Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2018-Focused-Updates-Highlights_TH PALS 2018

2018-Focused-Updates-Highlights_TH PALS 2018

Published by Chulalak Kaewsuk, 2020-01-27 23:37:28

Description: 2018-Focused-Updates-Highlights_TH PALS 2018

Search

Read the Text Version

ขอ้ มลู ส�ำคญั ในปี 2561 มงุ่ เน้นท่ีการปรับปรงุ ในปี 2558 คณะกรรมการประสานงานระหวา่ งประเทศด้านการกูช้ ีพ (ILCOR) ไดเ้ ร่มิ กระบวนการประเมินหลกั ฐานอย่างตอ่ ของแนวทางการนวดหวั ใจผายปอด เนือ่ ง (CEE) กระบวนการนไี้ ดร้ ับการออกแบบมาเพ่อื ใหส้ ามารถวิเคราะหก์ ารศึกษาการกชู้ พี ทเ่ี ผยแพร่โดยการทบทวนโดยผรู้ ู้ กู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ปว่ ย เสมอกัน (Peer-reviewed) ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและการพัฒนาฉนั ทามตนิ านาชาตใิ นการนวดหัวใจผายปอดกชู้ พี (CPR) และการ โรคหวั ใจหลอดเลอื ดภาวะฉุกเฉนิ ดแู ลผ้ปู ่วยโรคหัวใจหลอดเลอื ดภาวะฉกุ เฉิน (ECC) พรอ้ มกับคำ� แนะน�ำการรกั ษา (CoSTR) เปา้ หมายของการประเมินหลัก (ECC) ของสมาคมโรคหัวใจสหรฐั ฯ ฐานอย่างต่อเนื่องคือการลดระยะเวลาระหว่างการตีพิมพ์หลักฐานการช่วยชีวิตและการแปลเป็นแนวทางจากคณะกรรมการ การช่วยชวี ติ ขั้นสูงส�ำหรบั ผปู้ ่วยโรค ประสานงานระหวา่ งประเทศด้านการกชู้ ีพ (ILCOR) เชน่ สมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (American Heart Association: AHA) หัวใจหลอดเลือด และการชว่ ยชีวติ บนพน้ื ฐานของรายงานสรปุ คำ� แนะนำ� การรักษา (CoSTR) จากคณะกรรมการประสานงานระหวา่ งประเทศด้านการก้ชู ีพ ข้ันสงู ในเดก็ (ILCOR) ประจ�ำปเี หล่าน้ี คณะกรรมการด้านการการดแู ลผปู้ ่วยโรคหวั ใจหลอดเลอื ดภาวะฉุกเฉนิ (ECC) ของสมาคมโรคหวั ใจ สหรัฐฯ (American Heart Association: AHA) จะเผยแพรค่ มู่ ือทมี่ ุ่งเน้นแนวทางเกย่ี วกบั การนวดหวั ใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) สมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ ขอขอบคณุ บคุ คลดงั ตอ่ ไปนี้ และการดูแลผปู้ ว่ ยโรคหัวใจหลอดเลอื ดภาวะฉกุ เฉิน (ECC) ไฮไลทเ์ หล่านีไ้ ด้สรุปการเปลยี่ นแปลงท่ีรวมอยู่ในแนวทางของ สำ� หรบั ความรว่ มมอื ในการพฒั นาวารสารน้ี สมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (American Heart Association: AHA) ฉบบั ปรับปรงุ ปีพ. ศ. 2018 ทเี่ ผยแพรโ่ ดยกลุ่มการชว่ ยชีวติ Jonathan P. Duff, MD; Ashish R. Panchal, MD, PhD; ข้นั สูงสำ� หรบั ผู้ปว่ ยโรคหัวใจหลอดเลอื ด (ACLS) และกลุ่มการชว่ ยชวี ิตขัน้ สงู ในเดก็ (PALS) Mary Fran Hazinski, RN, MSN, FAHA; และกลมุ่ แผนงานทมี่ งุ่ เนน้ การปรบั ปรงุ แนวทางของสมาคมโรค การทบทวนอยา่ งเป น็ ระบบของคณะกรรมการประสานงานระหวา่ งประเทศดา้ นการกูช้ ีพ (ILCOR) จะดำ� เนนิ การเพอื่ ตอบคำ� ถาม หวั ใจสหรฐั ฯ เฉพาะเรอื่ งการชว่ ยชีวติ โดยผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะกลมุ่ ของ ILCOR คำ� ถามทส่ี ำ� คญั สำ� หรับการทบทวนในป นี ี้คอื การใชย้ ารกั ษาภาวะ หวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะ (antiarrhythmic drugs) สำ� หรับภาวะไมต่ อบสนองตอ่ การกระตุน้ ดว้ ยไฟฟา้ (shock-refractory)ของภาวะหวั ใจ หอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ระรัว (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ระรัวทไ่ี มม่ สี ญั ญาณชีพ (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ระหวา่ งหรอื หลงั ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ทนั ที คณะกรรมการประสานงานระหวา่ งประเทศดา้ นการกูช้ ีพ (ILCOR) ใน สว่ นของการชว่ ยชวี ติ ขนั้ สงู สำ� หรับผู้ปว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด และการชว่ ยชีวติ ขัน้ สงู ในเดก็ จะทำ� การวเิ คราะห์ หารอื และอภิปราย การศกึ ษาวจิ ยั ทรี่ ะบุ และวเิ คราะห์โดยผูต้ รวจสอบอยา่ งเป น็ ระบบ หนว่ ยปฏิบตั กิ ารเฉพาะกจิ เหลา่ นี้จะพฒั นาคำ� แนะนำ� การรกั ษา (CoSTR) ทไี่ ด้โพสตแ์ บบออนไลนเ์ พอ่ื รับความคดิ เหน็ ของสาธารณะบนเว็บไซต์ ILCOR (www.ilcor.org) และสรุปขอ้ สรุปทง้ั หมด รวมกับคำ� แนะนำ� ของคณะกรรมการประสานงานระหวา่ งประเทศดา้ นการกูช้ ีพ (ILCOR) และตีพมิ พพ์ รอ้ มกนั ในวารสาร Circulation และ Resuscitation กลมุ่ นกั เขยี นของกลมุ่ การชว่ ยชวี ติ ขนั้ สงู ส�ำหรับผู้ปว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) และกลมุ่ การชว่ ยชวี ติ ข้นั สงู ในเดก็ (PALS) ของสมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (American Heart Association: AHA) จะทำ� การพจิ ารณาฉนั ทามติของคณะกรรมการประสานงาน ระหวา่ งประเทศดา้ นการกูช้ ีพ (ILCOR) เป น็ อยา่ งดี เพอื่ พจิ ารณาคำ� แนะนำ� ทเี่ หมาะสมในแงข่ องโครงสรา้ งและทรัพยากรของระบบ การชว่ ยชีวติ นอกโรงพยาบาล และในโรงพยาบาลตลอดจนแหลง่ ขอ้ มลู และการฝ กึ อบรมส�ำหรับผูช้ ว่ ยชีวติ และผู้ใหบ้ รกิ ารดา้ นสุขภาพ ทใี่ ชแ้ นวทางของของสมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (American Heart Association: AHA) ในแตล่ ะแผนการดแู ลผู้ปว่ ยโรคหวั ใจหลอด เลอื ดในภาวะฉกุ เฉนิ (ECC) ของ AHA การชว่ ยเหลอื การบำ� บดั รกั ษา หรอื คำ� แนะนำ� ในการทดสอบจะเชอ่ื มโยงกับ ระดับของคำ� แนะนำ� (Class) และระดับของหลกั ฐาน (LOE) โดยใชภ้ าษาลา่ สดุ ทไี่ ดร้ ับอนุมตั โิ ดยสมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (AHA) และวทิ ยาลยั แพทย์โรคหวั ใจแหง่ สหรฐั อเมรกิ า (American College of Cardiology) หลกั เกณฑแ์ ละภาษาแสดงในรูปที่ 1

ระบบการจำ� แนกประเภทของ AHA สำ� หรับประเภทของค�ำแนะน�ำ และระดับของหลกั ฐาน* ระดบั (ความแขง็ แรง) ของคำ� แนะนำ� ระดบั (คณุ ภาพ) ของหลกั ฐาน‡ ระดบั I (ชดั เจน) ประโยชน์ >>> ความเส ีย่ ง ระดบั A วลีที่แนะนำ�สำ�หรบั การเขยี นคำ�แนะนำ�: „„ หลกั ฐานคุณภาพ-สงู ‡ จากมากกว่า 1 การวจิ ัยแบบสมุ่ มกี ลมุ่ ควบคุม „„ ขอแนะนำ� „„ การวิเคราะห์อภมิ านของการวจิ ยั แบบสุ่มมีกลุม่ ควบคุมทมี่ คี ณุ ภาพ-สงู „„ มีข้อบ่งใช/้ มีประโยชน/์ มีประสิทธิภาพ/มีผลดี „„ หน่ึง หรือมากกวา่ ของการวิจยั แบบสุ่มมีกล่มุ ควบคมุ ซ่งึ ยืนยนั โดยการศึกษาทไี่ ดร้ ับการลง „„ ควรจะด�ำเนนิ การ/ให/้ อ่ืนๆ „„ วลเี ปรียบเทียบประสทิ ธิผล†: ทะเบียนทม่ี คี ณุ ภาพ-สูง ○○ การรักษา/แนวทาง ก น้ันเปน็ ทแี่ นะน�ำ/มีขอ้ บ่งชมี้ ากกวา่ การรกั ษา ข ระดบั B-R (แบบสมุ่ ) ○○ การรกั ษา ก ควรจะถกู เลือกมากกว่า การรักษา ข „„ หลักฐานคุณภาพ-ปานกลาง‡ จาก 1 หรอื มากกว่าของการวจิ ัยแบบส่มุ มกี ล่มุ ควบคมุ ระดบั IIa (ปานกลาง) ประโยชน์ >> ความเส ีย่ ง „„ การวเิ คราะหอ์ ภมิ านของการวจิ ัยแบบส่มุ มกี ลุ่มควบคุมท่ีมีคณุ ภาพ-ปานกลาง วลีทีแ่ นะนำ�สำ�หรบั การเขยี นคำ�แนะนำ�: ระดบั B-NR (แบบไมม่ กี ารสมุ่ ) „„ มีเหตุผล „„ นา่ จะมีประโยชน์/มปี ระสทิ ธิภาพ/มผี ลดี „„ หลกั ฐานคุณภาพ-ปานกลาง‡ จาก 1 หรือมากกว่าของการวจิ ัยแบบไม่มกี ารสมุ่ ทีม่ กี ารออกแบบ „„ วลเี ปรียบเทียบประสิทธผิ ล†: ที่ดแี ละการดำ� เนินการทด่ี ี, การศกึ ษาแบบสังเกต, หรอื การศกึ ษาท่ีได้รับการลงทะเบยี น ○○ การรกั ษา/แนวทาง ก น้นั อาจจะเป็นทแ่ี นะนำ� /มีขอ้ บง่ ชี้มากกว่า การรักษา ข „„ การวิเคราะห์อภมิ านของการศกึ ษาเหลา่ น้ัน ○○ มเี หตผุ ลทจี่ ะเลือกการรกั ษา ก มากกวา่ การรกั ษา ข ระดบั C-LD (ขอ้ ม ลู ท ีม่ อี ยา่ งจำ�กดั ) ระดบั IIb (ออ่ น) ประโยชน์ ≥ ความเส ีย่ ง „„ การศกึ ษาแบบสงั เกตแบบสุ่มหรือแบบไม่มีการสุ่ม หรอื การศกึ ษาท่ีไดร้ บั การลงทะเบยี นทีม่ ขี ้อ วลีทแ่ี นะนำ�สำ�หรับการเขยี นคำ�แนะนำ�: จ�ำกัดในการออกแบบหรือการดำ� เนินการ „„ อาจ/อาจจะมเี หตุผล „„ การวิเคราะหอ์ ภิมานของการศึกษาเหล่านัน้ „„ อาจ/อาจพจิ ารณา „„ การศึกษาทางสรีรวทิ ยาหรือกลไกในมนุษย์ „„ ประโยชน์/ประสทิ ธผิ ล ยังไมเ่ ปน็ ท่ที ราบ/ไม่ชัดเจน/ไมแ่ น่นอน หรอื ยงั ไมเ่ ปน็ ทีย่ อมรับ ระดบั C-EO (ความเหน็ ของผ ูเ้ ช ีย่ วชาญ) ระดบั III: ไมม่ ปี ระโยชน์ (ปานกลาง) ประโยชน์ = ความเส ีย่ ง ฉันทามตขิ องความเหน็ ของผ้เู ช่ียวชาญโดยองิ จากประสบการณ์ทางคลินกิ (โดยทวั่ ไป, ใช้ระดบั ของหลักฐาน A หรอื B เท่านัน้ ) ระดับความแข็งแรงของคำ� แนะนำ� และระดบั ของหลักฐานจะถูกกำ� หนดโดยอิสระจากกนั (ระดบั ความแขง็ แรงของค�ำแนะน�ำใดๆ อาจถกู จบั คกู่ บั ระดบั ของหลักฐานใดๆ) วลีที่แนะนำ�สำ�หรบั การเขียนคำ�แนะนำ�: „„ ไม่แนะนำ� ค�ำแนะนำ� ซงึ่ มรี ะดับของหลักฐาน C ไมไ่ ด้หมายความวา่ คำ� แนะนำ� น้นั จะไม่หนกั แน่น หลายคำ� ถามทางคลนิ กิ ที่ส�ำคัญทีไ่ ดก้ ล่าวถงึ ใน „„ ไม่มีขอ้ บง่ ใช้/มีประโยชน์/มีประสทิ ธภิ าพ/มผี ลดี แนวทางการปฏิบตั ไิ ม่เหมาะสมกับการวจิ ยั ทางคลินกิ อาจจะมีความเห็นเป็นเอกฉนั ทท์ างคลินกิ ท่ีชดั เจนมากวา่ การทดสอบหรอื การ „„ ไม่ควรจะด�ำเนนิ การ/ให/้ อ่ืนๆ รกั ษาน้ันๆ เปน็ ประโยชน์หรือมปี ระสิทธภิ าพแม้วา่ จะไม่มีผลการวิจัยแบบสุ่มมีกลมุ่ ควบคุม ระดบั III: เปน็ อนั ตราย (ชดั เจน) ความเส ีย่ ง > ประโยชน์ * ผ ลลพั ธ์หรอื ผลจากการให้การรกั ษาควรจะชัดเจน (เปน็ ผลการรักษาทด่ี ขี ึ้นหรือความถูกต้องของการวินจิ ฉัยเพ่ิมขน้ึ หรอื ข้อมลู เพ่อื การ พยากรณ์โรคท่เี พิ่มขึน้ ) วลที ่แี นะนำ�สำ�หรับการเขียนคำ�แนะนำ�: „„ มโี อกาสท�ำใหเ้ กดิ อันตรายได้ † ค ำ� แนะน�ำส�ำหรับการเปรียบเทยี บประสิทธผิ ล (ระดบั ความแขง็ แรงของค�ำแนะนำ� I และ Ila; ระดบั ของหลกั ฐาน A และ B เท่านั้น), „„ ทำ� ให้เกิดอันตราย การศกึ ษาทสี่ นับสนุนการใชค้ �ำกรยิ าเพือ่ ใช้เปรียบเทยี บควรจะเก่ยี วขอ้ งกบั การเปรยี บเทียบโดยตรง ของการรกั ษาหรอื การประเมิน „„ เก่ียวข้องกับการเพ่มิ ขึ้นของอตั ราการเจ็บปว่ ย/อตั ราการตาย แผนการรักษา „„ ไมค่ วรจะด�ำเนินการ/ให/้ อ่ืนๆ ‡ วธิ ีการประเมินคณุ ภาพมกี ารพฒั นาขน้ึ , รวมท้งั การประยกุ ตใ์ ช้เครอื่ งมือการให้คะแนนหลักฐานท่ีมมี าตรฐาน, มีการใช้กันอย่างแพร่ หลาย และโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ตรวจสอบแลว้ ; และการผนวกเขา้ กนั ของคณะกรรมการทบทวนหลักฐานสำ� หรับการทบทวนเอกสาร อย่างเป็นระบบ EO หมายถึง ความเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ; LD หมายถงึ ข้อมูลท่ีมอี ย่างจ�ำกดั ; NR หมายถงึ แบบไมม่ ีการสมุ่ ; R หมายถงึ แบบสุ่ม รปู ที่ 1: หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารสอื่ สารของระบบการจำ� แนกสำ� หรบั คำ� แนะนำ� และระดบั ของหลกั ฐาน คำ� ถามต่อไปน้ีจะถกู ถามกับผู้ทบทวนอย่างมรี ะบบ ส่ิงส�ำคัญส�ำหรับแพทยท์ ี่ตอ้ งทราบคือการทบทวนนไี้ ม่ไดต้ รวจสอบล�ำดับข้ันท่ีดีที่สุดของการท�ำการการชว่ ย ในผู้ใหญแ่ ละเดก็ ในสถานทใ่ี ดๆ (ในโรงพยาบาลหรอื นอกโรงพยาบาล) จะมภี าวะหวั ใจหยดุ เตน้ และ ชวี ติ ขนั้ สงู สำ� หรับภาวะ VF / pVT ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ เชน่ ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการใหย้ า ยากระตุน้ ความดนั โลหติ หรอื ยารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะ หรอื ระยะเวลาในการบริหารยาทสี่ มั พนั ธก์ ับ CPR หรอื การท�ำการ shockable rhythm (VF / pVT) ไดต้ ลอดเวลาทง้ั ระหวา่ งการทำ� CPR หรอื ทนั ทีหลงั จากการกลับมาของการ กระตุน้ ดว้ ยไฟฟา้ ล�ำดับทดี่ ที สี่ ดุ ยงั ไมส่ ามารถรู้ได้ นอกจากนี้ ระยะเวลาทแ่ี นะนำ� ในการชว่ ยชีวติ ขน้ั สงู ส�ำหรับผู้ ไหลเวยี นโลหติ ทเี่ กดิ ข้ึนเอง (ROSC) มหี ลกั ฐานหรอื ไมว่ า่ การใหย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะ (ทางหลอด ปว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) และการชว่ ยชีวติ ขนั้ สงู ในเดก็ (PALS) ควรคำ� นึงถงึ ผู้ปว่ ยแตล่ ะรายและสภาพ เลอื ดดำ� หรอื ทางไขกระดกู ) ในระหวา่ งการท�ำ CPR หรอื ทนั ที (ภายใน 1 ชัว่ โมง) หลงั จาก ROSC เปรยี บ แวดลอ้ มในการดแู ล เทยี บกับการใหย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะอนื่ ๆ หรอื ยาหลอก หรอื ไมม่ กี ารใหย้ าในระหวา่ งการท�ำ CPR หรอื ทนั ที (ภายใน 1 ช่วั โมง) หลงั จาก ROSC มผี ลตอ่ ผลการรกั ษา ผลการรกั ษาเหลา่ นรี้ วมถงึ อตั ราการรอด เน้ือหาตอ่ ไปน้ีสรุปคำ� แนะนำ� ที่ปรับปรงุ และข้นั ตอนวธิ กี ารทรี่ วบรวมแนวทางของสมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ ชวี ติ อยูจ่ นออกจากโรงพยาบาลรว่ มกนั ผลของการทำ� งานทด่ี ีของระบบประสาท และอตั ราการรอดชวี ติ จนออกจาก (AHA) ป ี 2561 ทม่ี งุ่ เนน้ การปรับปรงุ การชว่ ยชีวติ ขัน้ สงู สำ� หรับผู้ปว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) และการ โรงพยาบาล การกลับมาของการไหลเวยี นโลหติ ทเี่ กดิ ขนึ้ เอง (ROSC) ไดร้ ับการจดั อนั ดับใหเ้ ป น็ ผลลัพธท์ ส่ี �ำคญั ชว่ ยชีวติ ข้ันสงู ในเดก็ (PALS) สำ� หรับการใชย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะภายใน 1 ชว่ั โมงหลงั จากการกลับมาของการไหลเวยี นโลหติ ทเี่ กดิ ขึ้นเอง (ROSC) ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ซ้�ำกไ็ ดร้ ับการประเมนิ วา่ เป น็ ผลลพั ธท์ สี่ ำ� คญั การคน้ หางานวจิ ยั ทรี่ วมอยู่ใน การทบทวนอยา่ งเป น็ ระบบฉบบั นไี้ ดร้ ับการปรับปรงุ เพอ่ื รวบรวมสง่ิ ตพี มิ พท์ งั้ หมดจนถงึ วนั ที่ 15 สงิ หาคม 2560 2 American Heart Association

การชว่ ยชวี ติ ขนั้ สงู สำ� หรับผูป้ ว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด การใชย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ (antiarrhythmic drugs) ใน เหตุผล: จากบทสรุปคำ� แนะนำ� การรกั ษา (CoSTR) ในปี 2561 และการทบทวนอยา่ งเปน็ ระบบได้ ระหวา่ งการกูช้ พี จากภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ เนอื่ งจากภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ พจิ ารณาการใชแ้ มกนเี ซียมในระหวา่ งการช่วยชวี ติ จากภาวะหัวใจหยุดเต้น ไมม่ ีการศึกษาใหมไ่ ด้รับการ แผว่ ระรัว (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ทบทวนสำ� หรับหวั ขอ้ นี้ และมีเพยี งการศกึ ษาวจิ ัยแบบไมส่ มุ่ ตวั อยา่ งไม่กี่การศึกษาเทา่ นั้นทีไ่ ด้รับการระบุ ระรัวทไ่ี มม่ สี ญั ญาณชพี (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ใน ไวใ้ นบทวิจารณ์ท่ผี ่านมา ข้อแนะนำ� ในปัจจบุ นั ยืนยันวา่ ไมค่ วรใชแ้ มกนีเซียมเป็นประจำ� ในภาวะหัวใจหยุด ผู ้ ใหญ ่ เตน้ และอาจตอ้ งพจิ ารณาเพือ่ ใช้ในการรักษา torsades de pointes (เชน่ polymorphic VT ทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั ชว่ ง QT ทย่ี าวนาน) คำ� แนะนำ� สำ� หรับยาอะมโิ อดาโรน และยาลโิ ดเคน การกั ษาดว้ ยยารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ (antiarrhythmic drugs) 2561 (ปรับปรงุ ): ยาอะมิดาโรน หรือยาลโิ ดเคนอาจถกู พิจารณาใชใ้ นภาวะหัวใจห้องลา่ งเตน้ แผว่ อยา่ งทนั ทใี นภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ในผู้ใหญ่ หลงั จากการกลบั มาของการไหล ระรัว (VF) หรือภาวะหัวใจหอ้ งล่างเต้นแผ่วระรวั ทีไ่ มม่ ีสัญญาณชีพ (pVT) ท่ไี มต่ อบสนองการกระต้นุ ด้วย เวยี นโลหติ ทเี่ กดิ ขน้ึ เอง (ROSC) ไฟฟ้า (defibrillation) ยาเหล่าน้อี าจเปน็ ประโยชน์อย่างยิง่ สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยท่ีมภี าวะหวั ใจหยดุ เตน้ โดยมผี เู้ หน็ เหตกุ ารณ์ ส�ำหรบั ผ้ทู ี่มเี วลาทใ่ี ชใ้ นการบริหารยาอาจสนั้ ลง (ระดบั IIb, ระดับของหลักฐาน B-R) คำ� แนะนำ� สำ� หรับยากลมุ่ ป ดิ กนั้ เบตา้ (β-Blocker) 2558 (เดิม): ยาอะมดิ าโรนอาจถกู พจิ ารณาใชใ้ นภาวะหวั ใจหอ้ งล่างเตน้ แผ่วระรัว (VF) หรือภาวะหวั ใจ หอ้ งลา่ งเต้นแผ่วระรัวท่ไี ม่มีสัญญาณชพี (pVT) ทไ่ี ม่ตอบสนองตอ่ การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) 2561 (ปรับปรุง): มีหลกั ฐานไม่เพยี งพอทจ่ี ะสนบั สนุนหรอื ลบลา้ งการใชย้ ากลุ่มปิดกนั้ เบต้าเปน็ ประจำ� การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า (defibrillation) และการรักษาดว้ ยยากระตนุ้ ความดนั โลหิต (ระดบั IIb, ระดับของ ในชว่ งต้น (ภายในช่ัวโมงแรก) หลงั จากการกลับมาของการไหลเวียนโลหิตท่ีเกิดขนึ้ เอง (ROSC) หลักฐาน B-R) 2558 (เดิม): มีหลกั ฐานไม่เพียงพอที่จะสนับสนุนหรอื ลบลา้ งการใชย้ ากลุ่มปิดก้ันเบตา้ เป็นประจำ� ใน ชว่ งตน้ (ภายในชว่ั โมงแรก) หลังจากการกลบั มาของการไหลเวียนโลหติ ทเี่ กดิ ขนึ้ เอง (ROSC) อย่างไร ยาลโิ ดเคนอาจถกู พจิ ารณาใชเ้ ป น็ ทางเลอื กของยาอะมดิ าโรนในภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ระรัว (VF) หรอื ก็ตาม อาจพิจารณาใหเ้ ริ่มใชย้ ากล่มุ ปดิ ก้นั เบต้าชนิดรับประทาน หรือชนดิ ฉีดเขา้ เสน้ เลอื ดดำ� หรอื ใชต้ อ่ ไป ภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ระรัวทไ่ี มม่ สี ญั ญาณชีพ (pVT) ทไ่ี มต่ อบสนองตอ่ การนวดหวั ใจผายปอดกูช้ ีพ (CPR) ในช่วงต้นหลังจากการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพราะภาวะหัวใจหยุดท�ำงานจากภาวะหัวใจห้องล่าง การกระตุน้ ดว้ ยไฟฟา้ (defibrillation) และการรกั ษาดว้ ยยากระตุน้ ความดนั โลหติ (ระดับ IIb, ระดับของหลกั ฐาน เต้นแผว่ ระรัว (VF)/ภาวะหัวใจหอ้ งล่างเตน้ เร็วทีไ่ มม่ ีสญั ญาณชีพ (pVT) (ระดับ IIb, ระดับหลักฐาน C-LD) C-LD) เหตุผล: จากบทสรปุ ค�ำแนะนำ� การรักษา (CoSTR) ในปี 2561 และการทบทวนอยา่ งเป็นระบบได้ เหตุผล: จากบทสรุปคำ� แนะนำ� การรกั ษา (CoSTR) ในปี 2561 และการทบทวนอย่างเป็นระบบได้ พิจารณาการใชย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเต้นผิดจังหวะในการป้องกนั ทันที (ภายในชว่ั โมงแรก) หลังจากการก พิจารณาการใช้ยาอะมดิ าโรน หรือยาลโิ ดเคนระหว่างภาวะหวั ใจห้องลา่ งเตน้ แผว่ ระรัว (VF) หรอื ภาวะ ลับมาของการไหลเวยี นโลหติ ทเ่ี กิดข้ึนเอง (ROSC) แมว้ ่าจะไมม่ ีการศกึ ษาวจิ ัยใหมส่ �ำหรบั หวั ขอ้ น้ี แต่ หัวใจหอ้ งลา่ งเต้นแผ่วระรวั ทีไ่ มม่ ีสัญญาณชีพ (pVT) ภาวะหัวใจหยุดเต้นท่ีไมต่ อบสนองต่อการกระต้นุ ดว้ ย การประเมนิ ผลโดยละเอยี ดของงานวิจยั กช็ ว่ ยทำ� ให้คำ� แนะน�ำง่ายขึน้ ไมม่ รี ะดบั หรือระดบั หลักฐานระบไุ ว้ ไฟฟา้ หลังจากท�ำการกระต้นุ อย่างนอ้ ย 1 ครัง้ กลุ่มนักเขียนไดท้ ำ� การประเมนิ ผลในการทดลองแบบสมุ่ เน่อื งจากกลมุ่ ผ้เู ขยี นเหน็ วา่ ไมม่ หี ลักฐานเพยี งพอทจ่ี ะให้คำ� แนะนำ� ใด ๆ ตวั อยา่ งใหม่ขนาดใหญ่นอกโรงพยาบาล เปรียบเทียบระหว่างการใช้ยาอะมดิ าโรนร่วมกับยาลโิ ดเคนตาม สตู รของ Captisol กบั ยาหลอกในผูป้ ว่ ย VF/pVT ทไ่ี ม่ตอบสนองตอ่ การรักษา แม้ว่าการศึกษาทม่ี อี ยไู่ ม่ได้ คำ� แนะนำ� สำ� หรับยาลโิ ดเคน แสดงให้เหน็ ถึงอตั ราทด่ี ขี ึน้ ในการรอดชวี ิตอยู่จนออกจากโรงพยาบาล (หรอื การรอดชวี ติ ทก่ี ารท�ำงานของ ระบบประสาทยังดีอยจู่ นออกจากโรงพยาบาล) มีความเก่ยี วข้องกับการใช้ยาอยา่ งใดหรือหนง่ึ แตก่ ารกลบั 2561 (ปรับปรุง): มีหลักฐานไม่เพยี งพอทจี่ ะสนบั สนุนหรือลบล้างการใชย้ าลิโดเคนเปน็ ประจำ� ในช่วง มาของการไหลเวยี นโลหติ ทีเ่ กดิ ข้นึ เอง (ROSC) สูงกว่าในผูป้ ่วยทไี่ ดร้ ับยาลโิ ดเคนเมอ่ื เทียบกบั ยาหลอก ตน้ (ภายในช่ัวโมงแรก) หลงั จากการกลับมาของการไหลเวียนโลหิตทีเ่ กิดขึน้ เอง (ROSC) และการรอดชีวติ ในการเขา้ มารบั การรักษาในโรงพยาบาลเม่อื ใชย้ าอย่างใดอย่างหนง่ึ สงู กว่า เม่อื เทียบกบั การใชย้ าหลอก ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ แนะนำ� ให้ใช้ยาลโิ ดเคนเปน็ ทางเลือกหน่งึ นอกเหนือจากยาอะมิดาโรน และ ในกรณที ไ่ี มม่ ีขอ้ หา้ มในการใชย้ าลโิ ดเคน อาจมกี ารพจิ ารณาใชย้ าลโิ ดเคนในการปอ้ งกนั ในบางกรณี (เชน่ ใน ขณะน้ีได้มีการเพิ่มข้ันตอนในการรักษาการภาวะหัวใจหยุดเต้นที่ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ระหวา่ งการขนสง่ ทางการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ) เมอื่ การรกั ษา VF / pVT ทก่ี ำ� เริบเป น็ เรอ่ื งทท่ี า้ ทาย (ระดับ IIb, ระดับ ในผูป้ ่วย VF/pVT ในการชว่ ยชวี ติ ข้ันสูงสำ� หรับผปู้ ่วยโรคหวั ใจหลอดเลือด (ACLS) (ดูรูปท่ี 2 และสว่ น หลกั ฐาน C-LD) ปรบั ปรุงขน้ั ตอนในภาวะหวั ใจหยุดเต้นใน ACLS) 2558 (เดิม): มีหลักฐานไมเ่ พียงพอท่จี ะสนบั สนุนหรอื ลบลา้ งการใชย้ าลโิ ดเคนหลังจากภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ อย่างไรกต็ าม อาจพจิ ารณาใหเ้ รม่ิ ใช้ยาลโิ ดเคนหรอื ใช้ตอ่ ไปโดยทนั ทีหลังจากการกลับมาของการไหล คำ� แนะนำ� สำ� หรับแมกนเี ซยี ม เวยี นโลหติ ทเ่ี กดิ ข้นึ เอง (ROSC) จากภาวะหวั ใจหยุดทำ� งานจากภาวะหวั ใจหอ้ งล่างเต้นแผว่ ระรัว (VF)/ ภาวะหวั ใจห้องลา่ งเต้นเรว็ ที่ไม่มีสัญญาณชพี (pVT) (ระดับ IIb, ระดบั หลักฐาน C-LD) 2561 (ปรับปรุง): ไม่แนะนำ� ใหใ้ ช้แมกนีเซียมในการรักษาภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ เปน็ ประจำ� ในผปู้ ว่ ยท่เี ป็น เหตุผล: จากบทสรปุ คำ� แนะนำ� การรกั ษา (CoSTR) ในปี 2561 และการทบทวนอย่างเป็นระบบได้ ผู้ใหญ่ (ระดับ III: ไมม่ ปี ระโยชน,์ ระดบั หลกั ฐาน C-LD) พจิ ารณาการใชย้ ารักษาภาวะหวั ใจเต้นผิดจงั หวะในการป้องกนั ทันที (ภายในชว่ั โมงแรก) หลังจากการก ลับมาของการไหลเวยี นโลหติ ทเี่ กดิ ข้ึนเอง (ROSC) แม้วา่ จะไมม่ กี ารศึกษาวจิ ัยใหมใ่ นหวั ขอ้ นี้ กล่มุ ผเู้ ขียน แมกนีเซยี มอาจถกู พจิ ารณาสำ� หรับผู้ปว่ ย torsades de pointes (เชน่ polymorphic VT ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับชว่ ง ยอมรบั ว่าแม้วา่ จะมหี ลกั ฐานไม่เพียงพอทีจ่ ะสนับสนนุ การใชย้ าลโิ ดเคนเปน็ ประจำ� แต่กม็ ีสถานการณท์ ี่ QT ทยี่ าวนาน) (ระดับ IIb, ระดับหลกั ฐาน C-LD) คำ� แนะนำ� นี้สอดคลอ้ งกับแนวทางการชว่ ยชีวติ ข้ันสงู ส�ำหรับผู้ การกลบั เป็นซำ้� ของ VF / pVT จะเป็นความท้าทายในการจดั การทางด้านโลจสิ ติกส์ (เช่นในกรณีขนสง่ ปว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) ของสมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (AHA) ป ี พ.ศ.2553 ฉุกเฉนิ ทางการแพทย)์ ในสถานการณเ์ ชน่ นอี้ าจมกี ารพิจารณาการใช้ยาลโิ ดเคน 2558 (เดิม): ไมแ่ นะนำ� ให้ใช้แมกนเี ซียมในการรกั ษาภาวะ VF/pVT เปน็ ประจำ� ในผปู้ ่วยทเี่ ปน็ ผู้ใหญ่ (ระดบั III: ไม่มีประโยชน์, ระดับหลักฐาน B-R) 2553 (เดิม): เมือ่ เม่ือภาวะหวั ใจหยุดเต้น เนือ่ งจากภาวะ VF/pVT มคี วามสมั พันธ์กับ torsades de pointes ผูใ้ หบ้ ริการอาจใหแ้ มกนเี ซยี มซัลเฟตทางหลอดเลือดดำ� (IV)/ทางไขกระดกู (IO) ท่ปี รมิ าณ 1 ถึง 2 กรมั เจือจางใน D5W ขนาด 10 มล. (ระดับ IIb, ระดับหลกั ฐาน C) 3

รปู ภาพที่ 2 ขน้ั ตอนวธิ กี ารสำ� หรบั ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ 4 American Heart Association

ขน้ั ตอนวธิ กี ารการชว่ ยชวี ติ ขนั้ สงู สำ� หรับผูป้ ว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) ปรับปรงุ ขัน้ ตอนวิธกี ารชว่ ยชวี ิตขน้ั สงู ส�ำหรับผปู้ ว่ ยโรคหัวใจหลอดเลือด (ACLS) ทีม่ ีภาวะหัวใจหยดุ เตน้ และขั้น การเปล่ียนแปลงของข้ันตอนต่อเน่ืองวิธีการช่วยชีวิตข้ันสูงส�ำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือด ตอนต่อเนอ่ื งวิธกี ารชว่ ยชวี ติ ขั้นสูงสำ� หรับผ้ปู ว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) ที่มภี าวะหวั ใจหยดุ เตน้ ทไี่ ด้ (ACLS) ท่ีมภี าวะหวั ใจหยุดเต้น — 2561 ปรับปรงุ (รูปภาพที่ 3) ภายในวงลอ้ ภายใต้การรกั ษา รับการปรับปรุงเพ่ือรวบรวมยาลิโดเคนซ่ึงเป็นยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ใช้เป็นทางเลือกของยาอะ ด้วยยา ยาลำ� ดับสดุ ทา้ ยถูกเปล่ียนจาก “ยาอะมิดาโรนสำ� หรบั การรกั ษาภาวะไม่ตอบสนองตอ่ การกระตุ้น มดิ าโรนในการรักษาภาวะไมต่ อบสนองตอ่ การกระต้นุ ด้วยไฟฟ้า (shock-refractory)ของภาวะหวั ใจหอ้ ง ดว้ ยไฟฟา้ (shock-refractory)ของภาวะหัวใจหอ้ งล่างเต้นแผ่วระรวั (ventricular fibrillation: VF) หรือ ล่างเตน้ แผว่ ระรวั (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะหัวใจหอ้ งลา่ งเต้นแผว่ ระรวั ที่ไมม่ ีสัญญาณชีพ ภาวะหัวใจห้องล่างเตน้ แผว่ ระรัวทไ่ี มม่ สี ัญญาณชพี (pulseless ventricular tachycardia: pVT)” เป็น (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ขนาดของยาลโิ ดเคนถกู เพ่มิ เข้าไปในกลอ่ งขั้นตอนวิธีของยา “ยาอะมดิ าโรน หรือยาลิโดเคน สำ� หรบั ภาวะไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นดว้ ยไฟฟา้ (shock-refractory) ทใ่ี ชก้ ารรักษา และมีการแกไ้ ขเลก็ น้อยในสว่ นของกลอ่ งคุณภาพของ CPR ดงั รายละเอยี ดในสว่ นถัดไป ของภาวะหัวใจหอ้ งล่างเต้นแผว่ ระรวั (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะหวั ใจห้องลา่ งเต้นแผ่วระรัวท่ี การเปลย่ี นแปลงของข้นั ตอนวธิ กี ารสำ� หรับภาวะหวั ใจหยุดเต้นในผใู้ หญ่ —ปรบั ปรงุ 2561 ไมม่ ีสัญญาณชพี (pulseless ventricular tachycardia: pVT)” ภายในข้นั ตอนวิธกี ารของกล่องคณุ ภาพ ภายในแขนงขนั้ ตอนวิธกี ารของภาวะหัวใจหอ้ งลา่ งเต้นแผ่วระรวั (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะ ของ CRP ข้อความในหวั ขอ้ ท่ี 4 ถูกเปลย่ี นจาก “สับเปลียนผู้ชว่ ยกูช้ ีพทุกๆ 2 นาที หรอื เรว็ กว่าน้นั หาก หวั ใจหอ้ งล่างเตน้ แผว่ ระรัวท่ีไม่มสี ัญญาณชพี (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ยาลิโดเคนถกู เหนอ่ื ย” เป็น “เปลยี่ นผ้ชู ่วยกชู้ ีพทุก 2 นาที หรอื เร็วกว่าน้ันหากเหนอ่ื ย” ภายในกล่องขน้ั ตอนวธิ กี ารของ เพิม่ เขา้ ไปเพอื่ เปน็ ทางเลือกของยาอะมิดาโรนในกลอ่ งท่ี 8 ในขนั้ ตอนวิธกี ารของกลอ่ งคุณภาพของ CPR ยาที่ใชใ้ นการรกั ษา ยาลโิ ดเคนถกู เพิม่ เขา้ ไปเพอ่ื เป็นทางเลอื กของยาอะมดิ าโรนในหวั ขอ้ ที่ 2 ข้อความในหวั ขอ้ ที่ 4 ถกู เปลย่ี นจาก “สบั เปลยี นผูช้ ว่ ยก้ชู พี ทกุ ๆ 2 นาที หรอื เรว็ กวา่ นนั้ หากเหนือ่ ย” เปน็ “เปล่ยี นผู้ชว่ ยกูช้ ีพทกุ 2 นาที หรอื เรว็ กวา่ นัน้ หากเหน่อื ย” ภายในกลอ่ งขั้นตอนวิธีการของยาท่ใี ช้ในการ รักษา ยาลโิ ดเคนถูกเพ่มิ เขา้ ไปเพอ่ื เปน็ ทางเลอื กของยาอะมิดาโรนในหัวข้อท่ี 2 รปู ภาพที่ 3 ขน้ั ตอนวธิ กี ารตอ่ เนอ่ื งสำ� หรบั ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ 5

เปา้ หมายของการประเมนิ หลกั ฐานอยา่ ง ตอ่ เนอื่ งคอื การลดระยะเวลาระหวา่ งการ ตพี มิ พห์ ลกั ฐานการชว่ ยชวี ติ และการ แปลเปน็ แนวทางจากคณะกรรมการ ประสานงานระหวา่ งประเทศดา้ นการกูช้ พี (ILCOR) เชน่ สมาคมโรคหวั ใจสหรฐั ฯ (American Heart Association: AHA) การชว่ ยชวี ติ ขนั้ สงู สำ� หรับผูป้ ว่ ยเดก็ การใชย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ (antiarrhythmic drugs) ในระหวา่ งการกูช้ พี ภาวะหวั ใจ เตน้ ผดิ จงั หวะ (antiarrhythmic drugs) ในระหวา่ งการกูช้ พี จากภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ เนอื่ งจากภาวะ หวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ระรัว (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผว่ ระรัวที่ ไมม่ สี ญั ญาณชพี (pulseless ventricular tachycardia: pVT)ในเดก็ คำ� แนะนำ� สำ� หรับยาอะมโิ อดาโรน และยาลโิ ดเคน 2561 (ไม่เปลยี่ นแปลง): สำ� หรบั ภาวะไม่ตอบสนองต่อการกระต้นุ ดว้ ยไฟฟ้า (shock-refractory)ของภาวะหัวใจห้องล่างเต้นแผว่ ระรัว (ventricular fibrillation: VF) หรือภาวะหวั ใจห้องลา่ งเตน้ แผว่ ระรัวที่ไม่มีสญั ญาณชีพ (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ยาอะมิดา โรน หรอื ยาลโิ ดเคนอย่างใดอย่างหนง่ึ อาจมีการใช้ (ระดับ IIb, ระดบั หลกั ฐาน C-LD) 2558 (เดมิ ): ส�ำหรบั ภาวะไมต่ อบสนองตอ่ การกระตนุ้ ด้วยไฟฟา้ (shock-refractory)ของภาวะหัวใจหอ้ งลา่ งเต้นแผว่ ระรวั (ventricular fibrillation: VF) หรอื ภาวะหัวใจห้องลา่ งเตน้ แผว่ ระรัวที่ไม่มีสัญญาณชีพ (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ยาอะมดิ าโรน หรอื ยาลิ โดเคนอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ อาจมีการใช้ (ระดับ IIb, ระดับหลกั ฐาน C-LD) เหตผุ ล: จากบทสรปุ คำ� แนะนำ� การรักษา (CoSTR) ในปี 2561 และการทบทวนอย่างเปน็ ระบบไดพ้ ิจารณาการใชย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเต้นผิด จงั หวะสำ� หรบั ภาวะไม่ตอบสนองต่อการกระตนุ้ ด้วยไฟฟ้า (shock-refractory)ของภาวะหวั ใจหอ้ งล่างเต้นแผว่ ระรัว (ventricular fibrillation: VF) หรือภาวะหวั ใจหอ้ งลา่ งเตน้ แผ่วระรัวที่ไมม่ ีสญั ญาณชพี (pulseless ventricular tachycardia: pVT) ไมเ่ หมือนกบั การทบทวนกอ่ นหนา้ นี้ เฉพาะการศกึ ษาวิจยั ในเด็กที่ได้รับการพจิ ารณาในปี ค.ศ. 2018 ไม่มกี ารศกึ ษาใดที่ระบุถงึ การใชย้ ารกั ษาภาวะหวั ใจเต้นผิดจังหวะหลัง จากการช่วยชวี ติ จากภาวะหัวใจหยดุ เตน้ มีเพยี งการศกึ ษาวจิ ัยแบบลงทะเบยี นเพียง 1 งานวิจยั เทา่ นน้ั ทศี่ ึกษาการใช้ยารกั ษาภาวะหวั ใจเต้น ผดิ จังหวะระหวา่ งการกชู้ ีพ การศกึ ษาวิจัยนเ้ี ปรียบเทยี บผลลพั ธท์ ่เี ก่ยี วข้องกบั การใช้ยาอะมดิ าโรนหรอื ลโิ ดเคนเพือ่ นช่วยชีวิตผู้ปว่ นภายในโรง พยาบาลจากภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ซง่ึ พบวา่ ไม่มคี วามแตกต่างอยา่ งมีนยั ส�ำคญั ในการรอดชีวิตจนออกจากโรงพยาบาลในผู้ปว่ ยที่ได้รับยาอะมิ ดาโรนเปรยี บเทียบกบั ยาลิโดเคน ขน้ั ตอนวธิ กี ารการชว่ ยชวี ติ ขน้ั สงู ในเดก็ (PALS) ทม่ี ี ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ปรบั ปรงุ ขน้ั ตอนวิธีการการช่วยชีวิตขั้นสูงในเดก็ (PALS) ทมี่ ภี าวะหัวใจหยดุ เตน้ ไมเ่ ปลี่ยนแปลงในภาพของล�ำดบั เหตุการณ์ และการบำ� บัดจากขัน้ ตอน วิธีการท่ไี ด้รับการปรับปรงุ ในปีพ. ศ. 2558 การแก้ไขเลก็ น้อยมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ การเปลยี่ นแปลงของขน้ั ตอนตอ่ เน่ืองวธิ กี ารชว่ ยชวี ติ ขั้นสงู ในเดก็ —ปรับปรงุ 2561 (รูปภาพท่ี 4): การเปลยี่ นแปลงเพยี งอยา่ งเดยี วภายในข้ันตอน วธิ กี าร คอื การแก้ไขเลก็ นอ้ ยเพอื่ ลดความแตกตา่ งระหวา่ งขน้ั ตอนวธิ กี ารน้ีกับขัน้ ตอนวธิ กี ารชว่ ยชีวติ ขน้ั สงู สำ� หรับผู้ปว่ ยโรคหวั ใจหลอดเลอื ด (ACLS) ทม่ี ภี าวะหวั ใจหยดุ เตน้ ภายในแขนงขน้ั ตอนวธิ กี ารภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ /PEA กลอ่ งท่ี 10 ขอ้ ความในหวั ขอ้ ที่ 3 ถกู เปลย่ี นจาก “พจิ ารณาการใชอ้ ปุ กรณ์ ชว่ ยหายใจ (advanced airway)” เป น็ “พจิ ารณาการใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยหายใจ (advanced airway) การตรวจสอบกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ในระบบทาง เดนิ หายใจในรูปแบบคลน่ื (capnography)” ในกลอ่ งท่ี 12 ขอ้ ความในหวั ขอ้ แรกถกู เปลย่ี นจาก “ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ /PEA → 10 หรอื 11” เป น็ “ถา้ ไมม่ สี ญั ญาณการกลับมาของการไหลเวยี นโลหติ ทเ่ี กดิ ขึ้นเอง (ROSC) ไปท่ี 10 หรอื 11” หวั ขอ้ ท่ี 2 และ 3 “การจดั การจงั หวะการเตน้ → ตรวจสอบ ชีพจร” และ “ปรากฎสญั ญาณชีพจร (ROSC) → การดแู ลหลงั ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ” ถกู นำ� มารวมไว้ในหวั ขอ้ เดยี วกนั “ถา้ ROSC ไปทก่ี ารดแู ลหลงั ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ” ภายในขนั้ ตอนวธิ กี ารของกลอ่ งคณุ ภาพของ CPR ขอ้ ความในหวั ขอ้ ท่ี 4 ถกู เปลยี่ นจาก “สับเปลยี นผูช้ ว่ ยกูช้ ีพทกุ ๆ 2 นาที หรอื เร็วกวา่ นน้ั หาก เหน่ือย เป น็ “เปลยี่ นผูช้ ว่ ยกูช้ ีพทกุ 2 นาที หรอื เร็วกวา่ นนั้ หากเหนื่อย” ภายในกลอ่ งขัน้ ตอนวธิ กี ารของยาทใี่ ช ้ในการรกั ษา คำ� วา่ “หรอื ” ถกู เพม่ิ เขา้ ไประหวา่ งขนาดยาอะมดิ าโรน และยาลโิ ดเคน และมกี ารรวม 2 หวั ขอ้ เพอื่ เป น็ การเนน้ ยำ�้ วา่ อาจใชย้ าตัวหนึ่งตวั ใดหรอื ยาอน่ื ๆ 6 American Heart Association

รปู ภาพที่ 4 ขน้ั ตอนวธิ กี ารสำ� หรบั ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ในเดก็ 7

บทความแนะนำ� Duff JP, Topjian A, Berg MD, et al. 2018 American Heart Association focused update on pediatric advanced life support: an update to the American Heart Association guidelines for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiovascular care [published online November 5, 2018]. Circulation. doi: 10.1161/CIR.0000000000000612 International Liaison Committee on Resuscitation website. www.ilcor.org. Accessed July 30, 2018. Kudenchuk PJ, Brown SP, Daya M, et al; for the Resuscitation Outcomes Consortium Investigators. Amiodarone, lidocaine, or placebo in out-of-hospital cardiac arrest. N Engl J Med. 2016;374:1711-1722. Panchal AR, Berg KM, Kudenchuk PJ, et al. 2018 American Heart Association focused update on advanced cardiovascular life support use of antiarrhythmic drugs during and immediately after cardiac arrest: an update to the American Heart Association guidelines for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiovascular care [published online November 5, 2018]. Circulation. doi: 10.1161/CIR.0000000000000613 Soar J, Donnino MW, Aickin R, et al. 2018 international consensus on cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiovascular care science with treatment recommendations summary [published online November 5, 2018]. Circulation. doi: 10.1161/CIR.0000000000000611 Valdes SO, Donoghue AJ, Hoyme DB, et al; for the American Heart Association Get With The Guidelines–Resuscitation Investigators. Outcomes associated with amiodarone and lidocaine in the treatment of in-hospital pediatric cardiac arrest with pulseless ventricular tachycardia or ventricular fibrillation. Resuscitation. 2014;85:381-386. 8 American Heart Association © 2018 American Heart Association JN0893


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook