบตามที่ และไม่ครบตามทกี่ าหนด กาหนด กาหนด

- 120 - ใบความรู้ การเคารพสทิ ธิของตนเองและผ้อู ื่นทีม่ ีต่อครอบครัว ครอบครัวประกอบด้วย พอ่ แม่ ลูก ทุกครอบครัวมีสิทธิท่ีจะได้รับความคุ้มครอง ตามรัฐธรรมนูญ เช่นเร่ืองการใช้ความรุนแรงการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม หมายความว่า พอ่ แม่ และลูก จะตอ้ งไมใ่ ช้ความรุนแรง หรอื ปฏิบัติตามกนั อย่างไมเ่ ป็นธรรม สามี ภรรยา จะต้องเคารพและรับฟังความเห็นของกันและกัน ไม่ตัดสินปัญหา โดยใช้กาลัง สั่งสอนบุตรโดยใช้เหตุผล ไม่ใช้การแก้ไขพฤติกรรมด้วยการเฆ่ียนตี เลี้ยงดู ดว้ ยความเข้าใจ บุตรต้องเคารพเช่ือฟังบิดา มารดา มีสิทธิเสรีภาพในการกแสวงหาความสุข ส่วนตัว แต่ต้องอยู่ในของเขตและไม่ทาให้เกิดความเดือดร้อนหรือสร้างปัญหาใด ให้แก่ บดิ ามารดา สิทธิในครอบครัวและความเป็นส่วนตัว เป็นสิทธิที่ชาวไทยทุกคนได้รับตาม รัฐธรรมนูญ ทุกครอบครัวย่อมมีสิทธิจัดการภายในครอบครัวของตนเอง ในการนาพา ครอบครัวไปในด้านต่าง ตามความต้องการของตนเองได้ โดยจะต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย วัฒนธรรมและประเพณอี นั ดีงามของไทย รวมท้ังจะต้องไม่เป็นการรบกวนสิทธิครอบครัว ของบคุ คลอนื่

- 121 - ใบงานที่ ๑ การเคารพสิทธิของตนเองและผอู้ น่ื ทม่ี ีตอ่ ครอบครวั คาช้แี จง ให้นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑. จงบอกบทบาทหนา้ ทข่ี องสมาชกิ ในครอบครัว คนละ ๓ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน บิดา มารดา บุตร ๑. ๑. ๑. ๒. ๒. ๒. ๓. ๓. ๓. ๒. จงบอกแนวทางการปฏิบัตติ นในการเคารพสิทธหิ น้าท่ี ของสมาชิกในครอบครวั คนละ ๓ หัวข้อ ข้อละ ๑ คะแนน บิดา มารดา บุตร ๑. ๑. ๑. ๒. ๒. ๒. ๓. ๓. ๓. ๓. ผลท่ไี ด้รบั จากการปฏิบัตติ นในการเคารพสิทธิหนา้ ที่ของสมาชกิ ในครอบครัวมอี ะไรบา้ ง (๑๐ คะแนน) ๑. ๖. ๒. ๗. ๓. ๘. ๔. ๙. ๕. ๑๐. สมาชิกกลมุ่ ที่ ....... ๑......................................................................เลขที.่ ........ชนั้ .................. ๒......................................................................เลขที่.........ชนั้ .................. ๓......................................................................เลขท.ี่ ........ชน้ั .................. ๔......................................................................เลขที่.........ชนั้ .................. ๕......................................................................เลขที่.........ชน้ั ..................

- 122 - แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ หนว่ ยที่ ๔ ชื่อหนว่ ย พลเมอื งกับความรับผิดชอบต่อการทจุ รติ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั พลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นกั เรียนสามารถบอกความหมายของ ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย ขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถแสวงหาข้อมูลเก่ียวกบั ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย ขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ กฎ คือ ข้อบังคับ ที่อยู่ในความเป็นจริง เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและ ชีวิต ระเบียบ วินัย น้ันเป็นสงิ่ ซง่ึ มีความสาคัญยิ่ง โดยเฉพาะกับนักเรียนหรือเยาวชน อันจะเป็นกาลังอย่างมากในการพัฒนา ประเทศ ระเบยี บวินัย คือ คุณสมบตั ิทส่ี าคญั ในการดาเนินชวี ิต ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์ และพฤติกรรมของตนเอง ให้เป็นไปตามท่ีมุ่งหวัง โดยเกิดจากการสานึก ซึ่งต้องไม่กระทาการใด อันเป็นผล ทาให้เกดิ ความยุ่งยากแก่ตนเองในอนาคต หากแต่ต้องเป็นส่ิงที่ก่อให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่ตนเองและผู้อื่น โดย กติกา คือ กฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือข้อกาหนด ท่ีบุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายข้ึนไปใช้เป็นหลักปฏิบัติเพ่ือให้ เกดิ ความเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝา่ ย กฎหมาย คือ กฎท่สี ถาบนั หรือผ้มู อี านาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือท่ีเกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็น ทีย่ อมรับนับถอื เพื่อใชใ้ นการบริหารประเทศ เพื่อใชบ้ ังคบั บคุ คลให้ปฏบิ ตั ิตาม ๓.๒ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ซ่อื สัตยส์ ุจริต ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้ันตอนการเรียนรู้ ๑) ช่ัวโมงท่ี ๑ ๑. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็น ๔ กลุ่ม ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ และสรุปความรู้เป็นแผนผังความคิด ดงั น้ี กลุ่มที่ ๑ เรื่อง ระเบียบ กลุ่มท่ี ๒ เรอ่ื ง กฎ กลมุ่ ที่ ๓ เร่ือง กตกิ า กลุม่ ท่ี ๔ เรอื่ ง กฎหมาย ๒. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานแผนผงั ความคดิ หนา้ ช้นั เรียน

- 123 - ๓. ครตู ดิ แผนภูมกิ ติกาในหอ้ งเรยี นแล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั บอกวา่ มขี ้อตกลง กตกิ า อะไรบ้าง ๔. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ค้นคว้าเก่ียวกับระเบียบ กฎ กติกา กฎหมายขององค์กรหรือ หน่วยงานต่าง แลว้ สรปุ เพื่อนาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี นในชัว่ โมงตอ่ ไป ดงั น้ี กลุ่มที่ ๑ เร่ือง กฎ / ระเบียบการใช้หอ้ งสมดุ กลุ่มท่ี ๒ เร่ือง กฎ / ระเบยี บการใชส้ นามเดก็ เล่น กลุ่มที่ ๓ เรือ่ ง กฎ / ระเบยี บของสถานทรี่ าชการ กลุ่มที่ ๔ เร่ือง กฎ / ระเบียบการใช้พ้ืนที่สวนสาธารณะ ๒) ชัว่ โมงที่ ๒ ๑. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานท่ีไปค้นคว้าหน้าช้ันเรียน พร้อมทั้งบอกผลดีของการ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย และบอกผลเสยี ของการไม่ปฏิบัติตามระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย ๒. ครแู บง่ นักเรยี นเปน็ ๒ กลุ่ม ดังน้ี กลมุ่ ที่ ๑ ใหบ้ อกผลดขี องการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ กติกา กฎหมาย แล้วจดั ทาเปน็ แผนภูมิ กลุ่มที่ ๒ ใหบ้ อกผลดีของการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ กติกา กฎหมาย แล้วจดั ทาเปน็ แผนภมู ิ ๓. ใหน้ ักเรียนนาเสนอผลงาน ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การปฏิบัติตนตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย ของสังคมจะ ทาให้คนเป็นคนดี มีระเบียบ สังคมก็จะสงบสุข และประเทศชาติจะสามารถพัฒนาได้รวดเร็ว ก้าวทัน อารยประเทศ ๕. ครูใหน้ ักเรียนนาแผนภูมไิ ปติดป้ายนเิ ทศภายในบริเวณโรงเรียน ๔.๒ สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งเรียนรู้ ๑) ใบความรู้ เรอ่ื ง ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายขององคก์ รหรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๒) แผนภูมิกตกิ าของหอ้ งเรยี น ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมิน ตรวจผลงานการทาแผนภูมเิ กยี่ วกบั ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายขององคก์ รหรอื หนว่ ยงานต่าง ๕.๒ เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน ๑) แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานการทาแผนภูมิเก่ียวกับ ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมายขององค์กร หรือหนว่ ยงานต่าง ๒) แบบสังเกตพฤตกิ รรม เรือ่ ง ซอ่ื สตั ย์ สุจริต ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินรอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ๖. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................................... ............................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ............................................ ลงชอื่ ................................................ ครผู ู้สอน (...........................................................)

- 124 - ใบความรู้ เรอ่ื ง ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย ระเบียบวนิ ยั คือ คุณสมบัตทิ ี่สาคญั ในการดาเนินชีวติ ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์ และพฤติกรรม ของตนเอง ให้เป็นไปตามทม่ี ุ่งหวงั โดยเกิดจากการสานึก ซึ่งต้องไม่กระทาการใด อันเป็นผลทาให้เกิดความยุ่งยากแก่ ตนเองในอนาคต หากแตต่ อ้ งเปน็ ส่งิ ที่ก่อให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองแกต่ นเองและผอู้ น่ื โดย กฎ คอื ข้อบังคับ ที่อยูใ่ นความเป็นจรงิ เพื่อไม่ใหเ้ กิดความเสียหายต่อทรพั ยส์ นิ และ ชีวิต ระเบียบวินยั น้นั เป็นส่ิงซ่ึง มคี วามสาคัญยิ่ง โดยเฉพาะกับนกั เรียนหรือเยาวชน อนั จะเป็นกาลงั อย่างมากในการพัฒนาประเทศ กติกา คอื กฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลง หรอื ข้อกาหนด ท่ีบคุ คลตั้งแต่ ๒ ฝา่ ยไปใช้เปน็ หลักปฏิบตั เิ พือ่ ให้เกิดความ เป็นธรรมแกท่ ุกฝา่ ย กฎหมาย คอื กฎที่สถาบัน หรือผู้มอี านาจสงู สุดในรัฐตราขนึ้ หรือที่เกิดขึน้ จากจารีตประเพณีอันเปน็ ที่ ยอมรบั นบั ถอื เพื่อใชใ้ นการบรหิ ารประเทศ เพ่อื ใชบ้ ังคับบุคคลใหป้ ฏบิ ตั ติ าม

- 125 - แบบสังเกตพฤตกิ รรม เร่ือง ซอื่ สตั ย์ สุจริต คาช้ีแจง การบันทกึ ให้ทาเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องทีต่ รงกบั พฤติกรรมท่ีเกดิ ขึ้นจรงิ รายการ รู้จกั แยกแยะ สรุปผล เลขที่ ชื่อ - สกลุ พดู ไม่ลัก ตรงไป ทาตวั ประโยชน์ การประเมิน ความ ขโมย ตรงมา นา่ เชื่อถอื ส่วนตน จริง กบั ประโยชน์ ผ่าน ไมผ่ ่าน สว่ นรวม เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ประเมนิ ผา่ นตั้งแต่ ๓ รายการ ถือวา่ ผ่าน ) ผ่าน ๒ รายการ ถือว่า ไม่ผา่ น /// ลงชื่อ (

