Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มtwincity_update280462

รูปเล่มtwincity_update280462

Published by pongrawee2, 2019-04-26 05:10:52

Description: รูปเล่มtwincity_update280462

Search

Read the Text Version

3_oral_good ความรู้ ทัศนคตแิ ละการปฏบิ ัติตนในการป้องกนั โรคไขม้ าลาเรยี ของเจ้าหน้าที่ ท่ปี ฏบิ ัติงานในเขตเทือกเขาพนมดงรกั จังหวัดศรสี ะเกษ กันยารัตน์ เหลา่ เสถียรกิจ2 วท.บ. (ชวี วทิ ยา) วนั ชัย เหล่าเสถยี รกิจ1 พบ. (เวชศาสตร์ปอู งกันดา้ นระบาดวทิ ยา), รป.ม. พทุ ธิไกร ประมวล3 วท.บ. (สาธารณสุขชมุ ชน), สม.(ชีวสถติ )ิ , สด. รัตภรณ์ วรเลศิ 4 วท.บ. (สถิตปิ ระยกุ ต์) 1สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ศรสี ะเกษ, 2,3,4สานักงานควบคมุ โรคติดต่อ สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ บทคัดย่อ จังหวดั ศรีสะเกษ เป็น 1 ใน 5 จังหวัดท่ีมีแนวโนม้ อบุ ัตกิ ารณ์โรคไข้มาลาเรียสูง ในปี 2560 มีผู้ปุวย 780 ราย อยู่อันดับท่ี 3 ของประเทศและปี 2561 ประเทศไทยพบผู้ปุวยแล้ว 1,532 รายและจังหวัดศรีสะเกษพบผู้ปุวย 378 ราย ผูป้ ุวยส่วนใหญม่ ีอาชีพทาสวนยางพารา รองลงมาคือเจา้ หน้าท่ที หาร หน่วยอนุรักษ์ปุาไม้ ซึ่งเป็นกลุ่มเจ้าหน้าที่รัฐ ท่ีสามารถวางแผนการปูองกันโรคไข้มาลาเรียได้ แต่กลับพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่ปุวยเป็นโรคไข้มาลาเรีย ซ่ึงยังไม่มี การศกึ ษาถึงสาเหตแุ ละโอกาสเสยี่ งท่ีทาให้เกิดโรคไขม้ าลาเรยี ในกลมุ่ เสี่ยงน้ี การศึกษาคร้ังน้ีเป็นศึกษาเชิงพรรณนา (A cross-sectional descriptive study) เพ่ืออธิบายและพรรณนาระดับความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติตนในการ ปูองกันโรคไข้มาลาเรียของเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานในเขตเทือกเขาพนมดงรัก จานวน 198 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย แบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2561–30 มีนาคม 2561 วิเคราะห์ข้อมูลและนาเสนอด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า ส่วนใหญ่เพศชาย ร้อยละ 85.62 อายุ 20-30 ปี ร้อยละ 53.54 เป็น พนกั งานลาดตระเวนหรือพิทักษ์ปุา ร้อยละ 43.68 ยังมีคนท่ีมีอาการไข้และไม่ได้ไปรับการตรวจรักษา ร้อยละ 23.31 เคยปุวยเป็นไข้มาลาเรีย ร้อยละ 36.87 และเป็นเช้ือ P.Vivax ร้อยละ 43.48 คะแนนเฉล่ียความรู้และทัศนคติในการ ปูองกนั โรคไข้มาลาเรียสูง 6.57 คะแนน (SD=0.92) และ 18.5 คะแนน (SD=1.85) การปฏิบัติตนในการปูองกันโรคไข้ มาลาเรีย พบว่าไม่มีมุ้งนอน ร้อยละ 10.61 มีมุ้งธรรมดา ร้อยละ 33.33 เมื่อพักค้างแรมในปุาจะกลางมุ้งนอนทุกครั้ง ร้อยละ 42.93 ทายากันยุงเป็นบางครั้ง ร้อยละ 54.04 สวมเส้ือแขนยาวกางเกงขายาวเป็นบางคร้ัง ร้อยละ 67.68 ต้องการให้มีการชุบน้ายาเคมีกันยุงในเคร่ืองนอน ร้อยละ 86.36 และอยากให้มีการสนับสนุนมุ้งหรือมุ้งคลุมเปลชุบ นา้ ยาเคมี รอ้ ยละ 61.62 จะเห็นว่ายังมีเจา้ หนา้ บางส่วนท่ีมีการปฏิบัติตนในการปูองกันโรคไข้มาลาเรียไม่ถูกต้อง ขาด ความตระหนักถึงอาการท่ีต้องเฝูาระวังและขาดชุดอุปกรณ์เคร่ืองนอนชุบน้ายาเคมี ดังน้ันจึงควรมีการสร้างความ ตระหนัก การรับรู้ความรุนแรงของโรค และสนับสนุนอุปกรณ์ชุบสารเคมีปูองกันยุงให้เพียงพอ โดยเฉพาะในกลุ่ม เจ้าหน้าท่ลี าดตระเวนและพิทกั ษ์ปุา คาสาคญั : ความรู้, ทศั นคต,ิ การปฏบิ ัตติ น, การปอู งกันโรคไข้มาลาเรีย, เขาพนมดงรกั , ศรีสะเกษ ~ 51 ~

4_oral_good ประสบการณใ์ นการดแู ลกากบั การกินยาผปู้ ว่ ยวัณโรคดอื้ ยาชนดิ รุนแรงมาก (XDR-TB) 1นางกานต์พิชชา วิจารณ์ ปวท.(ทนั ตสาธารณสุข), สบ., สม. (บรหิ ารสาธารณสขุ ) 2พทุ ธไิ กร ประมวล วท.บ. (สาธารณสุขชุมชน), สม.(ชีวสถติ ิ), สด. 1โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลโนนแกด อาเภอเมอื ง จงั หวัดศรสี ะเกษ 2กลุ่มงานควบคุมโรคติดตอ่ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ศรสี ะเกษ บทคัดยอ่ การรักษาวัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) มีความยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายสูงและมีอัตราการ รักษาสาเร็จน้อย หากไม่มีการวางแผนการดูแลกากับการกินยาที่ดี และมีการรักษาที่ถูกต้อง รอบด้าน และมีการ ติดตามอย่างต่อเนื่อง การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือพรรณนาประสบการณ์ในการดูแลกากับการกินยาของผู้ปุวย วัณโรคด้ือยาชนิดรุนแรง อายุ 63 ปี ผู้ปุวยมีโรคเบาหวานร่วม ผู้ปุวยมีการปฏิเสธการรักษาในช่วงแรก จาก ประสบการณ์การดูแลผู้ปวุ ย XDR-TB เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขในพ้ืนท่ี จะตอ้ งปฏิบัติใน 7 ประเด็นหลัก คือ 1) การสร้าง กาลังใจกับผู้ปุวยให้มีจิตใจเข้มแข็ง ยอมรับสภาพการเจ็บปุวย กล้าเผชิญหน้าและสู้กับโรค 2) มีความรู้ความเข้าใจใน การดาเนินโรค ภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจจะเกิดข้ึน และการวางแผนการดูแลที่ดี 3) การปฏิบัติตามแนวทางการดูแล ผปู้ ุวย XDR-TB ใหผ้ ้ปู วุ ยกนิ ยาตอ่ หน้า และตดิ ตามดูแลต่อเน่ืองทุกวัน 4) มีความสามารถ ทักษะ ความชานาญในการ ประเมินอาการ ภาวะแทรกซ้อน และภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาทีมพ่ีเล้ียงท้ังจากสมากชิกในครอบครัว และ เครือข่าย อสม. และผู้นาชุมชน เพ่ือช่วยในการเฝูาระวังติดตามกากับการกินยาและอาการผู้ปุวย 6) มีระบการส่งต่อ ผูป้ ุวยสายตรงทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 7) มีทมี สหวชิ าชพี ท่ีดี ในการร่วมรกั ษา แก้ไขภาวะแทรกซ้อนและภาวะทุพโภชนาการ และการฟื้นฟูสภาพผู้ปุวย โดยส่ิงสาคัญที่สุดสาหรับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขท่ีดูแล คือ การมีจิตศรัทธาในการช่วยเหลือ ผู้ปุวยเปรยี บเสมอื นด่ังญาติและคนในครอบครวั ปัจจุบันผู้ปุวยรักษาได้ 12 เดือน มีน้าหนักเพิ่มข้ึน 20 กิโลกรัม กินยาได้ดี ระดับน้าตาลในเลือดปกติ การ รับประทานอาหาร และการทากิจวัตรประจาวันได้ปกติ สามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข เป็นปราชญ์ ด้านการปฏิบัติตนของผู้ปุวยวณั โรคให้กบั หน่วยงานไดอ้ ยา่ งดี คาสาคญั : ประสบการณใ์ นการดแู ลผ้ปู ุวย, วัณโรคดอ้ื ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก, XDR-TB, การดูแลกากับการกินยา ~ 52 ~

5_oral_good ทาฟนั อยา่ งปลอดภยั ดว้ ยเสื้อ captain safety พชิ ชาภา ผดุ ผอ่ ง, ศิรพิ ร หินซยุ , ปรญิ ญา ไกรยวงษ์, วันทนี บุง้ ทอง, สวุ ชิ ติ ตา ศรีสอน ฝุายทนั ตกรรม โรงพยาบาลเขมราฐ จ.อบุ ลราชธานี บทคดั ย่อ ปัจจุบันทันตบุคลากรจะสวมเส้ือกาวน์ท่ีทาจากผ้าซึ่งง่ายต่อการถูกละอองน้าหรือสารคัดหล่ังต่าง ๆ สัมผัส และซมึ เขา้ ผิวหนังได้ ก่อให้เกิดการส่งผ่านเช้ือโรคไปสู่ตัวทันตบุคลากรและผู้อ่ืนได้ ดังนั้นฝุายทันตกรรม โรงพยาบาล เขมราฐ จึงได้คิดประดิษฐ์เส้ือ captain safety ข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการแพร่กระจายเช้ือโรคจากผู้ปุวยมาสู่ ทันตบคุ ลากร และศกึ ษาประสิทธผิ ลของเสือ้ captain safety การวิจัยนี้เป็นการวิจัยประเภท Quasi-experimental วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ paired t-test และสถิติ เชิงพรรณา โดยออกแบบและประดิษฐ์เส้ือ captain safety แล้วนาไปทดลองใช้งานจริง ทาการสุ่มทันตบุคลากรใน อาเภอเขมราฐ 10 คน โดยการสุ่มแบบง่าย เก็บตัวอย่างเชื้อจากเส้ือกาวน์ก่อนขูดหินน้าลาย โดยเก็บเชื้อบริเวณ หน้าอก แขนเสื้อซ้ายขวา มาเพาะที่อุณหภูมิ 35 – 37 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง จากน้ันให้สวมเส้ือ captain safety ทับบนเส้ือกาวน์ หลังขูดหินน้าลายเสร็จก็เก็บเช้ืออีกครั้ง ติดตามผลจากแบบบันทึกปริมาณเชื้อก่อนและหลัง ใช้เส้อื captain safety และแบบบนั ทกึ ความพึงพอใจในการใชง้ าน จากการศกึ ษาพบวา่ กลมุ่ ควบคมุ มปี ริมาณเชื้อบรเิ วณเสอื้ กาวนท์ ง้ั 3 ตาแหนง่ ท่วี ัดก่อนและหลังขูดหินน้าลาย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ในขณะท่ีกลุ่มท่ีใส่เสื้อ captain safety ปริมาณเชื้อ บริเวณเสื้อกาวน์ท้ัง 3 ตาแหน่งท่ีวัดก่อนและหลังขูดหินน้าลายไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p- value>0.05) และทันตบุคลากรรู้สึกประทับใจต่อการใช้งานเสื้อ captain safety ระดับมากท่ีสุด 83.02% และมาก 16.98%, รู้สึกว่าเสื้อ captain safety สามารถปูองกันเช้ือโรคได้ในระดับมากท่ีสุด 90.86% และมาก 9.14%, และ ต้องการใช้งานเสื้อ captain safety ซ้าอีกในอนาคตในระดับมากท่ีสุด 97.23% และมาก 2.77% ทั้งน้ีการทาความ สะอาดเสื้อ captain safety อย่างเหมาะสมและการหาวิธที ี่จะใช้ซ้าได้นานยังตอ้ งศึกษาต่อไป คาสาคัญ: ทนั ตบคุ ลากร, เสอ้ื กาวน์, ปูองกันการแพร่เชอ้ื , ขดู หนิ นา้ ลาย ~ 53 ~

6_oral_good การตรวจคัดกรองเพ่อื คน้ หาผู้ปว่ ยวัณโรคเชงิ รกุ ดว้ ยรถถ่ายภาพรงั สที รวงอกเคลื่อนที่ ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง จังหวดั ศรีสะเกษ Screening for pulmonary tuberculosis using mobile X-ray digital among risk group in Sisaket province, Thailand เกษสมุ า วงษ์ไกร1 พย.บ. (พยาบาลและผดงุ ครรภ์) พทุ ธไิ กร ประมวล2 วท.บ. (สาธารณสุขชุมชน), สม.(ชวี สถติ ิ), สด. ภัทราภรณ์ บวั พนั ธ์3 วท.บ. (สาธารณสุขชมุ ชน) 1,2,3สานักงานควบคุมโรคตดิ ต่อ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ บทคดั ยอ่ การค้นหาผูป้ ุวยวณั โรครายใหม่ ถอื เปน็ แนวทางทส่ี าคัญในการลดความล่าช้าของการตรวจวินิจฉัย การรักษา และลดการแพร่กระจายเชื้อวณั โรคในชมุ ชน ทีผ่ า่ นมายังไม่มีการดาเนนิ การตรวจคัดกรองในเชงิ รุกดว้ ยรถถ่ายภาพรังสี เคลื่อนที่ ทาให้อัตราการค้นพบผู้ปุวยวัณโรครายใหม่ในจังหวัดศรีสะเกษไม่ถึงตามเกณฑ์มาตรฐานกระทรวง สาธารณสุข ซ่ึงการศึกษาคร้ังนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (A cross-sectional descriptive study) เพื่อศึกษาผลการคัดกรองและการคน้ หาผู้ปุวยวัณโรคเชิงรุกด้วยรถเอ็กซเรย์เคล่ือนท่ีดิจิตอลในประชาชนกลุ่ม เส่ียงในจังหวัดศรีสะเกษ จานวน 13,309 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ตามแบบคัดกรอง การตรวจ เสมหะและการถ่ายภาพรังสีทรวงอก ระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือ พรรณนาผลการตรวจคดั กรองโดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูป นาเสนอด้วยค่าความถ่ี คา่ ความชุกของความผิดปกติของปอด ความชกุ ของการค้นพบผู้ปวุ ยวณั โรครายใหม่ และคา่ ช่วงความเชื่อมนั่ 95% ส่วนใหญป่ ระชาชนกลุ่มเสยี่ งที่มาตรวจคัดกรองเป็นผูส้ ูงอายุ บคุ ลากรที่ดูแลผู้ปุวย ผู้ปุวยโรคเบาหวาน และผู้ ใกล้ชิดผู้ปุวยวัณโรค ร้อยละ 22.71, 19.29, 11.94 และ 11.52 ตามลาดับ พบผู้สงสัยวัณโรคจากแบบคัดกรอง ร้อย ละ 37.35 (95% CI: 36.53-38.17) และผทู้ ่ีมภี าพถา่ ยรังสีทรวงอกผิดปกติ ร้อยละ 8.93 (95% CI: 8.45-9.42) ได้รับ การส่งตรวจเสมหะ 1,399 ราย มีผลตรวจเสมะพบเชื้อ 48 ราย ผู้ที่ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝง 11 ราย และขึ้น ทะเบียนเปน็ ผูป้ วุ ยวัณโรครายใหม่ 84 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.63 (95% CI: 0.50-0.78) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ใกล้ชิดผู้ปุวยวัณโรค 29 (34.52%), 22(26.19%) และ 12(14.29%) รายตามลาดับ การค้นหา ผู้ปุวยวัณโรคเชิงรุกทาให้สามารถพบผู้ปุวยวัณโรครายใหม่เพ่ิมข้ึน ดังน้ันในการพัฒนาระบบการค้นหาผู้ปุวยวัณโรค ควรนาระบบการคัดกรองวัณโรคเชิงรุกด้วยรถถ่ายภาพรังสีทรวงอกมาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพใ นการค้นหาผู้ปุวย วัณโรครายใหม่ อันจะช่วยลดความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัย การรักษาและลดการแพร่กระจายเช้ือวัณโรคในชุมชน ต่อไป คาสาคัญ: การตรวจคัดกรอง, การคน้ หาผ้ปู ุวยวัณโรค, รถถา่ ยภาพรังสีทรวงอก, ศรสี ะเกษ ~ 54 ~

7_oral_good ทางเลอื กการดแู ลสขุ ภาพต่อระดับความเส่ียงภยั สุขภาพในผ้ปู ่วยเบาหวานชนดิ ที่ 2 โรงพยาบาลโนนคณู จงั หวัดศรีสะเกษ เพลิน สูงโคตร* สารภี นนท์ตา* ปราณี ธรี ะวิศษิ ฐชัย* งานคลนิ ิกโรคไม่ตดิ ต่อเรอื้ รงั บทคัดยอ่ การประเมินความเส่ียงสุขภาพในผู้ปุวยเร้ือรังเบาหวาน เพ่ือวิเคราะห์ผลกระทบจากส่ิงท่ีเป็นอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เพ่ือประเมินการได้รับ ระยะเวลาที่ได้รับ ระดับการเปลี่ยนแปลงสุขภาพและ ที่มีผลต่อ สขุ ภาพที่ ค่าใชจ้ ่ายทางสขุ ภาพ เศรษฐกิจผู้ปุวยและครอบครัว และสานพยาบาล วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาระดับความ เสี่ยงภัยสขุ ภาพในผปู้ วุ ยเบาหวานชนิดท2่ี ที่มาจากการเลือกดูแลสุขภาพ วิธีการศึกษา การศึกษาไปข้างหน้าช่วงเวลา ไดเวลาหนึ่ง กลุ่มเปูาหมาย ผู้ปุวยเบาหวานชนิดท่ี 2 ท่ีมารับบริการ ท่ีคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลโนนคูณ กุมภาพันธ์- เมษายน 2562 ระยะเวลา 3 เดือน วิธีดาเนินการ ศึกษาปัญหาการใช้ผลิตภัณฑ์และทางเลือกดูแล สขุ ภาพในกลมุ่ ผูป้ วุ ยเบาหวาน ร่วมกับการรักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน เคร่ืองมือ ประกอบด้วย แบบประเมินระดับ ความเสี่ยงต่อโรคไตเล่ือม วัดความเชื่อม่ัน อัลฟา คอนบาร์ค 0.78 โปรแกรมการให้ความรู้อาหารเสริมสุขภาพโดย พยาบาล และพบเภสัชกรเรื่องเภสัชภัณฑส์ ขุ ภาพ วิเคราะห์ค่าสถิติ รอ้ ยละ ผลการวิจัย พบว่า ผู้ปุวยที่ใช้ทางเลือกดูแลสุขภาพอื่นร่วมกับการรักษาของแพทย์ปัจจุบันจานวน 11 ราย ขอ้ มลู ทวั่ ไป กลุม่ ตวั อยา่ งเป็นเพศหญิงมากท่ีสุดร้อยละ 81.82 กลุ่มอายุมากที่สุด 61-70 ปี ร้อยละ63.63 รองลงมา 51-60 ปี ร้อยละ27.27 พบผู้ปุวยไตวายเร้ือรังระยะท่ี 3 มากท่ีสุดร้อยละ66.36 รองลงมาระดับ 2 และระดับ 1 เท่ากันร้อยละ 18.18 ทางเลือกการดูแลสุขภาพ พบมากที่สุด กลุ่มยาต้ม ร้อยละ 54.54 กาแฟผสมโสมร้อยละ 9.09 ยาลูกกลอน ร้อยละ9.09 ยาแก้ปวดท่ีมีส่วนผสมสารสเตอรอย์ ร้อยละ9.09 ผลกระทบต่อสุขภาพ มีการ เปล่ียนแปลงระดับการทางานของไต ร้อยละ9.09 ผลต่อการปรับเปลี่ยนแผนการรักษา ร้อยละ 9.09 สรุป ระดับ ความเส่ยี งภัยสขุ ภาพจากการใชก้ ารดูแลทางเลอื กการดแู ลตนเองในผูป้ ุวยเบาหวานชนดิ ท่2ี โรงพยาบาลโนนคูณระดับ อนั ตรายต่อสุขภาพรอ้ ยละ 18.18 มีความจาเป็นวิชาชพี สขุ ภาพวิเคราะห์การนาไปใช้อย่างจริงจังในกลุ่มเปูาหมายเพ่ือ ความปลอดภยั ผู้ปวุ ย คาสาคัญ : ทางเลือกการดแู ลสขุ ภาพ ระดบั ความเสย่ี งภยั สุขภาพ ผ้ปู ุวยเบาหวานชนิดที่ 2 ~ 55 ~

8_oral_good การประเมนิ ระบบเฝ้าระวงั โรคไขเ้ ลอื ดออกในโรงพยาบาลศรเี มืองใหม่ อาเภอศรเี มอื งใหม่ จงั หวดั อุบลราชธานี ปี พ.ศ.2560 นายแพทยณ์ ัฐนนท์ พรี ะภาณรุ กั ษ์ โรงพยาบาลศรีเมืองใหม่ นายอคั รชัย โพธิ์มา นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอศรีเมอื งใหม่ จังหวดั อุบลราชธานีจังหวดั อุบลราชธานี บทคดั ย่อ การศึกษาระบบเฝูาระวังโรคไข้เลือดออกในคร้ังนี้ เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาระบบเฝูาระวังโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาลศรีเมืองใหม่ อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัด อุบลราชธานี ในเชิงปริมาณและคุณภาพของระบบเฝูาระวังโรคไข้เลือดออก และให้ข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุงพัฒนา ระบบเฝูาระวังโรคไข้เลือดออก ประชากรท่ีศึกษาเป็นผู้ปุวยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลศรีเมืองใหม่ ต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม -31 ธันวาคม 2560 โดยค้นหาผู้ปุวยตามบัญชีจาแนกโรคระหว่างประเทศ (ICD-10) A90, A91, A910, B349 และR509 พบประชากรท่ีศึกษา จานวน 2,668 ราย กลุ่มตัวอย่างซ่ึงเป็นผู้ปุวยท่ีใช้ในการศึกษา จานวน 749 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จานวน ความถ่ี และร้อยละของตัวแปรที่ศึกษา ผลการศกึ ษา พบวา่ เมือ่ ใช้นยิ ามการเฝูาระวงั โรคไขเ้ ลือดออกตามค่มู ือนิยามโรคติดเช้ือประเทศไทย พบผู้ปุวยจานวน 53 ราย มีความไวของระบบเฝูาระวังโรคไข้เลือดออกเท่ากับร้อยละ 33.96 ค่าพยากรณ์บวกของระบบเฝูาระวังร้อยละ 100 โดยมคี วามไวและคา่ พยากรณบ์ วกระบบเฝูาระวังของผปู้ ุวยนอก คดิ เป็นร้อยละ31.57 และ 100 ความไวและคา่ พยากรณ์ บวกระบบเฝาู ระวงั ของผู้ปุวยใน คิดเป็นร้อยละ 37.5 และ 100 ความไวและค่าพยากรณ์บวกระบบเฝูาระวังของผู้ปุวยท่ี สง่ ตอ่ ไปรักษาท่โี รงพยาบาลสรรพสทิ ธิประสงค์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.67 และ 100 ตามลาดับ ซ่ึงประสิทธิภาพของระบบเฝูา ระวงั โรคไขเ้ ลือดออกยังอยูใ่ นระดบั ตา่ ควรเร่งปรับปรุงแก้ไขเรื่องการรายงานโรคให้มีความครอบคลุมมากข้ึน โดยเฉพาะ ผู้ปุวยนอกและผู้ปุวยใน คุณภาพของข้อมูลท่ีศึกษา พบว่ามีความครบถ้วนของข้อมูลเฝูาระวังในตัวแปรเพศ อายุ ที่อยู่ และวันที่เริ่มปุวยคิดเป็นร้อยละ 100 ทุกตัวแปร และมีความถูกต้องของข้อมูลในตัวแปรเพศ อายุ ท่ีอยู่และวันที่เริ่มปุวย คิดเป็นร้อยละ 100, 100, 100 และ 94.44 ตามลาดับ ความสามารถในการเป็นตัวแทนของระบบเฝูาระวัง พบว่ามี อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิงในกลุ่มท่ีรายงานเท่ากับ 1 ต่อ 2.6 และในกลุ่มท่ีสารวจเท่ากับ1 ต่อ 1.12 จึงทาให้ความ เป็นตัวแทนเพศชายต่อเพศหญิงท้ังสองกลุ่มยังไม่สามารถเป็นตัวแทนที่ดีได้ สัดส่วนกลุ่มอายุผู้ปุวยมีข้อมูลแตกต่างกัน ความทันเวลาของการรายงานผู้ปุวยจากโรงพยาบาลศรีเมืองใหม่ถึงศูนย์ระบาดวิทยาอาเภอและสานักงานสาธารณสุข จังหวดั อุบลราชธานี ได้ภายใน 24 ช่วั โมง คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.44 รายงานตั้งแต่ 25 - 48 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 5.55 ใน ส่วนของผลการศกึ ษาเชงิ คุณภาพ พบวา่ มคี ูม่ อื และแนวทางการดาเนนิ งานดา้ นการเฝูาระวังโรคและแผนผังแสดงขั้นตอน การรายงานโรค มีการเกบ็ ข้อมูลการตรวจรักษาดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ มีการบริหารจัดการเจา้ หน้าทีผ่ ูร้ ับผิดชอบในระบบ เฝูาระวงั ผบู้ ริหารมนี โยบายท่ชี ัดเจนและสามารถใช้ประโยชน์จากระบบเฝูาระวัง หากพิจารณาในภาพรวมแล้วสรุปได้ว่า ระบบเฝาู ระวงั กลมุ่ โรคไขเ้ ลอื ดออกอาเภอศรีเมอื งใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี มีค่าความไวของการรายงานโรคไข้เลือดออก อยู่ในระดับต่า ควรมีการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในระบบเฝูาระวัง ส่งเสริมให้นาข้อมูลท่ีได้จากการเฝูาระวังไปใช้ ประโยชน์ใหม้ ากย่ิงขนึ้ มีการประเมินระบบเฝาู ระวงั และควบคุมโรคอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือให้ระบบเฝูาระวังโรคให้ได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานและมกี ารดาเนนิ งานอย่างต่อเนอ่ื งยงั่ ยนื ตอ่ ไป ~ 56 ~

9_oral_good การดูแลผู้ปว่ ยวณั โรคดื้อยาหลายขนานชนิดรนุ แรงมาก (XDR-TB) โดยการมีส่วนร่วมของภาคเี ครือข่าย โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลไหลท่ ่งุ อาเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เดชไกร สงิ ห์คา นกั วชิ าการสาธารณสขุ * วิไลลกั ษณ์ พิมพ์พรม พยาบาลวิชาชีพชานาญการ* *โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลไหล่ทุง่ บทคัดยอ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไหล่ทุ่ง ได้รับการประสานจากกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวโรงพยาบาล ตระการพืชผลเพ่ือรับดูแลผู้ปุวยวัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) ซึ่งต้องปฏิบัติตามแนวทาง การ ปูองกนั ควบคุมโรคภายใต้พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและสร้าง ความมนั่ ใจ และปลอดภยั ให้กับผู้ปวุ ย ครอบครวั และชมุ ชน การรักษาผู้ปวุ ยได้รับการดูแลจากทีมสหวิชาชีพต้ังแต่เริ่มการวินิจฉัยโรคจนกระท่ังจาหน่ายกลับบ้าน เพื่อส่ง ต่อให้ชุมชนช่วยดูแลผู้ปุวยอย่างต่อเน่ืองท่ีบ้าน ซ่ึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไหล่ทุ่ง และภาคีเครือข่าย ได้แก่ ผู้นาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ครอบครัวผู้ปุวย และชุมชน ได้มีการทางานแบบมีส่วนร่วมในการดูแล และ ฝึกซ้อมการดูแลผู้ปุวยแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชน เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการกินยาของ ผ้ปู ุวยและผลข้างเคียงของยา พร้อมทั้งตระหนกั ถงึ มาตรการควบคมุ การแพร่กระจายเชื้อในชุมชนขณะผู้ปุวยได้รับการ ดูแลรักษาตอ่ เน่ืองท่บี ้าน ด้านครอบครัวเจ้าหน้าท่ีได้ติดตามเย่ียมให้กาลังใจโดยให้ความม่ันใจแก่ครอบครัวของผู้ปุวย ว่าชุมชนสามารถดูแลผู้ปุวยได้ ได้มีการจัดตั้งทีมพ่ีเลี้ยงกากับการกินยา (Direct Observe Treatment) พร้อมทั้ง จัดทาตารางเวรกากับการกินยา และเย่ียมเสริมพลังผู้ปุวยและครอบครัว เพ่ือเฝูาระวังภาวะสุขภาพและรับฟังข้อ อุปสรรคและปญั หาจากผปู้ ุวยและครอบครวั ทกุ วนั โดยใช้กลุ่มโซเชยี ลไลน์ในการประสานงานและรับส่งข้อมูล จากการดูแลผู้ปุวยแบบมีส่วนรวมของชุมชนทาให้ ผู้ปุวยและครอบครัวมีกาลังใจและให้ความร่วมมือในการ กนิ ยาให้ครบตามแผนการรกั ษาวณั โรคดื้อยาหลายขนานชนดิ รุนแรงมาก คาสาคญั : การดแู ลผ้ปู ุวย XDR-TB การมสี ่วนรว่ ม ภาคีเครือข่าย ~ 57 ~

10_oral_good Integrated Vector Management กับการจัดการพาหะนาโรคไขเ้ ลือดออกหม่บู า้ นเส่ียงสงู ในหมู่บ้านแหง่ หนง่ึ ตาบลนาสะเมง็ อาเภอดอนตาล จงั หวัดมกุ ดาหาร ปี 2561 นายเทอด สอนสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลนาสะเม็ง บทคัดย่อ ความเปน็ มาและความสาคญั ตาบลนาสะเม็งซึ่งเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอดอนตาล มีอัตราปุวยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุข กาหนด 5 ปีติดต่อกันคือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2560 เท่ากับ 517.24, 68.73, 136.52, 136.95 และ 675.67 ต่อประชากรแสนคน ตามลาดับ โดยพบมากทีส่ ุดทบี่ ้านโคกพฒั นา หมู่ที่ 5 ตาบลนาสะเม็ง ซ่ึงมีอตั ราปวุ ยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ.2556-2560 เท่ากับ 1545.45, 0, 0, 83.3 และ 320.00 ต่อประชากรแสนคนตามลาดับ ดังน้ันศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลงที่ 10.2 มุกดาหาร ทา แผนการจัดการความรู้(KM action plan) ปี 2561 เร่ืองการพัฒนาหมู่บ้าน/ตาบลต้นแบบด้านการจัดการพาหะนาโรคไข้เลือดออก แบบผสมผสาน(Integrated Vector Management : IVM) โดยมีวัตถุประสงค์เพอื่ สร้างองค์ความรู้ให้กับเครือข่ายทุกภาคส่วนในการ จดั การพาหะนาโรคไขเ้ ลือดออกแบบผสมผสาน เครื่องมือท่ีใช้คือ คู่มือ IVM, การจัดเวทีแลก เปล่ียนเรียนรู้และการถอดบทเรียนจาก กิจกรรม ได้แก่ การชี้แจงโครงการและถ่ายทอดความรู้ IVM การติดตามสนับสนุนหมู่บ้าน/ตาบลต้นแบบ 2 ครั้งการประเมิน HI, CI การประเมินผลงานตาม action plan จากน้ันสรุปบทเรียนและสกัดความรู้ต่อไป ลักษณะสาคัญของวิธีหรือแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ 1)การปูองกัน มีระบบเฝูาระวังโรคและผลักดันให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายตั้งแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงชุมชนและท้องถิ่นให้ จัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดยเน้นกระบวนการจัดการพาหะแบบผสมผสาน ( Integrated Vectors Management-IVM) อาศัยกลไกการเสริมบทบาทและหน้าท่ี 2)การควบคุมโรค เน้นประสิทธิภาพในการควบคุมโรคของทีม SRRT และท้องถ่ิน ปูองกันไม่ให้การระบาดเกิน 2 Generation โดยใช้กลไกมาตรฐานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC-ICS) 3)ส่ือสาร ประชาสมั พนั ธ์ ผา่ นช่องทางต่างๆ เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีการปูองกันตนเองและร่วมมือในการควบคุมโรค มีเปูาหมายท่ีสาคัญคือลด แหล่งเพาะพันธ์ุ, ลดการสัมผัสระหว่างยุงกับคน (ยุงมีโอกาสกัดคนน้อยลง), ลดโรค. ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ลาดับข้ันตอนการ ดาเนินกิจกรรมพัฒนา 1)ประชุมปฏิบัติการสร้างกิจกรรมชุมชน ศตม.10.2 มุกดาหาร, สคร.10 อุบลราชธานี ร่วมวิเคราะห์พ้ืนท่ี คัดเลอื กพ้นื ทที่ ี่มผี ูป้ ุวยโรคไขเ้ ลอื ดออกตอ่ ตอ่ เนอื่ ง และประเมิน HI/CI พรอ้ มจดั สรรงบประมาณอบรมเสริมศักยภาพชมุ ชน 2) ทบทวน บทบาทของเครือข่าย อปท./องคก์ รในชมุ ชน/แกนนาชมุ ชน/อสม./ภาคประชาชนวิเคราะห์ชุมชน เสริมสร้างบทบาท 3) มอบบทบาท หน้าที่/เพิ่มศักยภาพแกนนาเครือข่ายกาหนดผู้รับผิดชอบในกิจกรรมและจัดทาแผนปฏิบัติการ 4) สร้างบทบาทประชาชน เวที เสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับโรคไข้เลือดออกในระกับครัวเรือน และระดมแนวคิด การมีส่วนร่วมและวิธีการเฝูาระวังปัญหา และลดปัญหาโรคไข้เลือดออก 5) ช่องทางสื่อสารข้อมูลเฝูาระวัง หนังสือเชิญชวน, เสียงตามสายของชุมชน, ปูายประชาสัมพันธ์, โทรศพั ท์, Line, facebook 6) ยกย่องชมเชย การให้รางวลั และส่ิงจงู ใจ มาตรการสง่ เสริมคนตน้ แบบ บ้านต้นแบบในการจดั การพาหะ นาโรคไข้เลือออก และ 7)เวทีสรปุ ผลการทางานของเครือข่าย/IVM team นาเสนอผลงาน จานวน 1 ครั้ง เม่ือดาเนินการตามข้ันตอน แล้ว 1) มีคณะกรรมการจากภาคส่วนต่างๆ เขา้ มาร่วมและมกี ารประชมุ อยา่ งต่อเนอื่ ง 2) ภาคส่วนต่างๆร่วมดาเนนิ การควบคมุ ปอู งกัน โรคไข้เลือดออก 3) มีแนวทางการจัดการพาหะนาโรคแบบผสมผสานในพื้นที่ 4) ร่วมดาเนินการเฝูาระวังสถานการณ์โรคไข้เลือดออก อย่างตอ่ เนือ่ ง และ 5) รว่ มติดตามผลการดาเนินงานควบคุมปูองกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเน่ือง ปัจจัยความสาเร็จ การจัดแบ่งพื้นที่ การดาเนินการให้เหมาะสมเพื่อหน่วยงานระดับพ้ืนท่ีวางแผนปฏิบัติการปูองกันและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน มีมาตรการ สาคัญในการปูองกันโรคไข้เลือดออกมุ่งเน้นความร่วมมือของชุมชนในการจัดการ สภาพแวดล้อมภายในและรอบบ้านให้มีแหล่ง เพาะพนั ธย์ุ งุ ลายใหน้ ้อยท่ีสดุ ~ 58 ~

หอ้ งประชมุ ท่ี 5 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภัย สขุ ภาพ/Good Practice ประเภท E - Poster Presentation ~ 59 ~

ห้องประชุมท่ี 5 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพ/ Good Practice ประเภท E - Poster Presentation รหสั เร่ือง ผูน้ าเสนอ หน้า 1_ E - Poster รายงานสอบสวนผู้ปวุ ย AEFI Anaphylactic shock จาก นางสาวมาลยั จันทรก์ ุล 61 วัคซนี ปอู งกันโรคพิษสนุ ขั บ้า อาเภอสว่างวรี ะวงศ์ จังหวัด นายธรี ศกั ด์ิ คนั ศร 62 อุบลราชธานี 2_ E - Poster รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคหัด ในบคุ ลากร นางสาวทิพวัลย์ โสมณวัฒน์ 63 โรงพยาบาล ตาบลไร่น้อย อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี นางณฐั วรา พนั ธ์หมดุ 64 วันท่ี 10 กรกฎาคม – 15 กันยายน 2561 3_ E - Poster การพฒั นาผลิตภณั ฑ์จากวตั ถุดิบธรรมชาตใิ นการกาจัด นางณัฐนี ภมู ิพันธ์ 67 ลกู น้ายงุ (ปนู หอย นอ้ ยหน่า ฆา่ ลกู นา้ ยงุ ) 4_ E - Poster การศึกษาความร่วมมือสาธารณสุขชายแดนเมืองคู่ขนาน ชชั วาลย์ บรุ ะวงค์ 69 ไทยลาว (อ.ชานุมานกบั แขวงสะหวนั นะเขต) เพ่ือการ พฒั นางานดา้ นสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561 นางสาวสรุ ภา หาระสาร 71 5_ E - Poster การสอบสวนเด็กจมน้าเสียชวี ติ บ้านนิคมแปลง7 หมู่ท่ี 12 ตาบลชานมุ าน อาเภอชานุมาน จังหวดั อานาจเจริญ นางสาววชิ ชุตา ลม้ายจาปา 73 ระหวา่ งวนั ท่ี 17 - 22 พฤศจิกายน 2561 นางอรทยั วุฒิเสลา 74 6_ E - Poster รายงานการสอบสวนการระบาดโรคเลปโตสไปโรสสิ หมู่บ้านแห่งหนึ่ง ตาบลปาุ ไร่ อาเภอดอนตาล จงั หวัด กิตตยิ า วงศาสุข 76 มกุ ดาหาร วันท่ี 11 - 29 มนี าคม 2562 7_ E - Poster ผลของการปรบั ใช้ MEWS ในการดูแลต่อเนอื่ งระหว่างจุด น.ส.ณปภัทร จันทรคง 77 คัดกรองผ้ปู วุ ยและงานอบุ ตั ิเหตฉุ ุกเฉินโรงพยาบาลลอื อานาจ ปงี บประมาณ 2561 8_ E - Poster ตะแกรงไฟส่องทางสารวจลูกน้าและตัวโมง่ 9_ E - Poster สอบสวนการระบาดของโรคไขห้ วัดใหญใ่ นโรงเรยี น ประถมศกึ ษาแหง่ หนึง่ ตาบลสามแยกอาเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร เดือนสงิ หาคม-กันยายน 2561 10_ E - Poster ปจั จยั ท่ีมีผลต่อความครอบคลุมของวคั ซีนข้นั พ้ืนฐาน ใน ประชากรกลุ่มวยั เด็กอายตุ า่ กวา่ 5 ปี ของจงั หวดั อานาจเจรญิ 11_ E - Poster การตีตราและเลือกปฏบิ ัตใิ นกลุ่มผตู้ ้องขังทีอ่ ยรู่ ่วมกบั เชอ้ื เอชไอวใี นเรือนจาแห่งหน่ึง จงั หวดั ยโสธร ~ 60 ~

รายงานสอบสวนผปู้ ่วย AEFI Anaphylactic shock จากวคั ซีนปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บ้า 1_ E - Poster อาเภอสวา่ งวรี ะวงศ์ จงั หวัดอบุ ลราชธานี มาลัย จันทร์กลุ * จริ าภรณ์ อไุ รสาย ** โรงพยาบาลสวา่ งวีระวงศ์* สานักงานสาธารณสขุ อาเภอสวา่ งวีระวงศ์ ** บทคดั ยอ่ วันที่ 6 กันยายน 2561 กลุ่มงานควบคุมโรค โรงพยาบาลสว่างวีระวงศ์ ได้รับรายงานจากงานอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ว่ามีผู้ปุวย AEFI จานวน 1 ราย เข้ารับการรักษาท่ี โรงพยาบาลสว่างวีระวงศ์ ทีม SRRT ของอาเภอสว่างวีระ วงศ์ จงึ ได้ดาเนินการสอบสวนโรค โดยมวี ัตถุประสงค์เพือ่ ติดตามยืนยันจากอาการผู้ปุวยหลังได้รับวัคซีนและหาสาเหตุ ของการเกดิ โรค เพอ่ื ศึกษาและวางแผนการควบคุม วธิ กี ารศกึ ษาเปน็ การศกึ ษาเชงิ พรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปุวย เพศชาย อายุ 32 ปี ประวัติผู้ปุวยในวันท่ี 6 กันยายน 2561 เข้ารับการฉีดวัคซีน Rabies 0.1 ml x 2 จุด Lot No. 01A1801AB Exp.26/02/2021 พบว่าหลังฉดี ยาประมาณ 5 นาที ขณะเดนิ ทางกลับบ้าน มีอาการหน้ามืด วูบ ชาตาม ร่างกาย ตัวเกร็ง มึนชาแขนท้ัง 2 ข้าง ไม่มีอ่อนแรง มีผ่ืนคันตามร่างกาย หายใจไม่สะดวก แพทย์ได้ให้การรักษาตาม อาการ จนทุเลา และพิจารณาส่งตัวเพ่ือเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลท่ีมีศักยภาพสูงกว่า เป็นการศึกษาการระบาด ในรปู แบบเชงิ พรรณนา มีทบทวนเวชระเบียน ประวตั ิการรบั วคั ซีนในอดีตของผปู้ วุ ย ประวตั ิการแพ้ยาและอาหาร จากการศึกษากรณีผู้ปุวยดังกล่าว พบว่าผู้ปุวยมีการอาการแพ้วัคซีน Rabies ( Anaphylactic shock ) ที่ เปน็ กลุ่มผลติ จากการเพาะเล้ียงกลมุ่ Verocell ทีมสสจ/กรมควบคมุ โรค ได้ร่วมกันจัดหาวัคซีนมาทดแทนในกรณีน้ีคือ กลุ่มท่ผี ลิตจากเซลลไ์ ขเ่ ป็ด PCEC โดยไดร้ บั ความร่วมมือจาก รพ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ จากเหตุการณ์ดังกล่าว สสจ.ได้กา หนดมาตรการหลังการรับวัคซีนให้สังเกตอาการ อย่างน้อย 30 นาทีก่อน กลับบ้าน กรณีมีประวัติแพ้ยาให้เฝูาระวัง สงั เกตอาการอยา่ งใกล้ชิดพรอ้ มบุคลากรและเครื่องมอื ช่วยฟืน้ คืนชพี อย่างน้อย 1 ชั่วโมง และนามาตรการดังกล่าวมา บรรจุเปน็ แนวทางการปฏบิ ัติในทกุ โรงพยาบาล สสจ.เพิ่มมาตรการในการชะลอการให้วัคซีนลอตดังกล่าวเม่ือสอบสวนเรียบร้อยพบว่าเป็นการแพ้วัคซีน เฉพาะตวั ผปู้ วุ ย ไมไ่ ดเ้ กิดจากวัคซีน จึงให้ทุก รพ.ใช้วัคซีนดังกล่าวได้ปกติและให้มีการเฝูาระวังทุกราย ไม่มีผู้ปุวยเพิ่ม ในพน้ื ทอ่ี ื่นๆ ~ 61 ~

2_ E - Poster รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคหดั ในบคุ ลากรโรงพยาบาล ตาบลไรน่ อ้ ย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี วันท่ี 10 กรกฎาคม – 15 กันยายน 2561 ธรี ศักดิ์ คนั ศร*/จนิ ตนา เครือคณุ */ประพนธ์ บุญไช**/สารวย ศรศรี***/หสั ยา ไชสิทธิ์*** ชวกิจ ดอี ่วม****/ภนั ทลิ า ทววี กิ ยการ**** *โรงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหาวชริ าลงกรณ/**สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั อุบลราชธานี ***สานกั งานปูองกันควบคมุ โรคท่ี 10 อบุ ลราชธานี/****สานกั ระบาดวทิ ยา บทคัดย่อ วันท่ี 10 กรกฎาคม 2561 งานระบาดวิทยา โรงพยาบาล ๕๐ พรรษาฯ และผู้เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกัน สอบสวนโรคหัด ในบุคลากรโรงพยาบาล เพื่อยืนยันการวินิจฉัย การระบาดของโรค การเกิดโรคตามบุคคล เวลา สถานท่ี และกาหนดมาตรการปูองกันควบคุมโรคต่อไป โดยใช้วิธีการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา โดยรวมรวม ขอ้ มลู จากเวชระเบยี น ใชแ้ บบสอบสวนเฉพราะราย และได้กาหนดนิยามผปู้ ุวย พบบุคลากรปุวย จานวน 7 ราย อัตรา ปุวยร้อยละ 1.16 (604 คน) เปน็ ชาย 4 หญิง 3 ค่ามัธยฐานอายุ 30 ปี (21 – 41ปี) โดยบุคลากรรายแรกเร่ิมปุวยเม่ือ วันท่ี 5 กรกฎาคม 2561 รายสุดท้ายเมื่อวันท่ี 1 สิงหาคม 2561 หลังจากท่ีมีผู้ปุวยโรคหัดจากชุมชนมารับบริการ 1 ราย ในวันที่ 26 – 30 มิถุนายน 2561โดยมีลักษณะการระบาดแบบมีแหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source) จากการสอบสวนบุคลากรที่ปุวยส่วนใหญ่มีอาการ ไข้ , ผื่น ร้อยละ 100 ไอ ร้อยละ 85.71 ตาแดง ร้อยละ 42.86 มี น้ามกู รอ้ ยละ 28.57 ตามลาดับ จากผลตรวจ RT-PCR Measles IgM 7 ตัวอย่าง และ Throat Swab 3 ตัวอย่าง ผล ตรวจเป็น Positive ทกุ ตัวอยา่ ง การระบาดของโรคหัดในบุคลากรของโรงพยาบาล คาดว่าเกิดจาก ผู้ปุวยจากชุมชนแพร่เชื้อให้กับ บุคลากรในโรงพยาบาลในขณะปฏิบัติงาน จากน้ันได้มีการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล ซึ่งบุคลากรท่ีปุวยน่าจะ ไม่ได้เคยได้รับวัคซีนปูองกันโรคหัดหรือปุวยเป็นโรคหัดมาก่อน การควบคุมการระบาดในครั้งน้ีจึงเน้นการให้ความรู้ เรื่องแยกผู้ปุวย การสัมผัสผู้ปุวย การใช้อุปกรณ์ปูองกันส่วนบุคคล โดยสวมหน้ากากอนามัยขณะปฏิบัติงานท่ีใกล้ชิด กับผู้ปุวยติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ล้างมือหลังปฏิบัติงานหรือทาหัตถการ ดาเนินการฉีดวัคซีนหัด หัดเยอรมันให้กับ บุคลากรของโรงพยาบาลจานวน 565 คน ร้อยละ 93.54 เฝูาระวังโรคหัดในโรงพยาบาลจนครบ 42 วันหลังพบผู้ปุวย รายสดุ ทา้ ย โดยการประกาศให้บุคลากรในโรงพยาบาลท่ีมีไข้ ร่วมกับมีผ่ืนตามร่างกายในช่วงเวลาดังกล่าวให้รายงาน กับเจา้ หนา้ ทง่ี านระบาดวิทยาของโรงพยาบาล คาสาคัญ : หดั บคุ ลากร โรงพยาบาล ~ 62 ~

3_ E - Poster การพัฒนาผลิตภณั ฑ์จากวัตถุดบิ ธรรมชาติในการกาจดั ลูกน้ายุง (ปูนหอย น้อยหนา่ ฆ่าลกู นา้ ยุง) นางสาวทพิ วัลย์ โสมณวัฒน์ และนางสาวศศิธรณ์ ยานิพันธ์ ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชีพ หน่วยงาน /เจา้ พนกั งานสาธารณสุขชานาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลหนองขา่ บทคัดยอ่ ปัจจบุ ันไข้เลือดออกยังเปน็ ปัญหาทางสาธารณสุข ท่ีสาคัญมีสถิติจานวนผู้ปุวยสูงและมีรายงานผู้ปุวยเสียชีวิต ในทุกๆ ปี โดยล่าสุดในปีพุทธศักราช 2557 จากรายงานของกองระบาดวิทยา สานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข จานวนผู้ปุวยสะสมจากวันท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2557 พบว่า มีจานวน ผู้ปุวยไข้เลือดออก 39,569 คน มีจานวนผู้เสียชีวิต 40 คนคิดเป็นอัตราปุวยเท่ากับ 61.23 คนต่อประชากรแสนคน และอัตราผู้ปุวยตาย เท่ากับ 0.06 คนต่อประชากรแสนคน อัตราปุวยตาย 0.10 คน ซ่ึงรัฐบาลต้องเสียงบประมาณทางคณะผู้วิจัยจึงได้ คิดค้นหาแนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวน้ี โดยเร่ิมจากการร่วมสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับแนวทางการกาจัดลูกน้าทุก วิธกี ารที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบันวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งและผลกระทบต่อสุขภาพของแต่ละวิธี ทาให้เกิดข้อค้นพบท่ีว่า การใช้ทรายอะเบทท่ีแพร่หลายในปัจจุบัน มีข้อจากัดและผลเสียที่ทาให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมามากมาย คือ ทรายอะเบทสามารถกาจดั ได้เพียงลูกน้าเล็กๆ ของยุงเท่านั้นแต่ไม่สามารถกาจัดลูกน้าตัวเต็มวัยของยุงได้ ดังนั้น หาก มีการระบาดของไข้เลือดออกแล้วการใช้ทรายอะเบทจะไม่ทันการเท่าไหร่นัก และทรายอะเบทจะใช้ได้ผลดีกับแหล่ง นา้ น่ิงทีค่ อ่ นข้างสะอาด มีอนิ ทรียว์ ัตถุตกค้างอย่นู ้อยมากกว่าน้าเน่าเสยี หรือน้าท่วมขัง รวมไปถงึ ผลกระทบเรื่อง กลิ่น ท่ีไม่พึงประสงค์และเม่ือใช้ในปริมาณมากและเป็นเวลานานอาจจะก่อให้เกิดสารเคมีตกค้างในร่างกาย ส่งผลให้ ประชาชนบางกลุ่มหลีกเลีย่ งการใช้ทรายอะเบทรวมท้ังปริมาณทรายอะเบททมี่ นี ้ันมีปริมาณจานวนไม่เพียงพอจึงส่งผล ทาใหไ้ มส่ ามารถดาเนินงานปูองกันและควบคุมโรคไข้เลอื ดออกไดต้ ลอดทั้งปี สาหรับการจัดซื้อเคมีภัณฑ์เป็นจานวนมากในการกาจัดลูกน้ายุงลายและรวมถึงค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศการควบคุมและกาจัดยุงพาหะนาโรคโดยใช้ สารเคมีสังเคราะห์ แม้จะมีประสิทธิภาพดีในระยะเวลาส้ัน แต่ขณะเดียวกันกับส่งผลกระทบระยะยาวทางด้านการ ต้านทานต่อสารเคมีรวมถึงปัญหามลพิษเนื่องมาจากการตกค้างของสารเคมีในสิ่งแวดล้อม การใช้สารสกัดจากพืช สมุนไพรกาจัดยุงพาหะเป็นแนวทางหน่ึงที่จะช่วยลดบทบาทของการใช้สารเคมีสังเคราะห์ลงไ ด้ การทดสอบ ประสิทธิภาพการฆ่าลูกน้ายุงลาย Stegomyia aegypti (Aedes aegypti) และยุงราคาญ (Culex quinquefasciatus) ของสารสกดั สมุนไพรจานวน 18 ชนิด และลดต้นทุนของประชาชนในพ้ืนท่ีวัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของวัตถุดิบจากธรรมชาติต่อการกาจัดลูกน้า2. เพ่ือศึกษาอัตราส่วนของวัตถุดิบจาก ธรรมชาติในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์กาจัดลูกน้า3. เพื่อศึกษาปริมาณการใช้ผลิตภัณฑ์กาจัดลูกน้าท่ีมีประสิทธิภาพ สงู สุดคือปริมาณเทา่ ใด รูปแบบการวจิ ัย การวิจัยแบบกึง่ ทดลอง (Quasi-Experimental Design) วธิ ีการวิจยั 1. ศึกษาถึงวัตถุดิบจากธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการกาจัดลูกน้า 2. ทดลองหาประสิทธิภาพของวัตถุดิบจาก ธรรมชาติใน 3 ข้ันตอน ดังนี้ 2.1 การจัดหาและเตรียมวัตถุดิบจากธรรมชาติ 2.2 การทดสอบประสิทธิภาพของ ~ 63 ~

3_ E - Poster วัตถุดิบจากธรรมชาติในการกาจัดลูกน้า 2.3 การทดสอบประสิทธิภาพของวัตถุดิบจากธรรมชาติในการกาจัดลูกน้า ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยก่ึงทดลอง จึงไม่มีประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การอภิปรายผล จากการทดสอบเพื่อค้นหาวัตถุดิบจากธรรมชาติที่มีฤทธ์ิในการกาจัดลูกน้าพบว่าปูนเปลือกหอยและเมล็ด น้อยหน่ามี ประสิทธิภาพสูงสุดในการกาจัดลูกน้า จากผลการค้นหาประสิทธิภาพของปูนขาว พบว่าฤทธ์ิของปูนขาวในการกาจัด ลูกนา้ กระบวนการท างานของปนู แดงนัน้ คือ เมอื่ ใส่ปนู แดงลงไปในน้าแล้วปูนแดงจะค่อยละลายอย่าง ช้าๆ และลอย ขึ้นฉาบผิวน้าทาให้ลูกน้าเจาะผ่านข้ึนไปหายใจไม่ได้ ขณะท่ีตัวยุงลายก็ไม่สามารถวางไข่ ลงน้าได้ โดยใช้ครั้งละ 3-4 กอ้ น ก้อนละ 1 กรมั หากในกรณนี นั้ มฝี าปดิ ก็ใสเ่ พียง 1-2 กอ้ นเท่านั้น ซึ่ง ปูนรุ่นหน่ึงจะมีอายุ ราว 3 เดือน พอครบก็ เปลี่ยนน้าแล้วใส่ปูนรุ่นใหม่แทน จากผลการค้นหาประสิทธิภาพของน้อยหน่า พบว่าใบน้อยหน่ามีสารแอลคาลอยด์ แอนโนเนอีน (anonaine) และเรซิน (resin) ในเมล็ดมีน้ามันอยู่ 45% (น้ามันหอมระเหย ประกอบด้วย Borneol, Camphene, Camphor, Carvone, Eugenol, Geraniol, Thymol, Menthone, Pinene) และข้อมูลสนับสนุน จากวิจยั ของ เพญ็ นภา ชมะวิทย์ และคณะ ซึ่งทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพร 18 ชนิดกับการออกฤทธ์ิก าจัดลูกน้ าพบว่า สารสกัดน้ าจากเมล็ดน้อยหน่า (Annona squamosa L.)สามารถฆ่าลูกน้ายุงภายในเวลา 48 ช่ัวโมงได้ 100 %และสารสกดั 95% ethanol จากเมล็ดน้อยหน่า ใบน้อยหน่า ท่ีระดับความเข้มข้น 0.4% w/v สามารถฆ่าลูกน้ายุง ภายในเวลา 48 ชั่วโมงได้ 100% จากตารางพบว่าสูตรผสมของวัตถุดิบธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพสูงท่ีสุดคือเมล็ด น้อยหน่า 1 สว่ นต่อปูนเปลอื กหอย 3 ส่วน ทัง้ นี้เน่ืองจาก การจากการทดลองของผู้วิจัยเอง สัดส่วน เมล็ดน้อยหน่า 1 ส่วนต่อปูนเปลือกหอย 3 ส่วน สามารถกาจัดลูกน้าได้หมดโดยใช้เวลาเพียง 10 ช่ัวโมง ขณะท่ีสัดส่วนอ่ืนใช้เวลา มากกวา่ ในการกาจัดลกู นา้ ขอ้ เสนอแนะ 1.อยากเสนอแนะใหว้ ิจัยเรอ่ื งการพัฒนาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ในลักษณะ R&D และทดสอบใชใ้ นสถานการณจ์ รงิ 2.เสนอแนะให้นาผลการวิจยั ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชมุ ชนโดยชาวบ้านสามารถหาเปลอื กหอยแครงและเมล็ดนอ้ ยหน่าได้ เอง ในธรรมชาติ นาไปผลติ ใช้และเปน็ การสรา้ งรายได้อีกทาง ~ 64 ~

4_ E - Poster การศึกษาความร่วมมอื สาธารณสขุ ชายแดนเมืองคู่ขนานไทยลาว (อ.ชานุมานกับแขวงสะหวนั นะเขต) เพื่อการพฒั นางานด้านสาธารณสขุ ปีงบประมาณ 2561 นางณัฐวรา พันธห์ มุด ตาแหน่ง นักวชิ าการสาธารณสุข บทคดั ย่อ กลมุ่ งานบรกิ ารปฐมภมู แิ ละองคร์ วม โรงพยาบาลชานุมาน จังหวัดอานาจเจรญิ และคปสอ.ชานุมาน ความเป็นมา อาเภอชานมุ าน จงั หวัดอานาจเจริญ มีพืน้ ที่ติดชายแดนกับแขวงสะหวันนะเขต แห่งสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีแม่น้าโขงเป็นที่ก้ันชายแดนระยะทาง 36 ซ่ึงตามแนวชายแดนดังกล่าว มีจุดผ่าน แดนผ่อนปรนผา่ นแดนช่วั คราวจานวน 1 แห่ง และท่าขา้ มประเพณี 1 แห่ง จากท่ีมีจุดผ่อนปรนและท่าข้ามประเพณี ดังกล่าวพบว่าสถานการณ์และสภาพปัญหาสุขภาพบริเวณชายแดน มีความหลากหลาย มีผลกระทบต่อการ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะผู้มารับบริการด้านสุขภาพท่ีเปน็ กลุ่มแรงงานขา้ มชาติ และผูป้ ่วยต่างชาติมีมากขน้ึ มีความหลากหลายของเชอ้ื ชาติ ปัญหาโรคติดต่ออุบตั ิใหม่ การเพิ่มขึ้นของแรงงานขาม ชาติมีผลโดยตรงกับการดาเนินงานด้านสาธารณสุข นอกจากน้ียังผู้ปุวยจากประเทศลาวข้ามมารับการรักษาใน สถานบริการสาธารณสุขท้ังโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลของไทย สถิติการ ให้บริการต่อผู้ปุวยชาวลาวในช่วงระยะเวลา 3 ปี (ปี 2558-2560) เปรียบเทยี บจำนวนคน และจำนวนคร้ังที่มารับ บริการในแต่ละปี พบสถิติเพ่ิมสูงขึ้นเรื่อยๆ เพ่ือศึกษาความร่วมมอื ทางด้านสาธารณสุขของเมืองคู่ขนานเพื่อการ แก้ปัญหาสาธารณสขุ เพ่ือพัฒนาความร่วมมอื ทางด้านสาธารณสุขของคู่ขนานเพื่อการแก้ปัญหาสาธารณสุข และเพ่ือ วางแนวทางความร่วมมือด้านสาธารณสุขของเมืองคู่ขนาน ผู้ศึกษาจึงได้การศึกษาความรว่ มมือสาธารณสุขชายแดน เมืองคู่ขนานไทยลาว (อ.ชานมุ านกับแขวงสะหวันนะเขต) เพ่อื การพฒั นางานด้านสาธารณสขุ ปีงบประมาณ 2561 วิธีการศึกษา การศึกษานี้เป็นการศึกษาคุณภาพ( Qualitative Study) โดยใช้กระบวนการวงจรคุณภาพ (PDCA)เป็นแนวคิดในการศกึ ษาครั้งน้ี เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษาแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสรา้ ง(Structured interview) ผลการศึกษา การใชก้ ระบวนการวงจรคุณภาพ (PDCA) เปน็ แนวคิดในการศกึ ษาพัฒนางานด้านสาธารณสุข ส่งผลให้การดาเนินงานด้านสาธารณสุขท้ัง 2 ประเทศดาเนินการอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ทั้งด้านการกาหนด วัตถุประสงค์ การกาหนดการประชุมให้สอดคลองกับวตั ถุประสงค์ของการพัฒนาและเอื้ออำนวยให้เกิดผลลัพธ์ และ นาไปสู่การวางแนวทางด้านสาธารณสุขของสาธารณสขุ ชายแดนเมืองคู่ขนานไทยลาว (อาเภอ ชานุมานกับแขวง สะหวันนะเขต) ในส่วนของผลระทบต่อประชาชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องของประเทศไทย และประเทศลาว จะ สามารถทราบถึงข้อมูลปัญหาด้านสาธารณสุขชายแดนของทั้งสองประเทศ นาไปสู่การพัฒนาวางแผนแก้ไขปัญหา พฒั นาดา้ นสาธารณสุขตอ่ ไป สรปุ ผลการศกึ ษา การพฒั นางานด้านสาธารณสขุ ตามหลักของ PDCA ซึ่งมีการดาเนินการแบบเป็นขั้นตอน ส่งผลให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องของประเทศไทยและประเทศลาวจะทั้งสองประเทศสามารถทราบถึง ปัญหาด้าน สาธารณสุขชายแดนของท้ังสองประเทศ นาไปสู่การพัฒนาวางแผนแก้ไขปัญหาพัฒนาดา้ นสาธารณสุขต่อไป ข้อเสนอแนะ เพ่ือให้เกิดการพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ๑) ควรมีการประสานความร่วมมือ ~ 65 ~

4_ E - Poster อย่างต่อเนื่อง เพ่ือเป็นการลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งประเทศ ส่งผลสามารถนำแนวทางในการพัฒนางานสาธารณสุข ชายแดนมาปฏิบัติได้อย่างเปน็ รูปธรรมมากขึ้น ๒) ควรเร่งพัฒนาสารสนเทศ องค์ความรู้เร่อื งและระบบสาธารณสุข เพ่ือให้บุคลากรในสถานบริการสุขภาพท้งั สองประเทศสามารถสามารถใช้เป็นสารสนเทศ เพ่ือการบริหารจดั การใน การให้บรกิ ารเชิงรกุ ได้อยา่ งมีประสิทธิผล ด้านของกระบวนการจดั การ ควรบูรณาการ (Integrate) ภารกิจของกรม กอง ต่างๆ ลงสพู่ ื้นที่ มีการรับฟังความเห็นในประเด็นต่างๆ ท่ีสอดคลองกับบริบทพื้นท่ี กำหนด แ4ผ_นงEา-นหPoลsักter ถ่ายทอด สื่อสารนโยบาย เป็นยุทธศาสตร์ระดับจังหวดั อย่างชดเจน และให้เวลาพนื้ ที่ ได้เตรยี มตวั แตเ่ นิ่นๆ ด้านของ ทรัพยากร ควรเร่งรดการเตรียมความพรอมทางด้านอาคารสถานที่ สนับสนุนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ให้เพียงพอ สนบั สนุนบุคลากรทสี่ ำคัญและขาดแคลน ตามศักยภาพ และเพ่ิมบุคลากรท่ีมีทักษะทางด้านภาษา ส่งเสรมิ วิชาชีพให้ มีความก้าวหน้า และพัฒนาสมรรถนะของ บุคลากรในด้านวิชาการ การบริหารจัดการ การส่อื สารภาษาต่างประเทศ และเทคโนโลยีสาหรบการ ปฏิบตั ิงานและด้านการวิจัย องค์ความรู้ใหม่ ควรจัดงบสนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับงาน ด้าน สาธารณสุขจากผู้พลัดถน่ิ หรอื ต่างชาติ และเร่งรัดการจดั การความรู้การสร้างเครือขายด้านความรู้ใน ด้านท่ี เก่ยี วขอ้ ง รวมท้ังมีระบบบริหารจัดการเผยแพร่ข้อมลทม่ี ีประสิทธิผล คาสาคัญ: สาธารณสุขชายแดนเมืองคู่ขนานไทยลาว กระบวนการวงจรคุณภาพ(PDCA) การพัฒนางานด้าน สาธารณสุข ~ 66 ~

5_ E - Poster การสอบสวนเด็กจมนา้ เสยี ชีวติ บา้ นนคิ มแปลง7 หมทู่ ่ี 12 ตาบลชานมุ าน อาเภอชานุมาน จังหวัดอานาจเจรญิ ระหวา่ งวันท่ี 17 - 22 พฤศจิกายน 2561 ณฐั นี ภูมิพันธ์,ปริญญา ภกั ดี,ปทุมรตั น์ จันทรโคตร โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลโนนกงุ บทคดั ย่อ ความเป็นมา เมอ่ื วันที่ 17 พฤศจิกายน 2561 เวลาประมาณ 20.00 น. ทีมเฝูาระวังสอบสวนเคล่ือนที่เร็ว ตาบลชานุมาน ได้รับการแจ้งจากพลเมืองดีว่ามีเหตุการณ์เด็กจมน้าจานวน 2 ราย ที่สระน้าส่วนบุคคล กลางทุ่งนา บา้ นนคิ มแปลง7 หม่ทู ี่ 12 ตาบลชานมุ าน อาเภอชานุมาน พรอ้ มนาเด็กส่งด้วยการพามาที่โรงพยาบาลชานุมาน บ้าน นคิ มแปลง 7 จงึ ไดด้ าเนินการสอบสวนเหตุการณเ์ พอ่ื ยนื ยันการเสียชีวิตจากการจมน้า หาสาเหตุปัจจัยที่ทาให้เกิดภัย สขุ ภาพ และหามาตรการในการเฝาู ระวังปอู งกนั การเกดิ อุบตั ิการณ์ซา้ ในพืน้ ท่ี วธิ ีการศึกษา ใช้รูปแบบการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ลักษณะทางระบาดวิทยาโดยศึกษาข้อมูลท่ัวไป ของผู้เสียชีวิตจากการจมน้า อุบัติการณ์การจมน้าเสียชีวิต รวบรวมข้อมูลเหตุการณ์จากการสัมภาษณ์ครอบครัว ผู้เสียชีวิต ผู้เห็นเหตุการณ์ ผู้นาชุมชน และผู้ที่เก่ียวข้องและศึกษาสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า ผลการสอบสวน พบ ผู้เสียชีวิตจานวน 2 ราย เป็นเด็กหญิงไทย อายุ 5 ปีและ6 ปี ว่ายน้าไม่เป็น อาศัยอยู่กับครอบครัวใหญ่มีทั้ง ตา ยาย มารดา และพ่อเลี้ยง ตาและยายมีอาชีพขายลอตเตอรี่ มารดาและพ่อเล้ียงมีอาชีพรับจ้าง บ้านนิคมแปลง7 หมู่ท่ี 12 ตาบลชานุมาน อาเภอชานุมาน จังหวัดอานาจเจริญ เหตุการณ์เกิดข้ึนเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2561 เวลาประมาณ 17.30 น. พลเมืองดีได้นาเด็กหญิงไทย อายุประมาณ 5 ปีและ6 ปี ส่งท่ีโรงพยาบาลชานุมาน มีผู้นาส่งจานวน 3 คน โดยรถ EMS โรงพยาบาลชานุมาน อาเภอชานุมาน จังหวัดอานาจเจริญ แล้วให้ข้อมูลว่า ยายของเด็กที่จมน้าไปขอ ความช่วยเหลือวา่ หลาน 2 คนหายไป เมอื่ ทราบข่าวจึงได้รีบออกตามหาในหมู่บ้านไม่พบจึงมาท่ีบริเวณสระน้า ซ่ึงเป็น สระนา้ ส่วนบุคคลของชาวบา้ น จึงไดส้ งั เกตไปรอบๆ เห็นรถจักรยานและรองเทา้ ของเดก็ ถอดวางอยู่ข้างๆสระ ตนจึงได้ กระโดนน้าลงไปค้นหาและเดินออกไปบริเวณรอบๆสระจนถึงกลางสระประมาณ 200 เมตร เท้าไปสัมผัสกับอวัยวะ ของเด็กอยู่ท่ีใต้สระ จึงได้ดาน้าลงไปดึงร่างของเด็กขึ้นมาบนสระ แล้วนาเด็กขึ้นแบกพาดบ่ากระโดด 3 ครั้ง จับเด็ก วางลงพ้ืน และประเมินดูไม่ตอบสนองไม่หายใจ จึงได้โทรแจ้ง 1669 เรียกรถ EMS เพ่ือนาส่งโรงพยาบาลชานุมาน ด้วยระยะทาง 6 กโิ ลเมตร อาการแรกรับเม่ือถึงโรงพยาบาลชานมุ าน ผู้ปวุ ยหมดสติ ไมร่ สู้ ึกตัว ปลุกไม่ต่ืน หยุดหายใจ คลาชพี จรไม่ได้ วัดความดนั โลหิตไมไ่ ด้ พบว่าสถานท่ีเกิดเหตุเป็นสระน้าส่วนบุคคลอยู่กลางทุ่งนา ขอบสระชัน ไม่มี ตลง่ิ สภาพเปน็ น้าน่งิ สีใส มคี วามลกึ 3-4 เมตร วนั เกิดเหตไุ ม่มฝี นตก อาการค่อนข้างร้อน และสระแห่งนี้ไม่มีประวัติ คนจมน้าเสียชีวิต สรุปและวจิ ารณ์ผล ปจั จัยทที่ าให้เกิดเหตุการณเ์ ด็กจมนา้ เสียชวี ติ คร้ังนี้ คือ เป็นสระน้าส่วนบุคคลซึ่งยังไม่ได้ รับการจัดการส่ิงแวดล้อม เป็นวันวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ เด็กจึงชวนกันออกไปเล่นกับเพ่ือนและไม่ได้อยู่ในสายตา ผ้ปู กครองตลอดเวลา เด็กขาดทักษะการช่วยเหลือเบื้องต้น (ตะโกน โยน ย่ืน) และทักษะการช่วยชีวิตเบ้ืองต้นเม่ือเด็ก จมน้าหมดสตไิ ม่ถูกต้อง จงึ ได้มมี ารตการในการเฝูาระวงั ปูองกนั การเกิดอุบัติการณ์ซ้าในพื้นท่ี ดังน้ี องค์การบริหารส่วน ~ 67 ~

5_ E - Poster ตาบลชานุมานร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพอาเภอชานุมาน ได้สารวจแหล่งน้าเสี่ยงทั้งท่ีเป็นแหล่งน้าสาธารณ และ แหล่งน้าส่วนบุคล โดยจัดให้มีการจัดการส่ิงแวดล้อม ร้อยละ 50 ของแหล่งน้าสาธารณะ ส่วนแหล่งน้าส่วนบุคคลได้ เนน้ ยา้ ใหป้ ระชาชนชนไดม้ ีการจัดการสง่ิ แวดล้อมใหป้ ลอดภยั จัดเวทปี ระชาคมหมู่บ้านเร่ืองให้ผู้ปกครองท่ีมีบุตรหลาน อายุตากวา่ 15 ปี ในเรื่องการดูแลอย่างใกล้ชิดไมป่ ลอดใหบ้ ุตรหลานออกไปเล่นน้านอกสายตาผู้ปกครอบ จัดอบรมเด็ก ระดับชั้นประถมศึกษาและผู้ปกครองเรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยฟ้ืนคืนชีพ อบรมหลักสูตรการว่ายน้าเพ่ือเอา ชีวิตรอดให้แก่เด็กในโรงเรียนประถมศึกษาทุกแห่งในพ้ืนท่ีตาบลชานุมาน เพื่อสร้างความตระหนักให้ชุมชนและ ผู้ปกครอง หน่วยบริการสาธารณสุข โรงเรียน และชุมชนทุกแห่งได้มีการให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยท่ี ทาใหเ้ กดิ การจมน้าและปูองกันการจมน้าในเด็กทุกเดือน ในหน่วยงานสาธารณสุขได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไป ไดเ้ ขา้ ถงึ บริการ 1669 อย่างท่ัวถึงเม่ือเกิดเหตุท่ีจาเป็นเร่งด่วน และฝึกทักษะการฟ้ืนคืนชีพให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในเขตพน้ื ที่อาเภอชานุมานโดยวิทยากรจากทีมแพทย์และพยาบาลจากโรงพยาบาลชานุมาน ~ 68 ~

6_ E - Poster รายงานการสอบสวนการระบาดโรคเลปโตสไปโรสิส หมู่บ้านแห่งหนง่ึ ตาบลปา่ ไร่ อาเภอดอนตาล จังหวัดมกุ ดาหาร วันที่ 11 - 29 มนี าคม 2562 พนั ธ์ฉวี สุขบัติ ,ชชั วาลย์ บุระวงค์ ,บังอร จันทพันธ์ ธดิ ารตั น์ ยืนยง เอกชยั งามแสง วทิ ูลย์ สุธรรมมา สสจ.มุกดาหาร รพ.สต.ปุาชาด อ.ดอนตาล , รพท.มกุ ดาหาร บทคัดยอ่ ความเปน็ มา วันท่ี 12 มีนาคม 2562 เวลา 10.05 น. SRRT สสจ.มุกดาหารและโรงพยาบาลมุกดาหาร ได้รับรายงานทาง ไลน์ จากทีมSRRTอาเภอดอนตาล ว่ามีผู้ปุวยเสียชีวิตท่ีโรงพยาบาลมุกดาหาร ตามมรณบัตรระบุว่าเป็นโรคฉี่หนู ผู้เสียชีวิตเป็นเพศชาย อายุ 39 ปี อยู่บ้านเลขท่ี 181 หมู่ 1 ตาบลปุาไร่ อาเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ทีมSRRT อาเภอดอนตาล โรงพยาบาลมุกดาหาร SRRT สสจ.มุกดาหาร ร่วมกันสอบสวนโรค ในระหว่างวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 น. ถึงวันที่ 29 มีนาคม 2562 และสานักระบาดวิทยา ร่วมสอบสวนโรคในวันท่ี 16 มีนาคม 2562 มี วัตถุประสงค์เพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคและการระบาดของโรค เลปโตสไปโรสิส เพ่ือศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยา ของโรค ในแง่ บุคคล เวลา สถานท่ี เพ่ือค้นหาแหล่งโรคและปัจจัยเสี่ยง และเพื่อหาแนวทางในการควบคุมและ ปูองกันการแพร่กระจายของโรควิธีการศึกษา เป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ( Descriptive study ) รปู แบบ การศกึ ษาประวัตกิ ารเจบ็ ปวุ ยของผเู้ สียชีวิตและผู้ปุวย โดยการสัมภาษณ์ผู้ปุวย ผู้สัมผัส ญาติผู้ปุวย โดยใช้ แบบสอบสวนโรคเลปโตสไปโรสีส ของสานักระบาดวิทยา ทบทวนบันทึกการรักษาผู้ปุวย ศึกษาสถานการณ์ย้อนหลัง โรคเลปโตสไปโรสิส ในพ้ืนที่บ้านปุาชาด ตาบลปุาไร่ ค้นหาผู้ปุวยเพิ่มเติมในชุมชน การศึกษาสภาพแวดล้อมและ พฤติกรรมเสี่ยง และผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ผลการสอบสวน ยืนยันการวินิจฉัย และการระบาด จากผลการศึกษาพบการระบาดของโรคเลปโตสไปโร สสิ ในพน้ื ท่ีบ้านปาุ ชาด โดยพบ มผี ปู้ ุวยรวม 4 คิดเป็นอัตราปุวย 4.50 ตอ่ พันประชากร และ พบผู้ปุวยเสียชีวิต 1 คน อัตราปุวยตาย ร้อยละ 25 โดยพบเร่ิมมีอาการปุวยในวันท่ี 6 มีนาคม 2562 ถึงวันที่ 10 มีนาคม 2562 ซ่ึงจะพบว่า ผปู้ ุวยมี อาการและอาการไข้ ร้อยละ 100 รองลงมา ได้แก่ ปวดศีรษะ และปวดกล้ามเน้ือ มีประวัติสัมผัสหรือแช่น้า เปน็ เวลานาน ซง่ึ เขา้ ได้กับอาการผ้ปู ุวยเลปโตสไปโรซีส และยืนยันผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ด้วยเทคนิค IFA ที่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบมีการติดเชื้อ เลปโตสไปโรซีส จานวน 4 ราย โดยพบวันที่เริ่มปุวยห่างจากการสัมผัส แหล่งโรค จานวน 12 วัน ซ่ึงเป็นไปตามนิยามโรคติดเช้ือที่พบมีระยะฟักตัว 2-30 วัน โดยเฉลี่ย 10 วัน และพบ พฤติกรรมที่ปัจจัยเส่ียงต่อการได้รับเช้ือคือ ผู้ปุวยแช่น้าและดาน้าเป็นระยะเวลานานกว่าผู้อื่น เฉลี่ย คนละ 6 ชั่วโมง และปัจจัยท่ีส่งผลให้ผู้ปุวยเสียชีวิตในคร้ังน้ี คือเดิมผู้ปุวยเป็นผู้ที่มีร่างกายแข็งแรง ทางานหนักอยู่เสมอ ทาให้รู้สึกมี อาการปุวยไม่รนุ แรง จึงเข้ารับการรกั ษาลา่ ชา้ จากผลการสอบสวนโรคดงั กล่าวได้มีการ มีการดาเนินการเฝูาระวังโรค ตอ่ เนือ่ ง จนครบ 2 เท่าของระยะฟักตวั เฉลย่ี (20 วัน) ไมพ่ บผูป้ ุวยทม่ี ีอาการสงสยั เพ่มิ เติม ~ 69 ~

6_ E - Poster การศกึ ษาสภาพสง่ิ แวดล้อมและประวัติการสมั ผัสโรค พบผปู้ วุ ยทั้ง 4 ราย ได้มีกิจกรรมร่วมกัน คือ กิจกรรม การหาปลาในพื้นที่บ่อน้าส่วนบุคคลของบิดาผู้ปุวยรายแรก จานวน 2 บ่อ ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2562 โดยในวัน ดงั กล่าวมีผู้ร่วมกันลงในบอ่ หาปลาจานวน 7 คน และลงบ่อเล่นน้า ใช้เวลาประมาณ 30 นาที จานวน 2 คน และผู้ท่ี ประกอบอาหารอยบู่ นเถียงนาไม่ไดล้ งน้า จานวน 3 ราย รวมผู้ที่เข้าไปในพ้ืนท่ีเส่ียง จานวน 12 ราย แหล่งโรคและ ปัจจัยเสี่ยง พบว่ากลุ่มผู้ปุวยมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อร่วมกัน คือ การหาปลาในบ่อน้าส่วนบุคคลโดยการลงบ่อ หาปลาในคร้งั นี้ ได้มกี ารหาปลาดว้ ยวิธีการทอดแห เม่อื พบมีปลาตดิ ในแหจะดานา้ ลงไปเพื่อจบั ปลา โดยเฉลี่ยพบมีการ ดาน้าคนละ 10 คร้ัง โดยผู้ที่ลงบ่อจับปลาปุวยท้ัง 7 คน ใช้เวลาในการแช่น้าหาปลาคนละ 6 ช่ัวโมง และพบว่าบ่อ นา้ ท่ีลงหาปลามจี านวน 2 บ่อ บอ่ ท1่ี ลงไดล้ งหาปลาจานวน 7 คน รวมผปู้ ุวยด้วย 4 คน ( ร้อยละ 57.14) ส่วนบ่อที่ 2 พบผู้ลงหาปลาจานวน 6 คน รวมทั้งผู้ปุวย 4 คน (ร้อยละ 66.67) และพบสภาพบ่อน้าแห่งที่ 2 มีต้นหญ้า และไม้ แช่ในน้าเม่ือต้องการหาปลาต้องร้ือขึ้นฝ่ังก่อน ซึ่งทาให้เกิดแผลขีดข่วนได้ โดยรอบบ่อน้าทั้ง2 บ่อเป็นปุา และสวน ยางพารา โดยพบว่ามีหนูชกุ ชมุ ในพนื้ ท่ีดังกลา่ วและพบมีผู้มาลา่ หนใู นพน้ื ทดี่ งั กลา่ วอยู่เป็นประจา มาตรการควบคุมและปูองกันโรค แจ้งข่าวให้ประชาชนในพ้ืนที่ทราบว่ามีการเกิดโรค เพื่อปูองกันโรคใน พ้ืนที่ท่ีเส่ียงต่อการเกิด-โรค ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นท่ีเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจเน้นกลุ่ม ประชาชนทีมีอาชีพที่ต้องลงน้าให้ระมัดระวังตนเองสวมอุปกรณ์ปูองกันเมื่อลงแช่น้า เช่น รองเท้าบูท พยายาม หลีกเล่ียงการลงไปแช่น้าติดต่อกันนานๆ เม่ือมีบาดแผลห้ามลงแช่น้า ติดปูายเตือนห้ามลงในบ่อน้าในพื้นที่แหล่งโรค ทาการลอกวชั พชื รอบบ่อน้าใหแ้ สงแดดส่องถึงนา้ โดยตรงเพ่ือกาจัดเชื้อโรค ปัญหาและข้อจากัดในการสอบสวน การเก็บรวบรวมข้อมูลไม่สมบูรณ์ในผู้ปุวยที่เสียชีวิต ไม่สามารถ เก็บตวั อย่างในสัตว์ได้ การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มในแหลง่ รังโรคเปน็ พืน้ ท่ีสว่ นบคุ คลทาใหก้ ารรบั การสนับสนุนงบประ มารจากท้องถ่ินไม่สามารถสนับสนุนได้โดยตรง ข้อเสนอแนะ ควรมีการพัฒนาองค์ความรู้ของเจ้าหน้าท่ีระดับ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลในดา้ นการเฝาู ระวังและสอบสวนโรคเพิม่ มากข้ึน สร้างความตะหนักให้กับประชาชน ในการควบคุมและปูองกันตนเองจากโรคเลปโตสไปโรซิส การจัดทาโครงการในส่วนกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อ ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน และขอความร่วมมือสานักงานปศุสตั วใ์ นการเก็บตัวอยา่ งจากสัตว์ ต่อไป ~ 70 ~

7_ E - Poster ผลของการปรับใช้ MEWS ในการดูแลตอ่ เนอื่ งระหวา่ งจุดคดั กรองผ้ปู ่วยและงานอุบัติเหตุฉกุ เฉิน โรงพยาบาลลืออานาจ ปงี บประมาณ 2561 นางสาวสรุ ภา หาระสาร ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ และทีมนาทางคลินกิ บทคัดยอ่ ในปี 2558-2559 โรงพยาบาลลืออานาจ พบอุบัติการณ์ผู้ปุวยมีอาการทรุดลงขณะรอรับบริการ จานวน 14 และ 8 ครั้ง ตามลาดับ จากการทบทวนความเสี่ยงพบว่า มีการประเมินโดยใช้สัญญาณชีพเป็นเครื่องมือ และการ กาหนดคา่ ท่ผี ิดปกติโดยใชแ้ นวทางการสง่ ตอ่ ระหว่างหนว่ ยงานซึ่งกาหนดจากกลุ่มอาการท่ีพบบ่อยและกลุ่มโรคสาคัญ ในแตล่ ะจุด ไม่มรี ูปแบบชัดเจนและไม่สามารถช่วยแบ่งระดับความเร่งด่วนของผู้ปุวยได้ เมื่อศึกษาข้อมูลทางวิชาการ พบว่า มีการนา Modified Early Warning Score (MEWS) มาใชอ้ ย่างแพร่หลาย ท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ ทีมนาทางคลินิกจึงเกิดแนวคิดในการนา MEWS มาใช้ในการประเมินผู้ปุวยที่มีโอกาสเข้าสู่ภาวะวิกฤต เข้าสู่ห้อง ฉุกเฉินได้โดยทันที และเพ่ือให้เข้ากับบริบทของโรงพยาบาลลืออานาจ จึงได้มีการนา MEWS มาปรับใช้ ให้มีความ เหมาะสมกับบริบทของโรงพยาบาล วัตถุประสงค์การศึกษา 1)เพื่อศึกษาผลของการปรับใช้ MEWS ในการดูแลอย่าง ต่อเน่ือง ของผู้ปุวยที่ออกจากจุดคัดกรอง ไปยังงานอุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลลืออานาจ 2) เพ่ือลดอุบัติการณ์ ผู้รับบริการมีอาการทรุดลงขณะรับบริการ ขั้นตอนการดาเนินการ 1) ปรับใช้เครื่องมือ Mews score ให้มีความ เหมาะสม 2) นา MEWS ที่ปรับแล้วมาใช้ท่ีจุดคัดกรองของผู้มารับบริการท่ีโรงพยาบาลลืออานาจ ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึง 18.00 น. ในวันเวลาราชการ ระหว่างเดือน ธันวาคม 2560 ถึงเดือน มีนาคม 2561 ผลการศึกษาพบว่า มี จานวนผู้มารับบริการท่ีโรงพยาบาลลืออานาจ ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึง 18.00 น. ในวันเวลาราชการจากเดือน ธันวาคม 2560- เดือนมีนาคม 2561 จานวน 5,236,6,206 , 6,538 และ 6,690 ตามลาดับและจานวนผู้ที่ได้รับการ คัดกรองโดยใช้ Mewsคิดเป็นร้อยละ 96.1 -96.01 -97.04 และ 96.71 จานวนผู้รับบริการท่ีมีอาการทรุดลงขณะรอ รบั บรกิ าร คดิ เปน็ ร้อยละ 0.038, 0.09, 0 และ 0.029 เรียงตามลาดับจะพบวา่ แนวโน้มของอุบตั เิ หตุลดลงอย่างชัดเจน ในช่วง 3 เดือนแรก และในเดือนมีนาคม 2561 พบว่า คัดกรองถูกต้องตามเกณฑ์ท่ีกาหนด 1 ราย แต่ผู้ปุวยไปทรุดที่ งานผู้ปุวยนอก ดังนั้นโอกาสพัฒนาคือ ในกลุ่มอาการอ่ืนที่ MEWS ไม่เข้าเกณฑ์ที่จะคัดแยกไปยังงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ให้มี การจดั ลาดับความเรง่ ดว้ ยทีจ่ ดุ บริการนัน้ ๆตอ่ ไป และติดตามผลการใช้ ใบ Sirs ในกลุ่มทมี่ ีไข้ 38.5 c (อายุ15 ปีขึ้นไป) และในกลุ่มที่มาโดยเปลนอน หรืออุบติเหตุ ไม่ได้รับการคัดกรองก่อน แต่จะเข้าไปใน ER ทันที โดยใช้ระบบ ESI Triage เพือ่ ให้การคัดรองรวดเรว็ ขน้ึ ปัญหาและอุปสรรคในวนั คลินิกโรคเร้อื รังผรู้ ับบรกิ ารจะมีจานวนมาก ทาใหค้ ัดกรองไม่ทนั เวลา อภปิ รายผลการศกึ ษา ควรนา MEWS มาใช้อย่างต่อเน่ืองในการคัดกรองผู้รับบริการ เนื่องจากผลการศึกษา พบวา่ อุบตั ิการณ์ผู้รบั บริการทรดุ ลงทจี่ ดุ บริการลดลงอยา่ งเห็นไดช้ ดั ~ 71 ~

8_ E - Poster ตะแกรงไฟส่องทางสารวจลูกน้าและตัวโม่ง วิชชุตา ลมา้ ยจาปา*, กชพรรณ ศรสี มยา*, โยธกานต์ วงศศ์ รีแก้ว*,นศิ าชล อนสุ ยั *, มานติ บัวสด* โรงพยาบาลเขมราฐ จังหวัดอบุ ลราชธานี บทคดั ย่อ ความเป็นมาและความสาคัญ:ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อน บวกกับสภาพแวดล้อมและสิ่งแวดล้อมท่ี เปล่ียนไปกอ่ ให้เกิดภาวะโลกร้อนนั้นมีส่วนสาคัญท่ีเหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของ”ยุงลาย”ที่เป็นปัญหาก่อให้เกิด โรคไข้เลือดออก ซึ่งเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องได้รับการแก้ไข เน่ืองจากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทยปี 2562 ต้งั แต่ 1 มกราคม – 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 พบจานวนผ้ปู ุวยทงั้ หมด 7,350 ราย จานวน อัตราปุวย 11.13 ต่อ แสนประชากร ผู้ปุวยเสียชีวิต 14 ราย อัตราปุวยตาย 0.19 ต่อแสนประชากร (รายงานจากสานักระบาดวิทยา) สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดอุบลราชธานี พบจานวนผู้ปุวยทั้งหมด 163 ราย จานวน อัตราปุวย 8.7 ต่อ แสนประชากร ผ้ปู ุวยเสียชวี ิต 1 ราย อัตราปวุ ยตาย 0.61 ต่อแสนประชากร และสถานการณ์อาเภอเขมราฐ ในช่วง เวลาเดียวกัน พบผู้ปุวยจานวนทั้งส้ิน 2 ราย คิดเป็นอัตราปุวย 2.5 ต่อประชากรแสนคน ยังไม่มีรายงานผู้ปุวย เสียชีวิต (รง.506 ศูนย์ระบาดอาเภอเขมราฐ) เมื่อเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (2557-2561) พบว่าสูง เกินค่ามัธยฐานในระยะเวลาเดียวกัน มีแนวโน้มว่าจะมีการระบาดของโรครุนแรง ซ่ึงสอดคล้องกับผลการประเมิน ความเส่ียงของแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ายุงเม่ือเดือนกุมภาพันธ์ 2561 พบว่าค่าร้อยละของภาชนะท่ีมีลูกน้ายุง (Container index: CI) และร้อยละดัชนีลูกน้ายุงลายในบ้าน (House Index : HI) มีค่ามากกว่าค่ามาตรฐานดัชนี ลกู นา้ ยุงลายท่ีกรมควบคุมโรคกาหนด (มาตรฐาน CI= 0/HI<10) โดยลูกน้ายุงลายอาศัยอยู่ในภาชนะโอ่งเก็บน้ามาก ท่ีสุด ซึ่งส่วนมากจะอยู่ในห้องน้านอกตัวบ้านท่ีแสงเข้าไม่ถึง ประกอบกับบริบทชุมชนขาดแคลนน้าจะใช้น้าบาดาล หรือน้าคลองในการอุปโภคซึ่งลักษณะน้ามีสีขุ่นไม่ใส มีตะกอนและสารวจด้วยไฟฉายไม่ได้เนื่องจากความลึกของ ภาชนะ ความมืดทึบของจดุ วางภาชนะ จึงทาให้การสารวจค่าดัชนีและความชุกของลูกน้าในพื้นที่มีความคาดเคลื่อน สาหรับการปูองกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกนั้นวิธีจัดการที่ดีคือต้องมีระบบเฝูาระวังกับพาหะหลักท่ีก่อให้เกิดโรค และกาจัดกับปัญหาคือตัดวงจรชีวิตและทาลายจานวนประชากรของยุงด้วยวิธีการเชิงรุกคือช่วงที่ยังเป็ นลูกน้าและ ตัวโมง่ ดงั น้ันกลุ่มงานบรกิ ารดา้ นปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเขมราฐจึงได้คิดค้นนวัตกรรมตะแกรงไฟส่องทาง สารวจลูกน้าและตัวโม่งซึ่งส่งเสริมโดยนาวัสดุ-อุปกรณ์ท่ีหาได้ง่ายในชุมชน มาผลิตเป็นนวัตกรรมที่ใช้สารวจลูกน้า ยงุ ลายใหแ้ ม่นยายิ่งข้นึ วตั ถปุ ระสงค:์ เพื่อพัฒนาระบบเฝาู ระวงั ลกู นา้ ยงุ ลายที่เป็นพาหนะหลักของโรคไข้เลือดออกและให้ทราบถึง ค่าดัชนีของความชุกชุมของลูกน้าในเขตตาบลเขมราฐ และเพ่ือเฝูาระวังอุบัติการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก อีกทั้งส่งเสริมโดยนาวัสดุ-อุปกรณ์ท่ีหาได้ง่ายในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์เป็นส่ิงประดิษฐ์ที่ทาได้ง่ายและเสีย คา่ ใช้จ่ายนอ้ ย วิธกี ารดาเนนิ การ: การวิจัยในครง้ั น้ีเปน็ การวจิ ยั ก่งึ ทดลอง ดังนี้ 1.ค้นหาและวิเคราะห์สภาพปัญหาจากโดย ลงพ้ืนที่เชิงรุกสารวจค่า HI-CI และสรุปปัญหาให้ผู้บริหารรับทราบ 2.พัฒนาและออกแบบนวัตกรรมปรับปรุงให้ ~ 72 ~

8_ E - Poster เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่า ประหยัด สะดวกง่ายต่อการใช้งานไม่ซับซ้อน มั่นคงถาวรใช้ได้นาน 3. ดาเนินการนาวัสดุ-อปุ กรณ์มาประดษิ ฐเ์ ป็นนวัตกรรมโดยเอาตะแกรงที่ไปประกอบกับด้ามจับให้มีขนาดตามต้องการ ตอ่ สายไฟเข้ากับเทปไฟสตรปิ รบิ บอนแบบ LED กนั น้า เชื่อมกบั แบตเตอร่ี 12 v พร้อมสวิตซ์เปิด-ปิด เสร็จแล้วนามา ทดสอบและทดลองใช้งาน/แก้ไขและสารวจความพึงพอใจ สารวจค่าความเส่ียง HI-CI หลังทาการทดลอง 4. วิเคราะห์สรุปผลนามาปฏิบัติใช้งานจริงและเผยแพร่ไปยังพื้นท่ีอ่ืนๆ ในชุมชน สถิติที่ใช้คือจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย เคร่ืองมือที่ใช้คือแบบประเมินความพึงพอใจและคุณภาพนวัตกรรม แบบสอบถามเก่ียวกับประสิทธิภาพของ นวัตกรรม และแบบสารวจคา่ HI-CI กอ่ นและหลงั ผลการดาเนินงาน: การศึกษาคร้ังนี้เป็นการศึกษากึ่งทดลอง ตั้งแต่ ตุลาคม 2561 ถึง กุมภาพันธ์ 2562 เป็นเวลา 5 เดือน พื้นที่ท่ีทาการทดลองใช้นวัตกรรมคือในเขตตาบลเขมราฐ 22 หมู่บ้าน โดยนานวัตกรรมไปใช้กับ ภาชนะที่เป็นโอ่งเก็บน้าแสงส่องเข้าไม่ถึงในวัน เวลา สถานที่เดียวกัน เปรียบเทียบระหว่างนวัตกรรมไฟส่องทาง สารวจลูกน้ายุงลายกับไฟฉายท่ัวไป จานวน 100 ภาชนะ ผลจากการทดลองพบว่า นวัตกรรมไฟส่องทางสารวจ ลูกน้ายงุ ลายเหน็ ถึงก้นภาชนะ 100 % และไฟฉายธรรมดาส่องถึงแค่บริเวณเหนือน้าไม่ถึงใต้น้าหรือ ประมาณ 1 ใน 4 ของภาชนะนั้นๆ ผลการทดลองประเมินจากแบบสารวจค่า HI/CI ทุก 7 วันเป็นระยะเวลา 2 เดือน พบว่า ค่า HI สงู สดุ คอื 78.56 ตา่ สุดคอื 1.28 สว่ น CI สงู สุดคือ 56 ต่าสุดคือ 0 จากการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับนวัตกรรม พบว่าผู้ทน่ี าไปใชม้ คี วามพงึ พอใจ 94 % ท่สี ามารถสารวจลกู นา้ และตัวโม่งได้ท่ัวถึงและแม่นยาขึ้น ส่วนประสิทธิภาพ ของนวัตกรรมสามารถเปดิ ต่อเน่ืองยาวนานไดป้ ระมาณ 10 – 12 ชัว่ โมงข้ึนอยกู่ บั แบตเตอร่ี (คดิ จากแบตเตอร่ี 12 V) นวัตกรรมตะแกรงไฟส่องทางสารวจลูกน้าและตัวโม่งนับว่าเป็นเครื่องมือชนิดใหม่ท่ีทาเองได้ ใช้งานได้จริง ราคา ประหยัด ปลอดภัย (ผ่านช่างชานาญด้านไฟฟูาไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรือไฟดูด) และจากการเฝูาระวังผู้ปุวย ไข้เลอื ดออกรายใหม่ยงั ไม่พบผูป้ ุวยรายใหม่ท่เี ปน็ ไข้เลอื ดออกเพ่มิ อีกดว้ ย ~ 73 ~

9_ E - Poster รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนประถมศกึ ษาแห่งหน่ึง ตาบลสามแยก อาเภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร เดือนสงิ หาคม-กนั ยายน 2561 แมน แสงภกั ด์ิ1, จรรยา ดวงแก้ว2, อรทยั วฒุ เิ สลา2, สงบ ชื่นตา2,สกุ ัญญา คาพฒั น์1, ไชยา ปาวะพรหม2, พชั รี แพงกลั ยา3, คมสนั ต์ กาลจักร2 และคณะ4 1สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ยโสธร 2สานักงานสาธารณสุขอาเภอเลงิ นกทา 3 โรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราชเลงิ นกทา4SRRTอาเภอเลิงนกทา บทคดั ย่อ ความเป็นมา ในวันที่ 22 สงิ หาคม 2561 เวลา 15.30 กลุ่มงานควบคุมโรคตดิ ต่อ ได้รบั แจง้ ทางโทรศพั ท์ จากโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลสามแยก อาเภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร วา่ ผบู้ รหิ ารของโรงเรียนแห่งหนึ่งใน เขตเทศบาลตาบลสามแยก อาเภอเลิงนกทา ให้ขอ้ มูลว่า นกั เรียนมีอาการคลา้ ยโรคไข้หวัดใหญ่ คือ ไขส้ งู ไอ มีนา้ มูก ปวดศีรษะ เป็นกลุม่ ก้อน ในวนั นมี้ ีนักเรยี นหยุดเรียน จานวน 88 คน ทีมควบคุมโรคตดิ ต่อจังหวัดยโสธร จึงได้ ประสานข้อมูลกับโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชเลงิ นกทา และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง จึงไดอ้ อกสอบสวนและควบคุม โรคในวนั ท่ี 23 สิงหาคม – 6 กันยายน 2561 วัตถุประสงค์ เพ่ือยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค ศึกษาลักษณะการเกิดและการกระจายของโรค คน้ หาแหล่งโรคและวธิ กี ารถา่ ยทอดของการระบาด และกาหนดมาตรการปูองกนั ควบคมุ โรค วิธีการศึกษา การศึกษาทางระบาดวิทยาเชงิ พรรณนา ค้นหาผูป้ ุวย/ผ้สู มั ผสั ในโรงเรียน หมู่บ้านและโรงพยาบาล เก็บ ตัวอย่างส่งิ สง่ ตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร ผลการสอบสวน จากการสอบถามข้อมูลกับผบู้ รหิ าร คณะครู และลงพืน้ ที่ค้นหาผูป้ ุวย พบวา่ ผูป้ วุ ยสว่ นมาก เปน็ นกั เรียนของโรงเรียนแหง่ หนง่ึ ในเขตเทศบาลตาบลสามแยก อาเภอเลงิ นกทา โดยพบผปู้ ุวยท่ีมีอาการสงสัยราย แรกในวนั ที่ 16 สิงหาคม 2561 ผปู้ วุ ยจะมีอาการและอาการแสดง คือ ไขส้ ูง ไอมีเสมหะ ปวดศีรษะ/ปวดตามตัว รักษาท่โี รงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชเลงิ นกทา แพทย์วนิ ิจฉัย “ไขห้ วดั ใหญ่” และส่งต่อรกั ษาทโ่ี รงพยาบาลยโสธร จานวน 1 ราย แพทย์วินิจฉัย “ปอดบวม” จึงไดส้ อบถามขอ้ มลู เพ่มิ เติม พบว่า มีนกั เรียนที่มอี าการคลา้ ยผู้ปุวยในทุก ชน้ั เรยี น และนักเรยี นขาดเรยี นสะสม ตั้งแตว่ นั จนั ทรท์ ่ี 20 สิงหาคม 2561 รวมทัง้ ส้ิน 88 คน (รอ้ ยละ 11.89) จาก นกั เรยี นทัง้ หมด 740 คน จากการติดตามค้นหาและสอบสวนโรคเพมิ่ เตมิ ในชุมชนท่ีมีนักเรยี นอยูใ่ นพนื้ ที่ พบผู้ปุวยเข้า นิยาม จานวน 273 คน รวมผู้ปวุ ยท้ังหมด จานวน 361 ราย อตั ราปวุ ย 362.91 ต่อประชากรแสนคม ผปู้ ุวยเพศชาย จานวน 166 คน รอ้ ยละ 45.98 เพศหญิง จานวน 195 คน ร้อยละ 54.02 กลุ่มอายทุ มี่ ีผู้ปวุ ยสูงสดุ คอื กลมุ่ อายุ 0-4 ปี รอ้ ยละ 42.66 รองลงมา คือ กลมุ่ อายุ 5-9 ปี รอ้ ยละ 24.93 ปี และกลุ่มอายุ 10-14 ปี ร้อยละ 9.70 กลมุ่ ผู้ปวุ ยจะ มีอาการและอาการแสดง คือ ไขส้ งู (รอ้ ยละ 87.10) ไอมีเสมหะ (ร้อยละ 41.94) ปวดศีรษะ/ปวดตามตวั (ร้อยละ 35.48) และมนี ้ามูก (รอ้ ยละ 25.81) โดยมีผ้ปู วุ ยที่เข้ารับการรกั ษาในโรงพยาบาล จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 ผ้ปู วุ ยทุกรายหายแลว้ ประวัติเส่ียง พบวา่ นกั เรยี นมาจากหลายพื้นท่ี คือ เขตอาเภอเลงิ นกทา อาเภอไทยเจรญิ ~ 74 ~

9_ E - Poster จังหวดั ยโสธร เขตอาเภอดอนตาล อาเภอนคิ มคาสร้อย จงั หวัดมุกดาหาร ส่วนใหญก่ ารเดินทางมาโรงเรียนด้วยรถ รบั จ้างรายเดอื น ทาให้มีความเสย่ี งสูงของโรคจะแพร่กระจายไปหลายพืน้ ที่ และรว่ มรบั ประทานอาหารกลางวนั ในโรง อาหารด่ืมนา้ รว่ มก๊อก ใชห้ ้องน้ารว่ ม มาตรการควบคมุ โรค คอื การสอบสวนและควบคุมโรคในชมุ ชน การประชมุ ร่วมกับผบู้ รหิ ารเขต สพป.2 และคณะครูของโรงเรียน เปิด EOC อาเภอเลิงนกทา โดยนายอาเภอเป็นประธาน เสนอสถานการณโ์ รค สอ่ื สารองค์ ความรเู้ รอ่ื งโรคไขห้ วดั ใหญ่ กาหนดมาตรการค้นหา คัดกรอง ติดตามมารักษา กาหนดปิดการเรยี นการสอน ต้ังแต่วันที่ 23-31 สิงหาคม 2561 ครูประจาชน้ั ติดตามนักเรยี นในห้องทีร่ ับผิดชอบรายวัน สง่ รายงานใหท้ ีมควบคุมโรคอาเภอ เลงิ นกทาทุกวัน ประสานทมี ควบคมุ โรคจังหวัดมุกดาหาร เพอ่ื ติดตามนกั เรยี นของโรงเรยี นที่มที ี่อยใู่ นเขตอาเภอดอน ตาล อาเภอนิคมคาสร้อย จงั หวัดมกุ ดาหาร และเน้นสอ่ื สารความเส่ยี งในสถานบริการให้สง่ ต่อผปู้ ุวยทีส่ งสยั ทีเ่ ข้า นิยามทีเ่ ปน็ กลุ่มเสย่ี งทุกราย เข้ารับการตรวจเบื้องตน้ ที่โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลในพืน้ ที่ และถ้ามีผปู้ วุ ยท่ีมี อาการรนุ แรงให้รบี สง่ ต่อผู้ปุวยทันที โดยเฉพาะกลมุ่ เส่ียงสูง ได้เก็บตวั อยา่ งสิ่งสง่ ตรวจ จานวน 5 ตวั อยา่ ง ส่งตรวจท่ี ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี ผลการตรวจ พบสารพนั ธกุ รรม FluA2009 จานวน 5 ราย สรุปผล การระบาดครั้งน้ีเป็นการระบาดจากแหล่งแพร่กระจาย ผปู้ วุ ยยืนยนั จานวน 5 ราย ผปู้ วุ ยเข้านยิ าม จานวน 356 ราย ไมม่ ผี ปู้ วุ ยเสยี ชวี ติ สามารถควบคุมโรคได้ใน 21 ระยะฟักตวั โดยมกี ารตดิ ต่อกันในโรงเรียน ในชุมชน การ ดาเนินการควบคุมโรคประสบความสาเร็จเนือ่ งจากได้รับความรว่ มมือและกาหนดแนวทางทเี่ คร่งครดั ในทีป่ ระชมุ EOC คาสาคัญ : ไขห้ วัดใหญ,่ โรงเรยี นประถมศกึ ษาแห่งหนึ่ง, ยโสธร ~ 75 ~

10_ E - Poster ปัจจยั ท่มี ีผลต่อความครอบคลุมของวัคซนี ข้นั พื้นฐาน ในประชากรกลุ่มอายุตา่ กว่า 5 ปี ของจังหวัดอานาจเจรญิ และจงั หวดั ยโสธร กติ ติยา วงศาสขุ , พลสินธ์ุ นาควิเชยี ร , วชริ วทิ ย์ ลมิ ปวทิ ยากลุ , ธนชัย ยุตะวัน , กาญจนาวดี พรมทาและคณะ สานักงานปอู งกนั ควบคุมโรคที่ 10 จังหวดั อุบลราชธานี บทคัดยอ่ ปัจจุบันงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) มีวัคซีนข้ันพื้นฐานที่ ให้บริการแก่เด็กที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยทุกคน รวม 10 โรค (วัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ หัดคางทูม หัดเยอรมัน ตับอักเสบบี ไข้สมองอักเสบเจอี) และกรมควบคุมโรคได้ดาเนินการสารวจความครอบคลุมวัคซีนข้ัน พืน้ ฐานสาหรบั เดก็ อายตุ า่ กวา่ 5 ปี เพ่อื เปน็ การประเมินผลความก้าวหน้าของการดาเนินงานทุก 5 ปี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 และในปี 2561 ซึ่งเป็นปีท่ีครบรอบการสารวจฯ อีกครั้ง สานักงานปูองกันควบคุมโรคที่ 10 จ.อุบลราชธานี ได้ สุม่ เลอื กพื้นท่ีในการสารวจ 1 จังหวดั คือ จ.อานาจเจริญ และสารวจเพ่มิ เตมิ อีก 1 จังหวัด คือ จ.ยโสธร วัตถุประสงค์: เพื่อสารวจความครอบคลุมวัคซีนข้ันพ้ืนฐานสาหรับเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี วิธีการ:มีกระบวนการศึกษาเชิงสารวจชนิด Cross Sectional Survey โดยวิธี Cluster Sampling แบบ 30 Cluster Technique ใช้วิธีการสุ่ม แบบ Two Stage Stratify Random Sampling ทาการสารวจและบันทึกข้อมูลการได้รับวัคซีนจากผู้ปกครองและสมุดสีชมพู ของเด็ก กลุ่มเปูาหมาย:เด็กท่ีเกิดปี พ.ศ.2559, 2558, 2557 และ พ.ศ. 2555 ผลการศึกษา:เก็บข้อมูลกลุ่มเปูาหมาย ในจังหวัดอานาจเจริญได้ 655 ตัวอย่าง พบร้อยละความครอบคลุมของวัคซีนแต่ละชนิดมากกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ยกเว้น วัคซีนปูองกันโรคหัด(MMR/MR) เข็มที่ 2 และวัคซีนปูองกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี เข็มที่ 2 ต่ากว่าเกณฑ์ท่ี กาหนด คือ มีความครอบคลุมอยู่ท่ีร้อยละ 85.67 และ 86.90 ตามลาดับ และในจังหวัดยโสธร เก็บข้อมูล กลมุ่ เปาู หมายได้ 631 ตวั อย่าง พบรอ้ ยละความครอบคลมุ ของวคั ซีนแต่ละชนิดมากกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ยกเว้น วัคซีน ปอู งกนั โรคหดั (MMR/MR) เขม็ ที่ 2 มคี วามครอบคลมุ อยู่ทร่ี ้อยละ 89.54 สรุปและข้อเสนอแนะ:พบปัจจัยและสาเหตุ ที่ทาให้เด็กไดร้ บั วัคซีนไม่ครบ มาจากท้ังเด็กและครอบครัวเด็กเอง เช่น ความสนใจของผู้ปกครองต่อการนาเด็กมารับ วคั ซีน และจากหน่วยให้บริการวัคซีน เชน่ ระบบการให้บริการวคั ซีน ความร้คู วามเข้าใจของเจา้ หน้าท่ี ฯลฯ ซึ่งปัญหา เหล่านสี้ ามารถปรบั ปรงุ แกไ้ ขได้ด้วยการสนับสนุน ติดตาม และประเมินผลจากทกุ ภาคส่วนทเ่ี กย่ี วข้องอยา่ งต่อเนื่อง คาสาคัญ : วัคซีนขั้นพ้นื ฐาน ,ความครอบคลมุ วัคซนี ~ 76 ~

11_ E - Poster การตตี ราและเลือกปฏิบัตใิ นกลุ่มผู้ต้องขังที่อยรู่ ่วมกับเชือ้ เอชไอวใี นเรอื นจาแหง่ หนึ่ง จงั หวัดยโสธร ณปภัทร จันทรคง1, ถนอม นามวงศ์2 , มะลิณี บุตรโท3 และสมพร จันทรแ์ กว้ 3 1ศูนยส์ ขุ ภาพชุมชนเมืองยศ โรงพยาบาลยโสธร, 2สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดยโสธร, 3โรงพยาบาลยโสธร บทคัดย่อ ความเป็นมา: การถูกตีตราและเลือกปฏิบัติเป็นสาเหตุสาคัญ ท่ีทาให้ผู้ท่ีมีความเส่ียงหรือผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ไม่กล้าที่จะเข้าสู่กระบวนการตรวจรักษา ส่งผลกระทบต่อการดาเนินมาตรการควบคุมปูองกันโรคเอดส์กลุ่มผู้ต้องขัง เป็นประชากรท่ีมคี วามเสยี่ งสูง เนือ่ งจากสภาพแวดล้อมในเรือนจามีข้อจากัดในการเข้าถึงการปูองกัน รวมถึงการถูกตี ตราและเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวเน่ืองกับเอดส์ การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการถูกตีตราและเลือกปฏิบัติ รวมท้ัง ปจั จัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผูต้ อ้ งขงั ทอ่ี ยรู่ ว่ มกบั เช้ือเอชไอวี ระเบียบวิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก และเชิงปริมาณด้วยการสัมภาษณ์ด้วย แบบสอบถามทพี่ ฒั นาขน้ึ เอง ในกลุ่มผอู้ ยู่ร่วมกบั เช้ือทเ่ี ป็นผ้ตู อ้ งขังท้ังหมด จานวน 23 ราย ข้อมูลเชิงคุณภาพทาการ วเิ คราะห์เชิงเน้ือหา สว่ นขอ้ มูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ดว้ ยสถติ เิ ชงิ พรรณนา ผลการศึกษา: ผลการศกึ ษาพบวา่ กลุม่ ศึกษามคี า่ มธั ยฐานอายุ 38 ปี (ต่าสุด 19 ปี, สงู สดุ 53 ปี) ส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย ร้อยละ 73.9 ด้านประสบการณ์เคยถูกตีตราหรือเลือกปฏิบัติในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาพบว่าไม่เคยถูก ปฏิเสธการรักษาพยาบาล แต่เคยถูกจัดคิวให้ได้รับบริการเป็นคิวสุดท้ายหรือรอนาน ร้อยละ 8.7 เคยได้รับการ ดแู ลเอาใจใสน่ อ้ ยกว่าผู้ปุวยรายอ่ืนๆ ร้อยละ 4.3 เคยตรวจเลือดหรือเปิดเผยสถานภาพโดยไม่ได้รับการยินยอม ร้อย ละ 4.3 ด้านการตีตราตนเองพบว่า ส่วนใหญ่รู้สึกอายที่ตนเองติดเช้ืออยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 43.5 รู้สึกผิดท่ี ติดเช้ืออยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 43.5 กลัวการถูกจ้องมองนินทาจากเพ่ือนๆ อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 39.1 และกลัวการถูกจ้องมองนินทาจากเจ้าหน้าท่ี อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 43.5 ปัจจัยเสี่ยงพบว่าส่วนใหญ่ติดเชื้อ จากการมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 78.3 โดยในจานวนน้ีเป็นเพศสัมพันธ์แบบชายรักชาย ร้อยละ 38.5 ส่วนปัจจัยเสี่ยง จากการใชเ้ ขม็ ฉีดยาร่วมกนั ร้อยละ 21.7 สรุปและอภิปรายผล: การตีตราและเลือกปฏิบัติในกลุ่มผู้ต้องขังที่อยู่ร่วมกับเช้ือเอชไอวี ไม่มีอุปสรรค ในการเข้าถึงการรักษาพยาบาล แต่มีปัญหาบ้างในการรอคิวนานหรือถูกจัดให้บริการในคิวท้ายๆ รวมท้ัง การ ตรวจเลือดหรือเปิดเผยสถานภาพโดยไม่ได้รับความยินยอม ด้านการตีตราตนเอง เช่น การรู้สึกผิดและรู้สึกอายใน ภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับค่อนข้างสูง เพศสัมพันธ์ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงท่ีสาคัญต่อการติดเชื้อ เอชไอวีในกลุ่ม ผู้ต้องขัง โดยเฉพาะในกลุ่มชายรักชาย รวมทั้งการใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน ดังนั้น ฝุายที่เก่ียวข้องควรมีมาตรการ เข้มข้นเพ่ือควบคุมปูองกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีในประชากรกลุ่มนี้ รวมท้ังการพัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน และเป็นมิตร มีกิจกรรมให้คาปรึกษาในกลุ่มผู้ติดเชื้อหรือพัฒนาศักยภาพแกนนาผู้ติดเช้ือให้สามารถดูแลเพ่ื อนผู้ติด เชื้อได้ คาสาคญั (Key words) : การตีตรา, เลอื กปฏิบัติ, ผ้ตู อ้ งขังในเรือนจา ~ 77 ~

รางวลั ภาพถา่ ยผลงานหน่วยงานปฏิบตั ิการควบคมุ โรค ประจาปงี บประมาณ 2562 ~ 78 ~

รางวลั ชนะเลศิ ภาพถา่ ยผลงาน หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารควบควบคมุ โรค(CDCU) ประจาปี งบประมาณ 2562 ชื่อภาพ “เลน่ ของสงู ” ชอื่ ผู้ส่งผลงาน นางกันยารัตน์ เหล่าเสถยี รกิจ ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ สถานทปี่ ฏบิ ตั ิงาน สสจ.ศรีสะเกษ ชือ่ ทีม SRRT SISAKET เฝ้าระวัง/สอบสวน/ควบคุมโรค เรื่อง : การสอบสวนโรคไข้มาลาเรยี ในพระธดุ งค์ ณ ภูแห่งหนึ่งในจงั หวัดศรสี ะเกษ คาอธิบาย/แนวคดิ /ความประทับใจ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 11.00 น. ทีม SRRT จังหวัดศรีสะเกษ ได้รับรายงาน จาก นคม.อาเภอขุนหาญ พบพระปุวยด้วยโรคมาลาเรีย จานวน 2 รูป ทีม SRRT จังหวัดศรีสะเกษ ร่วมกับ นคม.อาเภอขุนหาญ ทีม SRRT ตาบล ละลาย อาเภอกนั ทรลักษ์ ลงพื้นทส่ี อบสวนโรค 12 กมุ ภาพันธ์ 2561 เวลา 09.00 น. พบผปู้ วุ ยทั้งหมด จานวน 2 คน สภาพแวดลอ้ มของพ้ืนที่รังโรคเป็นภูเขา ซ่ึงเป็นที่ปักกรดพักของพระธุดงค์ ที่มาบาเพ็ญภาวนาท่ามกลางความสงบ การเดินทางโดยเท้าเข้าไปในปุา ผ่านหุบเขา และปุาท่ีรกทึบ ระยะทาง ประมาณ 8 กิโลเมตร ใชเ้ วลาเดินทาง 4 ช่วั โมง เพอ่ื ไปถงึ ต้องเดนิ ปุา ลุยนา้ ขา้ มภเู ขา การพ่นสารเคมี ทาได้ยากต้อง เสี่ยงกับการตกจากที่สูงเพราะความชันของหน้าผา การใช้สรีระร่างกายที่ไม่มีในหลักสูตรการสอน บางจุดต้องต่อตัว กันข้ึนเพื่อจะสามารถขึ้นไปพ่นได้ในซอกหิน เส่ียงภยันอันตรายจากสัตว์มีพิษและภัยที่มองไม่เห็นในซอกหิน เพ่ือให้ บรรลุซ่ึงวัตถุประสงค์ของการควบคุมโรคให้สาเร็จลงได้ และผลก็เป็นไปตามท่ีคาดหวัง ในระยะเวลาต่อมา ไม่พบ ผูป้ วุ ยเพมิ่ เตมิ ความประทบั ใจของการควบคมุ โรคครัง้ น้ี คือ “ไม่วา่ หนทางจะยากลาบากเพียงใด ไม่ว่าการควบคุมโรค จะยากแคไ่ หน ทีม SRRT จงั หวดั ศรีสะเกษ เรากจ็ ะทาและจะทาไดส้ าเร็จ” ~ 79 ~

รางวลั รองชนะเลศิ ภาพถา่ ยผลงาน หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารควบควบคมุ โรค(CDCU) ประจาปี งบประมาณ 2562 ชอ่ื ภาพ “DOT by Hearth Take Care Every Time” ช่ือผสู้ ่งผลงาน นางสาวศศิวิมล ปอู งเพชร ตาแหนง่ นกั วชิ าการสาธารณสขุ สถานที่ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลไทยเจริญ อาเภอไทยเจรญิ จงั หวดั ยโสธร ชื่อทีม SRRT อาเภอไทยเจริญ เฝา้ ระวัง/สอบสวน/ควบคุมโรค เร่ือง : การ DOT ในผู้ปุวยวัณโรค คาอธิบาย/แนวคดิ /ความประทบั ใจ จากภาพ เจา้ หน้าทีค่ ลินกิ วณั โรค ร่วมกับ อสม. ผู้รบั ผดิ ชอบ นายามาสง่ ใหก้ ับผปู้ วุ ยวณั โรค โดย case น้ี ทา DOTร่วมกบั ระหวา่ ง เจา้ หนา้ ที่และ อสม. เจา้ หน้าทจ่ี ะออกมาดูแลการทานยา สัปดาหล์ ะ 1-2 วนั และนายามาสง่ ทุก สปั ดาห์ และมีอสม. จะนายามาปูอนให้คนไขท้ ุกวนั และให้เกบ็ ซองยาเปล่าท่ีทานแลว้ ไว้ทกุ ครั้งเพ่ือเปน็ การตรวจสอบ อกี ครั้งจากเจา้ หนา้ ท่ี ซึ่งผ้ปู วุ ยรายนจ้ี ะมปี ัญหาในการเดินทางไปรบั ยา แตล่ ะเดือน เน่ืองจากลูกหลานไปทางาน โดย ทางเจ้าหนา้ ท่ีคลินกิ ได้ทาข้อตกลงและพดู คยุ กบั ผ้ปู วุ ยและญาตไิ ด้ข้อตกลงกันวา่ หากวันนดั ใหญ้ าตไิ ปสง่ ทีโ่ รงพยาบาล ตอนเชา้ และตอนกลบั หลังจากรับยาเสร็จเจ้าหนา้ ทจี่ ะไปสง่ ผปู้ ุวยที่บา้ นเอง และยาจะให้มาคร้ังละ 1 สปั ดาห์ ให้ อสม. เป็นผ้มู าปอู นยาทกุ วนั และยาสว่ นท่เี หลอื เจา้ หนา้ ท่ีจะนาออกมาใหท้ ุกสัปดาห์ per day/per week ความ ประทบั ใจ จากภาพในวนั นั้นยายมียาเหลอื 1 ซอง ยายมีความกังวลใจว่าหมอจะลืมเอายามาส่ง กลวั ไม่มียาทาน กลวั ไมห่ าย ซง่ึ สร้างความภมู ิใจกับผดู้ ูแลเปน็ อยา่ งมาก ทง้ั เจ้าหน้าท่แี ละอสม. ในความตระหนกั ของผปู้ วุ ยที่มีความกังวลวา่ จะไม่มียาทาน ~ 80 ~

รางวลั ชมเชย ภาพถา่ ยผลงาน หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารควบควบคมุ โรค(CDCU) ประจาปี งบประมาณ 2562 ชือ่ ภาพ “เฮาซ่อยกัน (เราช่วยกัน)” ตาแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบตั งิ าน ชื่อผ้สู ่งผลงาน นายวรี ะพล ห้วยทราย ช่อื ทีม SRRT อาเภอวงั หนิ สถานทปี่ ฏิบัตงิ าน รพ.สต.ธาตุ อ.วงั หนิ จ.ศรสี ะเกษ เฝ้าระวัง/สอบสวน/ควบคุมโรค เรื่อง : ควบคมุ โรคไข้เลือดออก คาอธิบาย/แนวคิด/ความประทับใจ “การช่วยเหลือกันของชาวบ้านในหมู่บ้าน ในการปูองกันโรคไข้เลือดออก เมื่อพบลูกน้ายุงลาย แล้วไม่ สามารถทาลายคนเดียวได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ท้ังเจ้าของบ้าน(คนซ้าย), อาสาสมัครสาธารณสุข (คนกลาง), และเพ่ือนบ้านใกล้เคียง (คนขวา) จึงทาให้เกิดความร่วมมือกัน เพ่ือทาลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย นาไปสู่ การปอู งกนั โรคไขเ้ ลอื ดออกในชมุ ชน” ~1~

~2~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook