ก คมู่ ือดำเนนิ โครงการ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒๕๖๔
ข คำขวญั ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน “ลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน มุง่ ประสานทำความดดี ว้ ยหัวใจ”
ก คำนำ คู่มือดำเนินโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานฉบับนี้ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติจัดทำข้ึน เพื่อให้เป็นคู่มือดำเนินการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ประกอบด้วย วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจังหวัด และผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ซึ่งจะเป็นผู้ให้ การฝึกอบรมตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน โดยสำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้น้อมนำความสำเร็จ ของ “โครงการจิตอาสาพระราชทาน” ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ร่วมกันจัดทำโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน ภายใต้การดำเนินงานจิตอาสา “เราทำความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” โดยสำนักงานลูกเสือ แห่งชาติ ได้ขอพระราชทาน “หลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” มาดำเนินการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริม ให้ลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือได้เสริมสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง บำเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ให้เป็นการถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั ประมขุ ของคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลูกเสือ และบุคลากรทางการลูกเสือได้มีโอกาสถวายงานตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน โดยนอกจากได้พระราชทาน “หลกั สตู รลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน” แล้ว ยังทรงพระราชทาน “ตราสญั ลกั ษณ์ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” เพ่ือเป็นสญั ลักษณ์ความรว่ มใจถวายงานของเหล่าลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือต่อโครงการลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน การดำเนินงานเรื่องลูกเสือจิตอาสาพระราชทานครั้งนี้ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้มีการฝึกอบรม บุคลากรทางการลูกเสือท่ีสำนักงานลูกเสือจังหวัดคัดเลือก โดยให้ทำหน้าที่เป็นวิทยากรลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจังหวัด และดำเนินการขยายผลการน้อมนำเรื่อง “จิตอาสาพระราชทาน” ไปยัง ผู้บงั คับบญั ชาลูกเสือ และลกู เสือในสถานศกึ ษาทัว่ ประเทศ สำนักงานลกู เสือแห่งชาติ กันยายน ๒๕๖๔
ข สารบัญ คำนำ หนา้ สารบญั สว่ นที่ ๑ บทนำและการบริหารจัดการฝึกอบรมโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ก ข ๑.๑ บทนำโครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๑ ๑) บทนำ ๑ ๒) วตั ถปุ ระสงค์ของคู่มือ ๑ ๓) ขอบเขตของคู่มอื ๒ ๔) คำนิยาม ๓ ๓ ๑.๒ การบริหารจดั การโครงการลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานของสำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ๔ ๑) โครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน สำนกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ ๔ ๒) การบริหารจดั การโครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๕ ส่วนที่ ๒ การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจติ อาสาพระราชทานและลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๑๕ ๒.๑ การฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๑๕ ๒.๑.๑. โครงสร้างหลกั สตู รการฝกึ อบรมบุคลากรทางการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๑๕ ๒.๑.๒ กระบวนการฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ๑๖ ๒.๒ การฝกึ อบรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานของสถานศึกษา ๓๔ ส่วนที่ ๓ การประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ๗๕ - การประเมนิ และรายงานผลโครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๗๕ - การติดตามผลการดำเนินงานการฝึกอบรมตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๙๐
ค ภาคผนวก หน้า ๑) โครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๙๒ ๒) แบบประเมนิ ผลการฝึกอบรมตามหลักสตู รและโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๓) QR Code แบบแสดงความคิดเห็นรายบคุ คล / รายวชิ า ๙๓ ๙๗ ๑๐๖ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติขอสงวนลิขสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา ส่วนหนึ่งส่วนใดในเอกสารฉบับนี้ หากท่านใดตอ้ งการคดั ลอก ทำซำ้ เผยแพร่ ต้องดำเนนิ การขออนญุ าตจากสำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ
1 ส่วนที่ ๑ บทนำและการบริหารจัดการฝกึ อบรมโครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน ................................. โครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและการบริหารจัดการฝึกอบรมบุคลา กรทางการลูกเสือจิตอาสา พระราชทานและลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประกอบดว้ ยรายละเอียดการดำเนนิ การดงั น้ี ๑.๑ บทนำโครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๑) บทนำ ๒) วัตถุประสงคข์ องคูม่ อื ๓) ขอบเขตของคมู่ อื ๔) คำนิยาม ๑.๒ การบริหารจัดการโครงการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานของสำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติ ๑.๑ บทนำโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๑) บทนำ “ลูกเสือ” คือภาพลักษณ์ที่สังคมรับรู้และตระหนักในคุณค่า ด้วยเป็นกิจกรรมที่เสริมสร้าง ระเบียบวินัยให้กับเยาวชนของชาติ และผู้ที่เป็นลูกเสือคือผู้ที่บำเพ็ญประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น โดยภาพลักษณ์และคุณค่าของการลูกเสือที่กล่าวนี้ เกิดจากการบ่มเพาะและปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างต่อเนื่อง นับรอ้ ยปี จนเป็นที่ประจกั ษข์ องชนในชาตแิ ละสังคมโลก ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หน่วยราชการในพระองค์ ๙๐๔ ร่วมกันจัดโครงการ จติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำรเิ พื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เพ่อื แสดงความสำนึกพระมหากรุณาธิคุณ ที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร และสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทท่ี รงประกอบพระราชกรณยี กิจนานบั ปการ เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนอยา่ งต่อเนื่องยาวนานมา สำนักงานลูกเสือแห่งชาติพิจารณาเห็นว่า โดยหลักการของจิตอาสา คือจิตแห่งการให้ ความดีงามทั้งปวงแกผ่ ู้อืน่ และเพื่อนมนุษย์โดยเตม็ ใจ สมัครใจ ซาบซึ้งใจ และปิติสุขท่ีไดเ้ สียสละเวลา แรงกาย แรงสติปัญญา ในการทำกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชนห์ รอื สิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน และมีความสุขที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น อันสอดคล้องต้องกันกับหลักการของการลูกเสือในการบำเพ็ญประโยชน์ และชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนทุกเม่ือ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติองค์พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติและสนองพระราชดำริ ในการปลูกฝังส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนลูกเสือร่วมกันบำเพ็ญประโยชน์ ช่วยเหลือผู้อื่น ทำความดีด้วยหัวใจ มที ัศนคตแิ ละค่านิยมท่ีถกู ต้องต่อชาติบ้านเมือง สำนกั งานลกู เสอื แห่งชาตจิ ึงกำหนดนโยบายจัดโครงการลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และได้ประชุมหารือร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำร่างหลักสูตรฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากร ทางการลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน เม่อื วนั ที่ ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ สำนกั งานลูกเสือแห่งชาตินำเสนอร่างหลักสูตรการฝึกอบรม ท้งั ๒ หลกั สตู รถึงสำนกั พระราชวังเพื่อขอพระราชทานหลักสูตรการฝกึ อบรม และขอพระราชทานตราสัญลักษณ์ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน เพื่อส่งเสรมิ ให้ลูกเสือและบคุ ลากรทางการลูกเสือน้อมนำโครงการจิตอาสาพระราชทาน มาเสริมสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งและบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ถวายความจงรกั ภกั ดีแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ประมุขของคณะลกู เสือแห่งชาติ
2 คร้ันเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๔ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ แจง้ ข่าวอนั เปน็ ทป่ี ลม้ื ปิตแิ กล่ กู เสือ เนตรนารี และบคุ ลากรทางการลูกเสือทุกหมู่เหลา่ ว่าได้นำความกราบบังคมทูล พระกรุณาทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระบรมราชานุญาต นับเป็นพระมหากรณุ าธคิ ณุ หาทีส่ ุดมไิ ด้ รปู แบบและขั้นตอนการดำเนนิ งานลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน มรี ูปแบบในการดำเนนิ งาน ดังน้ี ๑. สถานศึกษาที่มีกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานจัดส่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้กำกับลูกเสืออีก ๑ คน เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร ผ้บู ังคบั บญั ชาลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน กลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือนอกโรงเรียน หากมีสมาชิกลูกเสือ เนตรนารีในสังกัด มากกว่า ๑๐ คน สามารถเขา้ ร่วมโครงการได้แต่ต้องจัดส่งผู้กำกบั กลมุ่ และผู้กำกับกองลูกเสือเขา้ รับการฝึกอบรม ๒. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือของสถานศึกษาที่ผา่ นการฝึกอบรมแล้ว ดำเนนิ การรับสมัคร ลูกเสือ เนตรนารี ประเภทสามัญ สามัญรุ่นใหญ่และวิสามัญ ในกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือที่ตนสังกัด แล้วจัดการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานให้แก่สมาชิกลูกเสือ เนตรนารีที่สมัครเป็นสมาชิก หน่วยลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ๓. สถานศกึ ษาหรือกลุ่มลกู เสือหรือกองลูกเสือนอกโรงเรยี นเสนอสำนักงานลูกเสือจังหวัด หรือสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ แล้วแต่กรณี เพื่อขอตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานผ่านผู้บังคับบัญชา ตามระดบั ช้ัน ๔. เมื่อได้รับอนุญาตให้ตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานแล้ว หน่วยลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานดำเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาและสรุปรายงานผลการดำเนินงานเพื่อขอรับตราสัญลักษณ์ ลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน การดำเนินงานโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน นอกเหนือจากการถวาย ความจงรักภักดี และสนองพระราชดำริโครงการจิตอาสาพระราชทานขององค์ประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ ไปส่เู ดก็ และเยาวชนแล้ว สำนักงานลกู เสอื แห่งชาติยงั มีความมุ่งหวงั ในการดำเนินงานโครงการนี้ใหเ้ ป็นกิจกรรม ที่ช่วยบ่มเพาะ และเสริมสร้างจิตสำนึกให้กับเด็กและเยาวชนให้เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง และมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม นั่นคือ รับรู้การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่ตนอยู่ รู้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนในสังคม มีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม สามารถพิจารณาและรับรู้ผลกระทบต่อสังคมจากการกระทำ ของตนที่สำคัญคือ การทำกิจกรรมจิตอาสาและบำเพ็ญประโยชน์ของลูกเสือ เนตรนารีจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ ของการลกู เสือในการช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนตามคำปฏญิ าณของลูกเสือ ๒) วตั ถุประสงคข์ องค่มู ือ คู่มือดำเนินโครงการจิตอาสาพระราชทาน จัดทำเพื่อให้คณะผู้บริหารจัดการการฝึกอบรม ตามโครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทานซึ่งประกอบด้วย วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติและวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัดและผู้บังคับบัญชา ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน สามารถดำเนินการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของแต่ละจังหวัดให้เป็นไปตามขั้นตอนและกระบวนการ ฝึกอบรม และแลว้ เสรจ็ ตามเปา้ หมายทกี่ ำหนด เกิดผลดว้ ยประสิทธภิ าพและเปน็ บรรทัดฐานเดยี วกนั
3 ๓) ขอบเขตของคูม่ อื คมู่ อื ดำเนนิ โครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของสำนักงานลูกเสือแห่งชาตินี้ ครอบคลุม องค์ความรู้ การบริหารจัดการการฝึกอบรม ขั้นตอนการฝึกอบรม การปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน ของลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน การประเมินและติดตามผล ซึ่งเกี่ยวข้องกับคณะบุคลากรทางการลูกเสือ และผู้ท่ีมีหนา้ ที่รับผิดชอบด้านการดำเนนิ งานโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานท้ังระบบ เพื่อให้การดำเนนิ โครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานเป็นบรรทัดฐานเดียวกันทั้งประเทศ เกิดประสิทธิภาพของการดำเนิน โครงการตามเปา้ หมายและเจตนารมณท์ ก่ี ำหนด ๔) คำนิยาม คำนิยามทีใ่ ช้การดำเนินโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๔.๑ การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน หมายถึง การฝึกอบรม วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติและประจำจังหวัด และผู้บังคับบัญชา ลูกเสือจิตอาสาของสถานศึกษาหรือกลุ่ม/กองลูกเสือนอกโรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการลูกเสือจิตอาส า พระราชทานเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ตามหลักสูตรการฝึกอบรม บคุ ลากรทางการลูกเสือจติ อาสาพระราชทานที่สำนักงานลูกเสือแห่งชาติกำหนด ๔.๒ การฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน หมายถึง การฝกึ อบรมลูกเสือ เนตรนารี ที่สมัครเป็นสมาชิกหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานสังกัดกลุ่มหรือกองทั้งในและนอกสถานศึกษาตามหลักสูตร ลกู เสือจติ อาสาพระราชทานทีส่ ำนกั งานลกู เสือแห่งชาติกำหนด ๔.๓ วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด หมายถึง บุคลากร ทางการลูกเสือที่สำนักงานลูกเสือจังหวัดพิจารณาคัดเลือกจังหวัดละ ๒๐ คน เพื่อทำหน้าท่ีร่วมกับสำนักงาน ลูกเสือจังหวัดเป็นผู้ให้การฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน โดยพิจารณาคัดเลือกจากผู้บริหาร หนว่ ยงานทางการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาในเขตปกครองของจังหวัดทม่ี คี ุณวฒุ ิทางลกู เสือ ดงั นี้ ๔.๓.๑ ผู้บรหิ ารหน่วยงานทางการศึกษาทกุ หน่วยงาน มีคุณวฒุ ลิ กู เสอื ขัน้ ตำ่ W.B. (๑) ศึกษาธิการจังหวดั หรอื รองศึกษาธิการจงั หวัด (๒) ผอู้ ำนวยการสำนักงานหรือรองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา (๓) ผ้อู ำนวยการหรือรองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จงั หวัด หรอื ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอ ๔.๓.๒ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาทกุ สังกัด มีคุณวฒุ ลิ กู เสือขั้นต่ำ A.L.T. - ผ้อู ำนวยการหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถน่ิ ๔.๔ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน หมายถึง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือสังกดั สถานศึกษาที่สมัครเข้าร่วมโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน จังหวัดละ ๖๐ สถานศึกษา สถานศึกษาละ ๒ คน ประกอบดว้ ยผู้บริหารสถานศึกษา ๑ คน และผู้บงั คับบัญชาลูกเสือในตำแหน่งผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ หรือรองผู้กำกับ กลมุ่ ลกู เสอื หรอื ผกู้ ำกับกองลกู เสอื หรอื รองผกู้ ำกบั กองลูกเสือ ๑ คน ๔.๕ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน หมายถึง ลูกเสือ เนตรนารี ประเภทสามัญ สามัญรนุ่ ใหญ่ และวสิ ามัญ ทุกเหล่าในสังกัดสถานศึกษา ท่สี มัครเป็นสมาชกิ หนว่ ยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และผา่ นการฝึกอบรมตามหลกั สูตรลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานท่สี ำนกั งานลกู เสือแห่งชาติกำหนด ๔.๖ หนว่ ยลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน หมายถงึ สมาชกิ ลูกเสอื เนตรนารี ประเภทสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และวิสามัญ ทุกเหล่าในสังกัดกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือของสถานศึกษาที่ประสงค์จะทำ
4 กิจกรรมจิตอาสา และรวมตวั กัน สมัครเปน็ สมาชิกของหน่วย หน่วยละ ๑๐ - ๔๐ คน สถานศกึ ษาหนงึ่ อาจมี หน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานได้มากกว่า ๑ หน่วย แต่ทุกหน่วยต้องมีผู้บังคับบัญชาและลูกเสือที่ผ่าน การฝึกอบรม และไดร้ ับอนุญาตให้ตั้งหนว่ ยจากผู้มีอำนาจอนญุ าต ๔.๗ ผู้มอี ำนาจอนญุ าตตั้งหน่วยลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน หมายถงึ ผู้อำนวยการ ลูกเสือจังหวัด สำหรับหน่วยลูกเสือสถานศึกษาทุกสังกัดในเขตปกครองของจังหวัด ผู้อำนวยการลูกเสือ กรุงเทพมหานคร สำหรับหน่วยลูกเสือสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร และเลขาธิการสำนักงานลูกเสือ แหง่ ชาติ สำหรบั หนว่ ยลูกเสือสถานศึกษาสังกัดส่วนกลาง ๔.๘ ผ้อู ำนวยการฝึกอบรมและวิทยากรประจำกลุ่ม หมายถงึ บุคลากรทางการลกู เสือ ที่สำนักงานลูกเสือจังหวัดคัดเลือกเป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมและวิทยากรประจำกลุ่มในการฝึกอบรมวิทยากร แกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติและประจำจงั หวดั ๑.๒ การบรหิ ารจดั การโครงการลูกเสือจติ อาสาพระราชทานของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ การบริหารจัดการโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ มีรายละเอียด ในการบรหิ ารจัดการ ประกอบดว้ ย ๑) โครงการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ ๒) การบรหิ ารจัดการโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๒.๑ การเตรียมดำเนินโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๒.๒ โครงสรา้ งหลกั สูตรลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานและบทบาทหนา้ ที่ของผ้ทู ี่เก่ียวข้อง ๒.๓ รูปแบบการฝึกอบรมและกำหนดการฝกึ อบรม ๑) โครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ - โครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน เป็นโครงการที่มุ่งสร้างให้เกิดความตระหนัก และปลูกฝังให้ลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือ ได้น้อมนำเอาหลักการและวิธีการของโครงการจิตอาสา พระราชทานไปจัดกิจกรรมจิตอาสา ด้วยการอุทิศตนช่วยเหลือผู้อื่นทั้งในสถานศึกษาและชุมชน (รายละเอียด ตามภาคผนวก ก) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ นำเสนอร่างหลักสูตรการฝึกอบรมลูกเสือและบุคลากร ทางการลูกเสือถึงสำนักพระราชวัง เพื่อขอพระราชทานหลักสูตรฝึกอบรมตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และขอพระราชทานตราสัญลักษณล์ ูกเสือจิตอาสาพระราชทาน เพื่อสง่ เสริมให้ลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือ ได้ถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ ด้วยการน้อมนำ โครงการจิตอาสาพระราชทานมาเสรมิ สรา้ งจิตสำนกึ ความเปน็ พลเมืองทเ่ี ข้มแข็งและบำเพ็ญประโยชนต์ ่อชุมชน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๔ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภยั รักษาพระองค์ สำนักพระราชวัง แจ้งว่า ได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระบรมราชานญุ าต ตราสัญลักษณ์ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน มี ๒ แบบ คือ ๑. เข็มลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ทำด้วยโลหะเขียนสีลงยา ติดที่อกเสื้อขา้ งขวา เหนอื ป้ายชอ่ื มอบใหแ้ ก่บุคลากรทางการลูกเสือทม่ี ีคุณสมบตั ิต่อไปนี้ ๑) เป็นวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัดและวิทยากร แกนนำลกู เสือจิตอาสาพระราชทานประจำสำนักงานลูกเสือแหง่ ชาติ ทีป่ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีเปน็ วิทยากรผู้ให้การฝึกอบรม หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราขทานในสถานศึกษา และ/หรือหลักสูตรการฝึกอบรม ลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ ๓ ครัง้ ซงึ่ ๑ ครั้งหมายถึง ๑ หลกั สูตรการฝึกอบรม
5 ๒) เป็นผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษาที่ผ่าน การฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสอื จิตอาสาพระราขทานในสถานศึกษา ได้รับการแต่งตั้ง เปน็ ผู้บังคบั บัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา และมผี ลการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีเป็นวิทยากรผู้ให้ การฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา และ/หรือนำหน่วยลูกเสือ จติ อาสาพระราชทาน ไปปฏิบัตกิ ิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน ไม่นอ้ ยกว่า ๓ ครง้ั ๒. แบดจ์ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ทำด้วยผ้าปักตราสัญลักษณ์ลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน มอบให้แก่ลูกเสือ เนตรนารี ที่เป็นสมาชิกหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา และมีผลการปฏิบตั ิกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานไมน่ ้อยกวา่ ๓ ครั้ง ๒) การบรหิ ารจดั การโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๒.๑ การเตรียมโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน (๑) ก่อนเริ่มการจัดทำโครงการและการดำเนินงาน “โครงการลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน” สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ได้ส่งบุคลากรทางการลูกเสือของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ จำนวน ๕ คน ไปเข้ารับการอบรม หลักสูตร “จิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔” ของโรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน หลักสูตรหลัก ประจำ รุ่นที่ ๕/๖๓ ดังรายชื่อต่อไปนี้ นายสินชัย หมวดมณี ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปชำนาญการพิเศษ นายอดุลย์รัตน์ นิ่มเจริญ ตำแหน่งนักวิชาการศึกษาชำนาญการ นายนันทน์พัทธ์ ศรีธัญรัตน์ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นายกญิศโกศัลย์ เกตุวัตถา ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไป นายเอกสิทธ์ิ สวัสดิ์วงศ์ ตำแหน่งนักวิชาการฝึกอบรม ซึ่งได้เข้ารับการฝึกอบรมระหว่างวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ถึงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓ ณ โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน (วิภาวดี) เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร รวมระยะเวลาในการฝึกอบรม ตลอดหลักสูตร ๕๐ วัน บุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมจากโรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน ทั้ง ๕ คน ได้ใช้ ประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้และได้รับการปลูกฝังด้านจิตอาสาจากโรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน ทำหน้าที่ช่วย ในการออกแบบกระบวนการฝึกอบรมใหส้ ำหรบั หลักสูตร “ลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน” ของสำนักงานลูกเสือ แหง่ ชาติ
6 (๒) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ได้จัดการประชุมปฏิบัติการจัดทำหลักสูตรการฝึกอบรม บุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและหลักสูตรการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ตามโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ โดยได้ร่วมกันจัดทำเนือ้ หา และออกแบบ กระบวนการฝึกอบรม ซึ่งเน้นการฝึกอบรมเพื่อสร้างความตระหนักและปลูกฝังเรื่อง “จิตอาสา” ตามหลักการ และวิธีการของโครงการจิตอาสาพระราชทาน ให้ลูกเสือและเนตรนารี ได้น้อมนำเอาไปจัดกิจกรรมจิตอาสา ด้วยการอุทิศตนชว่ ยเหลอื ผู้อื่นทัง้ ในสถานศึกษาและชุมชน สำหรับการประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารจัดให้มีขนึ้ ๒ ครงั้ ครั้งท่ี ๑ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒ - ๕ มนี าคม ๒๕๖๔ และครั้งที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๒ – ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๔ ผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิ อาทิ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ผู้กำกับดูแลงานสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ นายสุทิน แก้วพนา เลขาธิการสำนักงาน ลูกเสือแห่งชาติ นายวัลลพ สงวนนาม รองเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ตลอดจนผู้ตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ผู้แทนองค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหาร สถานศกึ ษาจากสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา ผู้แทน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ผู้แทนสำนักงาน กศน. ผู้แทนสำนักงาน สอศ. ผู้แทนบุคลากรทางการลูกเสือ จากสโมสรลกู เสือ ลูกเสืออาสาสมัคร ที่ปรกึ ษาและผ้บู ริหารของสำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติ ๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือจติ อาสาพระราชทานและบทบาทหน้าที่ของผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ๒.๒.๑ โครงสรา้ งหลักสูตรการฝึกอบรม ๒.๒.๒ บทบาทหน้าท่ีของสำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒.๒.๓ บทบาทหน้าทีข่ องสำนกั งานลกู เสอื จังหวัด ๒.๒.๑ โครงสร้างหลกั สตู รการฝกึ อบรม โครงสร้างหลักสูตรลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน แบ่งเปน็ ๒ หลักสูตร ประกอบด้วย (๑) หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ มีจำนวน ๓ หมวดวิชา ๙ รายวิชา และ (๒) หลักสูตรการ ฝกึ อบรมลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน มีจำนวน ๙ รายวชิ ายอ่ ย ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน มีจำนวน ๓ หมวด ๙ รายวิชา หมวดที่ ๑ ความเป็นชาติกับสถาบันพระมหากษัตริย์และลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน รายวิชาท่ี ๑.๑ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข รายวชิ าท่ี ๑.๒ การสรา้ งจติ สำนกึ ความเปน็ พลเมือง รายวิชาที่ ๑.๓ หลักการและวิธีการโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว พระราชดำริ รายวชิ าท่ี ๑.๔ โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง: เกษตรทฤษฎใี หม่ “โคก หนอง นา” หมวดที่ ๒ หลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและการดำเนินกิจกรรม ลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา รายวิชาที่ ๒.๑ หลกั สูตรลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน
7 รายวิชาที่ ๒.๒ บทบาทหน้าที่ผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา รายวิชาที่ ๒.๓ การวางแผนและการดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศกึ ษา หมวดที่ ๓ สมรรถนะวทิ ยากรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน รายวิชาท่ี ๓.๑ การประยุกต์ใช้ทักษะลูกเสือของวิทยากรลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน รายวชิ าท่ี ๓.๒ เทคนิคการเป็นวิทยากรและการสื่อสารประชาสัมพันธ์ลูกเสือ จติ อาสาพระราชทาน สำหรับรายวิชาที่ ๒.๑ หลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประกอบไปด้วย ๙ รายวิชาย่อย ดังน้ี รายวิชาย่อยท่ี ๒.๑.๑ บทเพลงแหง่ ความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย รายวชิ ายอ่ ยท่ี ๒.๑.๒ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ รายวิชายอ่ ยที่ ๒.๑.๓ การสรา้ งจติ สำนกึ ความเป็นพลเมือง รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๔ หลักการและวธิ ีการโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว พระราชดำริ รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๕ โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง: เกษตรทฤษฎใี หม่ “โคก หนอง นา” รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๖ ทักษะพื้นฐานของลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ด้านการพฒั นาการบริการและช่วยเหลือภยั พบิ ัติ รายวชิ าย่อยที่ ๒.๑.๗ ลูกเสือจติ อาสาพระราชทานกับการพัฒนาชมุ ชน รายวชิ ายอ่ ยท่ี ๒.๑.๘ ลูกเสือจติ อาสาพระราชทานกบั การประชาสมั พันธ์ รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๙ การดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา ๒.๒.๒ บทบาทหน้าทข่ี องสำนกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือได้มีโอกาสถวายงานตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน โดยพระราชทาน “หลกั สูตรลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน”ตามทสี่ ำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้ขอพระราชทานไป สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ในฐานะผู้รับผิดชอบ “โครงการลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน” มีบทบาทหน้าทแ่ี ละภารกิจ ดังนี้ ๑) จัดทำรายละเอียดและวางแผนการดำเนินโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน โดยส่งบุคลากรทางการลูกเสือ ของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ จำนวน ๕ คน เข้าศึกษาหลักสูตร “จิตอาสา พระราชทาน ๙๐๔” จากโรงเรยี นจิตอาสาพระราชทาน ๒) แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำหลักสูตรและคูม่ ือดำเนินโครงการลูกเสือจติ อาสา พระราชทานโดยจัดการประชุมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน และหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน
8 ๓) ขอพระราชทานหลักสูตร “ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” และได้รับ พระบรมราชานญุ าตเมอื่ วันท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๔ ๔) จัดทำแผนดำเนินงานฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย ๓ กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมายที่ ๑ วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติและวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด กลุ่มเป้าหมายที่ ๒ ผู้บังคับบญั ชาลกู เสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา และกลุ่มเป้าหมายที่ ๓ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศกึ ษา ๕) สรรหาวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำสำนักงาน ลูกเสือแห่งชาติ จัดทำแผนการฝึกอบรม ออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม จัดทำสื่อการฝึกอบรม และกำหนด วธิ กี ารจัดการฝึกอบรมหลกั สตู รบคุ ลากรทางการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๖) ประสานขอความร่วมมือสำนักงานลูกเสือจังหวัดทุกจังหวัด และแจ้ง รายละเอียดการดำเนินโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน พร้อมทั้งให้สำนักงานลูกเสือจังหวัดคัดเลือก วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด จังหวัดละ ๒๐ คน ผู้อำนวยการฝึกอบรม และวิทยากรประจำกลุ่ม จำนวน ๓ คน ๗) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ โอนงบประมาณสนับสนุนให้สำนักงานลูกเสือ จงั หวดั ดำเนนิ การจัดการฝึกอบรมใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายของจังหวดั ประกอบดว้ ย - กลุ่มเป้าหมายที่ ๑ วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจังหวดั จงั หวดั ละ ๒๐ คน - กลุ่มเป้าหมายที่ ๒ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา สถานศกึ ษาละ ๒ คน จังหวดั ละ ๖๐ สถานศกึ ษา - กลุ่มเป้าหมายที่ ๓ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จังหวัดละ ๖๐ หนว่ ย หน่วยละ ๑๐ - ๔๐ คน ๘) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติร่วมกับสำนักงานลูกเสือจังหวัด เตรียมการ จัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ทาง Online โดยระบบ DEEP (Digital Education Excellence Platform) ของกระทรวงศึกษาธิการ ดงั น้ี - ประชุมชี้แจงหัวหน้าสำนักงานลูกเสือจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด และผอู้ ำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวดั รวมทัง้ บุคลากรของสำนกั งานลูกเสอื จงั หวัด และบุคลากรที่เก่ียวข้อง - จัดการฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำ สำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติและวิทยากรแกนนำลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานประจำจังหวัด ณ สถานที่ทกี่ ำหนด - จัดการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ณ สถานที่ที่สำนักงานลูกเสือจังหวัดและสถานศึกษาทีส่ มัครเข้ารว่ มโครงการร่วมกันกำหนด โดยการฝึกอบรม ใหเ้ ป็นไปตามที่ คณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจงั หวดั ดำเนนิ การ สำหรับการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ให้สำนักงานลูกเสือจังหวัดและวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ร่วมกับสถานศึกษาพิจารณา ดำเนินการจัดการฝกึ อบรม แบบ Onsite ณ สถานศกึ ษา หรือ คา่ ยลูกเสอื ๙) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ แต่งตั้ง (๑) ผู้ประสานงานประจำจังหวัด และ (๒) คณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน
9 ๒.๒.๓ บทบาทหน้าที่ของสำนักงานลูกเสือจังหวดั สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ขอความร่วมมอื จากสำนกั งานลกู เสือจงั หวัดทุกจังหวดั เพอื่ ดำเนินโครงการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน ในระดับจงั หวัด ดงั น้ี ๑) คัดเลือกบุคลากรทางการลูกเสือที่เป็นผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา หรือผู้บริหารสถานศึกษาในเขตปกครองของจังหวัด จำนวน ๒๐ คน เป็น “วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจังหวัด” ๒) สำนักงานลูกเสือจังหวัด ร่วมกับ คณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจงั หวัด ท้งั ๒๐ คน มบี ทบาทและหน้าท่ี ดังน้ี ก) สำนักงานลูกเสือจังหวัดและคณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจงั หวดั ดำเนนิ การ - คัดเลือกผู้อำนวยการฝึกอบรม ๑ คน และวิทยากรประจำกลุ่ม การฝกึ อบรม ๒ คน - วางแผนจัดการฝึกอบรมคณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจังหวัดและวางแผนเพื่อดำเนินโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของจังหวัดในระยะ ต่อเนื่อง รวมทั้งรับทราบการโอนเงินจากสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ เพื่อใช้ในการฝึกอบรมตามโครงการลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน ในจังหวดั ของทา่ น ข) ดำเนินการให้วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด เข้ารบั การฝึกอบรม “หลักสูตรการฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน” ดว้ ยระบบ Online บน Platform DEEP ค) บริหารจัดการรับสมัครหรือสรรหาสถานศึกษาทีส่ นใจเข้ารว่ มโครงการ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของจังหวัด จังหวัดละ ๖๐ สถานศึกษา และประสานให้แต่ละสถานศึกษาจัดส่ง รายชื่อผู้บงั คับบญั ชาลูกเสือของสถานศึกษา ซึ่งประกอบดว้ ย ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้กำกบั หรือรองผู้กำกับ ลูกเสอื อกี ๑ คน รวม ๒ คน เพ่อื เข้าร่วมโครงการลูกเสือจติ อาสาพระราชทานของจังหวัด ง) สำนักงานลูกเสือจังหวัดร่วมกับคณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจงั หวดั ดำเนินการจัดการฝึกอบรมผ้บู ังคับบญั ชาลูกเสือจติ อาสาพระราชทานของสถานศึกษา “หลกั สูตรการฝึกอบรมบุคลากรลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน” ตามท่รี ่วมกันกำหนด จ) คณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจงั หวัดร่วมกับ ผ้บู ังคับบัญชาลกู เสือจิตอาสาพระราชทานของสถานศึกษา ดำเนินการจดั การฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน ให้กบั ลูกเสอื เนตรนารขี องแตล่ ะสถานศกึ ษาทีส่ มคั รเขา้ รว่ มโครงการ ๓) สำนักงานลูกเสือจังหวัดร่วมกับวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจังหวัด ดำเนินการตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานให้แก่กลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือสถานศึกษา ในเขตพืน้ ทปี่ กครองที่ร่วมโครงการ ๔) สำนักงานลูกเสือจังหวัดร่วมกับวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจงั หวัด สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้หน่วยลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน จัดกจิ กรรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ในชมุ ชน ๕) สำนักงานลูกเสือจังหวัดร่วมกับวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจังหวัด ดำเนินการนเิ ทศและติดตามผลการดำเนินงานของหน่วยลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน
10 ๖) สำนักงานลูกเสือจังหวัดร่วมกับวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจังหวัด สรุปผลการดำเนินงานของหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และรายงานผลถึงสำนักงาน ลกู เสือแหง่ ชาติ เพ่ือขอรบั พระราชทานตราสญั ลักษณต์ ามเกณฑแ์ ละระยะเวลาท่ีกำหนด ๒.๓ รูปแบบการฝกึ อบรมและกำหนดการฝึกอบรม แผนดำเนนิ การฝึกอบรมโครงการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ประจำปี ๒๕๖๔ สำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติ ๒๕๖๔ กิจกรรม / เดือน ิม ุถนายน กรกฎาคม ิสงหาคม ักนยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ัธนวาคม หมายเห ุต ๑. จัดทำคู่มือดำเนนิ โครงการลกู เสอื ๑-๓๐ ๑ – ๓๑ ๑ – ๓๑ จิตอาสาพระราชทาน ๒. จัดจา้ ง/จดั ทำผลิตสอ่ื เทคโนโลยี ๑ – ๓๑ ประกอบการฝึกอบรม ทั้ง ๒ หลกั สตู ร ส.ค. (บุคลากรทางการลูกเสอื และลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน) ๓. ดำเนนิ การฝกึ อบรมวทิ ยากร แกนนำลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ประจำจงั หวัด (๒๐ คน/จังหวัด รวม ๑,๕๔๐ คน) ๓.๑ พธิ เี ปิดและชีแ้ จง การดำเนนิ งานโครงการลกู เสือ จติ อาสาพระราชทาน ในระดับพ้นื ที่ ระหว่างเวลา ๑๐.๐๐ น. ถงึ ๑๒.๐๐ น. โดยผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม ๑๘ ลงทะเบยี นเขา้ รว่ มพิธเี ปดิ บนระบบ Microsoft Team ทั้งน้รี วมทั้ง Live บน Page Facebook ของ ETV และ NSOT (สำนักงานลูกเสือ แหง่ ชาต)ิ ฝกึ อบรม ทาง Online ผ่านระบบ DEEP (Digital Education Excellence Platform) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
11 ๒๕๖๔ กิจกรรม / เดอื น ิม ุถนายน กรกฎาคม ๓.๒ ฝึกอบรมหมวดที่ ๑ ิสงหาคม หลงั การเรียนในรายวิชาที่ ๑.๔ ักนยายน ให้มกี ารพบกล่มุ ครัง้ ท่ี ๑ ตุลาคม พฤศจิกายน ๓.๓ ฝกึ อบรมหมวดท่ี ๒ ัธนวาคม *** รายวิชาที่ ๒.๓ ใหว้ ทิ ยากร หมายเห ุต แกนนำลูกเสือจติ อาสา . ๒๐ – พระราชทานประจำจังหวัด ๒๔ วางแผนเพอื่ การฝกึ อบรม ผูบ้ งั คับบัญชาลกู เสอื จิตอาสา ๒๐ – พระราชทานในสถานศึกษา ๒๔ (๖๐ สถานศึกษา) หลงั การเรยี นในรายวชิ าที่ ๒.๓ ๒๐ – ใหม้ ีการพบกลมุ่ ครงั้ ท่ี ๒ ๒๔ ๓.๔ ฝึกอบรมหมวดท่ี ๓ (สรุปผล การฝึกอบรมท้งั หลักสตู ร) ๑๕ - ๓๑ ด้วยการพบกลุ่ม ครงั้ ที่ ๓ และพธิ ปี ิดการฝกึ อบรม ตุลาคม ๓.๕ วิทยากรแกนนำลูกเสอื จิตอาสา พระราชทานประจำจงั หวัด เดือน ตาม คดั เลือกผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ พฤศจิกายน - สถานการณ์ จิตอาสาพระราชทาน คลีค่ ลายของ ในสถานศึกษา (๖๐ สถานศกึ ษา) ธนั วาคม โควดิ –๑๙ ๔. ดำเนนิ การฝึกอบรมผบู้ งั คบั บัญชา หน่วยลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา ๑๒๐ คน /จงั หวดั (๖๐ สถานศกึ ษา ๆ ละ ๒ คน : ผบู้ ริหารสถานศึกษาและผู้กำกับ/ รองผู้กำกับลูกเสอื ) ๕. ฝึกอบรมลกู เสือจติ อาสา พระราชทานในสถานศึกษา จังหวดั ละ ๖๐ สถานศึกษา ๆ ละ ๔๐ คน ทาง Onsite จำนวน ๗๗ จงั หวัด รวม ๑๘๔,๘๐๐ คน
12 ๒๕๖๔ กิจกรรม / เดอื น ิม ุถนายน กรกฎาคม ิสงหาคม ักนยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ัธนวาคม หมายเห ุต ๖. การตดิ ตามประเมนิ ผลการฝึกอบรม ประเมินผลและติดตามผลต่อเน่ือง หลักสตู รลูกเสอื จติ อาสา พระราชทานท้งั สองหลักสูตร โดยผ้ทู ่ีได้รบั มอบหมาย ๒.๓.๑ รูปแบบการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน : วิทยากร แกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัดและวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ สำหรับการอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด มรี ายละเอยี ด มีดงั น้ี ๑) พิธีเปิดและการชี้แจงการดำเนินโครงการ เป็นการถ่ายทอดสด ทาง Page Facebook ของ ETV และ NSOT (สำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ) ๒) การฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด มคี ำชแี้ จง ดังนี้ วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด ได้รับคู่มือ ดำเนินโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ และให้ทำการศึกษาคู่มือ เป็นการล่วงหนา้ อย่างละเอยี ด หลังการร่วมพิธีเปิดและการชี้แจงโครงการ คณะผู้เข้ารับการฝึกอบรม วิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด ทั้ง ๒๐ คน ร่วมกับสำนักงานลูกเสือจังหวัด ศึกษา รายวิชาหลักสูตรการฝกึ อบรมตามคมู่ ือ และจัดทำแผนการฝกึ อบรมในหลกั สูตรการฝึกอบรมร่วมกัน พร้อมนัดหมาย วัน เวลาการเข้ารบั การฝึกอบรมทาง Online และพบกลุม่ อยา่ งพร้อมเพรยี งกนั ต่อไป - การฝึกอบรม หมวดที่ ๑ ซึ่งมีทั้งหมด ๔ รายวิชา หมวดที่ ๒ ซึ่งมี ทัง้ หมด ๓ รายวชิ า และ หมวดที่ ๓ ซงึ่ มีท้ังหมด ๒ รายวิชา อนง่ึ การฝกึ อบรมกลุ่มเป้าหมายวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจังหวัด จะตอ้ งจดั ใหม้ กี ารพบกล่มุ อยา่ งน้อย ๓ คร้ัง คือ ครั้งที่ ๑ หลงั การฝกึ อบรมหมวดท่ี ๑ รายวิชาท่ี ๑.๔ ครงั้ ท่ี ๒ การฝึกอบรมหมวดที่ ๒ รายวิชาท่ี ๒.๓ คร้ังท่ี ๓ การฝึกอบรม หมวดท่ี ๓ รายวิชาท่ี ๓.๒ และจัดดำเนนิ การ ใหม้ พี ธิ ีปิดการฝึกอบรม สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ได้นำสื่อบทเรียนการฝึกอบรมตามหลักสูตร ทั้ง ๓ หมวด และ ๙ รายวชิ าขนึ้ ให้การฝึกอบรมทาง Online บนระบบ DEEP (Digital Education Excellence Platform) ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เนื่องจากการฝึกอบรมครั้งนี้ อยู่ในช่วงระยะการระบาดของไวรัส โคโรนา – ๒๐๑๙ รูปแบบการฝึกอบรมจึงจำเป็นต้องเน้นย้ำให้ปฏิบัติตาม New Normal อย่างเคร่งครัด
13 หลังพธิ ีเปดิ การฝึกอบรมในรายวชิ าท้งั ๙ รายวิชานอกจากต้องฝึกอบรมบนระบบ DEEP แล้ว ให้ร่วมกันกำหนด ตารางการแลกเปลี่ยนเรยี นร้สู ำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด ด้วย Programme ZOOM หรือ Programme อื่น ๆ ท่กี ำหนด เพื่อให้กระบวนการฝกึ อบรมมีประสิทธภิ าพสูงสุด หมายเหตุ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้ดำเนินงานหลักของ “โครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” ซึง่ เป็นเจ้าของหลกั สตู รและผู้บรหิ ารการจัดโครงการ ได้จัดให้มีผู้ประสานงานหลักและผู้ใหบ้ รกิ ารการตอบ ขอ้ ซกั ถามทกุ ประเดน็ - นางเบญ็ จางค์ ถน่ิ ธานี ผู้อำนวยการสำนักเลขาธกิ าร สลช. - นางสาวจริยารจุ ี สขุ วิชัย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สลช. นอกจากนี้ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ได้จัดบุคลากรของสำนักงานเป็นผู้ประสานงาน การฝึกอบรมใหแ้ ต่ละจังหวดั ในครงั้ น้ี ๒.๓.๒ รูปแบบการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน : ผบู้ งั คับบญั ชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา มรี ายละเอยี ด ดังนี้ - สำหรับการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา จำนวน ๖๐ สถานศึกษา รวม ๑๒๐ คน ต่อจังหวัด ให้คณะวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำจงั หวดั และสำนักงานลกู เสือจังหวดั เปน็ ผู้ดำเนนิ การฝึกอบรม - การดำเนินการฝึกอบรมผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ให้ใช้หลักสูตรการฝึกอบรมและรูปแบบการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสา พระราชทานประจำจงั หวัด โดยบทเรียนการฝึกอบรมตามหลักสูตรทั้ง ๓ หมวด และ ๙ รายวชิ า เป็นการฝกึ อบรม ทาง Online บนระบบ DEEP (Digital Education Excellence Platform) ของกระทรวงศึกษาธิการ และให้ มีการพบกลุ่มตามรายวิชาที่กำหนด และให้ดำเนินการฝึกอบรมให้แล้วเสร็จ รวมทั้งการรายงานผลการฝึกอบรม ไปยังสำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ ๒.๓.๓ รูปแบบการอบรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา การฝกึ อบรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี - เมื่อผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในแต่ละสถานศึกษาได้ แผนการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้อำนวยการลูกเสือ โรงเรียนและผู้กำกบั /รองผู้กำกับลูกเสือของสถานศึกษา จะตอ้ งดำเนนิ การฝึกอบรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ในสถานศึกษาของตน และดำเนินการจัดตงั้ “หนว่ ยลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน..........(ข่อื สถานศึกษา)” ๒.๓.๔ การต้งั หนว่ ยลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน สถานศึกษาที่มีผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและลูกเสือจิตอาสา พระราชทานซึ่งผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานตามเกณฑ์ที่กำหนด เสนอรายช่ือ ผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานพร้อมรายชื่อสมาชิกหน่วยผ่านผู้บังคับบัญชาตามลำดับขั้น ถึงผู้มอี ำนาจตั้งหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน
14 ๒.๓.๕ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมจิตอาสา สมาชิกหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานแต่ละหน่วย ร่วมกันวางแผนจดั กิจกรรม จิตอาสาพระราชทานร่วมกับชุมชน ดำเนินการจัดกิจกรรม สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงาน ถึงผู้มีอำนาจตั้งหน่วยลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน การออกปฏบิ ัติกิจกรรมจิตอาสาของหนว่ ยลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ให้ปฏิบัติ กจิ กรรมภายใต้ ชอื่ “หนว่ ยลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน..........(ขื่อสถานศกึ ษา)” (ตัวอย่าง เช่น “หน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานโรงเรียนวัดสลุด บางพลี สมทุ รปราการ” หรือ “หน่วยลกู เสือจิตอาสาพระราชทานโรงเรยี นสถาพรพิทยา เมอื งชลบุรี” หรอื “หน่วยลูกเสือ จติ อาสาพระราชทานสำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ศรีราชา ชลบรุ ี” เปน็ ต้น) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติขอสงวนลิขสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา ส่วนหนึ่งส่วนใดในเอกสารฉบับนี้ หากทา่ นใดต้องการคดั ลอก ทำซำ้ เผยแพร่ ตอ้ งดำเนินการขออนญุ าตจากสำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ
15 ส่วนท่ี ๒ การฝกึ อบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ............................................... การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และลูกเสือจิตอาสาพระราชทานตามคู่มือ ฉบับนี้ ไดก้ ำหนดใหม้ ีเนื้อหาและการจัดกระบวนการฝึกอบรม ดังตอ่ ไปน้ี ๒.๑ การฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื จิตอาสาพระราชทาน ๒.๑.๑ โครงสร้างหลกั สูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ๒.๑.๒ กระบวนการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๒.๒ การฝึกอบรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ๒.๑. การฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน - การดำเนินการฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายเริ่มต้นของโครงการ คือ ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติและวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด โดยให้มี การฝึกอบรมวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด จังหวัดละ ๒๐ คน รวม ๗๗ จังหวัด เป็นจำนวนวิทยากรทง้ั สน้ิ ๑,๕๔๐ คน - การอบรมผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้กำกับลูกเสือในสถานศึกษา จังหวัดละ ๖๐ สถานศึกษา ๆ ละ ๒ คน จำนวน ๗๗ จังหวัด เปน็ จำนวนท้งั ส้ิน ๙,๒๔๐ คน ๒.๑.๑. โครงสร้างหลกั สูตรการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน โครงสร้างหลักสตู รการฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน ประกอบด้วยหลักสูตรการฝกึ อบรมกล่มุ เปา้ หมายวิทยากรแกนนำลกู เสือจิตอาสาพระราชทานประจำ สำนักงานลูกเสอื แห่งชาตแิ ละประจำจังหวัด และผูบ้ งั คับบญั ชาหนว่ ยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา ซง่ึ ใช้หลักสูตรเดยี วกัน มจี ำนวน ๓ หมวดวชิ า ๙ รายวิชา ดังน้ี หมวดที่ ๑ ความเปน็ ชาตกิ ับสถาบนั พระมหากษัตริยแ์ ละลกู เสือจิตอาสา รายวิชาท่ี ๑.๑ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ รายวิชาที่ ๑.๒ การสรา้ งจิตสำนกึ ความเป็นพลเมอื ง รายวชิ าที่ ๑.๓ หลกั การและวธิ ีการโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ รายวิชาที่ ๑.๔ โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” หมวดที่ ๒ หลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและการดำเนินกิจกรรมลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศึกษา รายวิชาท่ี ๒.๑ หลักสตู รลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน รายวิชาท่ี ๒.๒ บทบาทหน้าที่ผู้บังคบั บญั ชาหน่วยลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา รายวิชาที่ ๒.๓ การวางแผนและการดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา หมวดที่ ๓ สมรรถนะวทิ ยากรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน รายวิชาท่ี ๓.๑ การประยุกตใ์ ช้ทักษะลูกเสอื ของวทิ ยากรลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน
16 รายวิชาที่ ๓.๒ เทคนิคการเป็นวิทยากรและการสื่อสารประชาสัมพันธ์ลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน ๒.๑.๒ กระบวนการฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน กระบวนการฝกึ อบรม : หมวดที่ ๑ ความเปน็ ชาตกิ บั สถาบันพระมหากษัตริย์และลูกเสือจติ อาสา รายวชิ าที่ ๑.๑ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ รายวิชาที่ ๑.๒ การสรา้ งจติ สำนึกความเปน็ พลเมือง รายวิชาท่ี ๑.๓ หลกั การและวธิ ีการโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ รายวิชาที่ ๑.๔ โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา”
17 หมวดท่ี ๑ ความเปน็ ชาตกิ ับสถาบันพระมหากษัตริย์และลกู เสือจติ อาสา รายวิชาท่ี ๑.๑ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เวลา ๖๐ นาที ....................................................... ขอบข่ายวิชา ๑. การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ๒. พระราชกรณียกิจประมขุ คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งกับรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และพระราชกรณียกิจประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ สามารถออกแบบ การฝกึ อบรมให้กับผ้บู ังคับบัญชาลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ วตั ถปุ ระสงค์ เมอื่ จบบทเรยี นนีแ้ ลว้ ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมสามารถ ๑. อธิบายรปู แบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้ ๒. ระบุพระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะประมขุ คณะลูกเสือแห่งชาตไิ ด้ ขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ฝกึ และปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการทกี่ ำหนด สำหรบั รายวชิ า การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข มีขั้นตอน การฝึกอบรมมดี ังตอ่ ไปน้ี ๑. ขนั้ นำ ชี้แจงวัตถปุ ระสงคข์ องการฝกึ อบรม ๒. ขน้ั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒.๑ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ชมวดิ ที ศั น์เพลง “ความฝนั อนั สูงสุด” ๒.๒ วิทยากรบรรยาย คือ ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จนั ทรางศุ กรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ และประธานคณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ และ วิทยากรรว่ มเสวนา ประกอบด้วย ดร. คงศักดิ์ เจริญรักษ์ และอาจารย์อมร ชมุ ศรี ผู้ตรวจการลกู เสอื ประจำสำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ - แบ่งเปน็ ๒ หัวข้อ หวั ข้อที่ ๑ “การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข : พระมหากษตั ริย์ไทยพระผ้ทู รงเปน็ ม่งิ ขวัญใหก้ ับพสกนิกรและลูกเสอื ไทยตลอดมา” หัวข้อที่ ๒ “ลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานกบั งานจติ อาสาเพอื่ ช่วยเหลือประชาชน” ๓. ขน้ั สรุปและแลกเปลย่ี นการเรยี นรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “คุณูปการที่สถาบันพระมหากษัตริย์ ทรงมีต่อลูกเสือไทย และชาวลูกเสือจิตอาสาพระราชทานจะน้อมนำเรื่อง จิตอาสาพระราชทานเพื่อถวายงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอย่างไร” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่งความคิดเห็นให้
18 ผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุปความคิดเห็น ของทุกคน จำนวน ๑ หนา้ รวบรวมสง่ ไปยังสำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติเมือ่ เสร็จสน้ิ การฝกึ อบรมต่อไป - ทั้งนี้ หลังจบการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ผู้บริหารจัดการฝึกอบรมได้จัดให้มีระบบ ZOOM หรืออ่ืน ๆ เพ่ือเปดิ โอกาสให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมไดแ้ ลกเปลยี่ นเรียนรู้ดว้ ยกัน สื่อการฝกึ อบรม - สื่อบคุ คล - วิดีทศั น์ เพลง “ความฝันอันสูงสดุ ” - เครอื่ งคอมพวิ เตอร์พีซี หรือ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์โนต๊ บุค - เครอื่ งรับโทรทัศน์ หรอื เครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ - ชุดเครือ่ งเสยี งและลำโพง ขั้นการประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ จากการมสี ว่ นร่วมรายบคุ คล และการสะทอ้ นความคิดเหน็ ๒. ประเมนิ จากการรายงานผลงานกลุม่ ๓. อน่ื ๆ ถ้ามี
19 รายวชิ าที่ ๑.๒ เวลา ๖๐ นาที การสร้างจิตสำนกึ ความเปน็ พลเมอื ง ........................................................ ขอบข่ายวิชา ๑. หนา้ ท่ขี องพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ๒. การสรา้ งจิตสำนึก และวเิ คราะห์ความสัมพันธ์กบั ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะในการสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองสำหรับลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน วตั ถุประสงค์ เมือ่ จบบทเรยี นนีแ้ ลว้ ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมสามารถ ๑. ระบุวิธกี ารสรา้ งจติ สำนึกของลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมขุ ได้ ๒. ระบุความสัมพันธร์ ะหวา่ งกิจการลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานกับความเป็นพลเมืองได้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม ฝึกและปฏิบตั ติ ามกระบวนการที่กำหนด สำหรับรายวิชา การสร้างจติ สำนึกความเป็นพลเมอื ง มขี นั้ ตอนการฝึกอบรม ดงั ต่อไปนี้ ๑. ขั้นนำ ชี้แจงวตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรม ๒. ข้ันกิจกรรมการเรยี นรู้ ๒.๑ ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม ชมวิดที ศั นเ์ พลง “พลเมอื งเปน็ ใหญ่” ๒.๒ บรรยายเรื่อง “เราจะสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองให้กับลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ไดอ้ ย่างไร” โดยวิทยากร ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ธงทอง จนั ทรางศุ กรรมการบรหิ ารลูกเสือแหง่ ชาติ และประธาน คณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒.๓ การเสวนา เรื่อง “เราจะสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองให้กับลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ได้อย่างไร” โดยวิทยากรนำการเสวนา : ดร. ปณุ ฑรีก์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา - คณะผู้เข้าร่วมเสวนา ประกอบดว้ ย ลูกเสอื และเนตรนารี ๓. ขนั้ สรุปและแลกเปลี่ยนการเรยี นรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “เราจะสร้างจิตสำนึกความเป็น พลเมอื งใหก้ ับลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานไดอ้ ยา่ งไร” คนละไม่เกิน ๑ หนา้ กระดาษ A4 และสง่ ความคิดเห็นให้ ผู้อำนวยการฝกึ หรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุปความคดิ เห็นของ ทกุ คน จำนวน ๑ หน้า รวบรวมส่งไปยังสำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติเม่ือเสร็จส้ินการฝึกอบรมต่อไป - ทั้งนี้ หลังจบการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ผู้บริหารจัดการฝึกอบรมได้จัดให้มี ระบบ ZOOM หรอื อ่นื ๆ เพอื่ เปดิ โอกาสให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปล่ียนเรยี นรู้ดว้ ยกนั
20 สื่อการฝึกอบรม - สื่อบุคคล - วิดที ศั น์ เพลง “พลเมืองเป็นใหญ”่ - เคร่ืองคอมพวิ เตอร์พซี ี หรือ เครือ่ งคอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บุค - เครือ่ งรับโทรทศั น์ หรอื เครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ - ชดุ เครอื่ งเสียงและลำโพง ข้นั การประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ จากการมสี ว่ นร่วมรายบุคคล และการสะท้อนความคิดเหน็ ๒. ประเมินจากการรายงานผลงานกล่มุ ๓. อืน่ ๆ ถา้ มี
21 รายวิชาที่ ๑.๓ หลกั การและวิธกี ารโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ เวลา ๖๐ นาที ............................................................... ขอบขา่ ยวชิ า ๑. ความเปน็ มาของโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ ๒. หลกั การของโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ ๓. วธิ ดี ำเนนิ การโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักการ และวิธีดำเนินโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ ให้กับผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือ จิตอาสาพระราชทาน วัตถุประสงค์ เมอื่ จบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมสามารถ ๑. อธิบายความเป็นมา ระบุหลักการ และบอกวิธีดำเนินของโครงการจิตอาสาพระราชทาน ตามแนวพระราชดำรไิ ด้ ๒. นำหลักการและวิธีดำเนินโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริไปออกแบบ กจิ กรรมการฝึกอบรมผ้กู ำกับลูกเสือจติ อาสาและลูกเสือจิตอาสาพระราชทานได้ ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรม ให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ฝกึ และปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการทกี่ ำหนด สำหรับรายวิชา หลักการและวิธีดำเนินโครงการจิตอาสาพระราชทาน มีขั้นตอนการฝึกอบรม ดังต่อไปนี้ ๑. ขน้ั นำ ชีแ้ จงวตั ถุประสงค์ ๒. ขั้นกจิ กรรมการเรียนรู้ ๒.๑ ให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ชมวิดีทัศน์ “แนะนำจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔” ๒.๒ บรรยาย ประกอบการเสวนา เรือ่ ง “ลูกเสือจติ อาสาพระราชทานกับกจิ กรรมถวายงาน จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา” โดย ดร. อมั พร พินะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน - คณะผเู้ ข้ารว่ มเสวนา ประกอบด้วย ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาในฐานะผู้อาสาสมัครเข้าร่วม ในโครงการลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน - วทิ ยากรนำและผ้เู ขา้ รว่ มเสวนาร่วมกนั สรปุ ๓. ขั้นสรปุ และแลกเปลีย่ นการเรยี นรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน กับกิจกรรมถวายงานจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่งความคิดเห็น ให้ผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุปความคิด เห็น ของทุกคน จำนวน ๑ หนา้ รวบรวมส่งไปยังสำนกั งานลกู เสอื แห่งชาตเิ ม่อื เสรจ็ สิ้นการฝกึ อบรมต่อไป
22 - ทัง้ นี้ หลงั จบการเรยี นรู้ในแต่ละรายวชิ า ผู้บรหิ ารจดั การฝกึ อบรมได้จดั ใหม้ ีระบบ ZOOM หรอื อืน่ ๆ เพ่ือเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมได้แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ด้วยกนั ส่ือการฝึกอบรม - สอ่ื บคุ คล - วิดที ัศน์ “แนะนำจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔” - เคร่อื งคอมพิวเตอรพ์ ซี ี หรอื เคร่อื งคอมพิวเตอรโ์ นต๊ บุค - เครือ่ งรับโทรทศั น์ หรอื เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร/์ จอโปรเจคเตอร์ - ชดุ เครอื่ งเสียงและลำโพง ขนั้ การประเมินผล ๑. ประเมินจากการมีสว่ นรว่ มรายบคุ คล และการสะทอ้ นความคิดเห็น ๒. ประเมินจากการรายงานผลงานกล่มุ ๓. อืน่ ๆ ถา้ มี
23 รายวิชาที่ ๑.๔ โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง : เกษตรทฤษฎใี หม่ “โคก หนอง นา” เวลา ๗๕ นาที ..................................................................... ขอบขา่ ยวชิ า ๑. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และโครงการตามแนวพระราชดำริ ๒. การสืบสานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการตามแนวพระราชดำริ : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา”ด้วยวิธีการลกู เสอื ๓. การศึกษาดงู านโครงการตามแนวพระราชดำริ : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการตามแนวพระราชดำริ : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” ให้กับ ผู้บงั คับบญั ชาลกู เสือจิตอาสาและลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน วตั ถุประสงค์ เมื่อจบบทเรยี นนีแ้ ลว้ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถ ๑. อธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และโครงการตามแนวพระราชดำรไิ ด้ ๒. นำหลักการและวิธีการของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและโครงการตามแนวพระราชดำริ รูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม่ : “โคก หนอง นา” ไปออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน รวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรม ให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ฝึกและปฏบิ ตั ิตามกระบวนการทีก่ ำหนด สำหรับรายวชิ า หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการตามแนวพระราชดำริ : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” มขี ้นั ตอนการฝกึ อบรมมีดังตอ่ ไปน้ี ๑. ขัน้ นำ ช้แี จงวตั ถุประสงค์ ๒. ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ๒.๑ ให้ผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม ชมวิดีทัศน์ เพลง “ตามรอยพ่อ” ๒.๒ วทิ ยากรและผรู้ ่วมรายการ ดร. วิวัฒน์ ศัลยกำธร และเด็กและเยาวชนลูกเสือ (ดร. วิวัฒน์ ศัลยกำธร ตำแหน่ง ประธานสถาบัน เศรษฐกิจพอเพียง และประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี) โดยแบ่ง การเรียนรเู้ ป็น ๒ ตอน ดงั น้ี ตอนที่ ๑ บรรยาย เรื่อง “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน” โดย ดร. วิวัฒน์ ศลั ยกำธร
24 ตอนที่ ๒ วิทยากร ดร. วิวัฒน์ ศัลยกำธร นำลูกเสือและเนตรนารี ชมแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ต้นแบบ โคก หนอง นา ประกอบการให้ความรู้ เรือ่ ง “ลกู เสือจิตอาสาพระราชทานเรียนร้อู ยา่ งเข้าใจและเข้าถึง การจัดการเกษตรทฤษฎีใหม่ต้นแบบ โคก หนอง นา” ๓. ข้นั สรปุ และแลกเปลย่ี นการเรียนรู้ - ให้ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั “ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานกับหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่ง ความคิดเห็นให้ผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุป ความคิดเห็นของทุกคน จำนวน ๑ หน้า รวบรวมส่งไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรม ตอ่ ไป - ทงั้ นี้ หลังจบการเรียนรูใ้ นแต่ละรายวชิ า ผูบ้ รหิ ารจัดการฝึกอบรมได้จดั ใหม้ ีระบบ ZOOM หรอื อน่ื ๆ เพ่ือเปดิ โอกาสให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมไดแ้ ลกเปลีย่ นเรยี นรู้ด้วยกัน สือ่ การฝกึ อบรม - ส่อื บคุ คล - วดิ ที ัศน์เพลง “ตามรอยพอ่ ” - เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี หรอื เครื่องคอมพิวเตอรโ์ น๊ตบุค - เคร่ืองรับโทรทศั น์ หรอื เครื่องฉายโปรเจคเตอร/์ จอโปรเจคเตอร์ - ชุดเคร่อื งเสียงและลำโพง ข้นั การประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการมสี ว่ นร่วมรายบุคคล และการสะท้อนความคิดเหน็ ๒. ประเมนิ จากการรายงานผลงานกลุ่ม ๓. อ่นื ๆ ถ้ามี
25 กระบวนการฝึกอบรม : หมวดที่ ๒ หลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและการดำเนินกิจกรรม ลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา รายวชิ าท่ี ๒.๑ หลักสูตรลกู เสอื จติ อาสาพระราชทาน รายวิชาท่ี ๒.๒ บทบาทหนา้ ทผี่ ู้บังคับบัญชาหนว่ ยลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา รายวชิ าที่ ๒.๓ การวางแผนและการดำเนนิ งานกิจกรรมลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา สำหรับรายวิชาที่ ๒.๑ หลักสูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ประกอบไปด้วย ๙ รายวิชาย่อย ดังน้ี รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๑ บทเพลงแห่งความภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทย รายวชิ าย่อยที่ ๒.๑.๒ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข รายวิชายอ่ ยท่ี ๒.๑.๓ การสรา้ งจิตสำนึกความเป็นพลเมอื ง รายวิชาย่อยท่ี ๒.๑.๔ หลักการและวิธีการโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๕ โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” รายวิชายอ่ ยท่ี ๒.๑.๖ ทกั ษะพ้ืนฐานของลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ด้านการพัฒนา การบริการ และชว่ ยเหลอื ภัยพิบตั ิ รายวชิ ายอ่ ยที่ ๒.๑.๗ ลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานกบั การพัฒนาชุมชน รายวชิ ายอ่ ยที่ ๒.๑.๘ ลกู เสือจติ อาสาพระราชทานกบั การประชาสัมพนั ธ์ รายวชิ ายอ่ ยท่ี ๒.๑.๙ การดำเนนิ งานกิจกรรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา
26 หมวดท่ี ๒ หลกั สตู รลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและการดำเนนิ กจิ กรรม ลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา รายวิชาที่ ๒.๑ หลักสูตรลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน เวลา ๔๕ นาที ........................................................ ขอบขา่ ยวิชา ๑. บทเพลงแห่งความภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย ๒. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข ๓. การสร้างจติ สำนึกความเป็นพลเมือง ๔. หลักการและวธิ ีการโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ ๕. โครงการตามแนวพระราชดำริและหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง: เกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา” ๖. ทักษะพืน้ ฐานของลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ด้านการพฒั นา การบริการและชว่ ยเหลือภัยพิบัติ ๗. ลูกเสือจติ อาสาพระราชทานกบั การพัฒนาชมุ ชน ๘. ลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน กบั การประชาสมั พันธ์ ๙. การดำเนินงานกจิ กรรมลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะตามหลกั สูตรลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน สามารถทำหน้าที่เป็นวิทยากรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน และลูกเสือจิตอาส า พระราชทานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ วัตถปุ ระสงค์ ๑. อธิบายขอบข่ายและวัตถุประสงคข์ องรายวชิ ายอ่ ยในหลกั สตู รลกู เสือจติ อาสาพระราชทานได้ ๒. จัดการฝกึ อบรมลูกเสอื ตามหลักสตู รลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานได้ ๓. อธิบายหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือ จติ อาสาพระราชทานได้ รายวิชาหลกั สตู รลกู เสือจิตอาสาพระราชทานน้ี มีรายวชิ ายอ่ ย จำนวน ๙ รายวิชา โดยมีรายละเอียด และข้ันตอนการจดั กิจกรรม ดงั ต่อไปนี้ ๑. กระบวนการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ พิจารณาเลอื กการฝึกอบรมตามหลักสูตร จำนวน ๓ วนั ๒ คืน หรอื ๔ วัน กรณีไมใ่ ห้ลกู เสอื พักค้างแรมในคา่ ย ๒. ตารางการฝกึ อบรม ขั้นตอนการฝึกอบรม ให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม ฝึกและปฏิบัติตามกระบวนการทีก่ ำหนด สำหรบั รายวิชา หลักสตู รลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน มีขั้นตอนการฝกึ อบรมดงั ตอ่ ไปน้ี ขั้นตอนการจดั กิจกรรม ข้ันที่ ๑. ขึน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น - แจง้ วตั ถปุ ระสงค์
27 ขัน้ ท่ี ๒ การนำเสนอบทเรยี นและกิจกรรมการเรียนรู้ ๒.๑ วิทยากร ดร. คงศักดิ์ เจริญรักษ์ ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ชแ้ี จงการฝกึ อบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในรายวชิ าย่อยท่ี ๒.๑.๑ - ๒.๑.๒ - ๒.๑.๓ - ๒.๑.๔ – ๒.๑.๕ ๒.๒ วิทยากร อาจารย์อมร ชุมศรี ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ชี้แจงการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในรายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๖ - ๒.๑.๗ - ๒.๑.๘ - ๒.๑.๙ และชี้แจง ตารางการฝกึ อบรม - ตารางท่ี ๑ กรณจี ัดการฝึกอบรมลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน จำนวน ๓ วนั ๒ คนื - ตารางที่ ๒ กรณจี ดั การฝึกอบรมลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน จำนวน ๔ วนั วิทยากรร่วมกันสรุป ข้ันท่ี ๓ การสรปุ การเรยี นรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “การอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่งความคิดเหน็ ให้ผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำ กลมุ่ โดยผูอ้ ำนวยการฝึกหรอื วทิ ยากรประจำกลุ่มจะสรุปความคดิ เห็นของทุกคน จำนวน ๑ หนา้ รวบรวมส่งไป ยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาตเิ ม่อื เสรจ็ สน้ิ การฝึกอบรมตอ่ ไป - ทั้งนี้ หลังจบการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ผู้บริหารจัดการฝึกอบรมได้จัดให้มีระบบ ZOOM หรอื อืน่ ๆ เพ่ือเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมได้แลกเปล่ียนเรยี นรู้ด้วยกนั สอ่ื การฝกึ อบรม - เครือ่ งคอมพวิ เตอร์พีซี หรือ เครอื่ งคอมพิวเตอรโ์ น๊ตบคุ - เคร่ืองรบั โทรทศั น์ หรอื เครื่องฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ - ชุดเคร่ืองเสยี งและลำโพง - สอื่ บคุ คล ขน้ั การประเมนิ ผล - ประเมินจากการมสี ว่ นรว่ มและการสะทอ้ นความคิดเห็น - ประเมินจากผลการปฏบิ ัติท้ังรายบุคคลและกลุ่ม
28 รายวิชาท่ี ๒.๒ บทบาทหน้าทผี่ ู้บังคบั บัญชาหน่วยลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา เวลา ๖๐ นาที ....................................................... ขอบข่ายวชิ า ๑. บทบาทหน้าที่ของผู้บงั คบั บัญชาลกู เสอื ในหนว่ ยลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา ๒. หน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบของผบู้ ังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา จดุ หมาย เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทของผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิ ตอาสา พระราชทานของสถานศึกษา วตั ถุประสงค์ เมอ่ื จบบทเรียนนี้แล้ว ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. ระบบุ ทบาทหน้าที่ของผู้บงั คับบัญชาหน่วยลูกเสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษาได้ ๒. อธิบายหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชาหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ของสถานศกึ ษาได้ ๓. ปฏิบตั หิ นา้ ท่เี ป็นผู้บังคบั บญั ชาหนว่ ยลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานของสถานศึกษาได้ ข้นั ตอนการจดั กจิ กรรม ให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม ฝึกและปฏิบัตติ ามกระบวนการที่กำหนด สำหรับรายวิชา บทบาทหน้าที่ผู้บังคับบัญชาหน่วยจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา มีขั้นตอน การฝึกอบรม ดงั ต่อไปน้ี ๑. ขน้ั นำ ชแี้ จงวตั ถุประสงค์รายวชิ า ๒. ขนั้ การเรยี นรู้และสะทอ้ นประสบการณ์ - วิทยากรบรรยาย คือ ดร. สุทิน แก้วพนา เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ และ ดร. คงศักดิ์ เจริญรักษ์ ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ เรื่อง “ บทบาทหน้าที่ ของผ้บู งั คับบญั ชาหน่วยลกู เสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษา” โดย แบง่ เป็น ๒ หัวขอ้ ดงั น้ี หัวข้อที่ ๑ เรื่อง “บทบาทหน้าที่ของผู้อำนวยการลูกเสือสถานศึกษาในการบังคับบัญชา หน่วยลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา” ตอนที่ ๒ เรื่อง “บทบาทหน้าที่ของผู้กำกับลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและหัวหน้า หนว่ ยลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา” - วิทยากรรว่ มกันสรปุ ๓. ขั้นสรุปและแลกเปลยี่ นการเรยี นรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “บทบาทหน้าที่ของผู้บังคับบัญชา ในหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา” คนละไมเ่ กิน ๑ หนา้ กระดาษ A4 และส่งความคิดเห็นให้ ผู้อำนวยการฝกึ หรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุปความคดิ เห็นของ ทุกคน จำนวน ๑ หนา้ รวบรวมส่งไปยังสำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาตเิ มอ่ื เสรจ็ สิ้นการฝึกอบรมต่อไป
29 - ทั้งนี้ หลงั จบการเรยี นรู้ในแตล่ ะรายวิชา ผ้บู รหิ ารจัดการฝกึ อบรมได้จดั ใหม้ ีระบบ ZOOM หรืออื่น ๆ เพ่อื เปดิ โอกาสให้ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมไดแ้ ลกเปลีย่ นเรียนรู้ด้วยกนั ส่ือและวสั ดุอุปกรณ์ - สือ่ บคุ คล - เครอื่ งคอมพวิ เตอร์พซี ี หรือ เครอื่ งคอมพิวเตอร์โนต๊ บคุ - เครือ่ งรับโทรทศั น์ หรอื เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ ขัน้ การประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ จากการรายงานผลงานรายบคุ คล ๒. ประเมนิ จากการรายงานผลงานกลุม่ ๓. อืน่ ๆ ถ้ามี
30 รายวชิ าที่ ๒.๓ การวางแผนและดำเนินงานกจิ กรรมลกู เสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษาและชมุ ชน เวลา ๙๐ นาที ....................................................... ขอบข่ายวิชา ๑. การจดั ทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษาและชุมชน ๒. การดำเนนิ การจัดกจิ กรรมลกู เสือจติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษาและชมุ ชน - การจดั ตั้งหน่วยลกู เสือจิตอาสาพระราชทาน - การฝกึ อบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน - การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ลูกเสอื ทำกจิ กรรมจติ อาสาพระราชทาน - การขอรับเครอื่ งหมายเชิดชเู กยี รติลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน - การรายงานผลการดำเนินงานกจิ กรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน จุดหมาย เพ่ือให้ผูบ้ ังคับบญั ชาลูกเสอื วางแผนจัดการฝึกอบรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในโรงเรียนและชุมชน วัตถุประสงค์ เมอื่ จบบทเรียนนีแ้ ล้ว ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. จดั ทำแผนการจัดกิจกรรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษาและชุมชนได้ ๒. ดำเนินการจดั กิจกรรมลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษาและชมุ ชนได้ ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรม ให้ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ฝึกและปฏิบตั ติ ามกระบวนการทกี่ ำหนด สำหรับรายวิชาที่ ๒.๓ นี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้งสองกลุ่มเป้าหมาย คือ วิทยากรแกนนำลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัด และผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษากำหนดให้ ต้องเข้ามา “พบกลุ่ม” สำหรับรายวิชา การวางแผนและดำเนินงานกิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา และชมุ ชน มีข้ันตอนการฝึกอบรม ดงั ต่อไปนี้ ๑. ขั้นนำ ชี้แจงวัตถปุ ระสงค์รายวชิ า ๒. ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ วิทยากร คือ อาจารย์อมร ชุมศรี ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ โดยมี หวั ข้อ ดงั นี้ หัวข้อที่ ๑ บรรยาย เรื่อง “การจัดทำแผนและการจัดกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศึกษาและชุมชน” หัวข้อท่ี ๒ มอบหมายภารกิจภาคปฏบิ ตั ิโดยให้ผเู้ ข้ารับการอบรมจัดทำแผนตามแบบบันทึก กิจกรรมสำหรับวิทยากรแกนนำลูกเสือจิตอาสาพระราชทานประจำจังหวัดและผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสา พระราชทานในสถานศกึ ษา
31 ๓. ขั้นสรปุ และแลกเปลีย่ นการเรยี นรู้ - ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “การจัดทำแผนกิจกรรมจิตอาสา พระราชทานของหน่วยลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา” คนละไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ A4 และส่ง ความคิดเห็นให้ผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่ม โดยผู้อำนวยการฝึกหรือวิทยากรประจำกลุ่มจะสรุป ความคิดเห็นของทุกคน จำนวน ๑ หน้า รวบรวมส่งไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรม ตอ่ ไป - ทั้งนี้ หลังจบการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ผู้บริหารจัดการฝึกอบรมได้จัดให้มีระบบ ZOOM หรอื อนื่ ๆ เพ่อื เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมไดแ้ ลกเปลีย่ นเรียนรู้ดว้ ยกนั สือ่ และวสั ดอุ ปุ กรณ์ - สอ่ื บคุ คล - Power Point - เครื่องคอมพิวเตอรพ์ ซี ี หรือ เครือ่ งคอมพิวเตอร์โน๊ตบุค - เคร่ืองรับโทรทศั น์ หรอื เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์/ จอโปรเจคเตอร์ ข้นั การประเมินผล ๑. ประเมนิ จากการมสี ว่ นรว่ ม และรายงานผลงานรายบคุ คล ๒. ประเมินจากการรายงานผลงานกลุ่ม
32 สำหรับวิทยากรแกนนำฯประจำจงั หวัด แบบบันทกึ กิจกรรม จังหวัด......................................... วชิ าการวางแผนดำเนินงานลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน กลมุ่ ที่.......................ช่ือวทิ ยากรประจำกลุ่ม......................... แผนการจดั การฝึกอบรมผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา จงั หวัด...................................ร่นุ ท่ี................. ระหวา่ งวันท.่ี ..........เดือน....................พ.ศ. ................. ณ.................................อำเภอ.......................จงั หวดั .......................... ๑.วธิ กี ารจดั การฝึกอบรม ..................................................................... ๒.คณะผใู้ ห้การฝึกอบรม ลำดบั ชือ่ – สกุล หน้าที่ รายวชิ าทรี่ บั ผดิ ชอบ ๑ ผู้อำนวยการฝกึ อบรม ๒ รองผู้อำนวยการฝึกอบรม ๓ ฯลฯ ๔ ๕ ๒.รายชอ่ื ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ตำแหน่ง สถานศึกษา ลำดบั ช่ือ – สกลุ
33 สำหรบั ผู้บังคบั บญั ชาลกู เสอื แบบบันทกึ กจิ กรรม จังหวดั ......................................... วชิ าการวางแผนดำเนินงานลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน กลุม่ ที่ ...................... ชอ่ื วทิ ยากรประจำกลุ่ม …………………........................... แผนการจัดการฝกึ อบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน จังหวดั ...................................ร่นุ ท่.ี ................ ระหว่างวนั ท่ี...........เดอื น....................พ.ศ. ................. ณ.................................อำเภอ.......................จังหวดั .......................... ๑.คณะผ้ใู ห้การฝึกอบรม ลำดบั ชอื่ – สกลุ หนา้ ที่ รายวชิ าที่รับผิดชอบ ๑ ผู้อำนวยการฝึกอบรม ๒ รองผูอ้ ำนวยการฝึกอบรม ๓ ฯลฯ ๔ ๕ ๒.รายช่ือผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม ประเภทลูกเสือ สถานศึกษา ลำดับ ชอ่ื – สกุล
34 ๒.๒ การฝึกอบรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา การฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา เป็นภารกิจหน้าที่ของสถานศึกษา ทสี่ มคั รเขา้ รว่ มโครงการลูกเสือจิตอาสาพระราชทานของจังหวดั โดยผบู้ งั คับบัญชาลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ในสถานศึกษา ได้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน ในสถานศกึ ษาเป็นผ้ดู ำเนนิ การฝกึ อบรม มีเป้าหมายจงั หวัดละ ๖๐ สถานศึกษา สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ จึงกำหนดให้สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน ไดพ้ ิจารณาฝกึ อบรมโดยเลือกจากตารางการฝึกอบรม ๒ ตาราง ดงั นี้ ตารางท่ี ๑ การฝกึ อบรมลกู เสือจิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษาจำนวน ๓ วัน ๒ คืน ตารางท่ี ๒ การฝกึ อบรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศึกษาจำนวน ๔ วนั ตารางที่ ๑ การฝกึ อบรมลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษาจำนวน ๓ วนั ๒ คืน ชอ่ื สถานศึกษา................................................อำเภอ..................................จังหวัด....................... ระหวา่ งวนั ท่ี...........เดือน...........พ.ศ. ........... ถงึ วันท่ี...........เดือน...........พ.ศ. ........... วัน/เวลา รายละเอียด นาที หมายเหตุ วันท่ี ๑ ๖๐ ๖๐ พกั เครอ่ื งดม่ื ๐๘.๐๐ -๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน ในเวลา ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น. ปฐมนิเทศ ช้ีแจงวัตถปุ ระสงคข์ องการฝึกอบรมและ กลุม่ สมั พนั ธ์ ๖๐ ๑๒๐ พกั เคร่ืองดมื่ ๐๙.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. พิธีเปดิ ในเวลา ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. วิชา “บทเพลงแหง่ ความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย”(คร้งั ท่ี ๑) ๓๐ ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชา “การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ ๔๕ ทรงเปน็ ประมขุ ” ๑๕ ๖๐ ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหาร ๑๓๕ พักเครอื่ งดืม่ ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. วิชา “การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ ในเวลา ทรงเปน็ ประมขุ ” (ตอ่ ) ๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. วิชา “การสรา้ งจิตสำนึกความเปน็ พลเมอื ง” ๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. กิจกรรมยามว่าง (ภารกจิ เตรยี มทพ่ี ัก) ๑๗.๐๐ -๑๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐ – ๑๙.๐๐ น. กลุ่มสมั พันธล์ กู เสอื จิตอาสาพระราชทาน : กจิ กรรมทำความร้จู ัก ๑๙.๐๐ – ๑๙.๔๕ น. กิจกรรม บทเพลงแห่งความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย (คร้งั ท่ี ๒) ๒๐.๐๐ น. เพลงสรรเสรญิ พระบารมี สวดมนต์ นอน วนั ท่ี ๒ ๐๕.๓๐- ๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน ๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. กายบรหิ ารและปฏบิ ัตภิ ารกจิ ส่วนตัว ๐๗.๐๐ -๐๗.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๐๗.๓๐ -๐๘.๐๐ น. รับตรวจ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ประชมุ รอบเสาธง ๐๘.๓๐ – ๐๘.๔๕ น. กจิ กรรม บทเพลงแห่งความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย (ครงั้ ที่ ๓) ๐๘.๔๕ – ๐๙.๔๕ น. วิชา “หลกั การและวิธีการโครงการจิตอาสาพระราชทาน” ๐๙.๔๕ – ๑๒.๐๐ น. วชิ า “โครงการตามแนวพระราชดำริและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เกษตรทฤษฎใี หม่ : โคก หนอง นา”
35 วัน/เวลา รายละเอยี ด นาที หมายเหตุ ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. วิชา “ทักษะพื้นฐานของลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ดา้ นการพฒั นา ๙๐ พกั เครอ่ื งดม่ื การบริการและชว่ ยเหลือภัยพบิ ตั ”ิ ในเวลา ๑๔.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. วชิ า “ลกู เสือจิตอาสาพระราชทานกบั การพฒั นาชุมชน” ๑๒๐ ๑๖.๓๐ – ๑๘.๐๐ น. รบั ประทานอาหาร ๑๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. การแสดง Gang Show ๑๒๐ ๒๐.๐๐ น. เพลงสรรเสรญิ พระบารมี สวดมนต์ นอน วนั ที่ ๓ ๐๕.๓๐ – ๐๖.๐๐ น. ต่นื นอน ๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. กายบริหารและปฏิบัตภิ ารกจิ สว่ นตัว ๐๗.๐๐ – ๐๗.๓๐ น. รบั ประทานอาหาร ๐๗.๓๐ -๐๘.๐๐ น. รบั ตรวจ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ประชมุ รอบเสาธง ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. กลุ่มสมั พนั ธ์ลกู เสือจติ อาสาพระราชทาน ๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. วิชา “ ลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานกบั การประชาสัมพนั ธ์” ๙๐ ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ น. พกั ๑๐.๔๕ – ๑๒.๐๐ น. วชิ า “การดำเนินงานกจิ กรรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานใน ๗๕ สถานศกึ ษา” ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร ๑๓.๐๐ – ๑๓.๑๕ น. กิจกรรม บทเพลงแห่งความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย (ภาคสรุป) ๑๕ ๑๓.๑๕ – ๑๔.๐๐ น. คณะวิทยากรและลูกเสือสรปุ บทเรียนรว่ มกนั และมอบหมายภารกจิ ๔๕ ๑๔.๐๐ น. - พธิ ปี ดิ การอบรม - เดินทางกลบั
36 ตารางท่ี ๒ การฝกึ อบรมลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา จำนวน ๔ วัน ชือ่ สถานศึกษา................................................อำเภอ..................................จังหวดั ....................... ระหว่างวนั ที่...........เดอื น...........พ.ศ. ........... ถึงวนั ท.่ี ..........เดอื น...........พ.ศ. ........... วนั /เวลา รายละเอียด นาที หมายเหตุ วันท่ี ๑ ๖๐ พกั เคร่อื งด่ืม ๖๐ ในเวลา ๐๘.๐๐ -๐๙.๐๐ น. ลงทะเบยี น ๖๐ พักเครื่องดื่ม ๑๒๐ ในเวลา ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น. ปฐมนเิ ทศ ชแ้ี จงวตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรมและ กลุ่มสมั พนั ธ์ พักเคร่ืองดม่ื ๐๙.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. พธิ เี ปิด ในเวลา พักเครอื่ งดื่ม ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. วชิ า “บทเพลงแหง่ ความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย” (ครั้งที่ ๑) ในเวลา ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ า “การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ พกั เครื่องดื่ม ในเวลา ทรงเปน็ ประมุข ” ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหาร ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. วชิ า “การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ ทรงเปน็ ประมขุ ” (ตอ่ ) ๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. วิชา “การสร้างจิตสำนึกความเปน็ พลเมือง” ๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. - สรปุ การเรยี นรูก้ ารฝกึ อบรมวันที่ ๑ ๓๐ - เตรยี มความพร้อมลกู เสือผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมวันที่ ๒ ๑๕ ๖๐ ๑๖.๓๐ น. - เพลงสรรเสริญพระบารมี และสวดมนต์ ๑๓๕ ๑๒๐ - เดนิ ทางกลบั ๖๐ ๓๐ วนั ท่ี ๒ ๑๒๐ ๐๗.๓๐ -๐๘.๐๐ น. ลงเวลาเขา้ รับการฝกึ อบรมวันท่ี ๒ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ประชุมรอบเสาธง ๐๘.๓๐ – ๐๘.๔๕ น. กจิ กรรม บทเพลงแห่งความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย (คร้งั ท่ี ๒) ๐๘.๔๕ – ๐๙.๔๕ น. วชิ า “หลักการและวิธีการโครงการจิตอาสาพระราชทาน” ๐๙.๔๕ – ๑๒.๐๐ น. วชิ า “โครงการตามแนวพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกษตรทฤษฎีใหม่ : โคก หนอง นา” ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหาร ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. วิชา “ทักษะพืน้ ฐานของลูกเสือจติ อาสาพระราชทาน ดา้ นการพฒั นา การบริการและชว่ ยเหลือภัยพิบัต”ิ ๑๕.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรม บทเพลงแหง่ ความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย (คร้ังที่ ๓) ๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. - สรุปการเรยี นร้กู ารฝกึ อบรมวันท่ี ๒ - เตรยี มความพรอ้ มลูกเสือผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมวนั ท่ี ๓ ๑๖.๓๐ น. - เพลงสรรเสริญพระบารมี และสวดมนต์ - เดนิ ทางกลับ วนั ที่ ๓ ๐๗.๓๐ – ๐๘.๐๐ น. ลงเวลาเขา้ รบั การฝึกอบรมวันที่ ๓ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ประชุมรอบเสาธง ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. กลมุ่ สมั พนั ธ์ลูกเสอื จิตอาสาพระราชทาน ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ า “ลูกเสอื จิตอาสาพระราชทานกบั การพัฒนาชุมชน” (ฝกึ ปฏบิ ัตใิ นพนื้ ท่ชี ุมชน) ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
37 วนั /เวลา รายละเอียด นาที หมายเหตุ ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. วิชา “ ลูกเสือจติ อาสาพระราชทานกับการประชาสมั พันธ”์ ๙๐ ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. กิจกรรม บทเพลงแห่งความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย (ภาคสรุป) ๑๕ ๑๔.๔๕ – ๑๖.๐๐ น. วิชา “การดำเนนิ งานกิจกรรมลูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๗๕ พกั เคร่ืองด่ืม ในสถานศึกษา” ในเวลา ๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. - สรปุ การเรยี นร้กู ารฝึกอบรมวันที่ ๓ - เตรียมความพรอ้ มลูกเสือผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมวันที่ ๔ วันที่ ๔ ๐๗.๓๐ – ๐๘.๐๐ น. ลงเวลาเข้ารับการฝึกอบรมวนั ท่ี ๔ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ประชมุ รอบเสาธง ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. กลมุ่ สมั พนั ธล์ ูกเสอื จติ อาสาพระราชทาน ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. การแสดง Gang Show ๑๘๐ พักเครื่องดม่ื ในเวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหาร ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. คณะวทิ ยากรและลูกเสอื สรปุ บทเรยี นรว่ มกัน และมอบหมายภารกจิ ๔๕ ๑๔.๓๐ น. พิธีปิดการอบรม และเดนิ ทางกลับ
38 รายวิชาย่อยที่ ๒.๑.๑ บทเพลงแห่งความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย เวลา ๖๐ นาที .............................................. ขอบขา่ ยวชิ า บทเพลงแหง่ ความภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทย วัตถปุ ระสงค์ ๑. รอ้ งบทเพลงแห่งความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทยได้ ๒. บอกประโยชน์ของเพลงแหง่ ความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทยได้ ๓. ระบคุ วามสำคญั ของเพลงแห่งความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทยได้ ขั้นตอนการฝกึ อบรม ให้ลูกเสอื ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ฝึกและปฏิบัติตามกระบวนการทีก่ ำหนด สำหรับรายวิชาบทเพลงแห่งความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย มีข้นั ตอนการฝึกอบรมดงั นี้ ข้นั ตอนการจัดกิจกรรม ขนั้ ท่ี ๑. ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น - บรรยายนำ แจ้งวัตถุประสงค์ ขั้นท่ี ๒. การนำเสนอบทเรยี น และกิจกรรมการเรยี นรู้ ๒.๑ ลูกเสือชมวีดีทัศน์ บทเพลงแห่งความภาคภูมิใจในความเป็นไทย จำนวน ๔ เพลง (เลอื กเพลงตามอัธยาศัย) ๒.๒ แบง่ ลูกเสือเป็นหมู่ ๒.๓ วิทยากรมอบภารกิจให้แต่ละหมู่เลือกเพลงแห่งความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หมู่ละ ๑ เพลง (แต่ละหมู่ไม่ควรซ้ำเพลงกัน) และให้ประชุมหมู่เพื่อออกแบบการแสดง “รีวิวประกอบเพลงแห่ง ความภาคภมู ิใจในความเป็นไทย” ๒.๔ วทิ ยากรให้หมู่ท่อี าสาสมัครออกมาแสดงรีววิ ประกอบเพลงที่หมเู่ ลือก ขัน้ ท่ี ๓ ภารกจิ กิจกรรม ๓.๑ สถานศึกษาที่เลือกการฝึกอบรมจำนวน ๓ วัน ๒ คืน ให้ดำเนินการแบ่งภารกิจ กิจกรรมเปน็ ๔ คร้ัง ดังน้ี (๑) ครั้งที่ ๑ รายวิชาย่อยตามตารางการฝึกอบรมวันที่ ๑ ให้ดำเนินกิจกรรม ดังนี้ มอบหมายให้แต่ละหมู่เตรียมการแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจในความเป็นไทย โดยใหแ้ ตล่ ะหมู่เลือกเพลง ๑ เพลง เปน็ เพลงประกอบการแสดงและนำเสนอในรปู แบบ Gang Show เพือ่ แสดง ตามตารางการฝึกอบรมในคนื วันท่ี ๒ - การตัดสินผลงานการแสดง Gang Show ในบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ใชผ้ ลการลงคะแนนจากหมู่ การสรปุ การเรยี นรู้ - วทิ ยากรสรุป และอภิปรายซกั ถาม
39 (๒) ครั้งที่ ๒ รายวชิ ายอ่ ยตามตารางการฝกึ อบรมวนั ท่ี ๑ ให้ดำเนนิ กจิ กรรม ดังน้ี - วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม เลือกบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจ ในความเปน็ ไทยจากวดิ ที ัศน์ จำนวน ๘ - ๑๐ เพลง เพอ่ื รว่ มฟงั และขับร้องรว่ มกนั (๓) ครัง้ ที่ ๓ รายวชิ ายอ่ ยตามตารางการฝึกอบรมวนั ที่ ๒ ใหด้ ำเนนิ กจิ กรรม ดังนี้ - วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม เลือกบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจ ในความเปน็ ไทยจากวดิ ที ัศน์ จำนวน ๓ – ๔ เพลง เพ่ือรว่ มฟงั และขบั ร้องรว่ มกนั (๔) ภาคสรปุ รายวชิ าย่อยตามตารางการฝึกอบรมวันที่ ๓ ใหด้ ำเนินกจิ กรรม ดงั นี้ - วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม เลือกบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทยจากวดิ ที ศั น์ จำนวน ๓ – ๔ เพลง เพอ่ื ร่วมรบั ฟังและขบั ร้องรว่ มกนั ๓.๒ สถานศึกษาทเี่ ลือกการฝกึ อบรมจำนวน ๔ วนั ใหด้ ำเนนิ การแบง่ ภารกจิ เป็น ๔ คร้ัง ดังนี้ (๑) ครั้งที่ ๑ รายวิชาย่อยตามตารางการฝึกอบรมวันที่ ๑ ให้ดำเนินกิจกรรม โดยมอบหมาย ให้แตล่ ะหมู่ เตรียมการแสดงบทบาทสมมุติเกีย่ วกับบทเพลงแหง่ ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย โดยให้แต่ละหมู่ เลือกเพลง ๑ เพลงเป็นเพลงประกอบการแสดงและนำเสนอในรูปแบบ Gang Show เพื่อแสดงตามตาราง การฝกึ อบรมในวนั ที่ ๔ การสรปุ การเรยี นรู้ - วิทยากรสรปุ และอภิปรายซกั ถาม (๒) ครั้งที่ ๒ รายวชิ ายอ่ ยตามตารางการฝึกอบรมวนั ที่ ๒ ใหด้ ำเนินกิจกรรม ดังนี้ - วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม เลือกบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจ ในความเปน็ ไทยจากวดิ ที ัศน์ จำนวน ๓ – ๔ เพลง เพอ่ื ร่วมฟังและขบั ร้องรว่ มกัน (๓) ครง้ั ท่ี ๓ รายวชิ ายอ่ ยตามตารางการฝกึ อบรมวนั ที่ ๒ ใหด้ ำเนนิ กจิ กรรม ดังนี้ - วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม เลือกบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทยจากวดิ ที ัศน์ จำนวน ๑๐- ๑๒ เพลง เพ่อื รว่ มฟงั และขบั รอ้ งรว่ มกัน (๔) ภาคสรุป รายวิชายอ่ ยตามตารางการฝกึ อบรมวันท่ี ๓ ใหด้ ำเนินกจิ กรรม ดงั นี้ - วิทยากรร่วมกับลูกเสือผู้เข้ารับการฝึกอบรม เลือกบทเพลงแห่งความภาคภูมิใจ ในความเปน็ ไทยจากวดิ ีทัศน์ จำนวน ๓ – ๔ เพลง เพอ่ื รว่ มรบั ฟงั และขบั ร้องรว่ มกัน ส่อื การฝึกอบรม - วีดีทศั น์ บทเพลงแห่งความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย - โทรศัพท์เคลื่อนที่ และ เครื่องคอมพิวเตอร์ - เครื่องรบั โทรทศั น์ หรอื เครอื่ งฉายโปรเจคเตอร/์ จอโปรเจคเตอร์ - ชุดเคร่ืองเสียงและลำโพง ขน้ั การประเมินผล - ประเมินผลจากการสงั เกตการมสี ว่ นร่วมของลกู เสอื ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม - ประเมนิ ผลจากการนำเสนอผลงานหมู่ - การแสดงบทบาทสมมุติ Gang Show
40 บทเพลงแห่งความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย ๑. (๔.๔๘ นาที) เพลง แผ่นดินของเรา : เพลงพระราชนิพนธ์ https://www.youtube.com/watch?v=bvO1Jp675bA ๒. (๒.๕๒ นาท)ี เพลง เราสู้ : เพลงพระราชนพิ นธ์ https://www.youtube.com/watch?v=LikKLbHEl8o ๓. (๔.๑๗ นาที) เพลง ความฝันอันสูงสุด : เพลงพระราชนิพนธ์ (MV เพลงประกอบภาพยนตร์ในโครงการคีตราชนิพนธ์ บทเพลงในดวงใจราษฎร)์ https://www.youtube.com/watch?v=ks10rLDb-wY
41 ๔. (๔.๓๒ นาที) เพลง ยม้ิ สู้ : เพลงพระราชนิพนธ์ MV ย้ิมสู้ เพลงประกอบหรือ IVYVA Production https://www.youtube.com/watch?v=ALwSKze1QIU https://www.youtube.com/watch?v=R0pThzN26f4 ๕. (๔.๓๕ นาท)ี เพลง สุดแผน่ ดิน https://www.youtube.com/watch?v=_UfXur9FyaU
42 ๖. (๒.๕๒ นาที) เพลง รกั เมอื งไทย https://www.youtube.com/watch?v=71VeiVKSfUE ๗. (๔.๓๕ นาท)ี เพลง ต้นตระกูลไทย https://www.youtube.com/watch?v=CL3a3-uBZac ๘. (๒.๕๔ นาท)ี เพลง ศกึ บางระจนั https://www.youtube.com/watch?v=tNeGfmjlov0
43 ๙. (๒.๒๕ นาที) เพลง ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว https://www.youtube.com/watch?v=KGqbh2Ymo0M ๑๐. (๕.๒๗ นาที) เพลง รักกันไว้เถดิ : Sattahip Today https://www.youtube.com/watch?v=g8CGwLFyC7M ๑๑. (๓.๓๔ นาท)ี เพลง MV คนดี ไม่มีวันตาย (MV ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๓) https://www.youtube.com/watch?v=lxz_rFPZjqM
44 ๑๒. (๔.๐๘ นาท)ี MV Love Thailand เพลง รกั เธอประเทศไทย pureroot https://www.youtube.com/watch?v=K_-ZiU34klE ๑๓. (๔.๒๒ นาที) เพลง ตามรอยพ่อ : คาราบาว https://www.youtube.com/watch?v=kTD74jWe_VE ๑๔. (๔.๔๘ นาที) เพลง พลเมืองเป็นใหญ่ : กกต. https://www.youtube.com/watch?v=YGHRtB3V9g0&t=117s
45 ๑๕. (๒.๔๕ นาท)ี เพลง ดุจบิดามารดร. : เพลงพระราชนิพนธ์ https://www.youtube.com/watch?v=LjEh4NpXfI0 ๑๖. (๑.๕๐ นาที) เพลง ใต้ร่มธงไทย : พพิ ธิ ภัณฑ์ธงชาติไทย https://www.youtube.com/watch?v=opmokAGfJZw ๑๗. (๓.๐๕ นาท)ี เพลง บา้ นเกดิ เมืองนอน : Lizer GREATWAR https://www.youtube.com/watch?v=IIokjzl2qT0
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113