- 126 - แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๔ ช่ือหน่วย พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคม ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๓ ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่อื ง ความรบั ผดิ ชอบ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนสามารถ 2.1 บอกความหมายของการมีความรับผิดชอบ 2.3ยกตวั อยา่ งการปฏบิ ัติตนท่แี สดงถึงความรบั ผดิ ชอบได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ความหมายของความรับผดิ ชอบ ความรบั ผิดชอบคอื การปฏบิ ัติตนเป็นผมู้ คี วามรับผิดชอบ มวี นิ ัยตอ่ ตนเอง กระทาได้ โดยการปฏิบัตหิ นา้ ท่ที ี่ตนได้รบั มอบหมายในฐานะนักเรยี น และการเป็นบตุ รในครอบครัว ดว้ ยความตงั้ ใจไดเ้ ปน็ อย่างดี เชน่ - การตงั้ ใจเรยี นหนงั สอื - ดแู ลตนเองในกิจวตั รประจาวนั - เชื่อฟงั คาสง่ั สอนของพ่อแม่ - มาโรงเรียนให้ทันเวลา - ชว่ ยพ่อแมท่ างานบ้าน 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) ความสามารถในการคิด 3.3 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านยิ ม คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ๑) ชว่ั โมงท่ี 1 ๑. นักเรียนดวู ดี ิทศั น์ เรอ่ื งรู้จกั หน้าท่ี นักเรยี นช่วยกันวเิ คราะห์ว่า ตัวละครในเร่ืองดังกล่าวมีการ กระทาใดท่ีแสดงออกถึงการมีความรบั ผดิ ชอบหรือไม่ แลว้ สง่ ผลกระทบตอ่ ส่ิงใดบา้ ง ๒. นักเรยี นดูแผนภาพความคิดเพ่ือศึกษาความรู้การปฏิบัติตนเป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีวินัยต่อ ตนเองจาก แลว้ ช่วยกนั สรุป การปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้มู ีความรบั ผิดชอบ มวี นิ ัยต่อตนเอง แล้วให้นักเรียนแสดงความ คดิ เห็นถึงผลกระทบจากการกระทาของบุคคลในภาพวา่ ส่งผลต่อสังคมละประเทศชาติอยา่ งไร ๓. นักเรียนดูวิดีโอ เรื่อง ความรับผิดชอบ และครูต้ังคาถามร่วมกันสนทนาเนื้อหาในวิดีโอเร่ือง ความรับผดิ ชอบ ๔. ครู และนักเรียนช่วยกันสรุป ความหมายของความรับผิดชอบว่า “ความรับผิดชอบ คือการ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีวินัยต่อตนเอง กระทาได้ โดยการปฏิบัติหน้าที่ท่ีตนได้รับมอบหมายใน ฐานะนกั เรียน และการเป็นบุตรในครอบครัวดว้ ยความตงั้ ใจไดเ้ ป็นอย่างดี”

- 127 - ๒) ชัว่ โมงท่ี ๒ ๑. นกั เรียนจบั กลมุ่ ๕ – ๗ คน ทาใบงานเร่ือง สดุ ยอดในตัวเรา ๒. นกั เรียนยกตวั อย่างการปฏิบตั ติ นให้เป็นผมู้ ีความรับผิดชอบตอ่ โรงเรยี น และต่อพอ่ แม่ วา่ ตอ้ ง ปฏิบตั อิ ย่างไรบ้างโดยใหน้ ักเรียนไปค้นควา้ จากแหลง่ เรยี นรู้ต่าง ๓. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันนาเสนอผลงานกลุ่มในชน้ั เรียนโดยครชู ่วยแนะนาเพิม่ เตมิ ในแนว ทางการปฏบิ ัตติ นให้เปน็ ผทู้ มี่ ีความรบั ผิดชอบ แลว้ ทาใบงานเรื่อง เร่ือง สดุ ยอดในตัวเรา ๔. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปการปฏิบตั ติ นให้เปน็ ผู้มีความรบั ผิดชอบ ๕. ครใู หน้ กั เรียนเขยี นเรียงความเรอื่ ง “ความรับผิดชอบของฉัน” ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบ “การปฏิบัตติ นตามความรับผิดชอบ เป็นการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ที่ตนได้รับมอบหมายในฐานะนักเรยี น และการเป็นบุตรในครอบครัวดว้ ยความต้ังใจได้ เป็นอย่างดี เชน่ - การตง้ั ใจเรยี นหนังสือ - ดูแลตนเองในกิจวตั รประจาวัน - เชื่อฟังคาสงั่ สอนของพ่อแม่ - มาโรงเรียนให้ทนั เวลา - ชว่ ยพ่อแม่ทางานบ้าน ฯลฯ” 4.2 สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) วดี โี อ เรื่องรู้จักหน้าที่ https://www.youtube.com/watch?v=GATjrfppBBA 2) วิดโี อ เรือ่ งความรบั ผดิ ชอบ https://www.youtube.com/watch?v=7kbnUOzerjg 3) ใบงานเรอ่ื ง สดุ ยอดในตวั เรา ๔) แผนภาพความคิด การปฏิบัตติ นให้มีความรับผดิ ชอบ ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วิธีการประเมิน ๑) ตรวจใบงานเรือ่ ง สดุ ยอดในตวั เรา ๒) ตรวจเรียงความ “เรอื่ งความรับผิดชอบของฉนั ” ๕.๒ เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการประเมิน ๑) ใบงานเรอ่ื ง เขาทาอะไร ? ๒) เรียงความเรอ่ื ง “ความรบั ผดิ ชอบของฉัน” 5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ๘๐ ข้ึนไป ๖. บนั ทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ลงชอ่ื ................................................ ครผู ูส้ อน (.................................................)

- 128 - แผนภาพความคิด การปฏิบัตติ นใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบ ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายให้ ทางานการบ้าน และทบทวนวิชา เสรจ็ ทันเวลา ที่เรียนมาทุกวนั ต้งั ใจเรียนหนังสอื ดูแลตนเองในกิจวตั รประจาวัน ความรับผดิ ชอบ ทาเวรประจาวนั มาโรงเรยี นทันเวลา ชว่ ยพ่อแม่ทางานบา้ น

- 129 - ใบงาน สุดยอดในตวั เรา คาชี้แจง จงตอบคาถามดังต่อไปน้ี 1. นกั เรยี นจะปฏิบตั ติ นเป็นผมู้ คี วามรับผดิ ชอบ ต่อตนเองในฐานะทเ่ี ปน็ นกั เรยี นไดอ้ ยา่ งไรบ้าง 1. ............................................................................................................................. ............................ 2. ............................................................................................................................. ............................ 3. ......................................................................................................................................................... 4. ......................................................................................................................... ................................ 5. ......................................................................................................................................................... 2. นกั เรียนจะปฏิบัตติ นเปน็ ผู้ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองในฐานะทเ่ี ปน็ ลูกของคุณพอ่ คุณแมไ่ ดอ้ ย่างไร 1. ......................................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................... ................................ 3. ......................................................................................................................... ................................ 4. ............................................................................................................................. ............................ 5. .........................................................................................................................................................

- 130 - แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ หน่วยที่ ๔ ช่ือหน่วย พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม เวลา ๓ ช่ัวโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เร่ือง ความเปน็ พลเมือง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามหน้าทีพ่ ลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ นักเรียนสามารถ 2.1 บอกความหมายของการเปน็ ผลเมืองดีได้ 2.2 ยกตัวอยา่ งการปฏิบตั ใิ ห้เปน็ พลเมืองทีด่ ีได้ ๒.๓ บอกผลเสยี ทเี่ กดิ จากการไม่ปฏิบัตติ นตามหนา้ ทข่ี องพลเมืองท่ดี ีได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ความหมายของพลเมืองที่ดี พลเมืองดี หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่พลเมืองได้ครบถ้วน ทั้งกิจท่ีต้องทา และกิจที่ควรทาหน้าที่ หมายถึง กิจที่ต้องทา หรือควรทา เป็นสิ่งท่ีกาหนดให้ทา หรือห้ามมิให้กระทา ถ้าทาก็ จะก่อให้เกิดผลดี เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว หรือสังคมส่วนรวมแล้วแต่กรณี ถ้าไม่ทาหรือไม่ละเว้น การกระทาตามท่ีกาหนดจะได้รับผลเสียโดยตรง คือ ได้รับโทษ หรือถูกบังคับ เช่น ปรับ จา คุก หรือประหาร ชวี ติ เป็นตน้ โดยท่ัวไปส่ิงทีร่ ะบุกจิ ที่ตอ้ งทา ไดแ้ ก่ กฎหมาย เป็นต้น 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ ) ความสามารถในการคดิ 3.3 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม คานงึ ถึงผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ๑) ชั่วโมงที่ 1 ๑. นักเรียนดู วีดีโอ เรื่องหักเหล่ียมคอร์รัปชั่น เริ่มท่ีคุณ...จบท่ีคุณ นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่า ตัวละครในเรื่องดังกล่าวมีการกระทาใดท่ีแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดี การกระทาใดที่แสดงว่าเป็นพลเมือง ไมด่ ี และการเป็นพลเมืองไมด่ ี มีผลกระทบตอ่ สังคมอย่างไร ๒. นักเรยี นดูภาพกจิ กรรมตา่ ง ทแ่ี สดงถึงการมีสว่ นรว่ มในสงั คม เชน่ ๒.๑ ภาพการปลกู ปา่ ๒.๒ ภาพการเลอื กตั้ง แล้วให้นกั เรยี นแสดงความคิดเหน็ ถงึ ผลกระทบจากการกระทาของบุคคลในภาพว่าส่งผลต่อ สงั คมละประเทศชาตอิ ยา่ งไร ๓. นักเรียนทาใบงานเร่อื ง เขาทาอะไร ? ๔. ครูและนักเรียนสรุปความหมายของพลเมืองท่ีดี หมายถึง “ ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีพลเมืองได้ ครบถ้วน ทง้ั กจิ ทต่ี อ้ งทา และกจิ ท่ีควรทาหน้าที่ หมายถึง กิจท่ีต้องทา หรือควรทา เป็นส่ิงที่กาหนดให้ทา หรือ ห้ามมิให้กระทา ถ้าทาก็จะก่อให้เกิดผลดี เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว หรือสังคมส่วนรวมแล้วแต่กรณี

- 131 - ถ้าไม่ทาหรือไม่ละเว้นการกระทาตามที่กาหนดจะได้รับผลเสียโดยตรง คือ ได้รับโทษ หรือถูกบังคับ เช่น ปรับ จา คกุ หรือประหารชีวติ เปน็ ต้น โดยทวั่ ไปส่งิ ท่ีระบกุ จิ ที่ตอ้ งทา ได้แก่ กฎหมาย เปน็ ตน้ ” ๒) ชวั่ โมงที่ ๒ ๑. นักเรียนจบั กลุม่ ๕ – ๗ คน ทาใบงานเรื่อง บทบาทหนา้ ทพ่ี ลเมืองท่ีดี ๒. นักเรียนยกตวั อยา่ งการปฏิบตั ติ นให้เปน็ พลเมืองที่ดี ว่าต้องปฏบิ ตั อิ ย่างไรบ้างโดยให้นักเรียน ไปค้นคว้าจากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๓. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันนาเสนอผลงานกลุ่มในช้ันเรยี นโดยครูชว่ ยแนะนาเพิม่ เตมิ ในแนว ทางการปฏบิ ตั ติ นตามบทบาทหน้าท่ีผลเมืองทดี่ ี ๔. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปการปฏิบตั ิตนใหเ้ ปน็ พลเมืองดี ๕. ครใู หน้ ักเรยี นกลุม่ เดิมช่วยกันวางแผนทากจิ กรรมรว่ มกันทีแ่ สดงถงึ การปฏบิ ตั ิตนตามบทบาท หนา้ ท่ขี องพลเมืองดีและผลเสียจากการไม่ปฏบิ ัติตามหน้าที่การเปน็ พลเมืองดีในขอบขา่ ย ดังนี้ ๕.๑ เคารพสทิ ธแิ ละเสรภี าพของตนเองและผู้อนื่ ๕.๒ ทาประโยชน์ตอ่ สงั คมและประเทศชาติ ๖. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เขียนแผนดาเนินกจิ กรรมลงในแบบบนั ทึกปฏิบัติตนพลเมอื งดแี ละผลเสยี ท่ี เกดิ จากการไม่ปฏบิ ตั ิตามหน้าทพ่ี ลเมืองดี แล้วส่งแผนดาเนินกจิ กรรมต่อครู ๗. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความเป็นพลเมืองดีว่า “บุคคลจะเป็นพลเมืองดีของสังคมน้ัน ต้อง ตระหนักถึงบทบาทหน้าท่ี ท่ีจะต้องปฏิบัติ และมุ่งม่ันเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ สอดคล้องกับหลักธรรม วัฒนธรรมประเพณี และรัฐธรรมนูญท่ีกาหนดไว้ รวมท้ังบทบาททางสังคมท่ีตนดารง อยู่ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ และได้ประสิทธิผลท้งั ในสว่ นตนและสังคม เม่ือสามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่าง ถูกต้องสมบูรณ์ย่อมเกิดความภาคภูมิใจและเกิดผลดีท้ังต่อตนเองและสังคม ด้วยการเป็นพลเมืองดีที่เคารพ กฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน มีความกระตือรือร้นที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชน และสงั คม มีคุณธรรมและจริยธรรมเปน็ หลกั ในการดาเนินชวี ติ อยา่ งผาสขุ ” 4.2 ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 1) วีดโี อ เร่อื งหกั เหลีย่ มคอร์รัปชั่น เริม่ ท่ีคุณ...จบทคี่ ณุ https://www.youtube.com/watch?v=ihrlY6zniZw 2) ใบงานเร่อื ง เขาทาอะไร ? 3) ใบงานเรือ่ ง บทบาทหนา้ ท่ีพลเมอื งดี ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วิธีการประเมิน ๑) ตรวจใบงานเรอ่ื ง เขาทาอะไร ? ๒) ตรวจใบงานเรอ่ื ง บทบาทหน้าที่พลเมืองดี ๕.๒ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน ๑) ใบงานเรอ่ื ง เขาทาอะไร ? ๒) ใบงานเรอื่ ง บทบาทหน้าท่ีพลเมอื งดี 5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ๘๐ ขึ้นไป

- 132 - ๖. บันทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)

- 133 - ใบงาน เรื่อง บทบาทหนา้ ท่ีพลเมืองดี คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนผงั มโนทศั น์แสดงถงึ บทบาทหนา้ ทผ่ี ลเมืองดีต่อโรงเรยี นและสงั คม บทบาทหนา้ ท่ี พลเมอื งดตี ่อโรงเรียน และสงั คม

- 134 - แบบบนั ทกึ ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดี คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนบันทึกปฏิบตั ติ นเป็นเยาวชนท่ดี ี โดยครอบคลมุ ในเร่ือง การทาประโยชนใ์ นโรงเรยี นและ สังคม พฤติกรรม ผลดีจากการปฏิบตั ิ ผลเสยี จากการไม่ปฏิบัติ ตวั อยา่ ง สภาพแวดล้อมดี สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม การเกบ็ ขยะใน ไมม่ ีส่งิ สกปรก บรเิ วณพืน้ ทีส่ ว่ นรวมมสี ิง่ สกปรก โรงเรียน/ชุมชน

- 135 - ภาคผนวก

- 136 - คาสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท.่ี . 646/2560 เรื่อง แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการจัดทาหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจริต ---------------------------------------- ดว้ ย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมคร้ังที่ 855-26/2560 เม่ือวันท่ี 11 เมษายน 2560 ได้ มมี ติเหน็ ชอบใหแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมการจดั ทาหลักสูตรหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสอื่ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริต เพ่ือดาเนินการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต สาหรับใชเ้ ปน็ เนอ้ื หามาตรฐานกลางใหส้ ถาบันการศกึ ษาหรือหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องนาไปพิจารณาปรับใช้ในการ เรียนการสอนให้กับกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดับช้ันเรียน เพื่อปลูกฝังจิตสานึกในการแยกแยะประโยชน์ ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง และสร้างพฤติกรรมท่ีไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการทุจริต อันเป็นการ ดาเนินงานตามยทุ ธศาสตรช์ าติว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ต้ังแต่ปฐมวัยให้ สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และกลยุทธ์ท่ี 3 ประยุกต์หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ เครอ่ื งมอื ต้านทุจริต ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามมาตรา 19 (16) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2559 จึงขอแต่งต้ัง คณะอนกุ รรมการจดั ทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดย มอี งค์ประกอบ ดงั นี้ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศริ ิ ประธานอนุกรรมการ 2. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ (นายประหยดั พวงจาปา) 3. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ (นายกิตติ ลิ้มพงษ)์ 4. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ (นายอทุ ศิ บวั ศรี) 5. ผอู้ านวยการสานกั ป้องกันการทจุ ริตภาคการเมือง อนุกรรมการ 6. ผ้อู านวยการสานกั ปอ้ งกันการทุจริตภาครฐั วิสาหกิจ อนุกรรมการ และธุรกิจเอกชน 7. ผูอ้ านวยการสานักป้องกันการทจุ ริตภาคประชาสงั คม อนกุ รรมการ และการพัฒนาเครือขา่ ย

- 137 - 8. ผู้แทนสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร อนุกรรมการ (ด้านการสร้างหลักสูตรและส่ือการเรียนรู้) 9. ผแู้ ทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน อนุกรรมการ (ด้านการสร้างหลกั สตู รและสอื่ การเรียนรู)้ 10. ผแู้ ทนสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสื่อการเรียนรู้) 11. ผูแ้ ทนสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสือ่ การเรียนรู้) 12. ผูแ้ ทนสานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา อนุกรรมการ (ด้านการสรา้ งหลกั สูตรและส่ือการเรยี นรู)้ 13. ผแู้ ทนสานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ อนกุ รรมการ การศึกษาตามอธั ยาศยั (ด้านการสร้างหลกั สูตรและสื่อการเรียนรู้) 14. ผู้แทนสานกั งานลูกเสือแห่งชาติ อนุกรรมการ (ด้านการสรา้ งหลักสตู รและสอ่ื การเรยี นรู้) 15. ผแู้ ทนทปี่ ระชมุ อธกิ ารบดีแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสื่อการเรยี นรู้) 16. ผู้แทนทปี่ ระชุมอธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ อนกุ รรมการ (ด้านการสร้างหลักสตู รและสอ่ื การเรียนรู)้ 17. ผู้แทนคณะกรรมการอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัย อนุกรรมการ เทคโนโลยีราชมงคล (ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและส่อื การเรยี นร้)ู 18. ผ้แู ทนสถาบันวชิ าการป้องกนั ประเทศ อนกุ รรมการ กองบัญชาการกองทัพไทย (ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสอ่ื การเรียนรู้) 19. ผแู้ ทนกรมยุทธศึกษาทหารบก อนกุ รรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและส่ือการเรยี นรู้) 20. ผูแ้ ทนกรมยทุ ธศึกษาทหารเรอื อนกุ รรมการ (ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสือ่ การเรยี นรู้) 21. ผ้แู ทนกรมยุทธศกึ ษาทหารอากาศ อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลกั สูตรและสื่อการเรียนรู้) 22. ผแู้ ทนกองบญั ชาการศกึ ษา สานักงานตารวจแห่งชาติ อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลกั สูตรและสอ่ื การเรียนร)ู้ 23. พลโท ดร.ชยั ฤกษ์ แก้วพรหมมาลย์ อนุกรรมการ 24. นายเสฏฐนนั ท์ อังกูรภาสวิชญ์ อนุกรรมการ 25. นายสเุ ทพ พรหมวาศ อนุกรรมการ 26. ผอู้ านวยการสานักป้องกันการทุจริตภาครฐั อนกุ รรมการและเลขานกุ าร 27. นายสมพจน์ แพ่งประสิทธิ์ ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

- 138 - 28. นางสาวกลั ยา สวนโพธ์ิ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ 29. นายสราวฒุ ิ เศรษฐกร ผชู้ ว่ ยเลขานุการ 30. นายกาญจน์บณั ฑิต สนนชุ ผู้ชว่ ยเลขานุการ 31. นายเทอดภมู ิ ทัศนพิมล ผชู้ ่วยเลขานุการ 32. นายธนวัฒน์ มะแม้น ผชู้ ่วยเลขานุการ โดยคณะอนกุ รรมการฯ มีอานาจหน้าทีด่ งั นี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ และสื่อประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจรติ 2. กาหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจรติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 “สรา้ งสงั คมไม่ทนต่อการทุจรติ ” 3. พิจารณายกร่างและจัดทาเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดยกาหนดโครงสร้างหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของรายวิชา เน้อื หาสาระ จัดระเบียบ/ลาดับของเนือ้ หาสาระ วธิ กี ารประเมินผลการเรยี นรู้ รวมท้ังอืน่ ที่เกยี่ วขอ้ ง 4. พิจารณาให้ความเห็นเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต เพ่ือให้มีเน้ือหาที่ครอบคลุมและสมบูรณ์ พร้อมท้ังนาเสนอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาให้ความเห็นชอบ ท้งั นี้ ใหด้ าเนินการแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2560 5. กาหนดแผนหรือแนวทางการนาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกนั การทุจริต ไปใช้ในหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง 6. ดาเนินการอื่น ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย ทั้งนี้ ต้ังแต่บัดน้ีเป็นต้นไป สั่ง ณ วนั ท่ี 26 เดือน เมษายน พ.ศ. 2560 พลตารวจเอก (วชั รพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

- 139 - รายชื่อคณะทางาน จัดทาหลักสตู รหรือชดุ การเรียนรู้ และส่ือประกอบการเรยี นรู้ ด้านการปอ้ งกันการทุจริต กลมุ่ การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน -------------------------------- ทีป่ รกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 1. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 2. นางสาวอษุ ณยี ์ ธโนศวรรย์ ผู้อานวยการสานักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา 3. นายสุรศกั ดิ์ อินศรีไกร ผูช้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ 4. นายอุทิศ บวั ศรี คณะทางาน กลุ่มที่ 1 หลกั สูตรปฐมวัย 1. นางธารณี พรมหนู ครู โรงเรียนอนบุ าลเสาไห้ สพป.สระบุรี เขต 1 2. นางสมบตั ร สบื ศกั ดิ์ ครู โรงเรียนอนุบาลบ่อพลอย สพป.กาญจนบุรี เขต 4 3. นางสาวนภัสสร ภริ มยร์ กั ษ์ ครู โรงเรียนอนุบาลบ่อพลอย สพป.กาญจนบุรี เขต 4 4. นางสาวลักขณา โคบตุ ร ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบุรี เขต 4 5. นางสมใจ จนี เทห่ ์ ครู โรงเรยี นวดั เก้าชั่ง สพป.สงิ หบ์ ุรี 6. นางสาวกชกร จีนเทห์ ครู โรงเรยี นวัดระนาม สพป.สงิ ห์บรุ ี 7. นางสุพกิ า ต้นสอน ครู โรงเรยี นวดั บ้านปอ้ งน้อย สพป.ราชบรุ ี เขต 2 8. นายพัฒนา พวงมาลี ครู โรงเรียนอนบุ าลเดิมบางนางบวช (วดั ทา่ ชา้ ง) สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 9. นางสภุ ัคษร พรอุดมประเสริฐ ครู โรงเรียนวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค์” สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 10. นางฐติ ิพร ศรีแจม่ ครู โรงเรยี นวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค์” สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 3 11. นางอารีย์วรรณ เข็มเงนิ ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ สพป.สพุ รรณบุรี เขต 3 กลุม่ ที่ 2 หลักสตู รประถมศกึ ษาตอนต้น 1. นางสาวสุภสั สร สุภาพ ครู โรงเรียนชลประทานอนเุ คราะห์ สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต 1 2. นางสาวกนกนพ วรัฏธร ครู โรงเรียนชลประทานอนุเคราะห์ สพป.พระนครศรอี ยุธยา เขต 1 3. นางอารี พวงวรินทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดทงุ่ คอก (สุวรรณสาธุกจิ ) สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 2 4. นางละเอยี ด สะองิ้ ทอง ครู โรงเรยี นวดั ทงุ่ คอก (สุวรรณสาธกุ จิ ) สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 2 5. นางสาวเรณู กุศลวงษ์ ครู โรงเรยี นอนบุ าลวดั อา่ งทอง สพป.อ่างทอง 6. นางสจุ ริ า อาบู ครู โรงเรยี นบา้ นนาดา สพป.นราธวิ าส เขต 1 7. นางสาววิไลวรรณ ทองไหม ครู โรงเรยี นเมอื งนราธวิ าส สพป.นราธวิ าส เขต 1 8. นางสาวนิตยา อาหมาด ครู โรงเรียนบ้านมะนังกาหยี สพป.นราธวิ าส เขต 1 9. นางสาวกัสมานี มามะ ครู โรงเรยี นบ้านบอื เจ๊าะ สพป.นราธวิ าส เขต 1 10. นางสาวนสิ ริน เทพลักษณ์ ครู โรงเรยี นบ้านโคกพนอม สพป.นราธวิ าส เขต 1 11. นายยูกิฟลี มาหะ ครู โรงเรียนบา้ นฮแู ตยอื ลอ สพป.นราธวิ าส เขต 1 12. นางสาวซาฮาเราะ เจะยิ ครู โรงเรียนบา้ นยือสาแม สพป.นราธวิ าส เขต 1

- 140 - กลุม่ ที่ 3 หลกั สตู รประถมศึกษาตอนปลาย 1. นายกติ ติพงศ์ ศรัทธาวาณชิ ย์ ผ้อู านวยการโรงเรยี นวดั นางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต 2 2. นางพรทิพย์ อิ่มศิลป์ ครู โรงเรยี นวดั สมถะ (สมถวิทยาคาร) สพป.ราชบรุ ี เขต 2 3. นางอจั ฉราวดี บญุ โต ครู โรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต 2 4. นางสาวศริ ิเพ็ญ จันทร์ทอง ครู โรงเรยี นวัดนางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต 2 5. นางสาวเสาวรส แสนแซว ครู โรงเรียนวดั นางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต 2 6. นางสมพร คานชุ ครู โรงเรียนวัดนางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต 2 7. นางรุสนานี ยะโก๊ะ ครู โรงเรียนบา้ นกูวา สพป.นราธวิ าส เขต 1 8. นางซีเตาะห์ นิมะ ครู โรงเรียนบ้านยะหอ สพป.นราธิวาส เขต 1 9. นางสนุ ทรี ทองชติ ร์ ครู โรงเรยี นสายน้าทิพย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร 10. นางสาวพชิ ญดา ไชยดี ครู โรงเรยี นสายน้าทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร 11. นางสาวศศิธร คานึง ครู โรงเรยี นสายนา้ ทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร 12. นางสาวณิชนนั ทน์ สุวรรณาภยั ครู โรงเรยี นสายน้าทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร กลมุ่ ที่ 4 หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนต้น 1. นางสาวสุธีรา ศริ ิพิรุณ ครู โรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต 2 2. นางสลิตตา มะโนวัฒนา ครู โรงเรยี นวดั นางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต 2 3. นางทวิ าพร อณุ ยเกยี รติ ครู โรงเรียนวัดดอนกระเบ้ือง สพป.ราชบรุ ี เขต 2 4. นางสาววรรณดี ศรีอินสวัสด์ิ ครู โรงเรียนชมุ ชนวดั บ้านเลอื ก สพป.ราชบุรี เขต 2 5. นางสาวฉวีวรรณ หอธรรมกุล ครู โรงเรียนบ้านลาดวิถี สพป.ประจวบครี ีขนั ธ์ เขต 2 6. นางสาวชนาธปิ เทยี นวรรณ ครู โรงเรียนบ้านตะพานหนิ (ประชาสามัคคี) สพป.ชัยนาท 7. นายวทิ ยา ศริ ดิ ารง ครู โรงเรยี นบา้ นไพรนกยงู (วันชัยประชาสรรค)์ สพป.ชยั นาท 8. นางสาวขจร สงั ข์ประเสริฐ ครู โรงเรียนบ้านหนองต่อ สพป.ชยั นาท 9. นายเมธา สรุ ะจติ ร ครู โรงเรยี นวดั บางปูน สพป.สิงห์บุรี 10. นายนพรตั น์ บญุ อน้ ครู โรงเรียนบ้านบอ่ กะปุง สพป.นครสวรรค์ เขต 2 11. นางสาวบุษยพรรณ พรหมวาทย์ จนั ทรา ครู โรงเรยี นสรุ ศกั ดมิ์ นตรี สพม. เขต 2 12. นางสาวลกั ษกิ า มีกศุ ล ครู โรงเรียนสาคลวี ิทยา สพม. เขต 3 กลุ่มที่ 5 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. นายภูธร จนั ทะหงษ์ ปุณยจรสั ธารง ผู้อานวยการกลมุ่ วิจัยและพัฒนาองคก์ รแห่งการเรียนรู้ สนก. 2. นายจกั รพงษ์ วงคอ์ า้ ย นกั วชิ าการศกึ ษา สนก. 3. นายฐาปณัฐ อุดมศรี นักวิชาการศกึ ษา สนก. 4. นายศภุ กร มรกต ศึกษานิเทศก์ สพป.ราชบุรี เขต 2 5. นายสพลกิตต์ิ สงั ข์ทิพย์ ครู โรงเรยี นตากฟ้าวิชาประสิทธิ์ ชว่ ยราชการ สนก. 6. นางสาวพรรณราย ธนสตั ยส์ ถิตย์ ครู โรงเรียนเสาไห้ “วิมลวิทยานุกลู ” สพม. เขต 4 7. นายวรินทร ตันติรตั น์ ครู โรงเรยี นหนองแคสรกจิ วิทยา สพม. เขต 4 8. นางเยาวลกั ษณ์ หงสห์ ิรญั เรอื ง ครู โรงเรยี นสายนา้ ผึ้งในพระอุปถัมภ์ สพม. เขต 2 9. นางสาวขวญั วิภา ภ่แู ส ครู โรงเรยี นอินทร์บุรี สพม. เขต 5 10. นายธรรมสรณ์ สุศิริ ครู โรงเรียนอินทรบ์ ุรี สพม. เขต 5

- 141 - 11. นางสาววิภา ทวีวงศ์ ครู โรงเรยี นชมุ ชนวดั ใหญโ่ พหกั สพป.ราชบุรี เขต 2 12. นางสาวดวงจนั ทร์ บวั เบา ครู โรงเรียนชมุ ชนวัดใหญ่โพหัก สพป.ราชบุรี เขต 2 คณะทางานส่วนกลาง 1. นายไชยวัฒน์ สุคนั ธวิภตั ิ ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. นางสาธพุ ร สุคนั ธวิภัติ ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศึกษาธิการ 3. นางสาวสรรเสรญิ สุวรรณ์ ข้าราชการบานาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร 4. นางสุณสิ าห์ มว่ งคราม ข้าราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5. นางสุจติ รา พิชยั เจ้าพนกั งานธรุ การชานาญงาน สนก. 6. นางสาวณัฐรดา เนตรสว่าง นักจดั การงานท่วั ไป สนก. 7. นางสาวมณฑาทิพย์ ศิริสุมทมุ นักจดั การงานท่วั ไป สนก. 8. นางสาวศรญั ญา โชติ พนักงานบันทึกขอ้ มูล สนก. 9. นายสหสั พล ษรบัณฑิต เจ้าหน้าทีบ่ รหิ ารทว่ั ไป สนก. 10. นายภูริตะ ปราศกาเมศ เจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารทวั่ ไป สนก. 11. นางสาวอรอุมา เสือเฒ่า เจา้ หนา้ ที่บรหิ ารทวั่ ไป สนก. ***************************

- 142 - รายชื่อคณะบรรณาธกิ ารกิจ หลักสูตรหรือชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกนั การทจุ ริต กลุม่ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน -------------------------------- ทีป่ รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 1. นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 2. นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย์ ผอู้ านวยการสานกั พฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา 3. นายสุรศักด์ิ อินศรไี กร ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 4. นายอุทศิ บัวศรี คณะทางาน 1. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ์ ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธิการ 2. นางจานงค์ ศรมี ังกร ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร 3. นายธนบดีพิพัฒน์ ดานลิ ศึกษานิเทศก์ ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ชยั นาท 4. นางณัฐพร พว่ งเฟ่ือง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณุโลก เขต 3 5. นายศภุ กร มรกต ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ราชบุรี เขต 2 6. นายวนิ ัย อสณุ ี ณ อยุธยา ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. อุดรธานี เขต 1 7. นายณฐั พล คุ้มวงศ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพป. มหาสารคาม เขต 3 8. นางเพ็ญจา เสมอเหมือน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นนทบุรี เขต 2 9. นางบังอร ควรประสงค์ ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต 17 10. นางนริ มล บวั เนียม ผอู้ านวยการโรงเรียนสายนา้ ทิพย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร 11. นายวชริ เมษฐ์ บารงุ ผดงุ วทิ ย์ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นหนองปลาตอง (ประชาวทิ ยาคาร) สพป. สกลนคร เขต 1 12. นายไกรสร พมิ พป์ ระชา ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นแบง สพป.หนองคาย เขต 2 13. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นโคกเฟือง สพป.บรุ รี ัมย์ เขต 3 14. นายบณุ ยพงศ์ โพธิวฒั น์ธนัต ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต 1 15. นางนนั ทนา ชมชื่น ผอู้ านวยการโรงเรียนผกั ไห่ “สทุ ธาประมขุ ” สพม. เขต 3 16. นางสาวปยิ นชุ เปีย่ มวริ ิยวงศ์ ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ รบั รอ่ สพป.ชมุ พร เขต 1 17. นางทิพาภรณ์ หญีตศรีคา ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นหนิ กบ สังกดั สพป.ชมุ พร เขต 1 18. นางสจุ ิตรา จรรยา ครู โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี สพป.ลพบรุ ี 19. นางสาวภณั ฑลิ า บา้ นด่าน ครู โรงเรียนคชิ ฌกูฏวทิ ยา สพม. เขต 17 20. นางสุวรรณี ศักดิ์ชยั สมบูรณ์ ครู โรงเรยี นวัดบางปูน สพป.สิงห์บุรี 21. นางลดั ดา คาวิจิตร ครู โรงเรียนวดั โบสถ์ สพป.สงิ หบ์ ุรี 22. นางสาวชัญญานุช รัตนวิชัย ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 23. นางสาวอรสา อิษฐเจรญิ ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 24. นางสาวรัตนากร ศรคี ณุ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต 1 25. นางสาวกญั ญาพัชร หมูม่ ว่ ง ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ์” สพม. เขต 1

- 143 - 26. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์” สพม. เขต 1 27. นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต 1 28. นางสาวเบญจวรรณ ศิรหิ ัตถ์ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์” สพม. เขต 1 29. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครู โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์” สพม. เขต 1 30. นางสาวสวุ รรณี สมประเสรฐิ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 31. นายบรบิ รู ณ์ พรหมสวา่ ง ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์” สพม. เขต 1 32. นางนิตยา ภิรมย์กจิ นกั ทรพั ยากรบุคคล สพร. 33. นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปุณยจรัสธารง ผ้อู านวยการกลุ่มบริหารท่ัวไป สนก. 34. นายจกั รพงษ์ วงคอ์ า้ ย นักวชิ าการศึกษา สนก. 35. นายสพลกิตติ์ สงั ข์ทิพย์ ครู โรงเรียนตากฟ้าวชิ าประสทิ ธิ์ ชว่ ยราชการ สนก. 36. นายฐาปณฐั อดุ มศรี นักวิชาการศึกษา สนก. 37. นางสจุ ติ รา พิชยั เจ้าพนกั งานธุรการ สนก. 38. นางสาวณัฐรดา เนตรสว่าง นกั จัดการงานท่ัวไป สนก. 39. นางสาวศรัญญา โชติ พนกั งานบันทกึ ขอ้ มูล สนก. 40. นายสหัสพล ษรบณั ฑิต เจ้าหน้าที่บริหารทัว่ ไป สนก. 41. นางสาวอรอมุ า เสอื เฒา่ เจา้ หน้าที่บรหิ ารท่วั ไป สนก. ***************************

- 144 - รายช่อื คณะผปู้ ระสานงาน การจดั ทาหลกั สูตรหรือชุดการเรยี นรู้และส่ือประกอบการเรยี นรู้ ด้านการป้องกนั การทุจริต กลุ่มการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงาน ป.ป.ช. -------------------------------- ท่ปี รกึ ษา 1. นายวรวทิ ย์ สขุ บญุ เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 2. นายประหยัด พวงจาปา รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ 3. นายกิตติ ล้มิ พงษ์ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 4. นายอทุ ศิ บวั ศรี ผูช้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ 5. นางสาวจินตนา พลอยภัทรภิญโญ ผอู้ านวยการสานักปอ้ งกันการทจุ รติ ภาครฐั คณะผปู้ ระสานงาน เจ้าพนักงานป้องกนั การทจุ ริตชานาญการพเิ ศษ เจ้าพนักงานป้องกนั การทุจรติ ชานาญการ 1. นายสมพจน์ แพ่งประสทิ ธ์ิ เจา้ พนักงานปอ้ งกันการทุจริตชานาญการ 2. นายสราวุฒิ เศรษฐกร เจา้ พนักงานปอ้ งกนั การทุจริตปฏิบัติการ 3. นายธนวัฒน์ มะแม้น นกั ศกึ ษาฝึกงาน มหาวิยาลัยราชภฎั จันทรเกษม 4. นายณัฐพงศ์ มณจี กั ร์ นักศึกษาฝึกงาน มหาวิยาลัยราชภัฎจนั ทรเกษม 5. นางสาว จดิ าภา แสงหริ ญั 6. นางสาววลั ภา บุญชู ***************************

- 100 - สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ เลขท่ี 361 ถนนนนทบรุ ี ตาบลทา่ ทราย อาเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์ 0 2528 4800 - 01 สายด่วน ป.ป.ช. 1205 www.nacc.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook