Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PM2.5 Emagazine

PM2.5 Emagazine

Published by eventsmb, 2022-07-26 17:03:08

Description: PM2.5 Emagazine

Search

Read the Text Version

งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 the awareness of haze issue. Moreover, the local air quality database will become an ar- ea-based knowledge and the guideline for local planning and policies to effectively solve air quality problems and may lead to haze pollution decrease at the national level. DustBoy project also integrated the database with other sectors for holistic management of air quality problems in Thailand. 101

การพัฒนาอปุ กรณ์ตรวจวดั ฝุน่ SPcMa2t.5tering ด้วยเทคนคิ QCM และ Light ขนาดเล็กดว้ ยเทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ และ IoT ผอู้ ำ�ำนวยการแผนงาน : ดร.อดสิ ร เตอื นตรานนท์ สังกัด : ฝ่ายวจิ ยั กราฟนี และนวตั กรรมการพมิ พอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความม่ันคงของประเทศและการประยุกต์เชงิ พาณิชย์ สำ�ำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) E-mail : [email protected] ประเทศไทยกำ�ำลังประสบปัญหาเกี่ยวกับ ตรวจวดั แบบมาตรฐาน สว่ นชนิดที่ 2 คอื อุปกรณ์ ฝุ่นละอองโดยเฉพาะฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า แตลรวะจแวยัดกฝแุ่นยะPคMวา2.ม5 ถขูกนตา้อดงจข๋ิวอทง่ีสกาามราตรรถวสจววมัดใดส้ว่ไดย้ 2.5 ไมครอน ซ่ึงฝุ่นละอองดังกล่าวจะมีผลต่อ ทัศนวิสัยการมองเห็นและส่งผลให้เกิดโรคเร้ือรัง ปัญญาประดิษฐ์ เครื่องวัดชนิดน้ีเป็นเครื่องวัด ใจนงึ มมคีนวษุ ายม์สดำำ�งั คนญั น้ั เกพารราตะรสวาจมวาดัรถPนำMำ� ผ2.ล5 มทาม่ี ใปีชแร้ ะจสง้ เทิ ตธอื ภิ นาไพด้ PกรMะ2เ.จ5 งิ สแว่ สนงบรว่ ุคมคกลบั ใกชาเ้ ทรวคเิ นครคิ ากะาหรแ์ ตบรบวจปวญั ัดญดา้วปยรวะธิ ดีกษิ าฐร์ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีที่จำ�ำเป็นต้องควบคุมพิเศษ ซ่ึงงานวิจัยท้ังหมดน้ีจะช่วยให้เกิดรูปแบบการ ใทน่ีเงนา้นนกวจิายัรนวัดจ้ี งึดม้วงุ่ ยพเฒัซนนาเซออปุ รก์ร2ณส์ ชำำ� นหิดรบัคตือรชวนจิดวดั QPMCM2.5 พัฒนาเทคโนโลยีในการตรวจวัดฝุ่นและส่งเสริม เคร่ืองมือวัดท่ีได้มาตรฐาน เกิดการตระหนักรู้ ที่ ใหค้ วามแมน่ ยำ�ำสูงและใชเ้ ทคโนโลยีอินเตอร์เนต็ ในการเฝ้าระวังในแต่ละพ้ืนที่รวมไปถึงการรับรู้ ดใน้วทยุกวิธสีกรารรพชสั่งิ่งมวโลดแยลค้ว่านฝำ�ำุ่นมาPเMทีย2.5บเจคะียถงูกกตับรววิธจีกวาัดร ระดับบุคคล นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเคร่ืองมือ ทีม่ ีมาตรฐานใชไ้ ด้เองในประเทศได้อกี ด้วย 102 งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 Development of miniature QCM and Light Scattering-based PM2.5 Sensors with Artificial Intelligence and IoT Atmospheric particulate matter,especially particle measuring device designed based on that with diameter smaller than 2.5 micron the principle of light scattering for personal i(nPMTh2.a5)i,lainsd.a persistent pollution problem PmdeMoten2ri.5mtodirnienatgteiocmntseiotihnnosdd.awiIlynaslitfhdeeiasvnedrloegpsoeevdaerrfocnrhm,PeMntht2ae.5l Particulate matter will reduce atmospheric visibility and may cause chronic waepneidrdeeemtnhiuvcsirdohinisgemhalesynedstaeilmnmahnoudnmeidtaonfro.irnPgPMM2e.52s.5psceeoncnsiatorlrolysl use. The developed devices can moregaasnuizreatPioMn2a.5l in large public areas including offices and people communities. Moreover, the in sensitive areas. In this work, we developed PthMe2c.5osuenntrsyo,rrewdauscidnegstihgeneimd paonrdt produced in two fkirisntdosnoefisdaevqiuceasrtzfocrryPstMal2.m5 idcertoebcatliaonncse. of expensive The PM2.5 sensors from foreign countries. (QCM) sensor for precise inPtMer2n.5etpoafrtthiicnlge measurement combined with acquired mtecahssnomloegays.urAemPeMn2t.5uvsainlugeQwCaMs according by to the standard method. The second one is a tiny iwnetealrlaigbelentPteMc2h.5nodleovgicye. Tchoeudpelevdicewiisthanarotpiftiicciaall 103

การพฒั นาคุณภาพอฐิ มอญ แบบไมต่ ้องเผาดว้ ยวสั ดุพอลิเมอร์ จากน้�้ำำยางธรรมชาติ หัวหน้าโครงการ : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ณฐพงศ์ จนั ทร์เพช็ ร์ สัังกััด : สาขาวิชิ าวิิศวกรรมโยธา คณะวิิศวกรรมศาสตร์์และสถาปััตยกรรมศาสตร์์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ E-mail : [email protected] การศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาคุณภาพ ของอิฐมอญท่ัวไปสูงกว่าอิฐมอญแบบไม่เผาฯ อิฐมอญแบบไม่ต้องเผาด้วยวัสดุพอลิเมอร์จาก แสดงให้เห็นว่าผนังก่อด้วยอิฐมอญแบบไม่เผา น้้� ำำยางธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์ทำ�ำการศึกษา สามารถลดการถ่ายเทอุณหภูมิจากภายนอกเข้าสู่ การพัฒนาอิฐมอญแบบไม่ต้องเผาฯ เร่ิมจาก ตัวบ้านจำ�ำลองได้ดีกว่าผนังก่อด้วยอิฐมอญท่ัวไป ออกแบบสว่ นผสม ออกแบบเครอื่ งอดั ขน้ึ รปู ทำำ� การ เมื่อพิจารณาวิเคราะห์ทางด้านต้นทุนการผลิต ทดลองและทดสอบคุณสมบัติเชิงกลและกายภาพ พบว่าการผลติ อฐิ แบบไม่ตอ้ งเผาฯนี้ สามารถนำำ� ไป ตามมาตรฐาน มอก.77-2545 จากการศึกษา พัฒนาการผลิตในเชิงอุตสาหกรรมได้ มีแนวโน้ม พบว่า อิฐมอญแบบไม่ต้องเผาฯมีคุณสมบัติเชิงกล ที่สามารถผลิตให้ราคาต้นทุนต่อก้อนและราคา และกายภาพ ผ่านตามมาตรฐาน มอก.77-2545 ก่อสร้างผนังถูกกว่าวัสดุก่อผนังชนิดอ่ืนๆ ทุกช้ันคุณภาพ และทำ�ำการศึกษา เปรียบเทียบผล ในท้องตลาด และการผลิตสามารถลดมลพิษ อุณหภูมิการทดสอบสมรรถนะทางความร้อนของ ทางอากาศ ลดฝนุ่ ผPลMิต2ไ.5ดล้อดยเ่าขงมตา่่อคเนวนั่ืองลทดุกกฤ๊าดซูกพาิษล ผนังก่ออิฐแบบบ้านจำ�ำลองของทั้ง 2 หลัง พบว่า ท่ีเกิดจากการเผา อุณหภูมิเฉล่ียภายในของผนังอิฐมอญแบบไม่เผาฯ ผปู้ ระกอบการสามารถประกอบอาชพี ผลติ อฐิ สรา้ ง มีประสิทธิภาพในการป้องกันการถ่ายเทความร้อน รายได้เหมือนเดิมและประกอบกิจการอยู่รวมกับ ได้ดีกว่าผนังก่ออิฐมอญแบบเผาซ่ึงสอดคล้องกับ ชุมชนไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื ผลการทดสอบค่าการนำ�ำความร้อนในห้องทดลอง 104 งานวิจัยและนวัตกรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 nThoende-vbeluorpmneinntgofbtrheinquinalgityborficks using polymeric materials from natural rubber latex Study on “Development of normal brick of normal brick without burning, can reduce quality without burning with polymer material the temperature transfer from the outside into from natural rubber latex” aims to study the themodelhousebetterthan.Whenanalyzingthe development normal brickwithout burning. cost of production it was found that the It startswith designing the proportions, production of normal bricks without burning compression machine design do a trial can be developed into industrial production production and test both mechanical and which can be produced to make the cost physical properties according to TIS standards per piece and the cost of wall construction 77-2545. The study found that normal bricks cheaper than other wall building from other without burning It has mechanical and physical materials in the market. At the same time, properties passed the TIS 77-2545 standard in in production process also helps to reduce air all quality classes. When comparing the effect rpeodlluucteionh,ivreesdufrcoemPMbu2.5rndinugst,inrepdruocdeucstoiootn, of temperature to test the thermal efficiency of masonry walls from 2 model houses, process continuously every season as a result, it was found that the average internal entrepreneurs can make a occupation in temperature of normal brick without burning brick production, earning the same income walls It is more effective in preventing heat transfer without causing pollution to the community. than normal brick withburning masonry walls. As a result, the business can operate From the test results show that the wall made sustainably. 105

ปกรละถดางชปีวมลวอ่ลจยากธฟาางตข้าอุวเพาือ่หคาวบรคพมุ กาืชร หวั หน้าโครงการวจิ ยั : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวธุ ประเสริฐศรี สังกดั : ภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี E-mail : [email protected] ทีมวิจยั และสังกดั : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ชัยวฒุ ิ วดั จัง, ดร.ศันศนยี ์ ศรจี ันทร,์ นางสาวปราณ ี นุย้ หนู งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียม คอมโพสิต กล่าวคือ ทำ�ำการเคลือบกระถางชีวมวลด้วย กระถางชีวมวลจากฟางข้าว โดยใช้น้้� ำำยางพรีวัลคาไนซ์ ชั้นแรกน้�้ำำยางพรีวัลคาไนซ์เพ่ือป้องกันการซึมผ่านของ (PVL) และแปง้ มันสำ�ำปะหลัง (ST) เป็นสารประสานและ ปุ๋ยออกนอกกระถาง ช้ันที่สองคือช้ันไฮโดรเจลผสม เคลือบผิวด้านในของกระถางชีวมวลด้วยไฮโดรเจลเพื่อ ปุ๋ยยูเรีย และเคลือบช้ันท่ีสามและสี่ด้วยไฮโดรเจลเพื่อ ควบคุมการปลดปล่อยปุ๋ยยูเรีย ในการดำ�ำเนินการวิจัย ชะลอการปลดปล่อยของปุ๋ย โดยเม่ือนำ�ำกระถางชีวมวล ประกอบด้วย 4 สว่ นหลักๆ ดังน้ี (1) การศึกษาสภาวะ มาใช้มาปลูกพืช คือ โหระพาและดาวเรือง พบว่า การ ท่เี หมาะสมในการขน้ึ รูปแผ่นคอมโพสติ จากฟางข้าวด้วย เคลอื บไฮโดรเจลผสมปยุ๋ ยเู รียในกระถางชีวมวลจะทำำ� ให้ เทคนคิ การขน้ึ รปู แบบอดั เบา้ พมิ พ์ ไดแ้ ก่ อณุ หภมู ิ แรงอดั โหระพามีการเจริญเติบโตที่ดีทั้งขนาดของใบและความ และเวลา อัตราส่วน PVL/ST และปรมิ าณสารประสาน สูงของลำ�ำต้นดีกว่าการใช้กระถางพลาสติก และการ ตอ่ น้้� ำำหนกั ฟางขา้ ว (2) การศึกษาเคลอื บแผน่ คอมโพสิต เคลือบไฮโดรเจลผสมปยุ๋ ยเู รยี ในกระถางชีวมวลจะทำ�ำให้ จากฟางขา้ วดว้ ยไฮโดรเจลสำำ� หรบั ควบคมุ การปลดปลอ่ ย ดาวเรืองมีใบที่มีขนาดใหญ่และสีใบมีความเขียวเข้ม ปุ๋ยยูเรีย (3) การศึกษาสภาวะในการข้ึนรูปกระถาง มากกวา่ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการปลดปลอ่ ยยเู รยี ออกมาจาก ชีวมวลจากฟางข้าวและการเคลือบกระถางชีวมวลจาก การเคลือบด้านในกระถางชีวมวลช่วยทำ�ำให้ต้นพืช ฟางขา้ วเคลอื บดว้ ยไฮโดรเจลเพอ่ื ควบคมุ การปลดปลอ่ ย เจริญเติบโตได้ดี แต่อย่างไรก็ตามดาวเรืองที่ปลูกใน ปุ๋ยยูเรีย และ (4) การศึกษาการใช้กระถางชีวมวลจาก กระถางชีวมวลที่เคลือบไฮโดรเจลมีการออกดอกช้ากว่า ฟางข้าวในการปลูกพืชเปรียบเทียบกับกระถางพลาสติก ประมาณ 1 สัปดาห์ท้ังนี้เป็นผลมาจากปุ๋ยยูเรียที่ ผลการทดลอง พบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการเตรียม ปลดปล่อยออกมาจากจากระถางชีวมวลท่ีเคลือบ แผ่นคอมโพสิตจากฟางข้าว คือ อุณหภูมิในการข้ึนรูป ไฮโดรเจลไปเสริมสร้างการเจริญเติบโตของใบและความ 100 °C แรงอัด 125 Kg/cm2 และเวลา 11 นาที สงู ของตน้ ทำำ� ใหเ้ กดิ การออกดอกและบานชา้ กวา่ ดาวเรอื ง อัตราส่วน PVL/ST 50/50 %w/w และปริมาณ ท่ีปลูกในกระถางพลาสติกและกระถางชีวมวลจาก สารประสาน30%โดยน้้�ำหนกั ของฟางขา้ วเมอื่ เคลอื บแผน่ ฟางข้าวที่ไม่เคลือบไฮโดรเจล นอกจากนี้การเคลือบ คอมโพสติ จากฟางขา้ วดว้ ยไฮโดรเจลจะมกี ารปลดปลอ่ ย กระถางชีวมวลจะช่วยลดการเกิดราและยืดอายุการใช้ ปุ๋ยยูเรียในช่วงระยะเวลา 1–5 วัน ในปริมาณ 5–8% งานของกระถางชวี มวลไดอ้ กี ทางหนงึ่ โดยสรปุ งานวจิ ยั นี้ โดยน้�้ำำหนัก หลังจากน้ันอัตราปลดปล่อยปุ๋ยยูเรียค่อยๆ สามารถนำ�ำฟางข้าวเหลือทิ้งมาใช้ประโยชน์ในการผลิต ลดลงและตรวจสอบไม่พบการปลดปล่อยปุ๋ยยูเรีย เป็นกระถางชีวมวลจากฟางข้าวและเคลือบไฮโดรเจล ที่ประมาณ 35 วัน โดยการเคลือบไฮโดรเจล 2 ครั้ง สำ�ำหรับควบคุมการปลดปล่อยปุ๋ยยูเรีย เพ่ือใช้เป็นต้น ทับลงไปบนชั้นไฮโดรเจลผสมปุ๋ยยูเรียท่ีความเข้มข้น แบบกระถางชีวมวลใช้ในการปลูกพืชและสามารถ 15% %w/w มีความเหมาะสมในการนำ�ำไปเคลือบ ยอ่ ยสลายไดต้ ามธรรมชาติ กระถางชีวมวลท่ีอัดขึ้นรูปด้วยสภาวะเดียวกับแผ่น 106 งานวิจยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 Rice Straw Biomass Pot for Controlled Release of Plant Nutrients This research aims to study the layer was a hydrogel layer mixed with urea preparation of biomass pot from rice straw by fertilizer and then the third and fourth layers using prevulcanized latex (PVL) and cassava was coated with hydrogel to control release of starch (ST) as binder and coated the inside the fertilizer. When using biomass pots to grow of the biomass pot with hydrogel to control plants, basil and marigolds, it was found that the release of urea fertilizer. The research hydrogel coating with urea fertilizer in biomass consisted of four main parts as follows: (i) pots allowed the basil to grow well in both leaf study of optimum conditions for forming the size and stem height better than using plastic rice straw composite (RSC) by compression pots. In addition, hydrogel coating with urea molding technique such as temperature, fertilizer in biomass pots gave marigolds larger pressure and time, PVL/ST ratios and binder leaves and darker green leaf. This is due to the contents, (ii) study of hydrogel coating of rice release of urea from the biomass pots to help straw composite for controlling urea release, plants grow well. However, marigolds grown (iii) study of optimum conditions for forming in hydrogel-coated biomass pots bloomed the biomass pot and coating the pot with about 1 week later because of urea released hydrogel to control urea release and (iv) study from biomass pots coated with hydrogel to on the use of biomass pots for growing plants enhance leaf growth and plant height. flowering compared to plastic pots. The results showed and blooming later than marigolds grown in that the optimum conditions for preparing plastic pots and uncoated hydrogel of rice straw RSC were temperature of 100 °C, pressure of biomass pots. In addition, the coating of 125 kg/cm2 and 10 minute, PVL/ST ratio of 50/50 biomass pots will reduce the fungus and prolong %wt/wt and binder of 30%wt of dry biomass. the life of the biomass pots. In conclusion, the When the RSC were coated with hydrogels, waste rice straw can be useful in the production urea was released over a period of 1–5 days of biomass pots and coated with hydrogel to at 5–8%wt. After that, the release rate of urea control the release of urea fertilizer in order to fertilizer gradually decreased and undetectable be used as a model for biomass pots used to at approximately 35 days. The hydrogel coated grow plants and can be biodegradable. twice times over a layer of hydrogel mixed with urea of 15% %wt/wt was suitable for coating the biomass pots under the same conditions as composite sheet. Namely, the biomass pot is coated with PVL as first layer to prevent fertilizer penetration outside the pot, the second 107

กบำาำ� รบใัดชพ้ฝชืนุ่ ยลนื ะอตอ้นงอย่างย่งั ยนื ผ้อู ำ�ำนวยการแผนงาน : รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยรตั น์ ตรที รัพย์สุนทร สังกดั : คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี Email : [email protected] ทมี วิจยั และสงั กดั : รองศาสตราจารย์ ดร. ไพทพิ ย์ ธรี เวชญาณ คณะทรพั ยากรชวี ภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กญั จน ์ ศิลป์ประสิทธิ ์ สาขาเทคโนโลยีสิง่ แวดลอ้ ม คณะวฒั นธรรมสง่ิ แวดล้อมและการท่องเท่ียวเชงิ นิเวศ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศริ กิ ลุ ธรรมจิตรสกลุ คณะกายภาพบำำ� บดั มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. รจุ ริ า ดลเพญ็ สถาบนั พฒั นาและฝกึ อบรมโรงงานตน้ แบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ดร.ศุภกิ า วานิชชงั คณะวฒั นธรรมส่ิงแวดล้อมและการทอ่ งเทยี่ วเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ทพิ ยว์ รินทร์ รมิ ลำ�ำดวน คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน นางประไพ ธุระกิจ คณะทรพั ยากรชวี ภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี การใช้พืชในการบำ�ำบัดฝุ่นละอองขนาดเล็ก สะสมน้้� ำำไวภ้ ายในตน้ มกี ารปดิ ปากใบ และลดอตั รา ทPMาง2.อ5 นับเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถดูดซับมลพิษ การสังเคราะห์แสง กลไกการตอบสนองเหล่านี้ ากาศและฝุ่นละอองได้ งานวิจัยนี้จึงมี ไม่เพียงส่งผลในระดบั กายภาพ แตใ่ นระดบั โปรตีน วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการบำ�ำบัด ยังพบว่าโปรตีนท่ีมีความเก่ียวข้องเชื่อมโยงกับ ฝหุ่น้องปPฏMบิ 2.ัต5กิ ขาอรแงพละืชแยบืนบต้นarชeนaิดbตa่าsงeๆexทp้ังeในrimระeดnับt cell process, metabolic process และ response to stress มกี ารทำำ� งานทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป พร้อมท้ังการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อเป็น มาก เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ตน้ พชื ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การสมั ผสั สาธารณประโยชน์ ผลการวิจัยพบว่าพืชที่มีความ ฝุ่น ข้อมูลการเปล่ียนแปลงระดับโปรตีนเหล่านี้มี สามารถในการลด PนMีออ2.5น อย่างมีประสิทธิภาพ ความเกย่ี วขอ้ งเชอื่ มโยงกบั กลไกการเปดิ ปดิ ปากใบ ได้แก่ กัลปพฤกษ์ โมก พะยูง จามจุรี การสังเคราะห์แสง การสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ หมากเหลือง ทรงบาดาล แก้ว และอินทนิล การปอ้ งกนั สารอนมุ ลู อสิ ระ ฯลฯ โดยโปรตนี เหลา่ น้ี โดยองค์ประกอบทางกายภาพของพืชท่ีส่งผล จะพบการเปลี่ยนแปลงในคลอโรพลาสของพืช ตอ่ การจบั ฝนุ่ ทใ่ี บ คอื ลกั ษณะใบ รปู รา่ งใบ พนื้ ผวิ ใบ มากสุด ในส่วนของการศึกษารูปแบบการจัดวาง ขนใบ ปากใบ และช้นั แวกสใ์ นส่วน cuticle wax พืชให้เหมาะสมในเชิงพ้ืนที่และให้มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณน้�้ำำที่เพิ่มข้ึนในพืชมี ใ2นชกัน้ารโลดดยแPตMล่ 2ะ.5ชน้ัพคบววรา่ มครีวะรยจะัดหวา่างงกตนัน้ เไทม่าอ้ กยบั่างคนว้อามย ส่วนในการเพิ่มประสิทธิภาพการบำ�ำบัดฝุ่นมาก ท่ีสุด รองลงมาคือปริมาณไขมันชนิดละลายน้�้ำำ สงู ของชั้นท่ีต่่� ำำกว่าหารดว้ ย 2 ซงึ่ ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ พชื มกี ารตอบสนองตอ่ ฝนุ่ โดยพยายาม 108 งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 SbuystaPineabrleePnMnPhiaytlorsemPedliaationnts has beAepnpwlicealltiroenpoorftepdlaanstatnoerffeemcteivdeiamteePthMod2.5. and generating a high concentration of water-soluble wax. This study clearly shows The objectives of this research are to study the response of plants under high dPuMc2.e5 the efficiency loabf ohraigtohreyrscpallaenatnsdfaorreaPbMas2.e5 con centrations , plan ts also re removal in both photosynthesis and close their stomata. experiments, including knowledge transfer The pattern of protein-producing in the plant and benefits for people staying oshnotwheedPtMha2.5t dfruormintghePcMon2.5troexl pploasnut erespiescaiabllsyoplurotetelyincinhvaonlgveedd contaminated side. The results plants that have the fraubtielistcyetnos,rWed.urceeligPioMs2a.5, in cell process, metabolic process, and response were C. bakeriana, L. to stress. The protein level result can be well D. cochinchinensis, S. saman, C. lutescens, C. related to plant physiology change. In addition, surattensis, M. paniculate and L. macrocarpa. the study of plant placement patterns for Plant morphology and appearance including spatial optimization and effectiveness in leaf shape, leaf surface, trichome, stomata, rbeedaurcriannggePdMa2t.5 revealed that plants should and cuticle wax can strongly impact least two tiers, with each tier phytoremediation efficacy. Moreover, after should be spaced equal to the height of the plants ex pose to ehaisgihngPMw2a.5t,erthceo pl ant lower tier divided by 2. respon ds by i ncr nt ent 109

พฒั นาและถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ดา้ นการใช้ไมย้ นื ต้นในการลดฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5 ภายใต้แผนงาน : การใช้พืชยืนตน้ บำำ� บดั ฝุ่นละอองอย่างยัง่ ยนื Sustainable PM Phytoremediation by Perennials Plants หวั หนา้ โครงการย่อย : รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยรัตน์ ตรีทรัพย์สุนทร สงั กดั : คณะทรพั ยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี Email : [email protected] ทีมวจิ ัยและสังกัด : รองศาสตราจารย์ ดร. ไพทพิ ย์ ธรี เวชญาณ คณะทรพั ยากรชวี ภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. รจุ ริ า ดลเพญ็ สถาบนั พฒั นาและฝกึ อบรมโรงงานตน้ แบบ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี นางประไพ ธรุ ะกจิ คณะทรพั ยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี มลพิษอากาศท่ีเกิดจากฝุ่นละอองนับเป็น ต้นสัก มีประสิทธิภาพในการบำ�ำบัดฝุ่นได้อย่างมี ปัญหาสำ�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพ ปริมาณน้�้ำำที่เพิ่มขึ้นในพืชมีส่วน และได้รับการจัดให้เป็นวาระสำ�ำคัญระดับโลก ส่งเสริมประสิทธิภาพของพืชในการบำ�ำบัดฝุ่นมาก ปัจจุบันมีเทคโนโลยีจำ�ำนวนมากท่ีได้รับการศึกษา ที่สุด รองลงมาเป็นปริมาณไขมันชนิดละลายน้้� ำำ เพ่ือบรรเทาปัญหาฝุ่นละออง โดยการใช้พืชเพื่อ จากการวิเคราะห์ในระดับกายภาพของพืชและใน ลดฝุ่นเป็นหน่ึงในเทคโนโลยีที่มีการรายงานว่ามี ระดับโปรตีนแสดงให้เห็นว่าพืชมีการตอบสนอง ประสิทธิภาพในการลดฝุ่นได้ รวมทั้งมีความ ต่อฝุ่น โดยการพยายามสะสมน้�้ำำไว้ภายในต้น เหมาะสมอย่างยิ่งในการนำ�ำมาใช้ในการลดฝุ่น มีการปิดปากใบ และลดอัตราการสังเคราะห์ ในพื้นท่ีเปิด ชุมชนเมืองท่ีประสบปัญหาการปน ด้วยแสง จากการวิเคราะห์ผลปริมาณโปรตีน เปื้อนดังกล่าว อย่างไรก็ตามองค์ความรู้เก่ียวกับ ชนิดต่างๆ พบว่าโปรตีนที่มีความเกี่ยวข้อง การใช้พืชในการลดฝุ่นมีอยู่อย่างจำ�ำกัดท้ังในด้าน เชือ่ มโยงกบั cell process, metabolic process การศึกษากลไกเชิงลึกด้านโมเลกุลและการศึกษา และ response to stress มีการทำ�ำงานที่ การเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพต่างๆ โดยเฉพาะ เปลี่ยนแปลงไปมาก เทียบกับต้นพืชที่ไม่ได้รับ อย่างยิ่งในไม้ยืนต้น การศึกษาวิจัยในโครงการนี้ สัมผัสฝุ่น การตอบสนองดังกล่าวมีลักษณะคล้าย มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกต้นไม้ที่มีศักยภาพ กับการรับสัมผัสโลหะหนักหรือการขาดน้้� ำำของพืช สูงในการลดฝุ่น รวมถึงศึกษาการเปลี่ยนแปลง ดังน้ันก่อนการนำ�ำเทคโนโลยีนี้ไปใช้จำ�ำเป็นต้องมี ในระดับโมเลกุล เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใน การศึกษากรรมวิธีการลดความเครียดของพืช การนำ�ำเทคโนโลยีน้ีไปใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม ซง่ึ จะชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบำำ� บดั ฝนุ่ รวมทง้ั โดยจากการศึกษาพบว่าต้นโมก ต้นชงโค และ ยืดระยะเวลาในการบำ�ำบัดฝ่นุ ของพชื ได้ 110 งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 CKnoonwlteadmgeiDnevaetloepdmeAnitr&PThrayntsfoerr feomr PeMd2.5iation by Perennials Plants Air pollution caused by particulate and reduce the rate of photosynthesis. These matter is a major environmental problem and response mechanisms are not only affecting has been on the global agenda. A number of the physical level of change but also at the technologies are currently being studied to protein level. The quantitative analysis of alleviate the problem of particulate matter. different proteins showed that the proteins Phytoremediation is one of the technology involved in the cell process, metabolic that has been reported to be an effective dust process and response to stress were removal technology. It is also very suitable for significantly altered when plant was exposed use to reduce dust in open areas. However, to PthMe2.5c.eTllheprteoncdeesnsc, ymoeftmabooslticaltperroecdepsrso,teainnds knowledge on the use of plants in dust in reduction is limited both in the study of response to stress is related to the opening molecular mechanisms and the study of and closing mechanisms of the stomata, various physiological changes. This project photosynthesis of plants Chlorophyll and aims to select trees with high potential for protection against free radicals, etc. Most dust reduction and to study the changes at the of these proteins are highly altered in plant molecular level to create a better understanding chloroplasts. The pattern of plant PM stress of how to sustainably apply this technology. response seems to be the same as in heavy The study found that W. religiosa, Bauhinia metal and drought stress. Therefore, before purpurea and Tectona grandis are an effective application of this technology, the study on plant to treat dust. Increased water content plant stress reduction methods are required in plants has the greatest contribution to the for improving PM removal efficiency and plant’s efficiency in treating dust. In addition, maintain sustainably efficiency. plant accumulate water by close the stomata 111

ใศนกั ยกภาาพรตดน้ ไกั ม้บจาับงชฝนิดุ่น PM2.5 ภายใต้แผนงาน : การใชพ้ ืชยนื ต้นบำำ� บัดฝุ่นละอองอย่างยัง่ ยนื Sustainable PM Phytoremediation by Perennials Plants หวั หน้าโครงการย่อย : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กญั จน์ ศลิ ปป์ ระสทิ ธิ ์ สงั กดั : คณะวัฒนธรรมสง่ิ แวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ Email : [email protected] ทมี วิจยั และสงั กดั : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศริ กิ ลุ ธรรมจติ รสกลุ คณะกายภาพบำ�ำบัด มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ดร. ศภุ ิกา วานิชชงั คณะวัฒนธรรมสงิ่ แวดล้อมและการท่องเทยี่ วเชิงนเิ วศ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ดร. ทพิ ย์วรินทร์ รมิ ลำ�ำดวน คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน เพิ่มความช้ืนสัมพัทธ์ในระบบ พร้อมท้ังจำ�ำลอง สามารถผ่านเข้าไปในทางเดินหายใจได้ลึก สภาพการวางแนวต้นไม้ในอุโมงค์ลม จากนั้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้แก่ เด็กและคนชรา นำำ� ขอ้ มลู วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธท์ างสถติ ิ ถงึ ปจั จยั ท่ี และคนที่มีโรคของระบบทางเดินหายใจ ทำ�ำให้ ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจับฝุ่น โดยผลงานวิจัย ในปัจจุบันได้มีการรณรงค์ต่างๆ เช่น การเพิ่ม คร้ังนี้พบว่า ชนิดพืชที่มีประสิทธิภาพในการลด พื้นที่สีเขียว เพราะต้นไม้น้ัน สามารถดูดก๊าซ สPMกั 2พ.5ะไยดงู ้แไกม่ ้พ่มุไมขย้ นืนาตด้นกลจาางมจโมรุ กี กทัลรปงพบฤากดษาล์ ชแงลโคะ คาร์บอนไดออกไซด์ และยังสามารถดักจับฝุ่น ขนาดเลก็ ไดด้ อี ีกดว้ ย งานวจิ ัยคร้ังนม้ี วี ตั ถุประสงค์ ไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ ชาฮกเกยี้ น นอี อน เขม็ แดง โดยพชื เพ่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดักจับฝุ่น และ มกี ลไกการลดฝนุ่ ไดแ้ ก่ การเพ่ิมความชื้นจากการ ความสามารถการเติบโตของต้นไม้ในพื้นท่ีมลพิษ คแแาลลยะะนมผ้้� ีำินวำ้ใ้�ชำำบห่วทยนี่ใขักหรม้ฝุขานุ่ รกะขPึ้นMรูป2.พ5ทืชจรจับงับตขัวอPกงนัMพเืช2ป.5แ็นลขโดะนยใาบดขชในห่วใญบย่ ทางอากาศในแตล่ ะพน้ื ที่ ศกึ ษาชนดิ และจำำ� นวนพชื ลดความเร็วลมช่วยเร่งการตกตะกอนของฝุ่น ท่ีเหมาะสมกับการลดฝุ่น PลMดป2.5ริมแาลณะฝหุ่นาใแนนแวตท่ลาะง ในการประยุกต์พืชดักฝุ่น การจดั วางพืช ตน้ ไม้ 2 แถว รว่ มกันระหวา่ งตน้ ไม้ พน้ื ท่ีเสี่ยง 2โด0ยทชนดดิสโอดบยปใชระค้ สวทินั ธธิภูปาเปพ็นกแารหลลด่งกำPำ� Mเน2ดิ.5 พมุ่ เตยี้ พมุ่ ขนาดกลางและตน้ ไมใ้ หญ่ ชว่ ยผลกระทบ ของต้นไม้ PM2.5 ได้ดี ร่วมกับการศึกษาลักษณะ morphology ของใบ ความหนาแน่นของปากใบ ทำ�ำการศึกษาอัตราการ 112 งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 Potential of Tree Species Ability to Capture and Retain Airborne Fine Particulate Matter (PM2.5) Small particles up to 2.5 microns apslafnotllotywpse:sBiagrtereeefifneccltuivdeinginSraemdaunceinagsaPmMan2.5, can pass deep into the respiratory tract, especially in risk groups including: Children Cassia bakeriana, Bauhinia purpurea, and old people and people with respiratory Tectona grandis, intermediate shrubs including diseases. Nowadays, there are campaigns such Wrightia religiosa, Senna surattensis and as increasing green space because trees can Shrub & Bush including Carmona retusa, suck up carbon dioxide and can also capture Leucophyllum frutescens and Lxora lobbii. small dust. This research aims to compare The plants have several mechanisms dust capture efficiency and tree growth to reduce dust including increasing capabilities in each area of air pollution, study dehydration moisture, helping pPlMan2t.s5 the right plant types and numbers to reduce dust to coagulation and gain weight, oPuMt2t.h5 edguustidienlineeaschfovruthlneearpabplleicaatrieoan and find cleaatfcshurPfaMce2s.5, by leaf feat hers and rough of plants the shape of plants and leaves rreedduuccteioPnMe2f.f5iicnieenaccyhfrvoumlne2r0apbllaenatrsesap. eTchieesPwMa2s.5 reduces wind speed, accelerates dust precipitation. The placement of plants, analyzed with the morphology characteristics 2 rows of trees, together between low shrubs, of leaves, density of the leaves, studying the medium and large shrubs, helps to reduce rate of relative humidity increase in the system, PM2.5 effects. simulating the orientation of trees in wind tunnels, and then analyzing statistical correlations on factors affecting dust catching efficiency. This research has shown that 113

โครงการพฒั นาคอนโดมอส เพื่อเปน็ อุปกรณ์ในการดูดซบั ฝุ่นละอองในอากาศ ทีม่ ีเสน้ ผา่ ศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพ้นื ท่ีเมือง หัวหนา้ โครงการ : ดร.วินัย มีแสง สงั กดั : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี Email : [email protected] งานวิจัยนี้ศึกษาและพัฒนาคอนโดมอส อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) ทำ�ำการศึกษา เพ่ือใช้เป็นอุปกรณ์ในการดูดซับฝุ่นละอองท่ีมี ประสิทธิภาพการบำ�ำบัดฝุ่นละอองขนาดเส้นผ่าน เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน ม(อPMสด2.ิน5) ศนู ยก์ ลางไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน และ 10.0 ไมครอน โดยศึกษาพืชจำ�ำนวน 5 ชนิด ได้แก่ ภายในตู้ควบคุมสภาพแวดล้อม ตู้ปฏิบัติการ (Isopterygium bancanum (Bosch & Sande จากน้ันออกแบบ สร้างคอนโดมอส และศึกษา Lac.) A. Janger) มอสแดด (Calymperes erosum ประสิทธิภาพการบำ�ำบัดฝุ่นละอองขนาดเส้นผ่าน Muell.Hal.) มอสลิิเวอร์์เวิิร์์ต (Riccia sp.) ศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน ในพ้ืนที่ริมถนน มอสขนนก (Leucobryum aduncum Dozy & จากการทดลองพบว่า ลิเวอร์เวิร์ต มีค่าดัชนีความ Molk.) และเคราฤาษี (Tillandsia usneoides ทนทานพืชต่อมลพิษทางอากาศมากที่สุด รองลง (L.) L.) ศึกษารูปแบบการติดต้ังและอัตราการ มาคือมอสขนนก ในขณะเดียวกันผลการศึกษา ไหลของอากาศภายในคอนโดมอสโดยใช้แบบ ศักยภาพในการดักจับฝุ่นของมอสขนนกมีค่าสูงสุด จำ�ำลองทางคณิตศาสตร์ (CFD) ศึกษาคุณสมบัติ และลิเวอร์เวิร์ตมีศักยภาพในการดักจับฝุ่นต่�่ำำท่ีสุด ทางกายภาพ อุณหภูมิและความช้ืนต่อการ จากการวิเคราะห์ HS-GC-MS พบสารอินทรีย์ เจรญิ เตบิ โตของพชื ดชั นคี วามทนทานพชื ตอ่ มลพษิ ระเหยง่าย (VOCs) และโพลีไซคลิกอะโรมาติก ทางอากาศ โดยมีการศึกษาพารามิเตอร์ท้ังหมด ไฮโดรคาร์บอน (PAHs) พชื ตวั อยา่ งสามารถดดู ซบั 4 พารามเิ ตอร์ ได้แก่ ปริมาณของกรดแอสคอรบ์ ิก โลหะแคดเมียมและโซเดียมไว้ในเซลล์ได้ ลักษณะ ของพชื ปรมิ าณของคลอโรฟลิ ลร์ วมของพชื คา่ pH ทางสัณฐานวิทยาของพืชท่ีใช้ในการทดสอบมี ของสารสกัดจากใบของพืช ค่าปริมาณน้�้ำำสัมพัทธ์ พฝPุM่้ืนนผล10ิวะขไอดรอุข้ รงผะพลกบมาวีรร่อ่าศงรึตกูป้ืนษแสาบาปมบราะกรสาถิทรดไธักหิภจลับาพขPอกMงารอ2.ด5าูดกแซาลับศะ ศึกษาศักยภาพในการดักจับฝุ่นซึ่งแสดงถึงความ สามารถในการเป็นตัวกรองอากาศชีวภาพของพืช ท่ีใช้ในการทดสอบ วิเคราะห์ฝุ่นละอองที่ถูกพืช ท่ีเหมาะสมคือรูปแบบแนวนอน ท่ีความเร็วลม ตัวอย่างดูดซับด้วยเทคนิค HS-GC-MS วิเคราะห์ 2.0 เมตรตอ่ วนิ าที เวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา 60 นาที ปรมิ าณของโลหะแคดเมยี มและโซเดยี มทถี่ กู ดดู ซบั สำหรับั ตู้�ควบคุมุ สภาพแวดล้อ้ ม รูปู แบบการไหลของ ดว้ ยเครอ่ื งอะตอมมกิ แอบซอรพ์ ชนั สเปกโทรมเิ ตอร์ อากาศแบบตรงแนวนอนที่�ความเร็็วลม 0.5 เมตร (AAS) วิเคราะหส์ ัณฐานวิทยาดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ ต่่อวินิ าทีี สำหรับั ตู้�ปฏิบิ ัตั ิิการ 114 งานวิจัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 115

Condo Mosses Development Project to absorb device Particulate matter 2.5 microns in Urban Areas This research study and development of condo moss that is to be used as a device to absorb dust with a diameter of fewer than 52.t5ypmeisc,rnoanmse(PlyMIs2o.5p).teTrhyegisutmudbieadncpalannutms w(Beorescohf & Sande Lac.) A. Janger, Calymperes erosum Muell.Hal., Riccia sp., Leucobryum aduncum Dozy & Molk., and Tillandsia usneoides (L.) L. Study of the installation pattern and airflow rate inside the moss condo using a mathematical model (CFD). Study of physical properties, temperature, and humidity on plant growth. Air pollution tolerance index was studied, In which the amount of ascorbic acid of the plant, total plant chlorophyll content, pH of plant leaf extracts, and Relative water content were also reported. Moreover, the dust capturing potential demonstrated the ability to be a biofilter was studied. The particulate matter adsorbed by the studied plant was analyzed by the HS-GC-MS technique. The amounts of metal cadmium and sodium adsorbed were analyzed by atomic absorption spectrometer (AAS). The morphology of plants was analyzed by Scanning Electron Microscope (SEM). The efficiency of dust treatment with a diameter of fewer than 2.5 microns and 10.0 microns in an environmental chamber, the operating room, and the designed 116 งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝุน่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 condo moss were also studied. The study were founded. The morphology of the studied revealed that the Riccia sp. has the highest plants showed a rough surface and shallow air pollution tolerance index, while the Leuco- gThroeoavbessortphtaiotnceafnfictireanpcyPsMho2.w5 eadndthaPtMth10e. bryum aduncum Dozy & Molk has the lowest value. On the other hand, the Leucobryum proper airflow pattern was a horizontal panel aduncum Dozy & Molk showed the highest with a wind speed of 2.0 m/s and the studied value of the dust capturing potential and Riccia timeof60minutesfortheenvironmentalchamber, sp. has the lowest value. From the HS-GC-MS a horizontal panel with a wind speed of 0.5 m/s analysis, volatile organic compounds (VOCs) for laboratory cabinets. and polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) 117

แแผลน่ กะรอทงำอ�ำากกาศาจรากเโฟคมลยาืองธรบรมดชาต้วิทยเ่ี ตมิไถคา่ นโกต่อกซัมมาันนต์ เพือ่ กรองอนุภาคไมเ่ กนิ 2.5 ไมโครเมตร และ ป้องกนั แบคทเี รีย หวั หนา้ โครงการ : ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิรวิ ฒั น์ ระดาบุตร สงั กดั : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี Email : [email protected] ทีมวิจัยและสังกัด : นายสายันต์ แสงสวุ รรณ, นายทินกร แก้วอนิ ทร,์ นางนชุ นาพร พิจารณ,์ นางสาวทศั นีย์ เจยี รพสอุ นันต,์ นายอมร เทศสกลุ วงศ์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผลเสียปตัญ่อหทั้างร่าPงMก2า.5ยแนลับะเคปว็นามปเัญปห็นาอทย่ีูร่ขุนอแงสรังงคสม่ง การกรองของโฟมยางธรรมชาติเทียบกับมาตรฐาน EN 14683 พบว่าประสิทธิภาพการกรองฝุ่นท่ีมี โดยรวม ดังน้ัน วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้จะทำ�ำ ขนาด 0.1 ไมโครเมตรสูงถึงร้อยล่ะ 99.2% ซึ่ง การวิจัยเพ่ือสร้างแผ่นกรองจากโฟมยางธรรมชาติ สอายม่างาแรถนย่นืนอยนันแไลดะ้วเ่ามสื่อาเปมารีรยถบกเทรอียงบฝปุ่นระPสMิทธ2.ิ5ภาไพด้ ตท้่ีมานีคแวาบมคสทาีเมราียรไถดใ้เนพกื่อาเรปก็นรอกงาฝรุ่นใช้ยPMาง2ธ.5รรพมรช้อามตทิท้ัง่ี การกรองเทียบกับแผ่นกรองทางการค้า พบว่า เป็นสารตั้งต้นที่สามารถผลิตภายในประเทศและ มีประสิทธิภาพการกรองใกล้เคียงกันนอกจากนี้ มีจำ�ำนวนมากโดยการศึกษาการขึ้นรูปเป็นโฟมยาง จากการคิดราคาต่อแผ่นพบว่าแผ่นกรองโฟมยาง และศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพ ธรรมชาติมรี าคา 759 บาทตอ่ แผ่นแต่ถา้ ไม่เคลือบ การกรองของโฟมยาง เช่น ปริมาณกำ�ำมะถัน ไคโตซานจะมรี าคา 73 บาทตอ่ แผน่ การเติมถ่านกัมมันต์ และการเคลือบไคโตซาน เพื่อช่วยต้านแบคทีเรียและประสิทธิภาพการกรอง จากผลการทดสอบ พบวา่ ประสทิ ธภิ าพการกรอง ฝนุอ่นกจPาMกน2.5ส้ี าขมอารงถโฟตา้มนยเาชงอ้ื ธรราร(Aมsชpาeตrิgสiูงllถuึงs 99% niger) และเชอ้ื แบคทีเรีย S.aureus และ E.coli ไดเ้ ปน็ อ ย ่ า ง ดี น อ ก จ า ก น้ี จ า ก ก า ร วั ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 118 งานวิจยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 Air filter obtained from natural rubber latex foam with activated carbon and coated chitosan for filtered particulated matter 2.5 micrometer (PM2.5) filtration, and antibacteria problePmartthicautlaaftfeecmtsatbtoetrh(hPuMm2.a5)n is seriously and society. The objectives of this work were preparation of PasMf2u.5nfgiltieor batniadnaebdiliftryomto anti bacterial as well natural rubber latex foam. The parameters, contained of rubber foaming, filtration efficiency and anti-baterial (S. aureus and E. coli) as well as fungi (A. niger) properties, were studied. The results show that 9P9M%2.5anfidltrtahteioanntei-fbfiaccietenrciayl was obtained with together with fungi properties were also achieved. Furthermore, the filtration efficiency of latex foam was measured by using EN 14683 standard method. It is found that the ability to fainltdrattehePMfilt2r.5awtioans highly enhanced to 99.2% efficiency could be compare with commercial air filters. The prize of rubber foam air filter coaing with chitosan is 759 Thai Baht/sheet and without chitosan is 73 Thai Baht/sheet 119

แแผลน่ ะวลัสดดคุ ฝอุน่มโลพสะอิตลอวงดขนานโนาซดลิ ไเวมอ่เรก/์ ถนิ ่าน2ไม.้5ไผ่ใไนมกคารรกำอ�ำจนัด หวั หนา้ โครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.อภิรกั ษ์ ชัยเสนา สงั กัด : มหาวิทยาลัยราชภฏั ลำ�ำปาง Email : [email protected], [email protected] ทมี วิจยั และสงั กัด : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สาํ เริง นราแก้ว, ดร.ศิวัช ตั้งประเสรฐิ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาํ ปาง มลพิษทางอากาศเป็นปัญหาร้ายแรงอย่าง จากการทดสอบประสิทธิภาพและหาสภาวะที่ หนึ่งในปัจจุบันโดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็ก เหมาะสมของการใช้แผ่นกรองวัสดุคอมโพสิต ไม่เกิน 2.5 ไมครอนและมีผู้ทำ�ำวิจัยจำ�ำนวนมากที่ ลวดนาโนซิลเวอร์/ถ่านไม้ไผ่ในการกำ�ำจัดและ พยายามจะแก้ปัญหาน้ีแต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยี ลดฝุ่นละอองขนาดเล็กกับต้นแบบกล่องกรองฝุ่น แผ่นกรองที่มีการใช้งานอยู่ในปัจจุบันยังคงมี พบวา่ ตอ้ งจา่ ยกระแสตรงท้ังบวกและลบโดยขวั้ ลบ ข้อจำ�ำกัด เช่น ใช้แรงดันไฟฟ้าสูง ไม่สามารถใช้ 5 โวลต์ ข้วั บวก 12 โวลต์ อัตราการไหลของอากาศ แผ่นกรองซ้�้ำำได้และความดันลดสูงงานวิจัยน้ีมี 0.12 เมตรต่อวินาที ความดันลด 10 ปาสกาล วัตถุประสงค์เพื่อเตรียม ทดสอบลักษณะและ จะกำ�ำจัดฝุ่นละอองขนาดเล็ก (่ อPลMู ก2.5บ) เหลือเพียง สมบัติของแผ่นวัสดุคอมโพสิต ลวดนาโนซิลเวอร์/ ไม่เกิน 25 ไมโครกรัมต าศก์เมตร ถ่านไม้ไผ่และทดสอบประสิทธิภาพโดยการจำ�ำลอง ตั้�งแต่่เครื่�องเริ่�มทำงานและไม่่เกิิน 5 ไมโครกรััม ในระดับห้องปฏิบัติการเพ่ือหาสภาวะท่ีเหมาะสม ต่่อลููกบาศก์์เมตรหลัังจากวิินาทีี 120 เป็็นต้้นไป สำ�ำหรับการขยายระดับการผลิตและหารูปแบบ จากข้อมูลเม่ือนำ�ำมาประกอบเป็นเคร่ืองต้นแบบ หรือโมเดลของการนำ�ำไปใช้งานที่เหมาะสมสำ�ำหรับ แผ่นกรองวัสดุคอมโพสิตลวดนาโนซิลเวอร์/ ในอาคารและบ้านพัก ในการศึกษาครั้งน้ีได้แสดง ถา่ นไมไ้ ผแ่ ละนำำ� ไปทดสอบพบวา่ จะมปี ระสทิ ธภิ าพ ให้เห็นถึงนวัตกรรมใหม่ของเคร่ืองกรองอากาศ ในการกำ�ำจัดฝุ่นละอองขนาดเล็กได้เฉล่ีย จากหลักการไฟฟ้าสถิตและการดูดซับโดยใช้แผ่น ถึงร้อยละ 99.90 ให้เสียงรบกวนต่่� ำำ ประหยัด วัสดุคอมโพสิตลวดนาโนซิลเวอร์/ถ่านไม้ไผ่เพ่ือ พลงั งาน แผน่ กรองสามารถนำำ� กลับมาใช้ซ้้� ำำใหม่ได้ เสริมประสิทธิภาพการดักจับฝุ่นละอองขนาดเล็ก (ตามกระบวนการจุ่มอย่างง่ายในเอทิลีนไกลคอล) โดยสภาวะท่ีเหมาะสมในการเตรียมคือ แผ่นวัสดุ ต้นทุนการผลิตต่อเคร่ืองต่่� ำำโดยพบว่ามีต้นทุน คอมโพสิตลวดนาโนซิลเวอร์/ถ่านไม้ไผ่ได้จากส่วน ประมาณ 873.07 บาท (ไม่รวมค่าแรง) ผสมระหว่างลวดนาโนซิลเวอร์ท่ีมีความเข้มข้น ดังนั้นการผลิตเครื่องกรองฝุ่นละอองวัสดุ 8 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรกับถ่านไม้ไผ่ร้อยละ 0.1 คอมโพสิตลวดนาโนซิลเวอร์/ถ่านไม้ไผ่จึงมีความ จุ่มเคลือบจำ�ำนวน 9 รอบ อบผนึกด้วยอุณหภูมิ เป็นไปได้ที่จะผลิตออกมาจำ�ำหน่ายในราคาที่ 120 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 15 นาทที ใ่ี หค้ า่ สภาพ ไม่แพงและให้ประสิทธิภาพสูงในการกำ�ำจัดฝุ่น ความต้านทานแผ่นต่่� ำำถึง 4.1 โอห์มต่อสแควร์ ละอองขนาดเล็กทเ่ี ป็นปัญหาในปัจจุบัน 120 งานวิจัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 Amgantaenroiawlirset/rbaamnbsopoacrheanrtcofaolrccoampptousirtee and elimination of PM2.5 Air pollution is one of the most serious charcoal composite filter with a charmber problems today. In particular, particulate prototype to eliminate and reduce particulate matter with aerodynamic diameter less than matter. It was found that both negative and 2.5 micrometers is representative and a lot positive direct current must be supplied by of research tries to solve this. However, 5 volts and 12 volts, with an air flow rate of existing technology still has limitations such 0.12 m/s and a pressure drop of 10 Pa. can be as high driving voltage, non-reusability, and initially dropped to 25 µg/m3 when started and high pressure drop. This research aims to maintained under 5 µg/m3 after 120 seconds prepare and characterize the properties of until the end of the experiment. When fabricated silver nanowire/bamboo charcoal composite and tested as an air purifier prototype, the materials. Test the effect of silver nanowire/ efficiency at capturing PnMoi2s.5ew,aesn9e9r.g9y0%sa. vAilnsgo,, bamboo charcoal composite material sheet for the prototype is low reduction of particulate matter by simulating reusable (simple washing process in ethylene it at laboratory level to find optimal conditions glycol) and low cost (about 873.07 baht for expanding production levels and to find (not excluding labor costs)). As a result, a suitable model fsotrudsyoldveinmgoPnsMtr2a.5tepsroabnleomvesl a commercially available new fabricated air in indoor air. This purifier prototype is now possible at a low fabrication of air purifiers based on electrostatic cost and with high efficiency in removing the andadsorptionprinciplesusingasilvernanowire/ particulate matter that is currently a problem. bamboo charcoal composite material to enhance the rpemr eopvaarlaot ifoPnMa2.5r.e The best conditions for sil ver nanowire/ bamboo charcoal composite materials made from a mixture of 8 mg/mL silver nanowire and 0.1% w/v bamboo charcoal, dipped in 9 cycles of coating, annealed at 120 °C for 15 minutes, and providing sheet resistance as low as 4.1 Ω/sq. From the results in performance and finding the optimum conditions, we use a silver nanowire/bamboo 121

เกคารพลัฒือนาบไสดก้ รอว้ งอยากสาศาซิลริกอโนฟคารโ์ไตบดคจ์ ากะเตซละลูโลลสิสพืชต ์ หวั หน้าโครงการ : ดร.ปยิ าลัคน์ เงนิ ชูกล่ิน สงั กัด : สถาบันวจิ ัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย Email : [email protected] ทีมวิจยั และสังกัด : วาสนา ฆ้องวงศ,์ ชมุ พล บุษบก สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย ปัญหาสภาพอากาศในประเทศไทยที่มี ทำ�ำแห้งแบบเยือกแข็ง (Freeze dry) หรืออบไล่ ฝนุ่ ละอองสงู เปน็ ปญั หาใหญท่ ย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ข ความชนื้ แลว้ นำ�ำไปผ่านกระบวนการเผาไพโรไลซสี ฝนุ่ ละอองมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 10 ไมโครเมตร เพื่อให้ได้ถ่านคาร์บอนพรุนตัว จากน้ันนำ�ำถ่าน ((อPPุตMMส12า0.5ห)) กหเรชรรอื ่นมเลฝก็ฝุ่นกุ่นจวจา่าากกขวกนัสาดารดุกเไผ่อมาส่เปกร้า่าินงแ2ลฝ.ะ5ุ่นวจัสไมาดกโุเคหโรรลงเือมงาทตนร้ิง โครงสรา้ งรูพรุนของพืช เคลอื บดว้ ยผงซลิ กิ อน (Si) และเผาอุณหภูมิสูง (1300-1500 oC) เพ่ือให้เกิด ปฏิกริ ยิ าเป็นผิวเคลือบซิลกิ อนคารไ์ บด์ จากนน้ั ชั้น ทางการเกษตร ซ่ึงส่วนมากเป็นอนุภาคซิลิกา นอกสุดของไส้กรองจะถูกเคลือบด้วยสารโฟโตคะ มีผลต่อการระคายเคอื งของตา ผวิ หนัง ระบบการ ตเพะ่ือลใิสหต้เ์ชกนิดิดกการราฆฟ่าิตเชิกื้อแซบิลิกคอทนีเรไียนแไตลระด/์ห(รgือ-Cไว3Nร4ัส) หายใจ จนถึงขั้นร้ายแรง คือ มะเร็งปอด ดังน้ัน ในงานวิจัยน้ี จงึ ไดท้ ำ�ำการศึกษาและพัฒนาไส้กรอง ด้วย และนำ�ำไส้กรองซิลิกอนคาร์ไบด์เคลือบสาร อากาศเพ่ือใช้เป็นตัวกรองในเครื่องกรองอากาศ โฟโตคะตะลิิสต์์ที่่�พััฒนาได้้ ไปประกอบในเครื่�อง รวมถึงการออกแบบเครื่องกรองอากาศต้นแบบ กรองอากาศต้้นแบบ ผลการทดลอง สรุุปได้้ว่่า เพ่ือใช้ภายในบ้านเรือน และสามารถต่อยอดเป็น สภาวะการเผาคาร์์บอไนต์์เพื่�อให้้ได้้เป็็นถ่่านที่� ตัวกรองในโรงงานอุตสาหกรรม โดยไส้กรองถูก คงรููปและเปอร์์เซ็็นต์์สารระเหยมากที่่�สุุดของพืืช เตรียมจากโครงสร้างพืชท่ีมีรูพรุนของเซลลูโลส ท่ีเลือกมา 11 ชนิด ได้แก่ ก้านใบธูปฤาษี ท่ีเหมาะสำ�ำหรับเป็นตัวกรองมาผ่านกระบวนการ กา้ นดอกธปู ฤาษี กระจูด ออ้ (ขดู ผิว และไมข่ ูดผวิ ) ก้านดอกบัวหลวง ผักตบชวา สายบัวกะลาปาล์ม ไม้ไผ่ (ขูดผิว และไมข่ ดู ผวิ ) คือ ทอ่ี ุณหภมู ิ 800 oC นาน 90 นาที เมื่อนำ�ำถ่านไปเตรียมไส้กรอง ซิลิกอนคาร์ไบด์ด้วยกระบวนการคาร์โบเทอร์มิก โดยการเคลือบผงซิลิกอนบนผิวของถ่านไบโอชาร์ พบว่า ท่ีผิวของถ่านไบโอชาร์เกิดเส้นใย นาโนซลิ กิ อนคารไ์ บดป์ กคลมุ ซง่ึ มขี นาดเลก็ และมพี นื้ ท่ี ผวิ สงู มขี นาดรพู รนุ เฉลย่ี 0.1-4 ไมครอน มปี รมิ าณ รูพรุนในช่วง 50-80% ผลการสังเคราะห์สาร โฟโตคะตะลิสต์จากการเผายูเรียที่อุณหภูมิ 122 งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 ส40ังเ0ค-ร6า0ะ0หo์ทCี่อณุ ไดหเ้ ปภน็มู ิส5า5ร0go-CC33N04 จากนัน้ นำำ� สารที่ โดยใช้พัดลมดันอากาศให้ผ่านไส้กรอง เพ่ือจำ�ำลอง นาที มาเติมด้วย การทดสอบประสทิ ธภิ าพการกรองของเครอ่ื งกรอง ผง Sn 0.1, 0.3, 0.5 และ 1% โดยโมล นำ�ำผงไป ต้นแบบโดยใช้อนุภาคแป้งมัน พบว่า เคร่ืองกรอง ทดสอบการสลายตัวของเมทาลีนบลู โดยเติมสาร สามารถกักเก็บฝุ่นไว้ด้านล่างของห้องกักเก็บ 0.05 กรัมต่อน้�้ำำเมทาลีนบลู 120 มิลลิลิตร และ โดยอนุภาคแป้งไม่สามารถผ่านขึ้นไปห้องกรอง ฉายแสง พบว่า สีของเมทาลีนบลูจางลงเร่ือยๆ ด้านบน เป็นผลเบ้ืองต้นท่ีเคร่ืองกรองสามารถ จนกระท่ัง สีจางหายไปหมดเมื่อเวลาผ่านไป กรองฝนุ่ ระดับ PM2.5 ได้ 12 ช่ัวโมง น่ันหมายถึงสารโฟโตคะตะลิสต์ มีแนวโน้มในการฆ่าเช้ือแบคทีเรีย ผลการทดสอบ ประสทิ ธภิ าพการกรองตามมาตรฐานASTMF2299-03 ข อ ง ไ ส ้ ก ร อ ง ซิ ลิ ก อ น ค า ร ์ ไ บ ด ์ เ ค ลื อ บ ส า ร โฟโตคะตะลิสต์ชนิด ไผ่ (ขูดผิว และไม่ขูดผิว), อ้อ (ขูดผิว และไม่ขูดผิว) และก้านดอกธูปฤาษี พแตบอ่ วย่าา่ งสไารมกตา็ ราถมกยรงั มอคีงอา่ คนวุภาามคดนั PตMก2ค.5รอ่ไดม้ 95-99% (Delta P) มซึ่ีคงตา่ ้อ7ง6ม2ีกmารmพัฒHน2Oาเพซ่งึ่ิมยเงัตคิมงมใคีนา่ สส่วงู นกทวา่ ้ามยาสตุดรฐคานือ การสร้างเคร่ืองกรองอากาศต้นแบบ ที่ออกแบบ 123

fDerveolompmenCteoflSliliucoln Coasrbeide ACiroFialtetres d with Photocatalyst Crisis of air/dust pollution in Thailand prototype. We can conclude all five activities is a serious problem that still needs to be in this project as following. The carbonization brsemusilaodlllivenergdac, soensPspMtercu2.i5cattlihloyan,t,iuinnsduduauslsltytriatgylepfnaeecsrtoaPtreMyd, 1f0ofrraoenmsdt (temperature and soaking time) of 11 types of biological plants to obtain high fixed carbon and volatile matter were studied. It was found that and agricultural waste burning. Most dust are temperature at 800 oC for 90 minutes was the composed of the silica particles which can be optimize condition to obtain high fixed carbon accumulated and caused eye and skin irritation, of biochar. So this condition will keep for firing respiratory problem and finalized became lung profile in further carbonization experiment. The cancer. Therefore, this project aims to study Si powder was infiltrated on biochar to form and develop air filter and air filter prototype silicon carbide coating surface and followed for home use and further develop for industrial by carbothermic reaction. The results showed factory. The air filter was fabricated from that SiC nanowires were generated cover all hierarchically built structural morphologies of of area on biochar as a result of larger surface biological plants. Such plants were freeze dried area of the filter. It was found pore diameter and then pyrolysis to obtain porous biochar was 0.1 - 4 micron with porosity in a range of which further react with Si powder at various 50-80% along with the characteristic of each high temperatures to form SiC layer coated plant. These results showed great tendency on biochar. Finally, the most outer surface for filter application. The synthesis of graphitic of porous SiC filter was coated with graphitic silicon na4itt0r50i5d-0e60o(C0g-fooCCr3.N340T)hmpehinrouettsoeucsaltwtaoalysf scgth-foCrso3eNmn4 silicon nitride v(igru-sC3kNil4le)r.pFhiontaollcya, tSailCy st for urea at bacteria and/or filters powder coated photocatalyst were assembly for air filter to dope with Sn powder at 0.1, 0.3, 0.5 and 124 งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 1% by mole to improve photocatalytic activity. of filter 95-99% PM 2o.5.bHseorwveevdewr,hhiicghh pressure The test result of methylene blue concentration drop (Delta P) was still over of 0.05 g/120 ml water simultaneously light the standard value. Thus, further development exposing demonstrated that methylene blue of this issue should be process. The final concentration (color) was gradually degraded step reported on SiC filter prototype that was to clear color within 12 hour. This was developed by flowing the air through starch pcoonsscilbudleebdethaafftegc-t(eCd,Ston)b3aNc4t e prhiao.toTchaetarelyssutltms aoyf powder for testing filter efficiency. It was found that air filter prototype could collect the starch filter efficiency of bamboo (with and without powder at the lower part of filter chamber and skin), reed grass (with and without skin) and not allow to pass through the SiC filter. This Typha angustifolia Linn stem as followed ASTM test is the preliminary result of SiC filter that F 2299-03 observed that all filters were capable showed the ability to filter PM2.5 dust particles. 125

โกใดนารพกยฒั าในชารเค้ปสรื่อฏลงฟิกาอกยิรอายิ กPาาศMภเารย2น่ง.อ5เกชอางิ คาแรสง หวั หน้าโครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ชำ�ำนาญ ราญฎร สงั กดั : คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ Email : [email protected] ทมี วจิ ัยและสังกัด : ดร.สจุ ิตรา ทันดร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ในงานวจิ ยั นไ้ี ดท้ ำำ� การเตรยี มวสั ดเุ ชงิ ประกอบ ซังข้าวโพดและเศษใบไม้ ด้วยกระบวนการเร่ง ไฮโดรเจล/ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงจากอะคริลาไมด์ ปฏิกิริยาเชิงแสงภายใต้แสงจากดวงอาทิตย์ และพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ผ่านปฏิกิริยาฟรีแรดิคัล พบว่า วัสดุมีความสามารถในการเป็นตัวเร่ง พอลิเมอไรเซชัน โดยใช้ แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต ปฏิกิริยาเชิงแสงในการสลายสารอินทรีย์ในฝุ่น (APS) เป็นตัวริเร่ิมปฏิกิรยิ า เอน็ ,เอน็ -เมทลิ นี -บีส- วPฝัMุส่นด2.ุ5PกผM่อลน2ก.5แาทรล่ีมวะาเิ คหจรลาากังะกแหหาอ์ รลงคใ่งหป์กำ้รแ�ำะเสนกงอิดบตพเ่าคบงมวๆใี ่านปบตรนวั ิอมแยาผา่ณ่นง อะคริลาไมด์(NMBA) เป็นสารเชื่อมขวางและ ซิงค์ออกไซด์ (ZnO) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง ผลการทดลองพบว่าซิงค์ออกไซด์จะเกิดการ สารพอลไิ ซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคารบ์ อน (PAHs) กระจายตัวและยึดเกาะกับไฮโดรเจลได้ดีและ บนแผ่นวัสดุหลังการให้แสงมีค่าลดลงอย่างมีนัย สามารถข้ึนรูปวัสดุในหลายรูปแบบ การทดสอบ สำ�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งเหมาะสำ�ำหรับนำ�ำไป ความสามารถของวัสดุใ นกา รสลายฝุ ่นกาPรMเผ2.า5 ใช้ในระบบฟอกอากาศ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพใน จากแหล่งกำ�ำเนิดต่างๆ เช่น ควันธูป การกำำ� จัดฝุน่ PM2.5 126 งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 Duetveilloipzmienntgofpohutodtooorcaiartpuarlifyietr ic degradation of PM2.5 In this research, the photocatalyst/ to be effective for the degradation of organic hydrogel composite materials were synthesized compound in hPeM2r.5essaumltsplesshouwndeedr sunlight via free radical polymerization of acrylamide irradiation. T that the and polyvinyl alcohol, using ammonium amounts of PAHs emitted from various sources persulfate (APS) as an initiator, N,N-methylene- significantly decreased after photodegradation bis-acrylamide(NMBA) as a crosslinker and process (p<0.05). Therefore, the photocatalyst/ zinc oxide(ZnO) as a photocatalyst. The results hydrogel composite materials have good revealed that ZnO nanoparticles were uniformly potential to be applied as promising material distributed into hydrogel. In addition, for air purification. the photocatalytic activity of the prepared composite materials was examined for the degradation of sfmineokpearatincdulabtieommaasttserb(uPrMni2n.5g) from incense (corn cob and leaf litter) under sunlight irradiation. The hcheemphicoatloccoantsatiltyusetn/thsyidnrPoMge2.5l samples on t composite materials before and after photodegradation process were analyzed. The prepared hydrogel composite was found 127

การขยายกำำ� ลงั การผลติ วสั ดคุ อมพอสทิ ของไฮดรอกซอี ะพาไทต์ และไททาเนียมไดออกไซค์เพื่อใช้เป็นสารเคลือบแผ่นกรองสำ�ำหรับ อหนุตา้สกาาหกกอรนรมามเพยั ่ือทป่มี ้อีปงรกะันสโทิรธคิภตาิดพตส่อูงเกในี่ยกวากรับกรระอบงบPทาMง2เ.ด5 ินในหราะยดใบัจ ทีเ่ กดิ ขึน้ เนือ่ งจากปัญหา PM2.5 หวั หนา้ โครงการ : ดร.นฤภร มนต์มธรุ พจน์ สังกัด : ศนู ย์วจิ ยั เทคโนโลยสี ่ิงอำ�ำนวยความสะดวกและเครือ่ งมือแพทย์ สำ�ำนักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) Email : [email protected] โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือขยายกำ�ำลัง และปจั จยั อ่นื ๆ ทแ่ี ตกตา่ งไปจากการผลิตในระดบั การผลิตวัสดุคอมพอสิทของไฮดรอกซีอะพาไทต์ ห้องปฏิบัติการ แต่วัสดุคอมพอสิทฯ ที่สังเคราะห์ และไททาเนียมไดออกไซค์เพ่ือใช้เป็นสารเคลือบ ได้ยังมีคุณสมบัติเหมือนเดิม โดยสามารถขยาย แผน่ กรองสำำ� หรบั หนา้ กากอนามยั ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ กำ�ำลังผลิตจากเดิม 250 กรัม/รอบการผลิต ในการกรองฝนุ่ ละอองจว๋ิ ขนาดอนภุ าคเฉลย่ี เลก็ กวา่ เป็น 15 กิโลกรัม/รอบการผลิต และเม่ือนำ�ำไป ซ2.ึ่ง5จะไสม่งคผรลอในห้สหารมือารถPลMด2ผ.5ลใกนรระะทดบับทอี่มุตีตส่อาสหุขกภรารพม ผลิตเป็นน้�้ำำเคลือบสำ�ำหรับเคลือบบนผ้าไม่ถักทอ (Nonwoven) หรือผ้าที่มีลักษณะเป็นแผ่นข้ึน โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจของประชาชน รูปโดยตรงจากเส้นใยโดยไม่ผ่านกระบวนการ อแลนั ะเนล่ือดงกมาารจแาพกรฝก่ ุ่นรละจะอายอขงอขนงเาชดอื้ เโลร็กคใทนที่ รำำ�ะใดหับเ้ กPดิ Mโร2ค.5 ถักหรือทอ แต่ผลิตขึ้นด้วยกระบวนการอ่ืน เช่น กระบวนการทางเคมี กระบวนการทางกล ท่ีเก่ียวกับระบบทางเดินหายใจจากบุคคลหน่ึงไปสู่ กระบวนการทางความร้อน เป็นต้น ชนิดเส้นใย บุคคลอ่นื ได้ พอลเิ อสเทอรผ์ สมเสน้ ใยเรยอน (50% โดยน้้� ำำหนกั ) จากการดำ�ำเนินงานพบว่าการขยายกำ�ำลัง พบวา่ แผน่ กรองทไี่ ดม้ คี ณุ สมบตั เิ ปน็ ตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ า การผลิตวัสดุคอมพอสิทฯ ต้องมีการปรับขนาด ทางแสงที่ดี ดังน้ันจึงได้นำ�ำผ้าไม่ถักทอเคลือบด้วย ของเครื่องจักรและปัจจัยในการกระบวนการผลิต วัสดุคอมพอสิทฯ ไปผลิตเป็นหน้ากากอนามัย เชน่ ปรมิ าณสารเคมี ระยะเวลาในการทำ�ำปฏิกริ ยิ า จำ�ำนวน 2 ชนิด คือ ชนิด KN95 ซึ่งเป็น 128 งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 หน้ากากอนามัยท่ีมีรูปทรงตามมาตรฐานของ การขยายกำ�ำลังการผลิตวัสดุคอมพอสิทของ ประเทศจีน และ ชนิด KF94 ซ่ึงเป็นหน้ากาก ไฮดรอกซีอะพาไทต์และไททาเนียมไดออกไซด์ อนามยั ทม่ี รี ปู ทรงตามมาตรฐานของประเทศเกาหลี ในรปู แบบโรงงานนำ�ำร่อง (Pilot plant) เพอื่ ขยาย โดยหน้ากากอนามัยท้ัง 2 ชนิด เป็นที่นิยมนำ�ำมา กำ�ำลังการผลิตในระดับอุตสาหกรรมน้ี จะช่วยลด ใช้งานสำ�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์และบุคคล ความเสี่ยงของผู้ประกอบการในการผลิตวัสดุ ท่ัวไป โดยได้จ้างโรงงานผู้ผลิตหน้ากากอนามัย คอมพอสทิ ดงั กลา่ วหากมกี ารถา่ ยทอดเทคโนโลยนี ้ี ทไ่ี ดร้ บั มาตรฐาน พบวา่ หนา้ กากอนามยั ทง้ั 2 ชนดิ ไปยังผูป้ ระกอบการท่ีมคี วามสนใจ ซงึ่ เป็นโอกาส มไดีป้ถระึงสทิ 9ธ9ิภ%าพใซนึ่งกมาีปรกรระอสงิทPธMิภ2า.5พแใลกะลก้เรคอียงไงวกรับัส ในการสร้างศักยภาพการผลิตหน้ากากอนามัย ท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันฝุ่นละออง หน้ากากอนามัยท่ีผลิตด้วยแผ่นกรองเคลือบวัสดุ ขหนนา้าดกเาลกก็ อPนMา2ม.5ัยขเนึ้พใ่ือนตปอรบะสเทนศองทตำำ� ่อใหสส้ภาามวาะรมถลผพลิษติ คอมพอสทิ ฯ ทไ่ี ดจ้ ากการผลติ ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดยหน้ากากอนามัยทั้ง 2 ชนิด สามารถจัดอยู่ใน ทเี่ กดิ ขน้ึ ในประเทศไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที เปน็ โอกาสใน ประเภท Type IIR ตามมาตรฐาน (EN14683:2019) การลดการนำำ� เขา้ หนา้ กากอนามยั ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ หรอื Level 3 ตามมาตรฐาน (ASTM F2100:2019) ปปร้อะงเกทันศทP่ีมMปี 2ัญ.5หไาดด้ งั แกลละ่าสว่งไดเสอ้ รกี ิมดก้วายรส่งออกไปยัง ซ่ึงมีประสิ ทธิภาพ ใ นการกรอ งP M 2T.5ypแeล ะ กรองไวรัส สูงกว่า หน้ากากอ นามั ย I ตามมาตรฐาน (EN14683:2019) หรือ Level 1 ตามมาตรฐาน (ASTM F2100:2019) 129

Industrial Upscaling of Hydroxyapatite and Titanium dioxide Composite Material using as a Filtered-Coating Material for Filtering Face Mask Having High Protection Efficiency orfesPpMir2.a5 tfoorrypsryesvteenmtiocanuinsifnegctbiyouPsMd2.5isease This project involved production upscale Two patterns of face mask, KN95 and KF94, of hydroxyapatite/titanium wdaiosxuidseed(HasAa/TcitOiv2e) were produced by manufacturers who have composite material, which certified ISO 13485 standard. These patterns filtering material for surgical face mask, were chosen for production trials because providing high protection efficiency doifsPeMas2e.5 they are widely used and provide high filtration and thus preventing in fectious efficiency to protect respiratory system. The respiratory system. Consequently, the public standard test results on the two face masks health problems particularly in the respiratory reported high particle filtration efficiency sspysreteamd ocfaCuOsVedIDb-1y9PcMou2.l5dabnedpcreuvrerenntetldy. wide (PFE) and viral filtration efficiency (VFE) up to 99%. Referring to ASTM F2100:2019 For production upscale, it is necessary and EN14683:2019, both face masks could to adopt larger machines and adjust several be identified as Type IIR or Level 3 which provide processing conditions such as composition a better filtration efficiency than face mask formulations and reaction times, which were Type I or Level 1. largely different from those of laboratory Considering supply chain of high filtration production scale. The parameters were efficiency face mask production, upscaling of successfully adjusted for optimal condition to - hydroxyapatite and titanium dioxide composite synthesize aHsAt/hTaiOt p2rcoodmupceodsiitne with comparable to a pilot scale could reduce production risk and properties laboratory scale. ensure industrial production for the potential The production capacity was increased from companies who are interested in technology 250 g to 15 kg in each production time, resulting transferring. This could be an opportunity in much less production cost. The aHAs/luTriOry2 to produce filtering face mask having a high composite were then prepared in protection efficiency not oinnfleyctoiofuPsMdi2s.5eabsuet form for coating on polyester/rayon (50%wt.) also COVID-19 to prevent nhaovniwngovgeono.dThpehoHtoAcTaitOa2l-yscisoapterodpnerotniewso, vweans, respiratory system. Furthermore, an export of high protection face mask could be a new used as a filter layer in surgical face mask. opportunity for Thai medical industry. 130 งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 131

การลดปรมิ าณอนุภาคเขม่าควันดำำ� จากไอเสียเครื่องยนตด์ ีเซล ทแล่ีใชะอ้เชปุ ้อื กเพรณลิงก์ ผรสอมงเมอลทพานษิ ออลน-ุภไบาคโอเขดมีเซ่าล-ดเี ซล หัวหนา้ โครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา การนิ ทร์ สงั กดั : ภาควชิ าวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะวิศวกรรมศาสตร ์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั E-mail : [email protected] กิจกรรมของมนุษย์น้ันส่งผลโดยตรง การติดตั้งระบบออกซิเดชั่นแคตาลิสและอุปกรณ์ ต่อการเปล่ียนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ สาเหตุ กรองเขมา่ แบบไหลผา่ นบางสว่ นตน้ แบบ ผลกระทบ ท่ีมีนัยสำ�ำคัญต่อการปล่อยมลพิษท่ีส่งผลต่อ ของเช้ือเพลิงชีวภาพผสมต่อการวิเคราะห์ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศคือการขนส่ง การเผาไหม้ในเคร่ืองยนต์ได้ทดสอบเครื่องยนต์ โดยเฉพาะมลพิษิ จากเชื้�อเพลิงิ ฟอสซิลิ กลุ่�มประเทศ บนชุดทดสอบสมรรถนะและประสิทธิภาพ ยุโุ รป อเมริกิ า ญี่�ปุ่�น และเกาหลีใี ต้้นั้�น มีีการบังั คัับ เครื่องยนต์ ณ ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยียานยนต์ ใช้้กฎหมายควบคุุมมลพิิษ สองแนวทางที่่�สามารถ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลดปริิมาณมลพิิษคืือการใช้้เชื้�อเพลิิงทางเลืือกและ ลาดกระบัง สัณฐานวิทยาและโครงสร้างระดับ การติิดตั้�งอุปุ กรณ์ก์ รองมลพิษิ นาโนของอนุภาคเขม่าท่ีถูกปล่อยออกมาจาก ในงานวิจัยน้ี ได้ทำ�ำการศึกษาโดยใช้สอง เครอ่ื งยนตท์ ใ่ี ชเ้ ชอ้ื เพลงิ ตา่ งชนดิ กนั จะถกู วเิ คราะห์ แนวทางดังกล่าวโดยการใช้เช้ือเพลิงผสมดีเซล ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน ไบโอดีเซล ไบโอเอทานอล ดีเซลออกซิเดช่ัน นอกจากนี้� อุุปกรณ์์กรองเขม่่าแบบไหลผ่่าน แคตาลิส และอุปกรณ์กรองเขม่าแบบไหลผ่าน บางส่่วนถููกออกแบบให้้เหมาะสำหรัับติิดตั้�งใน บางส่ว่ น การใช้เ้ ชื้�อเพลิงิ ไบโอดีเี ซลและไบโอเอทานอล รถเก่่าที่่�มีีมาตรฐานไอเสีียไม่่เกิินระดัับยููโร 4 ถืือเป็็นเชื้�อเพลิิงที่�ยั่�งยืืนและสามารถลดการ โดยทดสอบรถยนต์ดีเซลที่ติดต้ังอุปกรณ์ดังกล่าว ขาดแคลนของเชื้�อเพลิิงฟอสซิิลได้้ ส่่วนการใช้้ บนชุดทดสอบสมรรถนะและประสิทธิภาพ อุุปกรณ์์กรองเขม่่าแบบไหลผ่่านบางส่่วนนั้�น รถยนต์ ณ ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยียานยนต์ สามารถผลิติ และติดิ ตั้�งกับั รถใช้แ้ ล้ว้ ในประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ได้้ดัังตััวอย่่างที่�เกิิดขึ้�นในประเทศเกาหลีีใต้้ ลาดกระบัง และห้องปฏิบัติการตรวจวัดมลพิษ ในโครงการนี้ได้ทำ�ำการศึกษาปริมาณอนุภาค จากยานพาหนะ กรมควบคมุ มลพษิ จากผลการศกึ ษา เขม่าควันดำ�ำจากไอเสียของเคร่ืองยนต์จุดระเบิด พบว่่าอุุปกรณ์์กรองเขม่่าแบบไหลผ่่านบางส่่วนที่� ด ้ ว ย ก า ร อั ด โ ด ย เ ช้ื อ เ พ ลิ ง ที่ มี ส ่ ว น ผ ส ม ใช้้ควบคู่่�กัับเชื้�อเพลิิงชีีวภาพสามารถลดปริิมาณ เอทานอล-ไบโอดีเซล-ดีเซล เช่น B10 (0-10-90) อนุุภาคเขม่่าควัันดำได้้มากกว่่าร้้อยละ 50 เมื่�อ B20 (0-20-80) B20E5 (5-20-75) และ เทีียบกับั เชื้�อเพลิิงดีเี ซลที่�ไม่่มีรี ะบบกรองเขม่่าแบบ B20E10 (10-20-70) เปรีียบเทีียบกัับกรณีีที่่�มีี ไหลผ่่านบางส่ว่ น 132 งานวิจัยและนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 133

Diesel Engine’s Particulate Matters Reduction using Ethanol-Biodiesel-Diesel Fuel Blends and Particulate Filter It is undeniable that there is a link B10 (0-10-90), B20 (0-20-80), B20E5 (5-20-75) between human activity and climate change. and B20E10 (10-20-70) were used to investigate A significant source of emissions that can and test the emissions of soot particles by cause this climate change is transportation, comparing the test results with and without specifically emissions from using fossil fuels. diesel oxidation catalyst (DOC) and partial Europe, USA, Japan, and South Korea have flow diesel particulate filters (P-DPF) prototype tightened emission controls to combat this. system. The effect of blended biofuels in Two methods of reducing emissions are with enginecombustionanalysiswerealsostudiedon fuel and with exhaust after-treatment systems. KMITL engine dynamometer. The morphology This research investigated these two and nanostructure of soot which emitted by methods using various mixes of fossil fuel different types of fuels were also investigated diesel, biodiesel, bioethanol, diesel oxidation through electron microscopy analysis. catalysts (DOC), and partial flow diesel Moreover, the Partial Flow DPFs were particulate filters (P-DPF). Using biodiesel and successfully designed and analyzed for diesel bioethanol reduces the dependency on fossil vehicles that do not meet the Euro4 emission fuel and allows a more sustainable source of standards. By doing the vehicle test on KMITL fuel. Using the partial flow diesel particulate chassis dynamometer and on PCD chassis filters can be important as a starting point dynamometer, it had been found that because of its capability to be manufactured Partial Flow DPF systems using with blended and retrofitted in Thailand, similar to how South biofuel can reduce the emission of soot Korea made this their starting point. In this particles more than 50% than while testing project, the compression ignition engines with with diesel fuel without installing of Partial Flow ethanol-biodiesel-diesel blended fuels such as DPF systems in testing analysis. 134 งานวิจยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 135

กดา้วรแยก้ปกัญาหราใPชMเ้ 2ค.5 รจาื่อกกงาจรเักผารใบกออ้ลยเกษตร หวั หน้าโครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาย ชวนอุดม สงั กดั : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ Email : [email protected] ทมี วจิ ัยและสงั กัด : รองศาสตราจารย์ ดร.ขวญั ตรี แสงประชาธนารักษ์, รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณวิภา แกว้ ประดิษฐ์ พลพนิ ิจ, ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พชั รี สุริยะ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและ มากกวา่ 6,000 ตนั และมีพนื้ ทป่ี ลกู อ้อยมากกว่า พัฒนาวิธีการใช้เครื่องจักรกลเกษตรทดแทน 600 ไร่ ระยะห่างจากโรงงานหรือลานรับซ้ืออ้อย การเก็บเก่ียวอ้อยด้วยวิธีการเผาใบอ้อยก่อนการ ไม่เกิน 80 กิโลเมตร ส่วนเกษตรกรรายกลาง เก็บเก่ียว ผลการวิจัยโดยสรุปพบว่า รูปแบบการ ทมี่ ปี รมิ าณออ้ ยมากกวา่ 2,500 ตนั และมพี นื้ ทเ่ี พาะ ใช้งานเครื่องจักรเกษตรท่ีเหมาะสม ประกอบด้วย ปลกู ออ้ ยมากกวา่ 250 ไร่ ระยะหา่ งจากโรงงานหรอื 4 รูปแบบ ดงั นี้ ลานรับซ้ืออ้อยไม่เกิน 80 กิโลเมตร ควรรวมกลุ่ม กบั เกษตรกรรายกลางหรอื รายเลก็ ในพนื้ ทใ่ี กลเ้ คยี ง รปู แบบท่ี 1 รถตัดออ้ ยขนาดใหญ่ มีระยะ ทมี่ ปี รมิ าณออ้ ยระหวา่ ง 200-2,500 ตนั และมพี นื้ ท่ี เวลาการคืนทุนประมาณ 6.6 ปีขึ้นไป โดยควร เพาะปลกู อ้อยมากกว่า 20-250 ไร่ ตัดอ้อยให้ได้ปีละ 20,000 ตันข้ึนไป เหมาะ สำำ� หรับเกษตรกรรายใหญ่ ท่ีมีปรมิ าณอ้อยมากกวา่ รูปแบบที่ 3 เครื่องสางใบร่วมกับเคร่ือง 20,000 ตนั และมพี น้ื ทปี่ ลกู ออ้ ยมากกวา่ 2,000 ไร่ ตัดอ้อยลำ�ำแบบมีกระบะรวมกองและรถคีบอ้อย ระยะห่างจากโรงงานหรือลานรับซ้ืออ้อยไม่เกิน มีระยะเวลาการคืนทุนประมาณ 5.5 ปี ข้ึนไป 50 กโิ ลเมตร สำำ� หรบั เกษตรกรรายใหญ่ ทม่ี ปี รมิ าณ ควรตดั ออ้ ยใหไ้ ดป้ ลี ะ 800 ตนั ขนึ้ ไป เหมาะสำำ� หรบั ออ้ ยมากกว่า 6,000 ตนั และมีพ้ืนทีเ่ พาะปลูกออ้ ย เกษตรกรรายกลาง ที่มีปริมาณอ้อยระหว่าง มากกว่า 600 ไร่ ระยะห่างจากโรงงานหรือลาน 800 ตัน ขึน้ ไป และมพี ืน้ ทีเ่ พาะปลูกอ้อยมากกว่า รับซ้ืออ้อยไม่เกิน 50 กิโลเมตร ควรรวมกลุ่มกับ 80 ไร่ ระยะห่างจากโรงงานหรือลานรับซ้ืออ้อย เกษตรกรรายกลางในพื้นที่ใกล้เคียง ที่มีปริมาณ ไมเ่ กิน 50 กโิ ลเมตร สำ�ำหรบั เกษตรกรรายเลก็ ท่ีมี ออ้ ยระหวา่ ง 200-2,500 ตัน และมีพ้นื ทเี่ พาะปลกู ปริมาณอ้อยระหว่าง 50-200 ตัน และมีพ้ืนท่ี ออ้ ยมากกว่า 20-250 ไร่ เพาะปลูกอ้อยมากกว่า 5-20 ไร่ ระยะห่างจาก โรงงานหรือลานรับซ้ืออ้อยไม่เกิน 50 กิโลเมตร รูปแบบที่ 2 รถตัดอ้อยแบบมีกล่องร่วม ควรส่งเสริมการรวมกลุ่มกับเกษตรกรรายอื่น กับรถคีบกล่อง มีระยะเวลาการคืนทุนประมาณ ให้ได้ผลผลิตอ้อยส่งโรงงานประมาณ 800 ตัน 6 ปีขึน้ ไป ควรตัดออ้ ยให้ไดป้ ลี ะ 6,000 ตนั ข้ึนไป โดยเน้นการเพิม่ ผลผลติ และควบคุมเง่ือนไขแปลง เหมาะสำ�ำหรับเกษตรกรรายกลาง ท่ีมีปริมาณอ้อย ให้เหมาะสมกบั เครอื่ งจักร 136 งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 รูปแบบที่ 4 เคร่ืองสางใบร่วมกับแรงงาน รูปแบบการใช้เครื่องจักรกลเกษตรเก็บเก่ียว คนตัดและรถคีบอ้อย มีระยะเวลาการคืนทุน อกอ้ายรกใชบั ้เกคารรื่อแกงจป้ ักญั รหกาลฝกนุ่ าPรMเก2.5ษสตรรปุ ใไหด้สว้ า่อกดาครลส้อง่ เงสกรับมิ ประมาณ 5.1 ปี ขึ้นไป ควรตัดอ้อยให้ได้ ปีละ 600 ตัน ขึ้นไป จึงจะคุ้มทุน เหมาะสำ�ำหรับ สภาพข้อจำ�ำกัดของพื้นท่ีและบริบทด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรรายเล็ก ที่มีปริมาณอ้อยระหว่าง และสังคมของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย จะสามารถลด 600 ตัน ข้ึนไป และมีพื้นที่เพาะปลูกอ้อยมากกว่า การเผาใบออ้ ยในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดไ้ มน่ อ้ ย 60 ไร่ ระยะห่างจากโรงงานหรือลานรับซ้ืออ้อย กว่าร้อยละ 50 ของพ้ืนที่เผาใบออ้ ยในปจั จุบัน โดย ไม่เกิน 50 กิโลเมตร สำ�ำหรับเกษตรกรรายเล็ก วิธีการที่เกษตรกรให้ความสนใจและพร้อมใช้มาก ที่มีปริมาณอ้อยระหว่าง 10-100 ตัน และมีพื้นที่ ท่สี ุด คอื วิธกี ารใช้รถตัดอ้อยรว่ มกับรถบรรทุก และ เพาะปลูกอ้อยมากกว่า 1-5 ไร่ ระยะห่างจาก วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งสางใบออ้ ยรว่ มกบั แรงงานคนตดั และ โรงงานหรือลานรับซ้ืออ้อยไม่เกิน 50 กิโลเมตร เครอ่ื งคบี ออ้ ย ควรส่งเสริมการรวมกลุ่มกับเกษตรกรรายอ่ืน ให้ได้ผลผลิตอ้อยส่งโรงงานประมาณ 600 ตัน โดยเน้นการใช้แรงงานครัวเรือน และช่องทาง ในการติดต่อกับผู้รับเหมารถบรรทุก 10 ล้อ เพ่ือทำ�ำงานร่วมกัน หรือกรณีเกษตรกรรายเล็ก ท่ีอยู่ห่างจากโรงงานหรือลานรับซื้ออ้อยไม่เกิน 20 กิโลเมตร อาจใช้รถบรรทุกเกษตร (รถอีแต๋น) ในการขนสง่ จะทำำ� ใหป้ ระหยัดคา่ ขนส่งได้ 137

PM2.5 reduction by non-burning sugarcane using agricultural machinery The objective of this research was to Practice IV : Sugarcane leaf remover and study and develop agricultural machinery manual cutting by labors and sugarcane loader. practices as an alternative choice for farmers This practice has a payback period of more than in order to mitigate the PFMr2o.5mprothbleemrecsauulstesd, 5.1 years. The farmer should harvest more than by in-f iel d burni ng. 600 ton sugarcane per year. This practice is four suitable agricultural machinery practices suitable for small-scale farmers that provide can be summarized as follows: more than 600 ton per year from a cultivation Practice I : Large-scale sugarcane area of 60 rai where the distance between the harvester. This practice has a payback period sugar mill and the cultivation area does not of approximately 6.6 years. The farmer should exceed 50 km. harvest more than 20,000 ton sugarcane per The practice of using agricultural year from a cultivation area of 2,000 rai, and machinery to amsitfioglaltoewPsM. T2.5heprpobrolemmotciaonn be the distance between the sugar mill and the summarized of cultivation area should not exceed 50 km. using agricultural machinery according to a Practice II : Sugarcane harvester with specific area limitation and economic and social self-storage and storage loader. This practice background of a farmer could reduce more than has a payback period of more than 6 years. This 50% of the current sugarcane burning area in practice is suitable for medium-scale farmers northeastern of Thailand. The practices that that can provide more than 6,000 ton per year farmer is most interested in and ready to adopt from a cultivation area of 600 rai, and for whom are combining sugarcane harvester with truck the distance between the sugar mill and the and using sugarcane leaf remover and manual cultivation area does not exceed 80 km. cutting by labors and sugarcane loader. Practice III : Sugarcane leaf remover and base cutter machine and sugarcane loader. This practice has a payback period of more than 5.5 years. The farmer should harvest more than 800 ton sugarcane per year. 138 งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 139


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook