Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน เรื่องประวัติการทำนาของทุ่งสาคลี

รายงาน เรื่องประวัติการทำนาของทุ่งสาคลี

Published by SKW Chanel, 2022-08-22 13:09:17

Description: รายงาน เรื่องประวัติการทำนาของทุ่งสาคลี

Search

Read the Text Version

รายงาน ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 3 เลขที่11 โรงเรียน สาคลีวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึ กษามัธยมศึ กษาพระนครศรีอยุธยา

คำนำ รายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่ งของวิชา วิทยาการคำนวณ (รหัสวิชา ว23103) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ที่ได้จากเเรื่องการค้นคว้า ประวัติความเป็นมาของข้อมูลซึ่งรายงานนี้ มีเนื้ อหาเกี่ยวกับความรู้จากการค้นคว้า การทำนาของทุ่งสาคลีและประวัติที่มาของนาข้าว ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทำรายงาน เนื่ องมาจากเป็นเรื่องที่น่ าสนใจ และต้องขอขอบคุณผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความ ช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์ แก่ผู้อ่าน ทุก ๆ ท่าน หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้ ด้วยค่ะ ผู้จัดทำ เด็กหญิงสิริยากรณ์ กุหลาบวรรณ

สารบัญ หน้ า เรื่อง 1 5 ประวัติโรงเรียนสาคลี 7 ที่มาของโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนการสอนบูรณาการ บรรณนาุกรม

1 ประวัติโรงเรียนสาคลี 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งของโรงเรียน โรงเรียนสาคลีวิทยา ตั้งอยู่ที่ 73/1 หมู่ 1 ตำบลสามตุ่มสามตุ่ม อำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ 13110 สังกัดสำนั กงานเขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา พระนครศรีอยุธยา การติดต่อ โทรศัพท์ 0 3578 8463 โทรสาร 0 3578 8463 e-mail : [email protected] website : http://www.skw-ay.ac.th 1.2 คติพจน์ : คามาหิ คามะกานั ง นาถา - หมู่บ้านพึ่งตนเอง 1.3 คำขวัญ : เรียนดี มีวินั ย ใฝ่คุณธรรม ล้ำเลิศสามัคคี 1.4 สีประจำโรงเรียน : เขียว – ขาว เขียว หมายถึง ชีวิต ขาว หมายถึง ความสมบูรณ์ ความบริสุทธิ์ 1.5 ตราประจำโรงเรียน รูปล้อเกวียนรองด้วยรวงข้าว 1.6 ประวัติโรงเรียน โรงเรียนสาคลีวิทยา ได้รับการบริจาคจากชุมชน จำนวนพื้นที่จำนวน 33 ไร่ 1 งาน 70 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา เปิดสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2501 มีนั กเรียน 34 คน ครู 1 คน โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนสาคลี (ประมวญราษฎร์บำรุง) โดยมีอาจารย์สุรินทร์ กิจนิ ตชีว์ เป็นครูใหญ่ เปิดสอนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5 - ป.7) ต่อมาเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนสาคลีวิทยา” เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ.2501 และจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.1 - ม.ศ.3) และปี พ.ศ. 2540 ได้เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพิ่มจนถึงปัจจุบัน

2 1.7 เกียรติคุณโรงเรียน - ปีการศึกษา 2525 ได้รับรางวัลพระราชทานโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ของกระทรวง ศึกษาธิการ - ปีการศึกษา 2539 รับรางวัลโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและรางวัลห้องสมุดกาญจนาภิเษก - ปีการศึกษา 2545 ประกันคุณภาพระบบดูแลช่วยเหลือนั กเรียนระดับดีมาก - ปีการศึกษา 2546 รับรางวัลโรงเรียนดำเนิ นการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ - ปีการศึกษา 2547 โรงเรียนต้นแบบระบบดูแลช่วยเหลือนั กเรียน ระดับยอดเยี่ยมโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพ ระดับเหรียญเงิน - ปีการศึกษา 2548 ได้รับการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเงิน จากสาธารณะสุข จังหวัดร่วมกับสำนั กเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 - ปีการศึกษา 2548 โรงเรียนได้ผ่านการประเมินสถานศึกษาเข้ารับรางวัลพระราชทาน ระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน จากกระทรวงศึกษาธิการ - ปีการศึกษา 2549 ได้ผ่านการประเมินโรงเรียนคุณภาพในฝัน 4 ด้าน สำนั กเขตพื้นที่การศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 - ปีการศึกษา 2550 ได้การรับรองมาตรฐานการศึกษาจากสำนั กงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบ 2 อยู่ในระดับดีมาก 13 มาตรฐาน พอใช้ 1 มาตรฐาน - ปีการศึกษา 2551 ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “หนึ่ งอำเภอ หนึ่ งโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง”

3 - ปีการศึกษา 2550 - 2551 ได้รับเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 - ปีการศึกษา 2552 ได้รับเลือก เป็นโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง จากกระทรวงศึกษาธิการ - ปีการศึกษา 2556 ได้ผ่านการประเมินโรงเรียนคุณภาพการศึกษา สมศ. รอบ 3 อยู่ในระดับดีมาก - ปีการศึกษา 2556 ได้ผ่านการประเมินโรงเรียนในฝัน สำนั กเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 - ปีการศึกษา 2556 ได้เหรียญทอง 7 เหรียญ , เงิน 11 เหรียญ , ทองแดง 8 เหรียญ ในการแข่งขันศิลป หัตถกรรมครั้งที่ 63 ระดับเขตพื้นที่ (สพม. เขต 3) และได้เหรียญทอง 3 เหรียญ,เงิน 1 เหรียญ และทองแดง 1 เหรียญ ในการแข่งขันศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 63 ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก - ปีการศึกษา 2557 ได้เหรียญทอง 13 เหรียญ, เงิน 9 เหรียญ, ทองแดง 17 เหรียญ ในการแข่งขันศิ หัตถกรรมครั้งที่ 64 ระดับเขตพื้นที่ (สพม. เขต 3) และได้เหรียญทอง 1 เหรียญ, เงิน 2 เหรียญและทองแดง 1 เหรียญ ในการแข่งขันศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 64 ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก - ปีการศึกษา 2557 ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในการแข่งขันกีฬา พุ่งเหลนและขว้างจักร อายุ 18 ปีชาย จำนวน 2 รายการ เหรียญเงิน ขว้างจักร และวิ่ง 4*400 ม.อายุ18 ปีชายในการแข่งขันกีฬาปาริชาติเกมส์ - ปีการศึกษา 2557 ได้รับรางวัลเหรียญทอง กรีฑา(วิ่ง) 1500 ม. 18 ปีชาย ในการแข่งขันกรีฑา โรงเรียน ส่ วนภูมิภาค - ปีการศึกษา 2557 ได้รับรางวัล เหรียญทองแดง ในการแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับ ชั้น ม.ต้น - ปีการศึกษา 2557 ได้รับรางวัลเหรียญทองพร้อมถ้วยรางวัล ฟุตบอล 18 ปี ชาย โดยการท่องเที่ยวและ กีฬา จ.พระนครศรีอยุธยา และเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาคฯ

4 1.9 พันธกิจ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพ และเสมอภาค โดยมุ่งสั มฤทธิ์ผลที่เกิดกับผู้เรียนและสถานศึ กษาเป็นสำคัญ 1.10 อัตลักษณ์ ลูกสาคลี คิดเป็น เน้ นทำดี ตามวิถีพอเพียง 1.11 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 3) มีวินั ย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 7) รักความเป็นไทย 8) มีจิตสาธารณะ 1.12 เปิดสอนตั้งแต่ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 6 1.13 พื้นที่บริการ เขตบางนมโค : ทุกหมู่ เขตสามตุ่ม : ทุกหมู่ เขตบ้านหลวง : ทุกหมู่

5 ที่มาของโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสาคลีวิทยา สำนั กงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เป็น โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการมาช้านาน ให้เด็กเรียนรู้วิชาชีวิต เรียนรู้การทำมาหากิน โดยสืบสานอาชีพของบรรพบุรุษ ความจริง ความดี ความงามที่เกิดขึ้นคือเด็กมีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกันเป็นทีม เป็นผู้นำ เสียสละ สามัคคี อดทน เป็นคนดีของสังคม และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือการไม่ดูถูกดูแคลนอาชีพชาวนาของบรรพบุรุษ โรงเรียนสาคลีวิทยา แปลงนโยบายคุณธรรมนำความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การ ปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยบูรณาการหลากหลายสาระที่เป็นที่เป็นแก่นส่งผลต่อความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ ได้ชัดเจนแจ่มแจ้งที่หาดูได้ยากยิ่ง “อ.สุรินทร์ กิจนิ ตย์ชี อดีตผู้บริหารโรงเรียนที่นี่ ได้ปูพื้นฐานไว้ ทางโรงเรียนก็สืบสานต่อ โดยบูรณาการ ลงสู่กระบวนการเรียนรู้ด้วยการบรรจุลงไปในหลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหาร คณะครู นั กเรียน องค์กรชุมชนและผู้ปกครอง มีความเข้าใจตรงกัน ก่อนจะทำเราสำรวจสภาพปัญหาและความต้องการของชาวบ้านก่อน พบว่า “การทำนาและพืช สมุนไพร” มีความผูกพันและเป็นความจำเป็นของชาวบ้าน จากนั้ นก็ศึกษาและทำความรู้จักกับตัวเอง ให้มากขึ้น พบว่าบริบทเราเป็นอย่างนี้ เราต้องใช้ทรัพยากรเท่าที่เรามีอยู่มาเป็นพลังในการขับเคลื่อน จึงเอาคนในพื้นที่มาเป็นที่ปรึกษา เอาที่ดินที่มีอยู่เป็นสนามทดลอง เอาเด็กสาคลีมาปลุกปั้ นให้เป็น ดาวประกายจุดความคิดและต่อยอดให้ได้ อ.เกษมสิน วรรณธนะ (หัวหน้ าโครงการ) เล่าว่า ตกลงกันว่าจะใช้แนวพระราชดำริและหลักสูตรสถานศึกษามาเป็นแนวดำเนิ นการให้เป็น เอกลักษณ์ของชาวสาคลี มีความเป็นธรรมชาติ ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่เด็ก เด็กต้องกล้าคิด กล้าทำ และต้องทำอะไรได้มากมาย ตัวอย่างเช่น เด็กลงมือทำนาโดยไถนา หว่านข้าว เกี่ยวข้าวด้วยมือ ฝัด ข้าว สีข้าวและบรรจุเป็นข้าวกล้องขาย ส่วนชาวบ้านทำนาแล้วก็เอาข้าวมาสีที่โรงเรียนแล้วเก็บเอาไว้ กินที่บ้านได้ช่วยเหลือชาวนาที่ทำนาแต่ต้องไปซื้อข้าวกินด้วย ตอนแรกๆที่ทำกัน ไม่ค่อยมีเครื่องไม้เครื่องมืออะไรมาก พอทุกฝ่ายเห็นว่าทำกันจริงๆและ เห็นผล เครื่องมือ เช่น รถไถนา คราดนา สีฝัด เครื่องสีข้าว เครื่องอัดสุญญากาศ ก็ค่อยๆได้มา เรา เคยเล่นเรื่องวิชาการโดยลืมท้องถิ่น จึงเริ่มกันใหม่จากสิ่งที่ใกล้ตัว ประจวบกับสมุนไพรกำลังเริ่มจะ สูญหายไปอยู่ในมือของคนต่างชาติ ช่วยกันปลูกที่โรงเรียนและที่บ้าน ทำตู้ยาตู้อบสมุนไพร โดยมี กระทรวงสาธารณสุขมาสนั บสนุนเรื่องแพทย์แผนไทยด้วย

6 เราทำโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชีวิตจริงตอนนี้ ต่อยอดเป็นเรื่องข้าว ปลา อาหารและสุขภาพ มีการ เชื่อมโยงกับกิจกรรมอื่นๆ เด็กจะเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ด้วยการปฏิบัติจริง สืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่น เรียนรู้ทั้งเบื้องหลังและเบื้องหน้ าไป พร้อมๆกัน จะทำให้ยั่งยืน “เศรษฐกิจพอเพียง”เท่านั้ นจะช่วยให้สังคมยืนอยู่ได้” ดร.ภุชงค์ วัฒายุ ผอ.โรงเรียนสาคลีวิทยา ให้เหตุผลที่ทำโครงการนี้ ว่า “ต้องการให้เด็กมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เกิดขึ้นจากน้ำมือของเขาเอง โรงเรียน ไม่มีการบังคับ ตอนแรกที่ย้ายมาก็รู้สึกแปลกใจที่เด็กทำนา ปลูกผัก เลี้ยงปลา สุดท้ายก็เข้าใจว่านี่ คือการเรียนรู้วิชาชีวิตจริงๆ เป็นการเรียนรู้จากการลงมือทำจริง เด็กๆเมื่อได้ลงมือทำจะรูจักคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา ร่วมมือ รักสามัคคีกัน ครูและ เด็กต่างเข้าใจกัน เรียนรู้ไปด้วยกัน ลดความรุนแรงในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี โรงเรียนนี้ แปลกคือวันหยุดเด็กยังมาทำงานที่โรงเรียน เจอครูทำงานที่ไหนต้อง พากันมาช่วย ไม่หนี ครู”

7 การจัดการเรียนการสอนบูรณาการ \"ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนมาเป็นแบบบูรณาการคุณครูช่วยกันทุกคน เด็กๆได้เรียนรู้ จากการปฎิบัติจริงเป็นหลัก ที่บ้านของเด็กจะทำนาโดยใช้เครื้องแต่ที่โรงเรียนให้นั กเรียนทำ เองทุกขั้นตอน เด็กจะได้เรียนรู้ตั้งแต่การเตรียมดิน การทำนาขวัญข้าว การเก็บเกี่ยวการแปล สภาพ การเพิ่มมูลค่า การประสานงาน การะประชาสั มพันธฺ์และการจำหน่ าย เด็กได้เรียนรู้ร่วม กัน ได้ความรูั้ มีนิ สั ยรักการทำงาน ทำงานเป็นทีม ทักษะชีวิต ฝึกเด็กโดยมอบหมายงานให้เด็กๆ มีความรับผิดชอบแล้วให้เขาไปออกแบบคิดงานกันเอง ว่าจะทำไห้คำแนะนำปรึกษา ครูก็จะเรียนรู้ไปกับเด็กๆ เป็นเหมือนคนในครอบเครัวเดียวกัน

8

9 กิจกรรมการทำนาของโรงเรียนสาคลีวิทยา

บรรณานุกรม https://databopp-obecinfo https://www.gotoknow.org/posts/195293 facebook :Saklee Wittaya โรงเรียนสาคลีวิทยา

โรงเรียน สาคลีวิทยา สำนั กงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพระนครศรีอยุธยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook