Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มtwincity_update280462

รูปเล่มtwincity_update280462

Published by pongrawee2, 2019-04-26 05:10:52

Description: รูปเล่มtwincity_update280462

Search

Read the Text Version

~1~

คานา หนังสือบทคัดย่อผลงานวิชาการ ในการสัมมนาวิชาการด้านระบาดวิทยาระดับเขต และเมืองคู่ขนานไทย - ลาว, ไทย - กมั พชู า (Twin city) (ครัง้ ท่ี 5) ระหวา่ งวันที่ 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2562 คร้ังนี้ เป็นการรวบรวม ผลงานจากเครือข่ายบุคลากรสาธารณสุขท่ีเป็นทีมสอบสวนโรค และผู้ปฏิบัติงานในการควบคุมปูองกันโรคและภัย สขุ ภาพในพน้ื ที่ 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี จงั หวดั ศรสี ะเกษ จงั หวัดยโสธร จังหวดั อานาจเจริญ และจังหวัด มุกดาหาร นอกจากน้ียังเป็นผลงานวิชาการจากเมืองคู่ขนาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และป ระเทศ กัมพูชา รวมท้ังมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชน รวมผลงานที่ส่งเข้าประกวดท้ังสิ้น 67 ผลงาน ผ่านการคัดเลือก 46 ผลงาน ได้แก่ ประเภทวาจา (Oral presentation) ผ่านการคัดเลือกจานวน 25 เร่ือง ประเภท Good practice ผ่านการ คัดเลือกจานวน 10 เรื่อง ประเภทโปสเตอร์ ผ่านการคัดเลือกจานวน 11 เรื่อง และการแสดงผลงานภาพถ่ายส่งเข้า ประกวด 28 ภาพ ได้รับคัดเลือก จานวน 3 ภาพ ผลงานทั้งหมดได้ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการวิชาการของ สานกั งานปูองกันควบคุมโรคท่ี 10 อบุ ลราชธานที ี่มีความเช่ยี วชาญท้งั ด้านงานวิจัย และงานสอบสวนโรค ทาให้ผลงาน ท่ีได้รับคัดเลือกมีคุณค่าและน่าสนใจ และทาให้ผู้ศึกษาได้รับประสบการณ์ที่มีประโยชน์ในการสอบสวน และการ ควบคุมปอู งกนั โรคอยา่ งดยี ิ่ง ในโอกาสนี้ คณะผูจ้ ัดโครงการขอขอบพระคุณ รวมทั้งนายแพทย์ดนยั เจยี รกลุ ผูอ้ านวยการสานักงานปูองกัน ควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดโครงการคร้ังน้ี และขอขอบพระคุณ คณะกรรมการในโครงการทุกท่านท่ีเสียสละช่วยกันพิจารณาคัดเลือกผลงานวิชาการ ทาให้การสัมมนาวิชาการด้าน ระบาดวิทยาระดับเขต และเมืองคู่ขนานไทย - ลาว, ไทย - กัมพูชา (Twin city) (คร้ังที่ 5) ประจาปี 2562 คร้ังน้ี สาเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี คณะผจู้ ดั โครงการ ~2~

สารบญั หนา้ ห้องประชุมท่ี 1 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สุขภาพ ประเภท Oral presentation 4 ภาษาอังกฤษ 18 หอ้ งประชุมท่ี 2 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สุขภาพ ประเภท Oral presentation เขตสุขภาพที่ 10 (ห้องท่ี 1) 32 46 ห้องประชุมที่ 3 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ ประเภท Oral presentation เขตสุขภาพที่ 10 (หอ้ งที่ 2) 59 78 ห้องประชุมที่ 4 นาเสนอผลงาน Good Practice เขตสขุ ภาพที่ 10 ห้องประชุมที่ 5 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพ/Good Practice ประเภท E - Poster Presentation รางวัลภาพถา่ ยผลงานหนว่ ยงานปฏบิ ตั ิการควบคุมโรค ประจาปีงบประมาณ 2562 ~3~

The meeting room no.1 The English Oral presentation of investigation of diseases and health hazards. ~4~

The meeting room no.1 The English Oral presentation of investigation of diseases and health hazards. รหสั เรื่อง ผนู้ าเสนอ หน้า 6 1_oral_eng Village Health Volunteers-based dengue control Nanthasane Vannavong 7 8 in high prevalence areas of Laos: A model for 9 further application in the whole of Laos 10 11 2_oral_eng Current Malaria Status in Lao PDR, specifically Youthanavanh Vonghachack 12 malaria outbreak in Savannakhet Province in 2018 13 3_oral_eng Dengue Fever Control Activities in Preah Vihear Preah Vihear province 14 15 province for 2018 16 4_oral_eng Prevalence of HIV and Factors Associated with Napaphat Chanthokhong Condom Use among Male Prisoners in a Prison, Yasothon, Thailand. 5_oral_eng The Development of Disease free Child Care Chanissara Sangkhasri Center based on the Participation of Community, Nam-Khum-Yai Subdistrict, Yasothon Province 6_oral_eng Development of Surveillance System among Thanom Namwong Human Rabies Exposure in Community, Yasothon Province 7_oral_eng The developing of referral system at Thai-Laos Pimontipa Malahom border: A case study from Ubon Ratchathanee and Champasack Lao PDR. 8_oral_eng Multidrug-resistant ventilator associated Nathakorn Pongpeeradech pneumonia (VAP) in ICUs: an etiology, epidemiology and burden of disease in a tertiary care hospital at the North east of Thailand 9_oral_eng Investigation report of the first DF patient in a Pattaraphon Kingmanee, village, Srisaket Province Suparin Boonpao 10_oral_eng Investigation of skin disorder due to waste water Mr. Nouda prasith from paper mill at Vangkoung village, Xepon district, SavannakhetProvince in 2018 11_oral_eng Follow up the incident Cases of Tuberculosis Dr. Hom Channa Control Program in Oddormeanchey Province, Cambodia from year 2016-2018 ~5~

1_oral_eng Village Health Volunteers-based dengue control in high prevalence areas of Laos: A model for further application in the whole of Laos Nanthasane Vannavong1, Somkiat Vorrarath1, Vanida Bounnhoseng1, Mayfong Mayxay2 1.Champasak Provincial Health Office 2.University of Health Sciences, Vientiane Lao P.D.R Abstract Dengue outbreaks occurred in Laos several times which one of the largest outbreaks occurred in 2010 and 2013, resulted in 46 and 95 deaths, respectively. Community participation is always a key to the success and effectiveness of dengue control in the regions. Therefore, Village Health Volunteers (VHVs) are considered as the backbone of the public health system and are very important components in the straightening of dengue control and surveillance. However, role of VHVs in Laos remains unclear, ignored and not outstanding in complementing the national surveillance system due to a lack of training, follow-up and small number them. The objectives of this project are to establish and improve the capacity building of VHVs for the control of dengue in villages with high dengue prevalence in the south of Laos. We expected that training provided to VHVs plus their monthly following-up from this longitudinal two-year study would bring a better change to them regarding the strength and roles in the prevention and control of dengue and improvement of people health gains in the community. The expected outcomes could help policymakers and planners in formulating effective strategies for capacity building improvement of VHVs in the whole of Laos in the future. Key words : dengue, Laos, surveillance, village health volunteers. ~6~

2_oral_eng Current Malaria Status in Lao PDR, specifically malaria outbreak in Savannakhet Province in 2018 Youthanavanh Vonghachack1, Ketsaphone Ngatthivong1, Sisouma Phouthavongsa1 and Tiengkham Pongvongsa2 1 Division of Communicable Diseases Control, Savannakhet Province 2 Savannakhet Provincial Health Department Abstract The Lao People’s Democratic Republic (Lao PDR) is bordering China, Vietnam, Cambodia, Myanmar and Thailand. Malaria is still considered as an important public health problem which contributes to morbidity and mortality. The national annual parasite incidence (API) was 7.3 and 2.1 per 1,000 populations in 2014 and 2018, respectively. In 2014, the subnational API in five southern provinces was 20.3 per 1 000, including Savannakhet, Saravan, Sekong, Attapeu, and Champasack province and the five southern provinces were accounted for 96% of the total national malaria cases in 2014. Malaria transmission varies from the different ecological zones of the country. High transmission areas are observed in the hilly, forest areas in southern part while lower transmission areas are in the plains along the Mekong River and in high altitude areas. Malaria species found in Laos is Plasmodium falciparum (95%), P. vivax (4%), P. malariae (0.8%) and P. ovale (0.2%) in 2003. Mixed Plasmodium species were observed in Laos. Recently, only two Plasmodium species had been reported such as P. falciparum (62%) and P. vivax (38%). Four Anopheles species serve as malaria vector such as An. dirus, An. minimus, An. maculatus and An. jeyporiensis. Drug resistance was reported among chloroquine (CQ) and sulphadoxine-pyrimethamine (SP) in the country. Therefore, Artemether–lumefantrine (AL) was introduced as the first-line treatment for uncomplicated P. falciparum malaria in 2005 and P. vivax malaria in 2011. Today, adding a single low-dose of Primaquine (0.25mg/kg) to AL was used to treat uncomplicated P. falciparum malaria in 2018. However, AL resistance with the presence of K13 mutations was reported 22.2% in Champasack province in 2013. The Lao PDR has set the goal of eliminating P. falciparum malaria by 2025 and all forms of malaria by 2030. To achieve the goal, the information and technology (ICT) tools have been used such as the District Health Information Software (DHIS2) for enhancement in the accuracy and timeliness of the reporting, it has been introduced since 2014 till now. Since 2014-2018, a 5-year API in Savannakhet province showed dramatically decreased but rose up again in 2017 as following 5.6, 2.3, 1.5, 2.4 and 2.1, respectively. There are four districts where the health centers had been classified as strata 3 (API>10) namely Nong, Phine, Vilabouly and Thaphangthong district and malaria volunteer works have been assigned. A 3-year malaria positive cases were 1,471; 2,376 and 2,150 in 2016; 2017 and 2018, respectively with the majority infection rate of P. falciparum malaria. In 2017 and 2018, malaria outbreak in Nong and Xepone district were continuously observed. In 2018, the outbreak occurred in April and May in Nong and Xepone district, respectively. Malaria positive cases were high peak in June at both districts, 182 and 75 cases in Nong and Xepone district, respectively. No malaria death case was reported during the outbreak. ~7~

3_oral_eng Dengue Fever Control Activities in Preah Vihear province for 2018 Preah Vihear province ABSTRACT The dengue fever is a serious communicable disease in Preah Vihear province. Dengue fever cases are exactly higher in 2016 than 2017 and a bit increase in 2018. Many dengue fever cases was hospitalized for the first quarter of 2019. However, there was no death case due to strong commitment of all relevant partners and participation of people.Target population aging less than 14 years old threated by dengue fever.Good dengue cases clinical management and refer on time are the best ways to null death case.The accurate intervention to the high risk areas, it is the good measure in outbreak reduction. Especially promoting health education to communities for the good environment.Dengue fever issue is not the issue only for health sector but it is the cross cutting issue ~8~

4_oral_eng Prevalence of HIV and Factors Associated with Condom Use among Male Prisoners in a Prison, Yasothon, Thailand. Napaphat Chanthokhong1, Thanom Namwong2, Somporn Jankeaw1, Petcharat Srisurat et al.1,2 1 Yasothon Hospital, 2 Yasothon Provincial Health Office Abstract Background: AIDS was important problem of Thailand. A continuous preventive measure is therefore absolutely necessary. The prisoners are population who risk the HIV infection because they are lived in the prisons which are accessed a limitation condom, so they may be the unsafe sex. The purposes of this research determined the HIV prevalence and the factors associated with condom use among male prisoners in a prison, Yasothon province. Methods: A cross-sectional survey was conducted the using simple random among male prisoners during January - February 2019. The HIV infection screening was used the rapid test, after that it was confirmed by the polymerase chain reaction (PCR) test. A standardized survey form was used for the data collection, and Multiple Logistic regression were performed. Results: A total of 672 male prisoners were included in this study, 8 cases were positive HIV (1.28%), the median age was 30 years [18-70], 6.2 % had the bisexual. A risk behavior toward the HIV infection of male prisoners before confinement included, the sexual with another partner (84.8%) and condom use (35.5%), the using needle to injection or needle tattoo piercing the skin together (20.7%). Risk behavior toward HIV infection while confinement included, the sexual (1.4%) and condom use (66.7%), using needle to injection or needle tattoo piercing the skin together (2.2%), HIV knowledge (56.0%), condom access (43.1%), HIV testing access (25.4%) and received HIV knowledge (24.7%). Multiple logistic regressions revealed 2 factors associated with condom use included HIV knowledge (ORadj; 1.5, 95%CI; 1.1 to 2.1) and the using needle to injection or needle tattoo piercing the skin together (ORadj; 0.4, 95%CI; 0.2 to 0.8). Discussions and Conclusions: This study was HIV prevalence of male prisoners the same with general population. The risk behavior toward HIV infection was still high level, both using needle to injection or needle tattoo piercing the skin together and the sexual with another partner without the condom use. Also, the HIV knowledge was still low level which related with the condom access, HIV knowledge and HIV testing. A high risk male prisoners were the persons who use needle to injection or needle tattoo piercing the skin together. Therefore, the HIV prevention programs in the prisons should develop the specific interventions targeting them in order to reduce the incidence of HIV. In addition, the prisons should be continuous conducting for the condom access to increasing of the condom use. Key words : HIV, male prisoners, risk behavior toward HIV infection ~9~

5_oral_eng The Development of Disease free Child Care Center based on the Participation of Community, Nam-Khum-Yai Subdistrict, Yasothon Province Chanissara Sangkhasri1, Sakuna Buakhiao2, Rangsan keeralay1, Thanom Namwong3 and Payear Tonluplao4 Hongkha Health Promoting Hospital, 2 Meuang District Health Office, 3 Yasothon Provincial Health Office, 4Nam Kham Yai Municipal Abstract Background: Child Care Center is the place which a lot of children live in. Have risk factors for the spread of communicable diseases. The development of robust surveillance can be identify even in order to control and prevention disease. This research aimed to develop of disease free child care center based on the participation of community. Methods: The action research was conducted in three phases: (1) preparation phase, (2) implementation phase, and (3) evaluation phase. The participants were 30 volunteers selected by purposive sampling. Data collection include in-depth interview, focus group and observation. The study was conducted during January-November, 2018. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, Z-test and the content analysis was applied for qualitative data. Results: The model of the development of disease free child care center based on the participation of community were 1) appoint a committee, 2) develop potentiality the participants in community, 3) made the surveillance system and 4) monitoring and evaluations. The result from implement those found that knowledge and satisfaction of participants has increase significantly both. And also, the prevalence of hand foot mount disease has decrease significantly (proportion diff = -14.9, 95%CI -6.4 to -23.3 p = 0.002) Conclusions and discussions: The implementation of disease free child care center based on the participation of community include brain storming, participation, accountability, joint evaluation and joint development affect to robust surveillance. Moreover, affect to control and prevention disease. It should be used this model for surveillance and control other child care center. Key words: communicable disease, child care center, the participation ~ 10 ~

6_oral_eng Development of Surveillance System among Human Rabies Exposure in Community, Yasothon Province Thanom Namwong, et al. Yasothon Provincial Health Office Abstract Background: Rabies is one of health problems in Yasothon, of 1 case was reported death and there were over 60 rabies exposure sampling had been found in animal. People who were contacted disease likely not concern for medical treatment and vaccination which might be significantly caused in fatality. This research aims to develop and assess surveillance system among rabies exposure in community in Yasothon, Methods: This action research was used in accordance with 4 stages, namely; Planning, Action, Observation, and Reflection. Data collection from May-August, 2018 by using focus group discussion, depth interviewing, observation and questionnaire that related to people behavior about rabies and used to identify descriptive statistic, T-test and Z-test and content analysis for qualitative data. Result: The result of this study shown that rabies exposure could access in vaccination program (67.27%), followed those had moderate level in knowledge, while 79.57 percent among animals had rabies vaccination coverage. Therefore, development of surveillance system among rabies exposure was conducted in order to effectively in reporting and was able to monitor rabies exposure case by using application Line, Google, and disseminating its manuals as well as set up rabies surveillance networks in community. This system was carried out which was considered as risk area or had a case death, after implementing program revealed that the majority of rabies exposure had vaccination coverage at 97.03 percent and had high satisfaction which was statistically significant (P<0.05). Conclusions: This study should be more encouraging to implement in other location with casualty concern about rabies and would be able to adjust this system involving several kinds of health surveillance and prevention. Key words: Surveillance System, Human Rabies Exposure, Yasothon ~ 11 ~

7_oral_eng The developing of referral system at Thai-Laos border: A case study from Ubon Ratchathanee and Champasack Lao PDR. Pimontipa Malahom*, Nattakrit Sa Nhgmsak**, Thanuwut Phromdee***, Worawut Pong Udom*** Ubon Ratchathani Public Health Office*, The Office of Disease Prevention and Control 10 Ubon Ratchathani**, Sirindhron hospital Abstract Background: At present, there are many migrant workers living and working in Thailand. The trend is increasing every year with 3 nationalities, namely Myanmar, Laos and Cambodia. In 2014, it was found that 11,035 migrant workers lived in Ubon Ratchathani, Legal 10,985 persons, general 1,036 persons, 3,046 nationalities classified as follows: 1,732 Burmese citizens, 1,666 Lao people and 53 Cambodian. The referral system is not just forwarding emergency patients. But also includes the transmission of patients with AIDS, tuberculosis and sexually transmitted diseases. In 2012, only 2,331 AIDS patients were able to have serviced and need to reduce the amount to transfer data to the health insurance fund. Foreign Ministry of Public Health but still having problems in accessing services, therefore, there is an agreement to develop the referral system together, focusing on the development of referral to all systems Purpose: To analyze and evaluate to prepare a plan to be ready for referral between Thailand and Laos and can be used to develop and apply to other events and situations Method: The Research and Development (R&D) study by secondary data and primary data by lessons learned case study of referral system at Thai-Laos border from Ubon Ratchathanee and Champasack in 2015, Guide book, Research and Theory with developing plans and assessments. Result: The referral system development by developing a system model to be structured and easy to understand. The providers are able to operate in the same way. The system have tested in 3 areas by setting up a parallel city Integrate with quality work until getting guidelines and manuals and collaborating in contacts to forward data using line, watch app, mail and official letter that easy and convenient. Conclusion: In conclusion, the management of referral patients in parallel cities with neighboring countries with integration into routine tasks. The pulling of network partners in public, private sectors and civil society. Including the opportunities for develop their areas and expand networks. There are team buildings of an affiliate network to use the public health system for diplomacy. The conflicts will be reduced with operate in neighboring countries. The network has created by cooperate between Thai and Laos. Including the follow-up and evaluation activities at the same time Keywords: Referral system, Patient, Develop, Migrant ~ 12 ~

8_oral_eng Multidrug-resistant ventilator associated pneumonia (VAP) in ICUs: an etiology, epidemiology and burden of disease in a tertiary care hospital at the North east of Thailand. Nathakorn Pongpeeradech* * Infection Prevention and Control unit, Sisaket center hospital. Abstract BACKGROUND: There was an investigation of the etiology, epidemiology and burden of bacterial resistance among microbial causes of ventilator-associated pneumonia (VAP) in 3 ICUs. The contribution of multi-drug resistant (MDR) pathogens to the VAP etiology in Sisaket hospital was never studied. We sought to examine the extent of multiple-drug resistance among common microbial causes of VAP in 3 ICUs in order to improve the treatment choice and outcome. MATERIALS AND METHODS: A retrospective descriptive analysis of identified drug-resistant pathogenic of VAP was undertaken in three intensive care settings in a tertiary hospital in northeast Thailand. VAP patients’ charts and an institutional surveillance database were reviewed covering a five- year period from January 2013 to December 2017. The US National Healthcare Safety Network definition of MDR was adopted. RESULTS: Over five years from 2013 to 2017, 564 episodes of VAP related to MDROs infected were diagnosed in 312 patients across three ICUs. Acinetobacter spp was highly (27.98%) There was resistant to all tested antimicrobials, including carbapenems (three- and four-class MDR prevalence were 91% and 76%, respectively). Pseudomonas aeruginosa was moderately (42%) resistant to all tested antimicrobials, including antipseudomonal penicillins as same as Stenotrophomonas was moderately resistant to fluoroquinolone groups (61%). Klebsiella spp. had low (0-12%) resistance to other tested antimicrobials with ESBL producing detected. We found 9.1% of Staphylococcus aureus which resists to oxacillin. There were significant increasing trends of MDR Acinetobacter spp. Among VAP patients in 3 ICUs. CONCLUSION: Acinetobacter was an increasingly resistant VAP-associated pathogen more than in the prior studies at Sisaket hospital, likewise many studies have been reported in many parts of the world. The current finding may impact choice of initial empiric antibiotics and the strategies to eliminate MDRO strains. The resistant of Acinetobacter among VAP patients in ICU is associated with prolonged MV, increased ICU and hospital stay, and increased risk of death. Inadequate initial empiric antibiotic treatment and low compliance of prevention MDR may be the contributing factors. We strongly recommend the introduction of appropriate interventional measures to prevent MDR pathogens among VAP in ICU. Keywords: Multidrug resistant organisms, Acinetobacter, microbiology, ventilator-associated pneumonia, Intensive care units. ~ 13 ~

9_oral_eng Investigation report of the first DF patient in a village, Srisaket Province Pattaraphon Kingmanee, Suparin Boonpao The Students in Bachelor of Public Health, Level 2 Sirindhorn College of Public Health, Ubon Ratchathani Abstract Background : On April 6, 2019, 21.00 hrs. Student clinical practice team was informed of dengue fever (DF) patients who were sent from the Tambon Health Promotion Hospital. And on April 7, 2019 at 10.00 hrs. Student clinical practice team have signed a disease investigation area for confirmation of illness. Methodology :The study model is a descriptive epidemiology. By studying in the area of Sisaket Province Between 7 - 17 April 2019, collected by interview, observation and data from the laboratory. Results : A result of the investigation revea led that male patients in 10 years old. That a between 14 days before sick, the patient stay with his grandmother. No history of playing with friends. On 29 - 31 March 2019, joined the activities of novice ordination with friends. Later, April 1, 2019 and April 4, 2019, he was sick and treated form two public hospitals but the symptoms weren't improved. On April 6, 2019, he was treated to the Tambon Health Promotion Hospital and refer to a community hospital, and the doctor has diagnosed dengue fever (DF) with admit in hospital. Vitals sign BP =110/60 mmHg. T= 38.7 C Plus= 124 /minute, TT=Negative. Laboratory results, W.B.C = 1,900, Platelets = 129,000. Not found additional patients. Village survey results HI = 60 and a temple CI = 28.21. Interviews with related persons found that 1 monk teacher mentions dengue fever before this patient. Therefore, that this monk was the spreader. After the investigation has taken control of the disease by spraying fogging and improving the environment to reduce the risk of the breeding of Aedes mosquitoes, rom the results of operations until April 17, 2019, it was found that the patient village, HI = 0, CI = 0, decreased from the first day of the survey. And not more than the specified standard value. Discussion and Conclusion: From the investigation, a patient was index case, the first case lived in other district but traveled to this district. Is cause of limitations to control the disease that can only be done in the patient's district area, should have information forwarding to the district of the first patient to conduct disease control in that area as well. Keywords : Dengue fever, Investigation, patient ~ 14 ~

10_oral_eng Investigation of skin disorder due to waste water from paper mill at Vangkoung village, Xepon district, SavannakhetProvince in 2018 Nouda PRASITH1, Tiengkham PONGVONGSA1, Chidthagon LINSAVATH2, Phouvy INPASEUTH 2, Sonephet PHETKOSON3 1.Provincial Health Department, Savannakhat Province. 2.Provincial Hospital Savannakhet province 3.Hygiene Health promotion Sector Abstract Waste water from the factory is known to be one of the pollution and still the challenge in Lao PDR. On August 2018,Provincial Health Department (PHD) was notified from Provincial administrative office of Savannakhet Province pertaining the phenomenal skin disorder due to waste water from paper mill at Vangkoung village, Xepon district. Therefore, Division of Communicable Diseases Control of Savannakhethad been assigned to investigate this event. We conducted water resources analysis and villager’s health checking as well as interviewing. Two water resources were collected and analyzed, one from waste hole of the factory and the another one was the stream line of Xe Chon stream. The stream where receive the waste water contaminant from the first water resource. 29 people who had skin disorder were interviewed and seven people had been randomly performed blood examination. The result of water from waste hole of the factory revealed that level of PH and conductivity seem to be higher than the standard such as 8.9 (PH standard range, 6.5-8.5) and 4,423 US/cm (standard range, 1,000US/cm).29 cases were diagnosedto be contact dermatitis, all of them had a history of water contact from Xe Chon stream and 21-30 years old was the most age group of our investigated participants. Four cases were found to be abnormal for liver function test among seven blood examined. We can conclude that 29 contact dermatitis cases may cause of contacting the contaminated water from the waste hole of the paper mill. Therefore, we suggested the factory should improve the waste water treatmentsystem to ensure that no chemical hazard to contaminant to natural water resources around the factory. ~ 15 ~

11_oral_eng Follow up the incident Cases of Tuberculosis Control Program in Oddormeanchey Province, Cambodia from year 2016-2018 Dr. Hom Channa Provincial TB supervisor ~ 16 ~

11_oral_eng ~ 17 ~

ห้องประชุมที่ 2 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพ ประเภท Oral presentation เขตสขุ ภาพท่ี 10 (ห้องท่ี 1) ~ 18 ~

หอ้ งประชุมท่ี 2 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพ ประเภท Oral presentation เขตสุขภาพท่ี 10 (ห้องท่ี 1) รหสั เรอ่ื ง ผู้นาเสนอ หนา้ 20 1_oral_invest การระบาดของโรคอหิวาตกโรคในงานวันเกิดหมู่บ้าน นายประยทุ ธ ศรีสาราญ 22 แห่งหนึ่ง ตาบลหว้านใหญ่ อาเภอหว้านใหญ่ จังหวัด 23 มกุ ดาหาร ระหว่างวันท่ี 15-21 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 25 2_oral_invest การระบาดโรคมือเท้าปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่ง ธญั ญธร วงั โคตรแก้ว 27 หนึ่ง อาเภอคาชะอี จังหวัดมุกดาหาร 26-30 28 มกราคม 2562 29 31 3_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ นางสาวจริ ธดิ า พอ่ อามาตย์ ชนิด B ในโรงเรียนประถมศึกษาแห่งหน่ึงอาเภอนิคม คาสร้อย จังหวัดมุกดาหาร ระหว่างวันท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ - 15 มีนาคม 2562 4_oral_invest การสอบสวนการเสียชีวิตสงสัยจากการรับประทาน นายอภิชยั สะดวี งศ์ เห็ดพษิ อาเภอเมอื งอานาจเจรญิ พฤษภาคม 2561 5_oral_invest สอบสวนการระบาดของโรคหัดในหญิงต้ังครรภ์ ตาบล นางสาวกัลยพัทธ์ เตโช โพนงาม อาเภอกุดชมุ จงั หวัดยโสธร เดือนมกราคม 2562 6_oral_invest รายงานการสอบสวนผู้ปุวยติดเช้ือไข้มาลาเรียเสียชีวิต นางสาวศริ มิ าศ ศิรนิ ัย อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ 30 มกราคม - 30 มนี าคม 2562 7_oral_invest สอบสวนผู้ปุวยเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า บ้านแห่ง นางประนอม ขวานทอง หน่ึง ตาบลดงเจรญิ อาเภอคาเขอ่ื นแก้ว จังหวัดยโสธร วนั ที่ 18-31 พฤษภาคม 2561 8_oral_invest รายงานการสอบสวนโรคผู้ปุวยเป็นกลุ่มก้อนอาการ นายธีรศักด์ิ คันศร คล้ายไข้หวัดใหญ่ จากการเข้าค่ายฝึกพิเศษของ นักเรียนนายสิบตารวจ ในกองบัญชาการตารวจ ตระเวนชายแดนแห่งหน่ึง ตาบลแจระแม อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี วันที่ 14 มิถุนายน 2561 - 2 กรกฏาคม 2561 ~ 19 ~

1_oral_invest การระบาดของโรคอหวิ าตกโรคในงานวนั เกิดหมบู่ า้ นแหง่ หนึ่ง ตาบลหวา้ นใหญ่ อาเภอหวา้ นใหญ่ จงั หวดั มุกดาหาร ระหวา่ งวันท่ี 15-21 กุมภาพันธ์ 2562 จรี นนั ท์ จาปาเณร รพ.สต.บ้านหวา้ นใหญ่ ประยทุ ธ ศรีสาราญ สสอ.หวา้ นใหญ่ ภูษิต จริ ายนุ รากูล, ชลยิ า ศิริกาล รพ.หวา้ นใหญ่ บทคดั ย่อ ความเป็นมา วนั ที่ 15 กมุ ภาพันธ์ 2562 เวลา 07.54 น. งานระบาดวิทยา อาเภอหว้านใหญ่ ได้รับแจ้ง รายงานทางกลุ่ม Line SRRT Wanyai จากงานระบาดวิทยาโรงพยาบาลหว้านใหญ่ ว่าพบผู้ปุวยอาศัยอยู่ในพื้นที่ ตาบลหวา้ นใหญ่ เข้ารบั การรักษาทโี่ รงพยาบาลหว้านใหญ่ จานวน 3 ราย มาด้วยอาการปวดท้อง ถ่ายเป็นน้า ผู้ปุวย แพทย์วินิจฉัย watery diarrhea ดังน้ันทีมเฝูาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว อาเภอหว้านใหญ่ จึงได้ดาเนินการออก สอบสวนและควบคุมปูองกันโรค ในวันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เวลา ๐๘.๒๐ น. การสอบสวนการระบาดของโรค อหวิ าตกโรคในครง้ั นี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ๑) ยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค ๒) ศึกษาลักษณะการกระจาย ของโรคตามบุคคล เวลา สถานท่ี ๓) ศึกษาปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยปูองกันของการเกิดโรค ๔) หามาตรการในการปูองกัน และควบคุมการระบาดของโรค วิธีการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา และเชิงวิเคราะห์ การศึกษาทางห้องปฏิบัติการ การศึกษาขอ้ มูลทางด้านสง่ิ แวดล้อม เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชเ้ ก็บขอ้ มลู ด้วยการสมั ภาษณ์และลงในแบบสอบสวน ผลการศึกษา พบว่ายืนยันเกิดการระบาดของโรคอหิวาตกโรคในตาบลหว้านใหญ่ ในระหว่างวันที่ ๑๕ – ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ การระบาดของโรคอหิวาตกโรคในคร้ังนี้ พบผู้ปุวยตามนิยามจานวน 7 ราย เป็นPassive case 4 ราย Active case 3 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิงเท่ากับ 1 : 2 อายุเฉล่ียของผู้ปุวยเท่ากับ 53.67 ปี ผ้ปู ุวยสว่ นใหญ่มอี าการถา่ ยเปน็ น้าร้อยละ 83.33 รองลงมาคืออาการปวดทอ้ งรอ้ ยละ 66.67 และ คล่ืนไส้อาเจียนร้อย ละ 33.33 การระบาดมีลกั ษณะแบบแหลง่ โรครว่ ม ลกั ษณะการกระจายของโรคตามเวลา ผู้ปุวยท้ังหมด ร้อยละ 100 ได้ร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน ซึ่งซ้ือวัตถุดิบมาประกอบอาหารกันเอง ระยะฟักตัวส้ันสุด 3 ชั่วโมง (รับประทาน ประมาณ 1ทุ่ม เร่ิมปุวย 4 ทุ่ม) ยาวสุด 11 ช่ัวโมง (เวลา 6.00 น ของวันถัดมา) จากการศึกษาระบาดวิทยาเชิง พรรณนาได้ขอ้ สรปุ เบอ้ื งต้นว่าการระบาดของโรคอหิวาตกโรค มีอาหารท่ีสงสัยเป็นสาเหตุของการเกิดโรค คือ อาหาร ทะเลที่นามาประกอบอาหารในงานวันเกิด ได้แก่ ปลาหมึก หอยแมลงภู่ ปูม้า เน่ืองจากผู้ที่รับประทานที่มี ส่วนประกอบของอาหารทะเลมีอาการปุวยทุกราย จากการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่าการ ระบาดของโรคอหวิ าตกโรค มีอาหารท่สี งสยั เป็นสาเหตขุ องการเกิดโรค คือ อาหารทะเลท่ีนามาประกอบอาหารในงาน วันเกิด ได้แก่ ปลาหมึก หอยแมลงภู่ ปูม้า เนื่องจากผู้ที่รับประทานท่ีมีส่วนประกอบของอาหารทะเลมีอาการปุวยทุก ราย ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ โดยวิธี Rectal Swab ในผู้ปุวยจานวน 6 ราย และในผู้ขายจานวน 3 ราย พบว่า พบเชื้ออหิวาตกโรคในผู้ปุวยจานวน 2 ราย คือ เชื้อ Vibrio Cholera ตัวอย่างอาหารจานวน 3 ตัวอย่าง ผลการตรวจ วิเคราะห์ปรากฏว่าพบเชื้ออหิวาตกโรคในส้มตาปูม้า คือ Vibrio alginoyticus ผลการศึกษาเชิงวิเคราะห์ แบบ ~ 20 ~

1_oral_invest Cohort study ผลการวิเคราะห์พบว่าอาหารที่เป็นปัจจัยเส่ียง คือ ส้มตาปูม้า (RR=6.85 , 95% CI = 1.07- 43.47) ปจั จัยเสีย่ งพบวา่ ผ้ทู ี่รบั ประทานส้มตาปูม้ามีโอกาสปุวยมากกว่าผู้ที่ไม่รับประทาน มากกว่าอาหารประเภทอื่นอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (RR=6.85 , 95% CI = 1.07- 43.47) การผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการพบเช้ือก่อโรคใน Rectal swab culture ในผู้ปุวยและตัวอย่างอาหาร คือเชื้อ Vibrio Cholerae จากการเฝูาระวังโรคต่อเนื่องอีกเป็น เวลา 10 วนั ไม่พบผปู้ ุวยเพ่ิมเตมิ ผลการศึกษาทางด้านสิ่งแวดล้อม สถานที่ปรุงอาหาร การศึกษาส่ิงแวดล้อมสถานที่จาหน่ายอาหารทะเล ขัน้ การตอบปรงุ อาหารแตล่ ะประเภทอาหารเส่ยี งและเอื้อต่อการเกิดโรค เชน่ ยาสลดั ยาทะเลรวม สม้ ตาปูมา้ เปน็ ต้น มาตรการการควบคุมป้องกันโรค ให้คาแนะนาร้านจาหน่ายอาหารทะเลในการเลือกอาหารสดมาจาหน่าย การเก็บรักษา สุขวิทยาส่วนบุคคล สอนการล้างมือแก่ผู้ประกอบการขายอาหารสด ให้สถานบริการสาธารณสุขใน พื้นท่ีเฝูาระวังโรคระบบทางเดินอาหารและน้าอย่างต่อเน่ือง หากพบผู้ปุวยด้วยระบบทางเดินอาหารและน้าเป็นกลุ่ม ก้อนให้รายงานต่อกลุ่มงานควบคุมโรคอาเภอหว้านใหญ่ทันที ให้ความรู้ผู้ปุวยในการปูองกันการเกิดโรค ในเร่ืองการ ชาระล้างห้องน้าด้วยน้ายาฆ่าเช้ือ แก่ประชาชนในพื้นที่ในการปูองกันการเกิดโรค และผู้นาชุมชนในที่ประชุมกานัน ผใู้ หญบ่ า้ น หวั หนา้ สว่ นราชการ เพือ่ ช่วยประชาสัมพันธ์การปูองกันโรคในชุมชน ข้อจากัดในการศึกษา การสอบสวน คร้ังนี้ได้ข้อมูลท่ีอาจไม่ครบถ้วนในการสอบประวัติการรับประทานอาหารการให้ความร่วมมือของผู้ประกอบการค้า อาหารทะเลยังไม่ให้ความร่วมมือในการสอบสวนโรคเท่าท่ีควร เช่น ไม่ยินยอมให้เก็บตัวอย่างโดยวิธี RSC การเก็บ ตวั อยา่ งอาเจียนส่งตรวจไม่สามารถเกบ็ ได้ทัน การติดตามผู้จาหนา่ ยอาหารทะเลล่าช้าเน่ืองจาก ผู้ขายไม่ได้ลงทะเบียน ผูข้ ายกบั ทางทว่ี า่ การอาเภอหว้านใหญ่ จงึ ต้องรอให้ถงึ วันมาจาหนา่ ยอีกรอบจึงจะสามารถตามเกบ็ ตัวอย่างส่งตรวจได้ ข้อเสนอแนะ เพื่อให้การดาเนินงานควบคุมโรคครั้งต่อไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ควรดาเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี 1) สื่อสารทาความเข้าใจกับฝุายการพยาบาลในการเก็บตัวอย่างส่ิงส่งตรวจ (อาเจียน)ในผู้ปุวยด้วยโรคท่ี ต้องเฝูาระวังทางระบาดวิทยา 2) อบรมเจ้าหน้าท่ีระบาดวิทยาทุกระดับในการเก็บส่ิงส่งตรวจให้ถูกต้อง 3) ควรให้มี การจัดทาทะเบียนผู้คา้ อาหารทุกรายให้เป็นปัจจุบนั เพื่อการติดตามได้อย่างทันท่วงที 4. จัดซื้อชุดตรวจ Rectal swab culture ให้มีความเพยี งพอ และพร้อมต่อการดาเนินการควบคมุ โรคในพืน้ ท่ี ~ 21 ~

2_oral_invest การระบาดโรคมือเท้าปากในศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ แห่งหนงึ่ อาเภอคาชะอี จังหวัดมกุ ดาหาร 26-30 มกราคม 2562 ธญั ญธร วังโคตรแกว้ ส.บ. จพ.สช. * จาเนียร ก้อนด้วง ส.บ. นวก ** ไครทอง อาจวชิ ยั ส.บ. นวก.* สภุ าวดี ห้วยทราย พย.บ. พ.ว. * *โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลคาบก **สานักงานสาธารณสุขอาเภอคาชะอี บทคัดย่อ รพ.สต.บ้านคาบกพบว่ามีผู้ปุวยโรคมือเท้าปากเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบ้านคาบกจานวน มากกว่าปกติในรอบ๕ปีเน่ืองจากเป็นโรคติดต่อท่ีสาคัญยังไม่พบมาก่อนผู้ปุวยมีความสัมพันธ์กันทางระบาดวิทยา ทีมสอบสวน เคล่ือนท่เี ร็วโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลบ้านคาบก พร้อมด้วยอาสาสมัครประจาหมู่บ้าน จึงได้ลงพ้ืนท่ีสอบสวนและควบคุม โรคทันทีในวันที่ 25-60 มกราคม 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือยืนยันการวินิจฉัย ยืนยันการระบาดของโรค หาเช้ือที่เป็นสาเหตุ ของการระบาด รวมถึงหาวิธีการถ่ายทอดโรค และหาแหล่งโรคและเพ่ือควบคุมปูองกันโรคการสอบสวนประกอบด้วยการเก็บ ข้อมูลการเจ็บปุวยสัมภาษณ์ผู้ปุวยญาติผู้ปุวยครูประจาช้ันและผู้เกี่ยวข้อง พร้อมท้ัง สังเกต ตรวจร่างกายเด็กนักเรียนข้อมูลโรค มือ เท้า ปาก ค้นหาผู้ปุวยเพิ่มเติมในชุมชนทาการเก็บอุจจาระส่งตรวจหาเชื้อท่ีเป็นสาเหตุในการเกิดโรคคร้ังน้ีรวมท้ังศึกษา สภาพแวดล้อมทวั่ ไป อาคารสถานที่ หอ้ งน้า ห้องครวั สุขาภบิ าลต่างๆในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ คาบก ผลการสอบสวนพบว่า มีผู้ปุวยเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.คาบก ตาบลคาบก อาเภอคาชะอี จังหวัดมุกดาหารมี ผู้ปุวยโรคมือเท้าปากรวมจานวนท้ังสิ้น๙ราย อัตราปุวยร้อยละ 19.14 เป็นเพศชาย 7 ราย เพศหญิง 2 รายคิดเป็นสัดส่วน 1 : 0.28 อายอุ ยูใ่ นช่วง 1 ปี2เดอื น- 3ปี 7เดือน ซง่ึ ในปีน้ยี ังไม่เคยเกิดขึ้น ยืนยันได้ว่าเป็นการระบาดของมือเท้าปาก ในพื้นที่เกิดขึ้น จรงิ อาการทพ่ี บส่วนใหญ่ที่พบคอื มีแผลตุ่มแดงบรเิ วณมือและ เท้า ร้อยละ 100 แผลทีป่ าก ร้อยละ 55.55 มอี าการเข้าได้ตาม ลักษณะคลนิ กิ อาการตามนิยามโรคมอื เท้าปาก คอื มไี ข้ มีผ่ืนหรือแผลในชอ่ งปาก มีผนื่ หรือแผลบริเวณฝุามือ ฝุาเท้าและก้น ได้ส่ง ตรวจอุจาระทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารทีส่ ถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์สาธารณสุขกรมวิทยยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี๕ตัวอย่าง เพ่ือตรวจหาสารพันธุกรรมของโรคมือเท้าปากโดยวิธี PCR พบเชื้อกลุ่มเอ็นเตอโร สายพันธุกรรมของไวรัส coxsackie A16 ทง้ั 5ตัวอย่าง ผู้ปุวยรายแรกสวบสวนได้ว่า ไม่ได้เดินทางไปไหนแต่มีพฤติกรรมไม่ใส่รองเท้า และในพ้ืนที่ตาบล คาบกเคยพบผู้ปุวยอยู่ทั่วๆไป ใน๕ปีก่อน ซ่ึงน่าจะเป็นโรคประจาถ่ิน แล้วทาให้มีการแพร่เช้ือไปยังผู้ปุวยในศูนย์เด็กคาบก การ ถ่ายทอดเช้ือโรคครง้ั นเ้ี กิดจากพฤติกรรมการเล่นและคลกุ คลสี มั ผัสกันของกลุ่มเด็กท่ปี ุวยโดยผู้ปุวยจานวน3-4 คน มีความสัมพันธ์ กันคือชอบเล่นด้วยกัน นอนใกล้กัน และจากการที่เด็กเรียนห้องเดียวกัน ศูนย์เด็กเดียวกัน มีการทากิจกรรมร่วมกันคลุกคลีกัน ลักษณะการระบาดคร้ังน้ีเกิดเป็นกลุ่ม มีลักษณะการถ่ายทอดโรคแบบแบบแหล่งโรคร่วม ทีมSRRTตาบลคาบกได้ทาการควบคุม โรคโดยให้เดก็ ปุวยหยุดเรยี น ทาความสะอาดของใช้เด็ก ทา big clening ศพด.สามารถควบคุมโรคได้ ไม่ระบาดออกเป็นวงกว้าง และการเฝาู ระวงั เชิงรุก หลังผปู้ วุ ยรายสุดท้ายหายเป็นปกติ 2 อาทติ ย์ยังไม่พบผู้ปุวยรายใหม่ การสอบสวนคร้ังน้ีผู้ปุวยรายแรกใน เรื่องการทจี่ ะรบั เช้อื มาไม่มีข้อมูลหรือส่ิงที่ระบุได้ว่ารับเช้ือมาจากท่ีไหนจึงสันนิฐานว่าเชื้อโรคมือเท้าปากน่าจะเป็นเช้ือประจาถ่ิน ของตาบลคาบกข้อเสนอแนะครูผู้ดูแลเด็ก/เจ้าหน้าที่อบต.ควรตรวจร่างกายเด็กนักเรียนทุกๆเช้าก่อนเข้าชั้นเรียนทุกวันเป็นปกติ เพอื่ พบเดก็ ปวุ ยจะควบคุมโรคได้ทันทีอบต.คาบก ควรจดั หาวัสดุ อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการควบคุมโรคมือเท้าปากแนวทางปฏิบัติเม่ือพบ เดก็ ปุวยด้วยโรคตา่ งๆ ~ 22 ~

3_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคไขห้ วดั ใหญ่ ชนิด B ในโรงเรยี นประถมศกึ ษาแหง่ หนงึ่ อาเภอนคิ มคาสรอ้ ย จังหวัดมุกดาหาร ระหวา่ งวันที่ 20 กุมภาพันธ์ - 15 มีนาคม 2562 ศราวุธ คาภีระ ,จิรธดิ า พอ่ อามาตย์ กมั ปนาท โคตรพันธ์,จรี กานต์ ภมู ิลาปราณี คามนั่ รพ.สต.หนองหล่ี , สสอ.นิคมคาสร้อย ,รพ.นิคมคาสรอ้ ย บทคัดยอ่ ความเป็นมา วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09.08 น. ทีม SRRT อ.นิคมคาสร้อย ได้รับแจ้งจากงานระบาด โรงพยาบาลนิคมคาสร้อยว่า พบผู้ปุวยเข้ารับการรักษาเป็นผู้ปุวยใน เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ เวลา 18.00 น. แพทย์ วินิจฉัย สงสัยไข้เดงกี อยู่บ้านเลขท่ี 135 ม.11 ต.นิคมคาสร้อย และเรียนที่ โรงเรียนบ้านคาบง ต.โชคชัย อ.นิคมคา สรอ้ ย ได้แจง้ ทีม SRRT ต.โชคชัย อ.นิคมคาสร้อย เวลา 09.40 น. และออกสอบสวนโรค ร่วมกับ ทีม SRRT อ.นิคม คาสรอ้ ย ระหว่างวนั ท่ี 4 กมุ ภาพันธ์ 2562 เวลา 13.00 น. ถงึ วันที่ 15 มีนาคม 2562 วัตถุประสงค์ เพ่ือยืนยันการระบาดและการวินิจฉัยโรค เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยาการกระจาย ของ โรค และ เพอื่ เฝูาระวงั ปูองกันและควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอื้ ในพ้ืนที่ วิธีการศึกษา การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (Descriptive study) โดย ศึกษาข้อมูลท่ัวไปทบทวน ข้อมูลเฝูาระวังโรค การดาเนินการค้นหาผู้ปุวยเพิ่มเติม (Active case finding) เคร่ืองมือที่ใช้ แบบสอบสวนและคัด กรองโรคไข้หวัดใหญ่ จากสานักระบาดวิทยา โดยกาหนดนิยามผู้ปุวยท่ีปุวยระหว่างวันท่ี 19 มกราคม 2562 - 12 กุมภาพันธ์ 2562 ในอาเภอนิคมคาสร้อย และการศึกษาทางห้องปฏิบัติการ ทาการเก็บตัวอย่าง Nasopharyngeal swab เพื่อส่งตรวจวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสใหญ่ด้วยวิธี Real time RT-PCR ท่ี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สอบถามข้อมูลด้านพฤติกรรม กิจกรรมประจาวันในแต่ละวัน และสารวจส่ิงแวดล้อมของ โรงเรียนและห้องทท่ี ากิจกรรมประจาวัน ผลการสอบสวนโรค จากการสอบสวน พบผู้ที่มีอาการเข้าได้กับนิยามผู้ปุวย ท้ังหมด 36 ราย อัตราปุวยร้อย ละ 8.5 แบ่งเป็นผู้ปุวยสงสัยร้อยละ 66.66 ผู้ปุวยท่ีเข้าข่าย ร้อยละ 27.78 และผู้ปุวยยืนยันร้อยละ 5.56 อาการและ อาการแสดงทางคลินิกของผู้ปุวยที่พบมากที่สุด ได้แก่ ไข้ ไอ และปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ 100 รองลงมา ได้แก่ มี น้ามูก ปวดศรีษะ เจ็บคอ มีเสมหะ หอบเหน่ือย หายใจลาบาก และถ่ายเหลว ร้อยละ 83.33, 25.0, 19.44, 8.33 5.56, 2.78 2.78 ตามลาดับ สัดส่วนผู้ปุวยเพศชายต่อเพศหญิงเป็น 1.2 :1 จาแนกรายชั้นพบว่านักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 4/1 (ป.4/1) มีอัตราการปุวยมากที่สุด ร้อยละ 16.13 รองลงมาเป็นชั้นป.4/2 และ ป.5/2 ร้อยละ 15.13 และ 14.29 ตามลาดบั เม่ือพจิ ารณาจานวนในแต่ ละห้องของแต่ละระดับชั้นพบว่า มีเพียงช้ัน ป.1/2 เท่าน้ันที่ ไม่พบผู้ปุวย ส่วนห้องเรียนอ่ืนๆ มีผู้ปุวยกระจายไปทุกห้อง ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เก็บตัวอย่างโดยวิธี Nasopharyngeal swab จากผู้ปุวยท่ีเข้าได้ตาม นิยาม และส่งตรวจท่ีสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งวิเคราะห์ด้วย วิธี Real-Time PCR ผลการตรวจพบสาร ~ 23 ~

3_oral_invest พันธุกรรมของเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ ชนิด B ทั้ง 2 ราย ผลการสารวจส่ิงแวดล้อม จากการตรวจสอบการกระจายของ ผู้ปวุ ยตามแผนผังของ โรงเรยี นและสภาพแวดล้อมของโรงเรียน พบว่าพบผู้ปุวยกระจายอยู่ ทุกอาคารท่ีใช้เป็นอาคาร เรยี น แตจ่ ะพบมากทส่ี ุดในอาคารทเี่ ป็น ห้องเรียนสาหรบั ช้นั ป.4/1 และ ป.4/2 ข้อมูลด้านพฤติกรรม และกิจกรรม ทผ่ี ้ปู ่วยปฏบิ ตั ริ ่วมกนั ในชว่ งก่อนมกี ารระบาด หอ้ งเรยี นท่ใี ชร้ ว่ มกัน คือ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงอาหารมีแห่งเดียวเด็ก นักเรียนทุกชั้นจะน่ังกินร่วมกัน ไม่ได้แยกตามช้ันปีต่างๆ ส่วนห้องน้าและจุดบริการน้าด่ืม มีสองแห่งแยกระหว่าง อาคารเรียนชัดเจน โดยปกตินักเรียนต้องพก แก้วน้าส่วนตัวทุกคน การเดินทางมาโรงเรียน ผู้ปุวยร้อยละ 62.86 มา โดยใช้บรกิ ารจา้ งเหมารถรับส่งนักเรียนซ่ึงส่วนใหญ่เป็นรถสองแถวดัดแปลง รองลงมาผู้ปกครองมารับ ร้อยละ 25.71 และเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเอง ร้อยละ 11.43 โดยช่วงเวลาท่ีพบผู้ปุวยมากที่สุด คือ วันท่ี 4 -6 กุมภาพันธ์ 2562 มผี ปู้ ุวยจานวน 11 ราย แยกตามตาบลพบว่า ร้อยละ 41.67 เป็นผู้ปุวยท่ีมีภูมิลาเนาในตาบลนิคมคาสร้อย รองลงมา ร้อยละ 30.56 คือตาบลโชคชยั ตาบลกกแดง รอ้ ยละ 16.67 ตาบลนากอก และตาบลร่มเกล้า ร้อยละ 5.56 การดาเนนิ งานควบคมุ และปอ้ งกันโรค ออกตรวจคัดกรองนกั เรียนและบุคลากรในโรงเรียน พบเด็กนักเรียน ท่ีมีอาการตามนิยามโรคไข้หวัดใหญ่ ท้ังสิ้นจานวน 35 ราย ให้คาแนะนาแก่นักเรียน เกี่ยวกับการดูแลและรักษา สขุ อนามัยทีถ่ ูกต้อง เช่น การล้างมือด้วย สบู่ ทุกคร้ังก่อนและหลังรับประทานอาหาร ภายหลังการไอจาม การขับถ่าย สวมหน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงการสัมผัสอุปกรณ์ที่มี การใช้ร่วมกันเป็นจานวนมาก ไม่ใช้สิ่งของเครื่องใช้ที่อาจ ปนเปื้อน น้ามูก น้าลาย เสมหะ ร่วมกัน เช่น ช้อนส้อม จานชาม แก้วน้า ผ้าเช็ดหน้าและผ้าเช็ดมือเพ่ือปูองกันการ แพร่กระจายเช้ือ ประชุม EOC ระดับตาบล เพื่อวางมาตรการในการควบคุมโรคในโรงเรียน โดยมีสาธารณสุขอาเภอ นิคมคาสร้อย ผู้อานวยการโรงเรียน และคณะครู และทีม SRRT นิคมคาสร้อย โดยเน้นการคัดกรองเด็กปุวยทุกเช้า กอ่ นเข้าห้องเรียน และทาหนังสือแจ้งผู้ปกครองให้เด็กปุวยได้พักรักษาตัวที่บ้าน แต่พบว่าผู้ปกครองยังให้เด็กมาเรียน ตามปกติ ผู้อานวยการโรงเรียนจึงได้ส่ังให้โรงเรียนหยุดการเรียนการสอนเป็น เวลา 5 วัน เฝูาระวังคัดกรอง และ ติดตามผู้ปุวยรายใหม่ในโรงพยาบาลนิคมคาสรอ้ ย และทุก รพ.สต. ในเขต อ.นิคมคาสร้อย และอาเภอข้างเคียง ให้สุข ศึกษาประชาสมั พนั ธ์และข้อมูลทีถ่ ูกต้อง แก่ ผู้ปกครองนักเรียนและประชาชนในพื้นท่ีเพื่อลดความตระหนก โรงเรียน และ อบต.โชคชัย ร่วมกับรพ.สต.หนองหลี่ ไดจ้ ดั กจิ กรรมรณรงคท์ าความสะอาดโรงเรียน ข้อเสนอแนะ มาตรการปิดโรงเรยี นส่งผลกระทบต่อการระบาดครั้งนี้ โดยพบว่าหลังจากปิดโรงเรียนแล้วยัง พบผูป้ วุ ยแต่มีจานวนลดลง ดังนน้ั มาตรการน้จี งึ น่าจะเป็นประโยชน์ในแง่ของการควบคุมการระบาดในโรงเรียน กรณีท่ี เป็นนักเรียนปุวยด้วยโรคติดเช้ือ การสอบสวนและตรวจสอบการระบาดในโรงเรียนความสาคัญมาก ต่อการควบคุม การระบาดของโรคต่าง ๆ จะเห็นได้จากการระบาดคร้ังน้ีมีการรายงานการตรวจพบผู้ปุวยสงสัยโรคไข้เลือดออก ซึ่งมี ภูมลิ าเนาอยตู่ าบลนคิ มคาสร้อย แตเ่ รยี นทโ่ี รงเรียนในตาบลโชคชัย การออกสอบสวนโรคทาให้พบว่ามีการระบาดของ โรคไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนดังกล่าว ทาให้ทีมควบคุมโรคของอาเภอนิคมคาสร้อยสามารถเข้าควบคุมโรคได้อย่างไม่ ล่าช้าจนเกินไป และควรมีการพัฒนาหรือปรับปรุงระบบเฝูาระวังโรคและภัยสุขภาพให้มีความไวและบูรณาการกับ หน่วยงานท่มี ีประชากรอยู่กนั เป็นกลมุ่ ก้อน เช่น โรงเรียน โรงงาน ให้สามารถตรวจพบความผิดปกติของการเจ็บปุวย เป็นกลุ่มก้อนไดเ้ ร็วขึน้ ~ 24 ~

4_oral_invest การสอบสวนการเสียชีวิตสงสยั จากการรับประทานเห็ดพิษ อาเภอเมืองอานาจเจริญ พฤษภาคม 2561 อภชิ ัย สะดวี งศ์* พลอย พงษ์วิทยภานุ* อารยา ดารุณ* รัตตยิ าภรณ์ ธรรมปญั ญา* สพุ ฬิ ชาย์ แก้วทอง* ณรงค์ศกั ด์ิ นวลทอง** ทนิ กร ปราณี** *โรงพยาบาลอานาจเจรญิ **สานกั งานสาธารณสุขอาเภอเมืองอานาจเจรญิ บทคัดยอ่ ความเป็นมา เมื่อวันท่ี 24 พ.ค. 2561 เวลาประมาณ 15.45 น. งานควบคุมโรค รพ.อานาจเจริญ ได้รับ แจ้งทางโทรศัพท์จากพยาบาลประจาห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน ว่ามีผู้ปุวยท่ีสงสัยจากการเบ่ือเห็ด รับการรักษาอยู่ที่ห้อง อุบัติเหตุและฉุกเฉิน จานวน 2 ราย เจ้าหน้าท่ีงานควบคุมโรคจึงได้ไปตรวจสอบเหตุการณ์และสอบสวนเพิ่มเติมใน เวลา 16.00 น. และไดป้ ระสานไปยังทมี SRRT อาเภอเมอื งอานาจเจรญิ รว่ มทาการสอบสวนในพ้นื ที่ระหว่างวันที่ 25- 28 พ.ค. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อยืนยันการเกิดโรคและการวินิจฉัย 2. เพื่อศึกษาระบาดวิทยาการเกิดโรค การดาเนินโรคด้านบคุ คล เวลา สถานที่ 3. เพอื่ กาหนดแนวทาง มาตรการปอู งกันควบคุมโรคทถี่ ูกต้องเหมาะสม วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาและระบาดวิทยาเชิงสารวจ รวบรวมข้อมูลการ เจบ็ ปวุ ยและการรกั ษาจากเวชระเบยี นผู้ปวุ ยของโรงพยาบาลอานาจเจริญ การสัมภาษณ์บุคคลในครอบครัว ญาติและ ผู้เกยี่ วข้อง การศึกษาสิ่งแวดลอ้ ม การศกึ ษาทางห้องปฏบิ ัติการ การศึกษาขอ้ มูลประวัติการเกิดอุบัติการณ์การเบ่ือเห็ด พิษจากพ้ืนทีต่ า่ งๆในเขตจงั หวัดอานาจเจริญ และจังหวัดใกล้เคียง การคน้ หาผู้ปวุ ยเพม่ิ เตมิ ในชุมชน ผลการสอบสวน พบผู้เสียชีวิต 1 ราย เป็นเพศชาย อายุ 57 ปี 5 เดือน อาศัยอยู่บ้านเลขท่ี 549 ม.13 ต. บุ่ง อ.เมือง จ.อานาจเจริญ ผู้เสียชีวิตมีโรคประจาตัว คือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือด สมองตีบ จากการสอบถามทราบว่า เมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2561 ญาติของผู้เสียชีวิตได้ไปเก็บเห็ดนามาปรุงเป็นอาหาร และนามารับประทานร่วมกัน 5 คนในเวลาประมาณ 19.00 น. อาหารม้ือน้ีปรุงจากเห็ดต่างๆ คือ เห็ดถ่าน เห็ดก่อ เห็ดน้าหมาก และเห็ดไค ต่อมาเวลาประมาณ 23.30 น. ภรรยาของผู้เสียชีวิต มีอาการคล่ืนไส้ อาเจียนหลายครั้งจน นับไม่ได้ ปวดท้อง ปวดศีรษะ ท้องเสีย ถ่ายเป็นน้ามากกว่า 10 ครั้ง แต่ยังไม่ได้ไปหาหมอ จนวันท่ี 24 พ.ค. 61 เวลา 12.15 น. มีอาการอ่อนเพลียมาก ญาติจึงพาไปท่ีโรงพยาบาล แพทย์ได้ตรวจและวินิจฉัยเป็น Acute Gastroenteritis from Mushroom ในขณะเฝูาภรรยาอยู่ท่ีโรงพยาบาล เวลา 15.30 น. ผู้เสียชีวิตมีอาการปวด ศีรษะ ปวดตามตัว ปวดท้ายทอยอย่างมากจนหน้ามืด มีอาการจุกแน่นท้อง ญาติจึงได้แจ้งให้แพทย์ได้ตรวจอย่าง ละเอียด แพทย์วินิจฉัยเป็น Mushroom Poisioning และให้รับไว้ท่ีโรงพยาบาล วันที่ 25 พ.ค. 61 ประมาณ 10.00 น. อาการของผู้เสียชีวิตไม่ดีข้ึน มีอาการปวดศีรษะรุนแรงโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอย จุกท้อง ปวดแน่นท้อง กระสับกระสา่ ย ประมาณ 19.00 น. เหนื่อยหอบ หายใจไม่ปกติ ไม่สนองตอบ แพทย์ส่ังใส่ Tube 23.45 อาการไม่ดี ~ 25 ~

4_oral_invest ขน้ึ วดั ชีพจรไม่ได้ หมดสติ หวั ใจหยุดเต้น CPR 2 ครง้ั ไม่เปน็ ผล และเสยี ชีวิตประมาณ 01.00 น. แพทย์วินิจฉัย Toxic Hepatitis (Mushroom Poisioning) ร่วมกับ ARF, Severe metabolic acidosis, STEMI, Cardiac arrest, DM type , HT, DLD, old CVA สาหรับภรรยาผ้เู สียชีวิต รกั ษาหายเปน็ ปกติ และพบผู้ปวุ ยรายอนื่ ในชุมชนอีก 3 ราย ทุก รายมีอาการเพียงเล็กน้อยและหายเป็นปกติ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สาคัญ BUN 40 mg/dL, Creatinine 49.4 mg/dL, SGOT(AST) 1590 U/L, SGPT(ALT) 510 U/L และผลการตรวจเห็ดตัวอย่าง พบเห็ดที่ทาให้เกิดพิษ จานวน 3 ตัวอย่าง ข้อมูลอุบัติการณ์การเบ่ือเห็ดย้อนหลัง 5 ปี อ.เมืองอานาจเจริญ พบ 10 เหตุการณ์ 6 ตาบล เสยี ชวี ิต 2 ราย ปี 2561 พบแล้ว 6 เหตุการณ์ สรุป วิจารณ์ และข้อเสนอแนะ ผู้ปุวยเสียชีวิตจากการรับประทานเห็ดพิษ เห็ดสงสัยท่ีน่าจะเป็นสาเหตุ มากที่สุดคือ เห็ดถ่าน/เห็ดถ่านเลือด ผลการตรวจพบมีพิษร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต ผลการสอบสวนเป็นเพียงข้อ สันนิษฐานเท่านั้น ซ่ึงผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการสามารถเป็นหลักฐานอ้างอิงที่ใกล้เคียงท่ีสุด อย่างไรก็ตามมีเห็ด อีกหลายตัวอย่างท่ีไม่สามารถตรวจพิสูจน์ได้ เกิดจากความผิดพลาดในการเก็บตัวอย่าง ปัจจัยอื่นที่อาจส่งเสริมหรือ สนบั สนุนให้เสยี ชวี ติ เช่น ภาวะโรคประจาตัวหลายอย่าง เพื่อปูองกันการเกิดเหตุซ้า ควรมีการประชาสัมพันธ์เน้นย้า ใหป้ ระชาชนมีความตระหนกั ถงึ พษิ ของเหด็ ปุา ระมดั ระวงั การนาเหด็ ปาุ มาปรุงเป็นอาหาร หากพบว่ามีอาการเบ่ือหรือ มีอาการผิดปกติหลังรับประทาน ควรรีบไปพบแพทย์ทันที หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรจัดทาปูายประกาศเตือน ประชาชนถึงอนั ตรายของเหด็ พษิ การระมดั ระวงั ในการเลือกเห็ดชนิดตา่ งๆ ตดิ ไว้ในบริเวณท่ีชดั เจน สงั เกตเหน็ ไดง้ า่ ย ~ 26 ~

5_oral_invest รายงานสอบสวนการระบาดของโรคหัดในหญิงตั้งครรภ์ ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม จังหวดั ยโสธร เดือนมกราคม 2562 แมน แสงภักด1์ิ , สมพร จันทรแ์ กว้ 2, กลั ยพัทธ์ เตโช2, สกุ ญั ญา คาพัฒน1์ , สาวติ รี ประทมุ ภาพ2, ชลลดา สายทศั น1์ , อุเทน จันทรไ์ ข3 และคณะ4 1สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั ยโสธร 2โรงพยาบาลยโสธร 3 สานักงานสาธารณสุขอาเภอกดุ ชุม 4SRRTโรงพยาบาลยโสธร บทคัดย่อ ความเปน็ มา เม่อื วนั ที่ 20 มกราคม 2562 เวลา 14.20 น. กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สานักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ได้รับการแจ้งจากกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลยโสธร ได้รับรายงานทางโทรศัพท์ ว่า มีผู้ปุวย สงสัยโรคหัด จานวน 1 ราย กาลังรักษาในโรงพยาบาลยโสธรในตึกสูติกรรม โดยทีมสอบสวนโรคได้ดาเนินการ สอบสวน ควบคุมโรค วัตถุประสงค์ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค ศึกษาลักษณะการเกิดและการกระจายของโรค คน้ หาแหลง่ โรคและวิธกี ารถ่ายทอดของการระบาด และกาหนดมาตรการปูองกันควบคุมโรค วิธีการศึกษา การศึกษาทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา กาหนดนิยามค้นหาผู้ปุวย/ผู้สัมผัสในครอบครัวและ โรงพยาบาล การตรวจยนื ยันการตดิ เช้ือไวรสั หัดด้วยการตรวจหา IgM ด้วยวธิ ี ELISA ผลการศึกษา พบวา่ ผูป้ ุวยรายแรกเปน็ เพศหญงิ อายุ 28 ปี อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ อาชีพเป็นพนักงานในโรงงานแห่ง หน่ึงท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาการและอาการแสดง คือ เริ่มมีไข้ ไอ วันท่ี 15 มกราคม 2562 (เดินทางกลางคืน และมีไข้) เริ่มมีผื่น วันท่ี 19 มกราคม 2562 เข้ารับการรักษาในวันที่ 20 มกราคม 2562 มีอาการไข้สูง (40 องศาเซน เซียส) ไอแห้ง มีผื่นตามใบหน้า ลาตัว แขนและขา ประวัติรับวัคซีนปูองกันหัด ไม่ชัดเจน ผู้ปุวยเดินมาถึงบ้านสามี ที่ ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม ในตอนเช้าวันที่ 16 มกราคม 2562 มีอาการไข้สูง กินยาลดไข้ไม่ดีข้ึนและเริ่มมีผื่น จึงมา รับการรักษาที่โรงพยาบาลยโสธร แพทย์วินิจฉัย DF และ R/O Measles คลอดบุตรในวันท่ี 20 มกราคม 2562 ซ่ึง บุตรมีอาการไข้ วันท่ี 23 มกราคม 2562 และมีผื่น วันที่ 27 มกราคม 2562 เก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจ ผลตรวจ Measles (Ig M) Positive ท้ังสองราย การค้นหาผู้ปุวย มีผู้สัมผัสร่วมบ้าน 3 ราย มีผู้ปุวย 1 ราย (บุตรท่ีคลอด) และ คน้ หาในโรงพยาบาลยโสธร จานวน 27ราย มีประวัติรับวัคซีนมาก่อน 17 ราย (ร้อยละ 62) เคยเป็นหัด จานวน 2 ราย (ร้อย ละ 7.40) ทุกรายไม่มีอาการเข้านิยามผู้ปุวยโรคหัด และโรงงานท่ีผู้ปุวยทางานก็ไม่มีผู้ปุวยเข้านิยาม ผู้ปุวยคลอดแบบแท้ง คุกคาม Threatened abortion ความครอบคลุมวัคซีนหัดในตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม ร้อยละ 95.96 ความ ครอบคลุมวคั ซีนหดั ในตาบลตาดทอง อาเภอเมือง รอ้ ยละ 97.44 มาตรการทีด่ าเนินการ คอื ให้สขุ ศกึ ษาครอบครัวของผู้ปุวย และผู้สัมผัสในโรงพยาบาล เฝูาระวังอาการของผู้สัมผัส ทุกราย และให้สถานพยาบาลทกุ แห่งในจังหวดั เฝูาระวังผู้ปวุ ยรายใหม่ จากการเฝูาระวังโรค 1 เดอื นไมพ่ บผูป้ ุวยรายใหม่ สรุปผล การระบาดคร้ังน้ีพบผู้ปุวยยืนยันโรคหัด จานวน 2 ราย การระบาดชนิดแหล่งโรคร่วมจากการ ถ่ายทอดเช้ือจากมารดาสู่บุตรจากการสมั ผสั ใหบ้ รกิ ารฉีดวัคซีน จานวน 20 ราย ผู้สมั ผสั ท้งั หมด 30 ราย คาสาคญั : หดั , หญงิ ตง้ั ครรภ,์ ยโสธร ~ 27 ~

6_oral_invest รายงานการสอบสวนผปู้ ่วยติดเช้อื ไขม้ าลาเรยี เสียชวี ติ อาเภอขุนหาญ จงั หวัดศรีสะเกษ ระหว่างวนั ท่ี 30 มกราคม - 30 มนี าคม 2562 ศริ ิมาศ ศริ ินยั *, เพ็ญศรี นรนิ ทร์**, ทินกร สมัญญา**, วีระศักด์ิ รกั ษาศรี*, ประสิทธ์ิ สมั ฤทธิ์*, ทมี ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินโรคไข้มาลาเรยี ตาบลบักดอง/ตาบลหว้ ยจนั ทร์*, มลู นธิ ริ กั ษไ์ ทย***, หน่วยควบคมุ โรคตดิ ต่อนาโดยแมลงจงั หวดั ศรีสะเกษ****,สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั ศรสี ะเกษ***** บทคดั ยอ่ ความเปน็ มา มาลาเรียเป็นโรคทเ่ี กดิ จากเช้ือปรสิต มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนาโรค แหล่งแพร่พันธุ์พบในพ้ืนท่ี ภเู ขาสูง ปุาทึบและสวนยางพารา เดือนกุมภาพันธ์ทีมสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็วอาเภอขุนหาญได้ตรวจจับการระบาดพบมี ผู้ปุวยต่ากว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี วันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์ระบาดวิทยาอาเภอขุนหาญรายงานพบผู้ปุวย ชายไทย อายุ 45 ปี อยตู่ าบลโนนสงู อาเภอขุนหาญ มาด้วยอาการไข้ ปวดทอ้ ง ตรวจพบเช้ือมาลาเรียฟาซิฟารัม จึงได้ ดาเนินการสอบสวนโรคในพ้ืนท่ี เพ่ือยืนยันการระบาดของ ค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเส่ียง ค้นหาผู้ปุวยเพิ่มเติมและดาเนิน มาตรการปอู งกนั ควบคุมโรค วิธกี ารศึกษา รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา(Descriptive Study) และการศึกษา ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ (Case – control study) โดยศึกษาในพ้ืนท่ีตาบลโนนสูงและตาบลห้วยจันทร์ อาเภอขุน หาญ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ 30 มกราคม – 30 มีนาคม 2562 เพ่ือค้นหาผู้ปุวยเพิ่มเติมโดยการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ(Thick Film/Thin Film) และการใช้ชุดตรวจมาลาเรียสาเร็จรูป เพ่ือยืนยันการติดเชื้อมาลาเรียและ ค้นหาผปู้ วุ ยจากกลมุ่ เสีย่ ง จานวน 153 ราย โดยใช้แบบสอบ รว.1 วิเคราะห์ค่า Odds ratio และ95% CI คานวณหา ความสัมพันธ์เบอื้ งต้น ผลการสอบสวน รายงานการสอบสวนผู้ปุวยติดเชื้อในตาบลห้วยจันทร์ อยู่ในแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์พนมดง รกั เขตปาุ สงวนแหง่ ชาติ ใกล้ชายแดนไทยกัมพูชา มกี ลุ่มเสยี่ งจานวน 141 ราย พบผู้ปุวยยืนยันทั้งหมด 12 รายอัตรา ปุวย 12.96 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต จานวน 1 ราย อัตราตาย 1.08 ต่อแสนประชากร พบติดเช้ือมาลาเรีย ไวแวกซ์ จานวน 10 ราย และตดิ เช้ือมาลาเรียฟาซิฟารัม จานวน 2 ราย เป็นผู้ปุวยเพศชาย ร้อยละ 100 พบผู้ปุวยใน กลุ่มอายุ >25-45 ปี (รอ้ ยละ 41.67) และกลุ่มอายุมากกวา่ 45 ปี ข้ึนไป (รอ้ ยละ50 ) เป็นส่วนใหญ่ ปัจจัยเส่ียงในการ ระบาดของโรค ไข้มาลาเรียคร้ังนี้คือการเดินทางเข้าไปพักค้างแรมในพื้นท่ีเสี่ยงโรคไข้มาลาเรีย (OR =17.2) (95% CI 1.9-110.4) และการปูองกันตนเองขณะอยู่ในพื้นท่ีเสีย่ งโรคไข้มาลาเรยี (OR=1.9) (95% CI 1.5-5.4) สรุป วิจารณ์และข้อเสนอแนะ ปัจจัยเสี่ยงของการระบาดคือการเดินทางเข้าไปพักค้างแรมในพื้นท่ีการ ระบาดของโรคไขม้ าลาเรียซ่ึงมยี งุ กน้ ปล่องเปน็ พาหะ มกี ารปูองกนั ตนเองแต่ยังครอบคลุมช่วงเวลาประกอบอาชีพ การ ทางานมาลาเรยี ชายแดนไทยกัมพูชาน้นั ตอ้ งอาศัยการจัดทาแผนและการกาหนดจุดเสี่ยงโรคไข้มาลาเรียต้องสอดคล้อง กับสภาพปญั หาของพื้นท่ี คาสาคัญ การระบาด, โรคไข้มาลาเรีย, ชายแดนไทยกัมพชู า ~ 28 ~

7_oral_invest รายงานสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคพษิ สุนขั บา้ บา้ นแหง่ หน่งึ ตาบลดงเจรญิ อาเภอคาเขื่อนแกว้ จงั หวดั ยโสธร วนั ท่ี 18-31 พฤษภาคม 2561 แมน แสงภักดิ์1, ประนอม ขวานทอง2, มะลณิ ี บตุ รโท3, จรรยา ดวงแก้ว1,สุกญั ญา คาพัฒน์1, สาคร ขอสุข2, และคณะ4 1สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ยโสธร 2โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลดงเจรญิ 3 โรงพยาบาลยโสธ 4SRRT จงั หวัดยโสธร/อาเภอคาเขื่อนแก้ว บทคดั ย่อ ความเปน็ มา ในวันท่ี 17 พฤษภาคม 2561 เวลา 09.50 น. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลดงเจริญ ได้รับ รายงานจากแผนกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลคาเขื่อนแก้ว ทางโทรศัพท์ว่า มีผู้ปุวยสงสัยติดเช้ือโรค พิษสุนัขบ้า ได้ส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลยโสธร จึงได้ออกปฏิบัติการสอบสวนโรคและควบคุมโรคเบื้องต้น แพทย์ วินิจฉัย somnolence, stuporand coma – Alteratiion ofconciousness, Unspecified R/O rabies infection วันท่ี 18 พฤษภาคม 2561 เวลา 09.30 น. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ได้รับแจ้งทางโทรศัพท์จากกลุ่มงาน เวชกรรมสงั คม โรงพยาบาลยโสธร วา่ ผ้ปู ุวยเสียชวี ติ แลว้ แพทย์วินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้า ทีมเฝูาระวังสอบสวนเคล่ือนที่ เร็วจังหวดั ยโสธรและอาเภอคาเขอ่ื นแกว้ จงึ ไดอ้ อกสอบสวนและควบคมุ โรคในระหวา่ งวนั ท่ี 18-31 พฤษภาคม 2561 วัตถุประสงค์ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคและการระบาดของโรค ค้นหาแหล่งรังโรคและวิธีการถ่ายทอดโรค ศึกษาขอบเขตการกระจายของโรค และกาหนดมาตรการปูองกันและควบคมุ โรค วธิ กี ารศึกษา ศกึ ษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ใช้แบบสอบสวนโรคพิษสุนัขบ้าเฉพาะรายในการเก็บข้อมูล สัมภาษณ์ผู้ ท่ีเกี่ยวข้องและบันทึกการรักษาในโรงพยาบาลคาเขื่อนแก้วและโรงพยาบาลยโสธร ค้นหาผู้ปุวยและผู้สัมผัสโรค เพม่ิ เตมิ ศกึ ษาทางห้องปฏิบัตกิ าร และสภาพส่งิ แวดลอ้ ม ผลการสอบสวนโรค ผู้เสียชีวิต เพศหญิง อายุ 67 ปี สถานภาพสมรสหม้าย อาชีพทานา มีบุตร3 คน เป็น หญงิ 1 คน และชาย 2 คน อาศยั อยบู่ า้ นชั้นเดยี วพนื้ ตดิ ดนิ บ้านแห่งหน่ึง ตาบลดงเจริญ อาเภอคาเข่ือนแก้ว จังหวัด ยโสธร ข้อมูลสุนัขที่กัดผู้เสียชีวิต เป็นสุนัขตัวที่ข่วนผู้เสียชีวิต เป็นลูกสุนัข อายุประมาณ 1 ปี ลักษณะผอมโซ เคย ได้รับการฉีดวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ้า 1 ครั้ง (ประมาณ 3 เดือน) ซ่ึงหลานของผู้เสียชีวิตเอามาจากญาติท่ีอาเภอ พนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด เดือนตุลาคม 2560 ผู้เสียชีวิตถูกสุนัขข่วนประมาณต้นเดือน มีนาคม 2561 ที่หลังมือขวา เป็นรอยถลอกเล็กน้อย ไม่มีเลือดออก หลังถูกสุนัขข่วนไม่ได้ล้างแผลหรือใส่ยาฆ่าเชื้อหรือฉีดวัคซีน เพราะคิดว่าถูก สุนัขข่วนเล็กน้อยและเป็นสุนัขของตัวเอง ประวัติการสัมผัสและปุวย เตือนตุลาคม 2560 รับสุนัขมาจากจังหวัด รอ้ ยเอด็ ปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2561 สุนัขมีอาการกระวนกระวายและหายออกจากบ้าน โดยต้นเดือนมีนาคม 2561 สุนขั ไดก้ ลบั มาบ้านมอี าการกระวนกระวาย ผ้เู สียชวี ติ ไดพ้ ยายามจะจบั สนุ ขั มาล่าม จึงถูกสนุ ขั ข่วนท่ีหลังมือขวา วันท่ี 16 พฤษภาคม 2561 มีอาการไข้ กลืนลาบาก จึงไปรับการรักษาท่ีคลินิกแพทย์และได้แนะนาให้ไปรักษาต่อที่ โรงพยาบาลคาเข่อื นแกว้ วันที่ 17 พฤษภาคม 2561 มอี าการกระวนกระวาย ต่ืนเต้น กลัวน้า กลัวลม ญาติได้พาไปที่ ~ 29 ~

7_oral_invest โรงพยาบาลคาเข่ือนแก้ว แพทย์วินิจฉัย somnolence, stuporand coma–Alteratiion ofconciousness, Unspecified R/O rabies infection และได้ส่งต่อรักษาท่ีโรงพยาบาลยโสธร และวันท่ี 18 พฤษภาคม 2561 เสียชวี ิตประมาณ 06.30 น. ผู้สัมผัสเส่ียงสูง ครอบครัวเดียวกัน 4 คน และมีญาติที่อยู่บ้านติดกัน 2 คน ทุกคนไม่ได้ ถูกสุนัขกัด/ข่วน หรือสัมผัส และค้นหาผู้สัมผัสโรคเพิ่มเติม คือ ญาติ จานวน 9 ราย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลคาเขื่อน แก้ว 13 ราย การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ สุนัขที่ข่วนผู้ปุวยเสียชีวิตไม่ได้ส่งตรวจเน่ืองจากหลังจากท่ีสุนัขได้ข่วน ผูเ้ สียชวี ติ แลว้ ไดห้ ายออกจากบ้าน ไม่สามารถตดิ ตามได้ แต่มีสนุ ัขอกี ตัวหนึ่งในหมู่บ้านที่เจ้าของให้ประวัติว่า ถูกสุนัข ตวั น้ีกดั และสนุ ัขไดเ้ สยี ชวี ิตแลว้ เม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม 2561 ซ่ึงสุนัขมีอาการคล้ายกับสุนัขท่ีเป็นโรคพิษสุนัขบ้า จึง ได้ผูกล่ามเชือกไว้จนสุนัขเสียชีวิตแล้วนาไปฝัง ทีมสอบสวนโรคจึงได้ประสานกับปศุสัตว์อาเภอคาเข่ือนแก้ว และขุด ซากสุนัขเพื่อตัดหัวส่งตรวจที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกเหนือตอนล่าง จังหวัดสุรินทร์ ผลการ ตรวจ พบเช้ือพิษสุนัขบ้าในหัวสุนัข และทีมควบคุมโรคจังหวัดและโรงพยาบาลยโสธรได้เก็บตัวอย่างจากผู้เสียชีวิต จานวน 2 คร้ัง คือ วันท่ี 17 พฤษภาคม 2561 ผู้เสียชีวิตยังมีชีวิตอยู่ เก็บตัวอย่างน้าลาย ปัสสาวะ และปมรากผม และเกบ็ หลังผู้เสียชวี ติ เสยี ชวี ติ ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2561 เก็บตวั อยา่ งจากเนื้อสมอง น้าลาย ปัสสาวะ และปมราก ผม ส่งตรวจท่ีศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผลการตรวจพบเชื้อไวรัสเรบีย์ในตัวอย่างเน้ือ สมอง และปมรากผม มาตรการควบคุมปูองกันโรคท่ีสาคัญ คือ จัดตั้งศูนย์โต้ตอบภาวะฉุกเฉินระดับอาเภอ และ ระดับตาบล ทาประชาคมร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน การค้นหาผู้สัมผัสเพิ่มเติมเคาะประตูบ้านในรัศมี 5 กิโลเมตรที่ยังไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับวัคซีนแต่ยังไม่ครบ ต้ังแต่ 1 ตุลาคม 2560 เป็นต้นมา สารวจจานวนสุนัข/แมว จัดลาดบั ความเรง่ ดว่ นในการรับวคั ซนี ปอู งกันโรค การฉีดวัคซนี ปูองกนั โรคพิษสนุ ขั บา้ ให้กับสัตวเ์ ลีย้ ง ท้งั ส้ิน 1,390 ตัว ฉีดวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ้าในกลุ่มเสี่ยง จานวน 174 คน ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวในทุก หมบู่ ้าน โดยเนน้ ใช้คาถา 5 ย และให้ความรกู้ บั เดก็ นกั เรียน ในโรงเรยี น สรปุ ผล มีผปู้ ุวยยืนยันเสยี ชวี ติ ดว้ ยโรคพษิ สุนัขบ้า จานวน 1 ราย จากสนุ ขั ของตนเองข่วนท่ีหลังมือ และการ ค้นหาผู้สัมผัสเพิ่มเติมท่ีเข้าข่ายต้องได้รับวัคซีน จานวน 174 คน และได้รับวัคซีนครบทุกราย และพบเชื้อในซากหัว สุนัข จานวน 1 หัว ฉีดวัคซีนปูองกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขและแมวซ้า ในรัศมี 5 กิโลเมตร จานวน 1,390 ตัว ขอ้ เสนอเรง่ ด่วนในจังหวดั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดยโสธรได้รายงานผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อสั่งการในการประชุม หัวหน้าส่วนระดับจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และทาหนังสือเวียนถึงหน่วยงานในสังกัดทุกแห่ง ดาเนินการ เฝูาระวงั สอบสวนและค้นหากล่มุ เส่ียงในพ้ืนที่ รวมทง้ั กาชบั การมารบั วัคซีนให้ครบ คาสาคญั : โรคพิษสุนัขบ้า, เสยี ชีวิต, จังหวัดยโสธร ~ 30 ~

8_oral_invest รายงานการสอบสวนโรคผ้ปู ว่ ยเป็นกลุ่มกอ้ นอาการคล้ายไข้หวดั ใหญ่ จากการเขา้ ค่ายฝกึ พิเศษของนักเรียนนายสบิ ตารวจ ในกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดนแห่งหนึ่ง ตาบลแจระแม อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี วันท่ี 14 มิถนุ ายน 2561 - 2 กรกฏาคม 2561 ธรี ศักดิ์ คันศร*/จินตนา เครือคุณ*/วนี สั โพธศ์ิ ิร*ิ */สุชาดามณี บุญจรัส**/จินดา คาแกว้ *** *โรงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหาวชริ าลงกรณ/**โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองแก ***วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั อุบลราชธานี บทคดั ยอ่ วันท่ี 2 กรกฎาคม 2561 งานระบาดวิทยา โรงพยาบาล ๕๐ พรรษาฯ ได้รับรายงานจากงานผู้ปุวยนอกว่ามี ผู้ปุวย เป็นกลุ่มก้อนอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ งานระบาวิทยาและผู้เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันสอบสวนโรค เพ่ือยืนยันการ วินจิ ฉัย การระบาดของโรค การเกิดโรคตามบุคคล เวลา สถานที่ และกาหนดมาตรการปูองกันควบคุมโรคต่อไป โดย ใช้วิธีการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา พบผู้ปุวยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ที่ค่ายฝึกพิเศษแห่งน้ี จานวน 20 ราย อัตราปุวยร้อยละ 18.18(110) เปน็ ผปู้ ุวยนอก 8 ราย และค้นหาไดเ้ พม่ิ เตมิ 12 ราย ผู้ปุวยทุกรายเป็นชาย ค่ามัธยฐาน อายุ 22 ปี (19 – 25ปี) โดยผู้ปุวยรายแรกเร่ิมปุวยเมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน 2561 จานวนสูงสุดเม่ือวันที่ 29 มิถุนายน 2561 รายสุดท้ายเม่ือวันที่ 1 กรกฎาคม 2561 โดยมีลักษณะการระบาดแบบมีแหล่งโรคร่วม (Common source) ผู้ปุวยส่วนใหญ่มีอาการ เจ็บคอ ร้อยละ 90 ไข้ ร้อยละ 70 ปวดศรีษะ ร้อยละ 65 วิงเวียน ร้อยละ 40 เหน่ือย อ่อนเพลีย ร้อยละ 35 และ มีน้ามูก ไอเสมหะ ร้อยละ 20 ตามลาดับ จากผลตรวจ Rapid Test 4 ตัวอย่าง ผลตรวจ เป็น Positive influenza a ทั้ง 4 ตัวอย่าง สาเหตุการระบาดที่เกิดข้ึนน้ี ผู้ปุวยรายแรก กลับบ้านช่วงวันหยุด แล้ว ปวุ ยกลับมาฝึกต่อ ไมไ่ ด้ลาหยุดเพราะต้องฝึกพิเศษในค่ายแห่งนี้ซ่ึงมีผลต่อผลการเรียน จึงไม่สามารถลาปุวยได้ ส่งผล ให้ผู้ปุวยแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น สภาพแวดล้อม ซึ่งอยู่กันอย่างแออัดในห้องนอน ห้องเรียน จึงเอื้อต่อการติดโรค ผู้ปุวยขาด ความตระหนัก ผปู้ ุวยไม่ใช้หน้ากากอนามัยเมื่อมเี จบ็ ปุวย ขาดการลา้ งมือด้วยสบู่ และรับประทานอาหารรว่ มกบั ผ้อู ่นื คา่ ยแหง่ น้ี ต้องปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมด้วยการทาความสะอาด หอนอน ห้องเรียน เปน็ ประจาทุกสปั ดาห์ ตอ้ งมีขนั น้า สบไู่ วใ้ ชอ้ ย่างเพียงพอ โดยไดแ้ นะนาครฝู กึ และนักเรยี นในคา่ ย ให้เป็นเครอื ข่ายเฝาู ระวังโรค คัดกรอง แยกผูป้ ุวย สง่ ต่อรักษาให้พบแพทย์โดยเรว็ แจ้งข่าวโดยเร็ว คาสาคญั : ไข้หวัดใหญ่, ค่ายฝกึ ~ 31 ~

ห้องประชุมที่ 3 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพ ประเภท Oral presentation เขตสขุ ภาพที่ 10 (ห้องที่ 2) ~ 32 ~

หอ้ งประชุมท่ี 3 นาเสนอผลงานสอบสวนโรคและภัยสขุ ภาพ ประเภท Oral presentation เขตสุขภาพที่ 10 (หอ้ งที่ 2) รหสั เรอ่ื ง ผ้นู าเสนอ หนา้ 9_oral_invest รายงานการสอบสวนผ้สู ัมผัสโรคลชิ มาเนยี ใน นางนวรตั น์ บุญกณั หา 34 นกั ศึกษาวิทยาลยั เกษตรกรรมและเทคโนโลยีจงั หวัด นิยาวัน เลศิ ชาญ 35 ศรีสะเกษ ทเ่ี ดินทางกลับจากการฝึกประสบการณ์ ณ รวิณัฐ บษุ บรรณ์ 36 ประเทศอสิ ราเอล 10_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคอาหารเปน็ นายเอกชยั งามแสง 38 พษิ บ้านคาพอก หมู่ท่ี 5 อาเภอหนองสูง จังหวดั นางสาวมะลณิ ี บตุ รโท 39 มุกดาหาร วันที่ 6-10 ตุลาคม ๒๕๖๑ เยาวพา เสนสร 41 11_oral_invest การสอบสวนวณั โรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรง มาก(XDR-TB) ในหมู่บา้ นแห่งหนึง่ อาเภอเดชอดุ ม นายอภิเดช สาระแสน 43 จงั หวัดอุบลราชธานี ในวันที่ 9 กมุ ภาพนั ธ์– 31 ชุตกิ าญจน์ มงคลชยั พาณชิ ย์ 45 มนี าคม 2562 12_oral_invest รายงานสอบสวนโรคอาหารเปน็ พิษโรงเรียนแหง่ หนงึ่ (โรงเรยี นประจา) อาเภอเมือง จังหวดั มุกดาหาร ระหว่างวันท่ี 29-30 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ 13_oral_invest สอบสวนการระบาดของโรคไขห้ วัดใหญ่ในเรอื นจา แห่งหนึง่ อาเภอเมือง จงั หวดั ยโสธร เดือนเมษายน 2561 14_oral_invest การสอบสวนการระบาดของโรคไข้เดงกี่และโรค ไข้เลือดออกเดงกี่ ในบ้านศรแี ก้ว หมทู่ ี่ 1,6 และ 8 ตาบลศรีแก้ว อาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร วนั ที่ 19 มีนาคม – 9 พฤษภาคม 2562 15_oral_invest การสอบสวนการระบาดโรคอาหารเปน็ พิษ ใน โรงเรยี นชมุ ชนแห่งหน่งึ อาเภอนา้ ยนื จงั หวัด อบุ ลราชธานี ในวันที่ 26 - 28 กรกฎาคม 2561 16_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคชิคนุ กนุ ยา บ้านโตะ๊ ม.4 ต.โพธ์ชิ ยั อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ ระหว่างวนั ท่ี 3 มนี าคม – 15 มนี าคม 2562 ~ 33 ~

9_oral_invest รายงานการสอบสวนผ้สู ัมผัสโรคลชิ มาเนยี ในนักศกึ ษาวทิ ยาลยั เกษตรกรรมและเทคโนโลยจี งั หวดั ศรีสะเกษ ทเ่ี ดนิ ทางกลบั จากการฝึกประสบการณ์ ณ ประเทศอิสราเอล เดือนกนั ยายน 2561 นธิ ิกุล เต็มเอี่ยม, นวรัตน์ บญุ กณั หา, กุสมุ า มีศิลป,์ กิ่งแก้ว ทจี ันทกึ , พงศ์ศริ ิ ชดิ ชม โรงพยาบาลศรสี ะเกษ บทคัดย่อ ความเป็นมา : วันท่ี 12 กันยายน 2561 ทีม SRRT เมืองศรีสะเกษได้รับแจ้งจากสานักงานปูองกันควบคุม โรคท่ี 10 อุบลราชธานี วา่ พบผปู้ ุวยลิชมาเนยี รับการรักษาท่ีโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี เป็น นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยีร้อยเอ็ด ท่ีเดินทางกลับจากฝึกงาน ณ ประเทศอิสราเอล ร่วมกับเพ่ือน นักศกึ ษาจากจังหวัดศรสี ะเกษ วิธีการศึกษา :การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือยืนยันการวินิจฉัยและการ ระบาดของโรค อธิบายลกั ษณะการกระจายของโรคตามบุคคล สถานท่ี เวลา ค้นหาสาเหตุและแหล่งรับเช้ือ และหา แนวทางมาตรการควบคุมและปูองกันการระบาดของโรค รวบรวมข้อมูลและค้นหาผู้ปุวยเพ่ิมเติมในชุมชน (Active case finding) โดยใช้แบบสอบสวนโรคลิชมาเนียท่ีสร้างข้ึน เก็บรวบรวมข้อมูลในด้านบุคคล เวลา สถานที่ สัมภาษณอ์ าการและอาการแสดง ระยะเวลาสัมผัสแหล่งเส่ียง พฤติกรรมเส่ียง เวลาเร่ิมปุวย โดยใช้นิยาม นักศึกษา วทิ ยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยีศรีสะเกษและล่าม หลักสูตร ปวส.สาขาพืชศาสตร์ มีประวัติไปฝึกงานที่เขตอารา วา ประเทศอิสราเอล ระหว่าง 1 กรกฎาคม 2560 – 20 มิถุนายน 2561 หรือผู้ได้รับเลือดท่ีบริจาคโดยนักศึกษา วิทยาลยั เกษตรกรรมและเทคโนโลยีศรสี ะเกษทีก่ ลบั จากฝึกงาน ณ ประเทศอิสราเอล ศึกษาสิ่งแวดล้อม ผลการตรวจ ทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ การศึกษาทางกีฏวทิ ยา ผลการศึกษา : พบผู้สัมผัสโรคลิชมาเนียมีผลตรวจพบเช้ือเป็นเพศชาย อายุ 20 ปี 2 คน ไม่มีอาการปุวย มีประวัติพักท่ีฟาร์มอินผลัมและฟาร์มระบบปิดปลูก มะเขือเทศ มะเขือดาและต้นหอม ท่ีโมชาร์ฟ Iddan ประเทศ อิสราเอล และผ้ปู ุวยทีไ่ ดร้ ับเลือดจากผูต้ ิดเช้อื ท้ังสองคนไมม่ ีการตดิ เชื้อ สรุป วิจารณ์และข้อเสนอแนะ: การติดเชื้อลิชมาเนีย เป็นการนาเข้าเช้ือจากประเทศอิสราเอล และน่าจะ เป็นการติดเชื้อ L. major ท่ีแสดงอาการ Cutaneous leishmaniasis (CL) ที่มีการระบาดในเขตอาราวา Arava ท่ี นักศึกษาไปฝึกงาน และไม่มีความเสี่ยงท่ีจะถ่ายทอดเชื้อในพ้ืนท่ี เน่ืองจากล้ินฝอยทรายที่สามารถนาเชื้อ L. major ในประเทศอิสราเอล และล้ินฝอยทรายท่ีสารวจพบในจังหวัดศรีสะเกษมีความแตกต่างกัน และพบว่า ผู้ติดเชื้อมีผล ตรวจเลือดเป็นลบเมื่อเดินทางออกจากพ้ืนท่ีเส่ียง 4 เดือน โดยไม่ได้รับการรักษาด้วยยา ดังนั้นก่อนเดินทางไปฝึกงาน ควรตรวจสอบข้อมูลการระบาดของโรคในประเทศอิสราเอล และจัดการให้ความรู้การปูองกันโรคก่อนเดินทางและ เม่ือเดินทางกลับมาถึงประเทศไทยควรมีการเฝูาระวังต่อเน่ืองและงดบริจาคเลือด 1 ปี และควรมีการคัดกรองการ เดินทางกลับจากตา่ งประเทศก่อนการบริจาคเลือดภายใน 1 ปี เพื่อประเมินความเส่ียงต่อการติดเช้ือจากการรับเลือด ต่อไป คาสาคัญ: ลชิ มาเนยี การรบั เลอื ด ~ 34 ~

10_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษบ้านคาพอก หมู่ท่ี 5 อาเภอหนองสงู จังหวดั มกุ ดาหาร วนั ที่ 6-10 ตุลาคม 2561 นยิ าวัน เลิศชาญ รพ.สต.บ้านคาพอก สจุ ินดา สุวรรณไตรย์ สสอ.หนองสงู ดารณี บรุ ัตน์ โรงพยาบาลหนองสงู บทคดั ยอ่ ความเป็นมา เม่ือวันที่ 6 ตุลาคม 2561 เวลา 19.32 น. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านคาพอก ได้รับแจ้งจาก ศูนย์เฝูาระวังทางระบาดวิทยาอาเภอหนองสูง ว่าพบมีผู้ปุวยอาหารเป็นพิษ จานวน ๕ ราย ท่ีบ้านคาพอก หมู่ท่ี 5 ตาบลโนนยาง อาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร มาด้วยอาการถ่ายเป็นนา ๑๐ คร้ัง ปวดท้อง คล่ืนไส้ อาเจียน อ่อนเพลียมา admit 5 ราย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านคาพอก(เจ้าหน้าท่ีระบาด) ได้โทรศัพท์แจ้ง อสม.และผู้นาชุมชน ลงไปตรวจสอบ และสอบถามเบ้ืองตน้ ในเช้าวันที่ 7 ตุลาคม 2561 เวลา 07.30 น.และทีม SRRT โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านคาพอก ไดเ้ ขา้ ไปดาเนนิ การตรวจสอบและสอบสวนโรคและดาเนนิ การควบคุมโรคในวนั ท่ี 7 ตุลาคม 2561 เวลา 08.00 น. ผลการสอบสวน การสอบสวน มีวัตถุประสงค์เพ่ือยืนยันการวินิจฉัยการระบาดของโรค ลักษณะการเกิดโรค หาสาเหตุ ของการระบาด แหลง่ โรคและวิธีการถ่ายทอดโรค เพ่ือหาแนวทางในการปูองกันและควบคมุ การระบาด ทาการศึกษาระบาดวิทยา เชิงพรรณนาผลการสอบสวนโรคปรากฏว่า มีผู้ปุวยท้ังหมด 9 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต ผู้ปุวยส่วนใหญ่มีอาการ อ่อนเพลีย(100%) คลน่ื ไสอ้ าเจียน (100%) รองลงมาคือ มีอาการถา่ ยเหลว(25%) ตามลาดับ อตั ราส่วนเพศชายปุวยต่อเพศหญิง 1 : 1 อายุเฉล่ีย 44 ปี อายุสูงที่สุด คือ 77 ปี น้อยท่ีสุด 2 ปี ระยะเวลาที่ปุวยต้ังแต่ 19.00 น.ของวันที่ 6 ตุลาคม 2561 ถึง 08.20 น. ของวันท่ี 10 ตุลาคม 2561 สาเหตขุ องการเกดิ โรค เนื่องจากผลการตรวจวิเคราะห์อาหารที่ผู้ปุวยรับประทานน้ัน เป็นก้อยเน้ือดิบ เก็บตัวอย่าง ในวันท่ี 7 ตลุ าคม 2561 นาส่งเก็บไว้ที่ห้องปฏิบัติการชันสูตรโรงพยาบาลหนองสูงเนื่องจากเป็นวันหยุดทาการเพื่อรอส่งไปตรวจ วิเคราะห์ที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อาเภอเมือง จังหวัด นนทบุรี และได้ Swab เขียง มีด มือผู้ปรุง นาดื่ม นาใช้ ส่งตรวจ จากการศึกษาทางระบาดวิทยาพรรณนา และระบาด วิทยาเชิงวิเคราะห์ พบว่าเป็นผู้ปุวยจานวน 9 คนจาก 18 คน ท่ีรับประทานก้อยเนื้อดิบ แกงไก่ ลาบหมู แกงหอยใส่หน่อไม้เค็ม สละไม่ได้ส่งตรวจเน่ืองจากรับประทานหมดและแจกจ่ายกันไปรับประทานหมดก่อนมีอาการ แต่คาดว่าน่าจะเกิดจากการ รบั ประทานอาหารทปี่ นเปอ้ื นพษิ ของเช้ือโรคในอาหารจากการปรุงไมส่ กุ และบูดเน่า เน่ืองจากผู้ปุวยทั้งหมดท่ีรับประทานได้ห่อไป กินที่บ้านแต่ไม่ได้อุ่นหรือทาให้ผ่านความร้อนก่อนและกินในช่วงเท่ียงถึงบ่ายและไม่ได้เก็บไว้ในตู้เย็น จากผลการตรวจทางห้อง วิเคราะห์หาเช้ือก่อโรค พบเช้ือ Plesiomonas shigelloides และ Salmonella sero group B จากการ ส่งตัวอย่างอาหารก้อย เน้ือดิบ สรุปผลการสอบสวน ผู้ปุวยอาหารเป็นพิษจากการรับประทานก้อยเนื้อดิบ ในครั้งนี้ พบผู้ปุวยจานวน 9 รายโดย แบ่งเป็นผู้ปุวยในจานวน 5 ราย ผู้ปุวยนอกจานวน 4 รายและไม่พบผู้ปุวยท่ีพบในพ้ืนท่ีท่ีมีอาการเข้าได้กับโรคอาหารเป็นพิษ เพิม่ เตมิ ลักษณะการระบาดเป็นแบบแหล่งโรคร่วมกนั (common source outbreak ) สาเหตุทที่ าใหเ้ กิดการระบาดคร้ังน้ี ได้นา สิ่งส่งตรวจ ภาชนะ น้าด่ืม พบเช้ือ Plesiomonas shigelloides และ Salmonella sero group B ดังน้ันเพื่อปูองกัน ไม่ให้เกิด การระบาดของโรคนี้อกี ควรเนน้ ใหค้ วามรแู้ มค่ รวั ครูผู้ดูแล การทาความสะอาดภาชนะใสอ่ าหาร แกว้ นา และนาดื่มเพื่อให้ความรู้ ผู้ปรุงอาหารอาหารใหถ้ กู สุขลกั ษณะและใส่ใจในคุณภาพของอาหารให้มีความสะอาดและมคี ุณภาพก่อนนามาปรุงทุกครั้ง ในการนี้ ทีม SRRT ได้ดาเนินการควบคุมโรคในพื้นที่ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2561 และเฝูาระวังโรคถึงวันที่ 10 ตุลาคม 2561 ไม่พบผู้ปุวย เพิม่ เตมิ สถานการณส์ ู่ปกติ ~ 35 ~

11_oral_invest การสอบสวนวณั โรคด้อื ยาหลายขนานชนิดรนุ แรงมาก(XDR-TB) ในหมู่บ้านแหง่ หน่งึ อาเภอเดชอดุ ม จังหวัดอุบลราชธานี ในวันท่ี 9 กุมภาพนั ธ์– 31 มนี าคม 2562 รวิณัฐ บษุ บรรณ์* พพิ ัฒน์ สุขเจรญิ *ถาวร จานงค์ *** กนกพร ชานาญเวช* วราภรณ์ สมดี* ชาครติ เชือ้ ชม** ทรงพล ศรีแกว้ **สิรริ ตั น์ บุตรแสน** *โรงพยาบาลเดชอดุ ม ** โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลม่วง *** สานักงานสาธารณสขุ อาเภอเดชอุดม บทคดั ย่อ ความเป็นมา:วันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 11.51 น. งานปูองกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา ได้รับแจ้งจาก คลินิกโรคติดต่อ ว่าพบผลการตรวจยืนยันวัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก(XDR-TB) และมีผลการทดสอบ ความไวต่อยา ได้รบั รายงานผลทางอีเมล ในวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.19 น. จากสานักงานปูองกันควบคุมโรค ท่ี 10 อบุ ลราชธานี ดังนนั้ ทีมวัณโรคและ พ.ร.บ.โรคตดิ ต่อ พ.ศ.2558 สสจ.อุบลราชธานี ทีม SAT สสจ.อุบลราชธานี ทมี สหวิชาชีพ รพร.เดชอดุ ม ทมี SRRT อาเภอเดชอุดมและทีม SRRT ตาบลม่วง จึงได้ดาเนินการสอบสวนโรคเบ้ืองต้น ในวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 14.30 น. โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือวางแผนเตรียมความพร้อมพื้นท่ีในการดูแลผู้ปุวย และหามาตรการในการปูองกัน ควบคมุ โรค และค้นหาผ้สู ัมผัสในชุมชน วิธกี ารศกึ ษา:รูปแบบการศกึ ษาเปน็ การศึกษาระบาดวทิ ยาเชงิ พรรณนา ศึกษาการกระจายของโรคตามบุคคล เวลา สถานที่ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือยืนยันผลการวินิจฉัย ค้นหาปัจจัยเสี่ยงและแหล่งแพร่กระจายของโรค ค้นหา กลุม่ เส่ยี งและผปู้ ุวยเพิม่ เติมเพ่ือหามาตรการปูองกนั และควบคุมของโรค ผลการสอบสวน:พบผู้ปุวยยืนยันวัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก(XDR-TB) จานวน 1 ราย ผู้ปุวย เพศชาย อายุ 36 ปี สถานภาพโสด เป็นบุคคลพิการด้านการได้ยินตั้งแต่อายุ 4 เดือน เป็นบุตรลาดับท่ี 4 จากทั้งหมด 5 คน ปัจจุบันอาศัยอยู่ อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี ปัจจุบันไม่ได้ประกอบอาชีพ ผู้ปุวยอาศัยอยู่ที่ช้ันสองของบ้าน ส่วนใหญช่ อบแยกตัวอยู่คนเดียว ชอบหาวัตถุดิบตามธรรมชาติมาประกอบอาหารคนเดียว แต่ผู้ปุวยใช้ห้องน้าร่วมกับ คนอืน่ ในครอบครัว ปัจจัยเส่ียงและแหล่งแพร่กระจายของโรค พบว่า ปี 2551 ผู้ปุวยเคยมีอาชีพรับจ้างทางานบนเรือ ในจงั หวัดเขตภาคกลางซ่ึงเป็นพื้นที่ชุกของวัณโรคดื้อยา หลังจากกลับมาพบว่าปุวยเป็นวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิด รุนแรง (pre XDR-TB) หลงั จากน้นั ผู้ปุวยก็เข้ารับการรักษาวัณโรคที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม แต่ผู้ปุวย มีประวัตกิ ารรับประทานยาไมส่ ม่าเสมอ และขาดการรักษา จึงอาจเป็นสาเหตุของการติดเช้ือวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ชนิดรุนแรงมาก(XDR-TB)ในครั้งน้ี ผลการค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านมี ทั้งหมด 9 คน เป็นผู้ใหญ่ 4 คน เด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี จานวน 5 คน ผลการตรวจคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน โดยสอบถามตามแบบคัดกรอง, CXR, AFB, Molecular พบว่าผลปกตทิ กุ ราย สว่ น Case social contact มที ัง้ หมด 10 ราย มารับการตรวจคัดกรอง9 ราย คัดกรองผู้สัมผัส โดยสอบถามตามแบบคัดกรอง, CXR, AFB, Molecular พบว่าผลปกติทั้ง 9 ราย และไม่ได้รับการ Chest x-ray จานวน 1ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการต้ังครรภ์ และได้ดาเนินการตรวจคัดกรองและ Chest x-ray ในกลุ่มเสี่ยงท่ี อาศัยอยู่ในพื้นท่ีตาบลสมสะอาด หมู่ 5 จานวน 29 ราย ขณะน้ีอยู่ระหว่างรอผลการตรวจ และโรงพยาบาลได้เปิด ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) เพื่อรองรับการดูแล ผปู้ ุวยและแต่งตงั้ คณะกรรมการ ทมี สหสาขาวิชาชีพ ในการดูแลผู้ปุวย หามาตรการรว่ มกนั ในการปูองกัน ควบคุมวัณโรค ~ 36 ~

11_oral_invest วิจารณ์ผล 1. ผู้ปุวยเคยมผี ลยนื ยนั วา่ เปน็ วัณโรคดอ้ื ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (XDR-TB) เดิมต้ังแต่ปี 2553 แต่ไม่ได้ รับการรักษาตามสูตรยา XDR-TB นับรวมจานวน 9 ปี จึงทาให้มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อวัณโรคสู่ชุมชนเป็นบริเวณ กว้าง 2. กระบวนการยืนยันผลการตรวจความไวต่อยาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องล่าช้า ทาให้แผนการรักษาผู้ปุวยไม่ สอดคลอ้ งกับชนดิ ของวัณโรคท่ีผู้ปวุ ยเป็นอยู่ 3.ในอดีตแนวทางปฏิบัติการวินิจฉัยผู้ปุวยวัณโรค ยังไม่ได้รองรับการวินิจฉัยวัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิด รนุ แรงมาก (XDR TB) เหมือนในปัจจุบัน จึงทาให้การวินิจฉัยวัณโรคประเภท XDR TB ล่าช้า ซ่ึงแตกต่างจากปัจจุบัน ที่ผู้ปุวยวัณโรครายใหม่ได้รับการสนับสนุนให้ส่งเสมหะตรวจด้วยการเพาะเช้ือ และทดสอบความไวต่อยา ( Drug Susceptibility Test) ตัง้ แตเ่ ริม่ รกั ษา 4. ปัจจุบันมีความเข้มแข็งของกฎหมายในการบังคับใน พรบ.โรคติดต่อ เพ่ือควบคุมโรค ทาให้ผู้ปฏิบัติงาน สามารถปฏบิ ัติงานควบคุมโรคได้งา่ ยขึน้ ปญั หาและข้อจากดั ในการสอบสวนโรค: 1. เน่ืองจากวัณโรคมีระยะฟักตัวไม่แน่นอน ทาให้การสอบสวนวัณโรคด้านเวลา ซึ่งสัมพันธ์เช่ือมโยงต่อการ แพร่กระจายเชือ้ วณั โรคหรอื แหล่งโรคท่ผี ู้ปุวยรบั เชือ้ มาอาจไม่ชดั เจน เป็นอุปสรรคตอ่ การควบคุมโรค 2. ในอดีตยังไม่มีพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึ่งมีอานาจในการแยกกัก/กักกันให้ผู้ปุวยเข้ามารับ การรกั ษา ทาใหผ้ ูป้ วุ ยอาจเลอื กท่ีจะไมป่ ฏิบตั ติ ามคาแนะนาการรกั ษาตามแผนการรักษาของแพทย์ 3. ผู้ปุวยมีพัฒนาการช้าจากความพิการทางการได้ยินตั้งแต่เด็ก ซ่ึงอาจเป็นอุปสรรคเร่ืองการตัดสินใจรักษา วณั โรค 4. การกากับการกนิ ยา(DOT) โดยเจา้ หนา้ ทยี่ ังไม่เขม้ แข็งพอ 5. พบปัญหาการตีตราผู้ปุวยวัณโรค ทาให้ผู้ปุวยไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม ซ่ึงเป็นปัญหาในการนาผู้ปุวย เขา้ สู่ระบบการรักษา สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ: วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก(XDR-TB) เป็นโรคติดต่ออันตราย ตาม พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึง่ สันนิษฐานว่าปจั จัยเสย่ี งและแหล่งแพร่กระจายของโรค อาจเกิดจากผู้ปุวยไปทางานในพ้ืนที่ท่ีมีความชุกของวัณโรค ด้ือยา และมีประวัติการรบั ประทานยาไม่สมา่ เสมอ ขาดการรกั ษา จึงอาจเป็นสาเหตุของการติดเชื้อวัณโรคดื้อยาหลาย ขนานชนดิ รุนแรงมาก(XDR-TB)ในครง้ั น้ี ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการสนบั สนนุ กระตุน้ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีดาเนินการกากบั การกนิ ยา(DOT) ในผ้ปู วุ ยวัณโรคใหเ้ ขม้ แขง็ มากข้นึ 2. สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ยให้เข้ามามสี ว่ นร่วมในการดูแลผปู้ ุวยและมกี ารกาหนดแผนปฏบิ ัตงิ านเรือ่ งการดูแลผู้ปุวยวัณ โรคทช่ี ัดเจน คาสาคญั วณั โรคดอ้ื ยาหลายขนานชนิดรนุ แรงมาก(XDR-TB),โรคตดิ ต่ออนั ตราย ตาม พรบ.โรคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 ~ 37 ~

12_oral_invest รายงานสอบสวนโรคอาหารเปน็ พิษโรงเรียนแห่งหน่ึง(โรงเรยี นประจา) อาเภอเมือง จังหวดั มุกดาหาร ระหวา่ งวันท่ี 29-30 พฤศจิกายน 2561 พนั ธ์ฉวี สุขบตั ิ ,เอกชยั งามแสง สสจ.มุกดาหาร วิทลู ย์ สุธรรมมา ,มยรุ ี กลางประพนั ธ์ รพ.มกุ ดาหาร บทคดั ยอ่ ความเปน็ มา เมือ่ วันที่ 29 พฤศจกิ ายน 2561 เวลา 19.05 น.ทีม SRRT กลมุ่ งานเวชกรรมสงั คม โรงพยาบาล มกุ ดาหาร ได้รบั แจง้ จากแผนกฉุกเฉนิ โรงพยาบาลมุกดาหาร วา่ มีเด็กนักเรียนโรงเรยี นโสตศึกษา มารับการรักษา ด้วย อาการถ่ายเหลว อาเจียน ประมาณ 30 ราย ทีม SRRT กลุ่มงานเวชกรรมสังคมฯ ได้แจ้ง SRRT กลุ่มงานควบคุม โรคติดตอ่ สสจ.มกุ ดาหาร เวลา 19.30 น.จึงออกสอบสวนโรครว่ มกัน เวลา 19.50 น. ผลการสอบสวน เมอื่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09.00-15.00 น. เด็กเร่ิมมีอาการปวดท้อง ถ่ายเหลว คล่ืนไส้ อาเจียน และมีจานวนเพ่ิมขึ้น ครูอนามัยจึงนาเด็กส่งโรงพยาบาลมุกดาหาร ในเวลา 19.00 น. ผลการสอบ สวบโรค มีผู้ปุวย (Passive Case) จานวน 45 ราย และค้นหาผู้ปุวยเพิ่มเติม(Active Case) จานวน 13 ราย รวม ผู้ปุวยท้ังหมด 58 ราย (จากนักเรียนประจาท้ังหมด 143 คน) คิดเป็นร้อยละ 40.56 เป็นเพศหญิง 42 ราย เพศชาย 16 ราย คิดเป็นสัดส่วนหญิงต่อชาย 2.63 : 1 ผู้ปุวย(Passive Case) จานวน 45 ราย แยกเป็นผู้ปุวยนอก จานวน 23 คน ผู้ปุวยใน จานวน 22 คน แยกตามกลุ่มอายุพบว่า อายุระหว่าง 7-19 ปี อายุเฉล่ีย 12.37 ปี อายุต่าสุด 7 ปี อายุ สูงสุด 19 ปี ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุ 15-19 ปี จานวน 20 ราย รองลงมา กลุ่มอายุ 5-9 ปี จานวน 14 ราย และ กลุ่ม อายุ 10-14 ปี จานวน 14 ราย ตามลาดับ แยกตามระยะเริ่มปุวย พบว่ารายแรกเร่ิมปุวยเวลา 09.00 น. รายสุดท้าย เวลา 18.00 น. ช่วงเวลาท่ีพบผู้ปุวยมากที่สุด ระหว่างเวลา 11.00-12.00 น. จานวน 17 ราย (ร้อยละ 29.31 ) รองลงมาคือช่วงเวลา 13.00-14.00 น. จานวน 13 ราย (ร้อยละ 22.41 ) ผลตรวจ Rectal Swab ผู้ปุวย จานวน 21 ราย พบเช้ือ 7 ราย เป็นเช้ือ Staphylococcus aureus จานวน 2 ราย(ชาย1หญิง1) เชื้อ Bacillus cereus group จานวน 3 ราย(หญิง) เชื้อ Aeromonas Veronii biovar sobrio จานวน 1 ราย(หญิง) และเช้ือ Salmonella spp. จานวน 1 ราย(หญิง) สรุปผลการสอบสวน จากการสอบสวนโรค ยนื ยันวา่ เปน็ การระบาดของโรคอาหารเปน็ พษิ ในโรงเรยี นประจา ซ่ึงพบ ผู้ปุวยมีผู้ปุวยทั้งหมด จานวน 58 ราย เป็นผู้ปุวย (Passive Case) จานวน 45 ราย และค้นหาผู้ปุวยเพ่ิมเติม(Active Case) จานวน 13 ราย (จากนักเรยี นประจาทง้ั หมด 143 คน) คิดเป็นรอ้ ยละ 40.56 โดยแยกตามบุคคล เวลา สถานที่ เป็นเพศหญิง 42 ราย เพศชาย 16 ราย คิดเป็นสัดส่วนหญิงต่อชาย 2.63 : 1 ผู้ปุวย(Passive Case) จานวน 45 ราย แยกเป็นผู้ปุวยนอก จานวน 23 คน ผู้ปุวยใน จานวน 22 คน แยกตามอายุพบว่า อายุระหว่าง 7-19 ปี อายุเฉลี่ย 12.37 ปี อายุต่าสุด 7 ปีอายุ สูงสดุ 19 ปี สว่ นใหญ่เป็นกลุ่มอายุ 15-19 ปี แยกตามระยะเริ่มปวุ ย พบว่ารายแรกเริ่มปุวยเวลา 09.00 น. รายสุดท้าย เวลา 18.00 น. ชว่ งเวลาท่ีพบผปู้ ุวยมากท่ีสุด ระหวา่ งเวลา 11.00-12.00 น. ~ 38 ~

13_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคไข้หวัดใหญใ่ นเรือนจาแหง่ หนึง่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดยโสธร เดอื นเมษายน 2561 แมน แสงภักด1์ิ , สมพร จันทรแ์ กว้ 2, มะลณิ ี บตุ รโท2, ถนอม นามวงศ2์ ,สกุ ญั ญา คาพัฒน1์ , สาวิตรี ประทมุ ภาพ2, ธีรภัทร์ นามชารี3 และคณะ4 1สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดยโสธร 2โรงพยาบาลยโสธร 3 หน่วยพยาบาลเรือนจา 4SRRTโรงพยาบาลยโสธร บทคัดย่อ ความเป็นมา ในวันที่ 9 เมษายน 2561 เวลา 17.06 น. ทีมควบคุมโรคจังหวัดยโสธร ได้รับรายงานทางโทรศัพท์ จากกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลยโสธร ว่า มีการระบาดกลุ่มก้อนสงสัยไข้หวัดใหญ่ในเรือนจาแห่งหน่ึง และมี ผู้ปุวยกาลังรักษาท่ีโรงพยาบาลยโสธร จึงได้ดาเนินการประสานงานเพื่อเข้าสอบสวนควบคุมโรคในพื้นที่พิเศษ ในวันที่ 10- 19 เมษายน 2562 วัตถุประสงค์ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค ศึกษาลักษณะการเกิดและการกระจายของโรค คน้ หาแหล่งโรคและวธิ ีการถา่ ยทอดของการระบาด และกาหนดมาตรการปูองกนั ควบคุมโรค วิธีการศึกษา การศึกษาทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ค้นหาผู้ปุวย/ผู้สัมผัสในเรือนจาและโรงพยาบาล เก็บ ตวั อยา่ งสิ่งส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ผลการศกึ ษา จากการสอบสวน พบวา่ ผปู้ วุ ยรายแรกเร่มิ มีอาการในช่วงเช้าวันที่ 30 มีนาคม 2561 พยาบาล ในเรือนจาจึงได้ทาการตรวจร่างกายผู้ต้องขังในเรือนนอนดังกล่าว พบว่า มีจานวนผู้ปุวยสงสัยไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการ เขา้ นยิ ามค้นหา จานวน 65 ราย จากผู้ต้องขังในเรือนนอนเดียวกัน จานวน 323 คน อัตราปุวย ร้อยละ 20.12 (เรือน นอนเดยี วกัน) เพศชายทงั้ หมด อายุระหว่าง 20-66 ปี วนั ทีพ่ บผูป้ ุวยสูงสุดคือ วันท่ี 2 เมษายน 2561 จานวน 18 ราย ร้อยละ 27.69 รองลงมาคือ วันที่ 3 เมษายน 2561 จานวน 14 ราย ร้อยละ 21.54 และวันท่ี 1 เมษายน 2561 จานวน 12 ราย ร้อยละ 18.46 ผู้ต้องขังชายทั้งหมด จานวน 1,500 คน ซึ่งมีเรือนนอนแยกออกจากกัน และทีม ควบคุมโรคจงั หวดั ยโสธรและโรงพยาบาลยโสธร ไดเ้ ข้าสอบสวน ควบคุมโรคเพ่ือตัดวงจรการแพร่กระจายของเชื้อโรค พบผู้ปุวยรายล่าสุดจานวน 2 ราย ท่ีไปรักษาท่ีโรงพยาบาลยโสธร ในวันที่ 9 เมษายน 2561 ท่ีแผนกผู้ปุวยนอก จานวน 2 ราย อตั ราปุวยทง้ั หมด ร้อยละ 4.33 ผู้ปวุ ยได้รบั ยาลดไข้ ยาลดนา้ มกู และยา Tamiflu ในรายที่มีอาการไข้ สูง ทาให้มอี าการดขี ึ้น การตรวจวเิ คราะห์ทางห้องปฏบิ ตั กิ าร ทมี ควบคุมโรคได้เก็บตัวอย่าง ได้ทา Throat swab และ Nasopharyngeal swab จานวน 10 ตัวอย่าง ส่งตรวจท่ีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรุงเทพมหานคร ผลการตรวจวิเคราะห์ พบสารพนั ธุกรรม FluA2009 จานวน 9 ราย มาตรการควบคุมโรคที่สาคัญ คือ การแยกห้องนอนให้ผู้ปุวยท่ีมีอาการเข้าพักในห้องนอนเดียวกัน แยกการ กินอาหารและอาบนา้ รวมท้ังแยกจากกจิ กรรมท่ีทารวมกนั ในกลุ่มผตู้ ้องขังจากเรือนนอนอ่ืน ๆ ทาให้ลดการแพร่เชื้อ โรคได้ ตรวจคัดกรองผู้ต้องขังในตอนเช้า เท่ียง ทุกวัน ผู้ปุวยท่ีมีอาการหรือสงสัยจะแยกเรือนนอนจากผู้ต้องขังปกติ จนกว่าจะไม่มีอาการจึงเข้าเรือนนอนเดิม รายงานผลการดาเนินการให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร เวลา 10.00 น. และ เวลา 14.00 น. จนถงึ วนั ที่ 19 เมษายน 2561 (ระยะฟกั ตัว 2 เท่า) ไม่มรี ายงานผปู้ วุ ยเพ่มิ เตมิ ~ 39 ~

13_oral_invest สรุปผล การระบาดคร้ังน้ีเป็นการระบาดจากแหล่งโรคร่วม ผู้ปุวยยืนยัน จานวน 9 ราย ผู้ปุวยสงสัย จานวน 56 ราย ไม่มีผู้ปุวยเสียชีวิต สามารถควบคุมโรคได้ใน 2 ระยะฟักตัว โดยมีการติดต่อกันในเรือนนอนเดียวกัน การ ดาเนินการควบคุมโรคประสบความสาเร็จ เนื่องจากได้รับความร่วมมือและกาหนดแนวทางท่ีเคร่งครัดในการแยก ผปู้ วุ ยจากเรอื นนอน แยกกจิ กรรมท่ีทาร่วมกนั ปกติ คาสาคญั : ไข้หวดั ใหญ่, เรือนจาแห่งหนง่ึ ~ 40 ~

14_oral_invest การสอบสวนการระบาดของโรคไขเ้ ดงกีและโรคไข้เลอื ดออกเดงกี ในชุมชนแหง่ หนึง่ ตาบลศรแี ก้ว อาเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร วนั ท่ี 19 มีนาคม – 22 พฤษภาคม 2562 เยาวพา เสนสร โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นศรีแก้ว บทคดั ย่อ เมอ่ื วันท่ี 19 มีนาคม 2562 เวลาประมาณ 11.12 น. งานระบาดวิทยาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบ้าน ศรีแกว้ ได้รบั แจง้ จากทมี SRRT อาเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร ทางไลน์กลุ่ม SRRT เลิงนกทา ว่ามี ผู้ปุวยวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) จานวน 1 ราย เพศชาย อายุ 15 ปี อาศัยอยู่หมู่ที่ 6 ตาบลศรแี ก้ว รักษาท่ีแผนกผู้ปุวยในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยโสธร หลังจากได้รับแจ้ง ข่าวทีมเฝูาระวังสอบสวนโรคเคลื่อนท่ีเร็ว(SRRT) ตาบลศรีแก้ว จึงออกดาเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ระหว่างวันท่ี 19 มนี าคม – 22 พฤษภาคม 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคในแง่ บุคคล เวลา สถานที่ และปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรค เพื่อค้นหา แหลง่ ที่มาของการระบาดและวิธีการถ่ายทอดโรค และเพื่อหาแนวทางในการควบคุมและปูองกันการแพร่กระจาย ของโรค วิธีการศึกษาคือ ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา โดยการสัมภาษณ์ผู้ปุวยและทบทวนเวชระเบียนของ ผู้ปุวย ค้นหาผู้ปุวยเพ่ิมเติมในหมู่บ้าน โดยใช้นิยามท่ีกาหนดข้ึน ศึกษาสภาพแวดล้อมในบ้านผู้ปุวย ระแวกบ้าน ผู้ปุวย ในหมู่บ้าน และโรงเรียน รวมทั้งสารวจลูกน้าในหมู่บ้าน รวมท้ังเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจยืนยันทาง ห้องปฏบิ ตั ิการ ผลการศึกษาพบผู้ปุวยเข้าข่ายโรคไข้เลือดออกรวม 13 ราย ในพื้นท่ีหมู่ท่ี 1 จานวน 3 ราย หมู่ท่ี 6 จานวน 6 ราย หมู่ท่ี 8 จานวน 2 ราย และหมู่ท่ี 9 จานวน 2 ราย ของตาบลศรีแก้ว อาเภอเลิงนกทา จังหวัด ยโสธร โดยเป็นไขเ้ ดงกี 5 ราย และ ไข้เลือดออกเดงกี 8 ราย โดยผู้ปุวยรายน้ี ไม่ได้เป็นผู้ปุวยรายแรกของหมู่บ้าน เมอ่ื ศกึ ษาขอ้ มูลยอ้ นกลับไป 2 สัปดาห์พบว่ามีผู้ปุวย อีก 1 ราย และติดตามไปอีก 28 วัน พบผู้ปุวยเพิ่มข้ึนอีก 12 ราย โดยพบอาการทางคลินิกที่พบบ่อย ได้แก่ ไข้สูง รองมา คือ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเน้ือ เป็นเพศหญิง 7 ราย ชาย 6 ราย อตั ราส่วนหญงิ ต่อชาย 1.17 : 1 มีอายุระหว่าง 10 ปีถึง 72 ปี มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 23.23 ปี อายุต่าสุด 10 ปี อายุสูงสุด 72 ปี อาชพี สว่ นใหญ่ ได้แก่ นักเรียน 8 ราย (ร้อยละ 61.54) พบผู้ปุวยเริ่มปุวยต้ังแต่กลางเดือน มีนาคม และเร่ิมระบาดอย่างต่อเนื่อง พบผู้ปุวยรายสุดท้าย วันท่ี 24 เมษายน 2562 สิ่งแวดล้อมพบว่าค่าดัชนี ลกู น้ายุงลายก่อนการควบคุมโรคมีค่าสูงโดยเฉพาะค่า HI >50% ผลการตรวจเลือดของผู้ปุวย 3 ราย โดยแยก เปน็ ตรวจวเิ คราะหห์ าสายพันธ์ุไวรัสเดงกี โดยวิธี Real time PCR 2 ราย ให้ผลลบ และตรวจImmunoglobulin (Antibody) IgG และ IgM โดยวิธี ELISA 1 ราย ใหผ้ ลลบ สรุปและอภปิ รายผล พบการระบาดของไขเ้ ดงกแี ละไข้เลือดออกเดงกีในบ้านศรีแก้ว ตาบลศรีแก้ว อาเภอ เลงิ นกทา จังหวัดยโสธร เนื่องจากผปู้ วุ ยทกุ รายมอี าการและอาการแสดงเข้าได้กับนิยามการวินิจฉัยโรคถึงแม้ว่าผล การตรวจเลอื ดเพื่อยนื ยันของผู้ปุวยทงั้ 3 รายจะใหผ้ ลลบ เนอื่ งจากเกิดขอ้ ผิดพลาดในการเก็บตัวอย่าง และเทคนิค ในการส่งตัวอย่างตรวจ และค่าดัชนีลูกน้ายุงลายมีค่าสูงโดยเฉพาะค่า HI > 50 % และมีข้อจากัดประชาชนไม่อยู่ บ้านออกไปทาไร่ทาสวน ไม่มีเวลาดูแลทาความสะอาดภาชนะเก็บกักน้า หน้าแล้งประชาชนหวงน้า ทาให้ ~ 41 ~

14_oral_invest ยากลาบากตอ่ การควบคุมโรคจึงเกิดการระบาดอย่างต่อเนอื่ งในหมูบ่ ้าน ดังน้ันจึงควรกระตุ้นให้ประชาชนตระหนัก ถงึ ความสาคัญในการปอู งกันและควบคมุ โรค นอกจากนัน้ ควรใหค้ วามรู้ผู้ปกครอง และเด็กกลุ่มเสี่ยงในการปูองกัน ตนเองและบุตรหลานไม่ให้ยุงกัด โดยนอนกางมุ้ง ทายากันยุง เล่นในที่โล่งแจ้ง และแนะนาให้ประชาชนจัด บ้านเรอื นให้สะอาด น่าอยู่ อากาศถ่ายเทสะดวก คาสาคญั : ไข้เลือดออกเดงก,ี่ ไข้เดงก,่ี การระบาด, ยโสธร ~ 42 ~

15_oral_invest การสอบสวนการระบาดโรคอาหารเปน็ พษิ ในโรงเรียนชุมชนแหง่ หนง่ึ อาเภอน้ายนื จังหวัดอบุ ลราชธานี ในวนั ที่ 26 - 28 กรกฎาคม 2561 อภิเดช สาระแสน* เทพสนิ อินจาปา** ธีรวฒั น์ เพชรไกร** ยุวดี ศรรี วตั ร*** ยุภาวดี ศรภี คั ดี** สชุ าติ เหมแดง** วลิ าศนิ ี ทองลือ** *โรงพยาบาลน้ายืน ** โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล *** สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอน้ายนื บทคดั ยอ่ ความเป็นมา: วันที่ 26 กรกฎาคม 2561 ศูนย์ระบาดวิทยาอาเภอน้ายืน รับรายงานจากโรงพยาบาลน้ายืน ว่าพบ ผ้ปู วุ ยโรคอาหารเปน็ พิษ 5 ราย จากโรงเรยี นแห่งหน่ึง ในอาเภอน้ายืน และมีผู้ปุวยอีกหลายรายในโรงเรียน ทีม SRRT อาเภอ นา้ ยนื ไดล้ งสอบสวนโรค ในวันท่ี 26 – 28 กรกฎาคม 2561 เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนาตาม บุคคล เวลา สถานท่ี ค้นหาแหล่งรังโรค และควบคุมการระบาดและหามาตรการในการปูองกันควบคุมโรคในคร้ังนี้และคร้ัง ต่อไป วธิ กี ารศึกษา:รูปแบบการศึกษาเป็นระบาดเชงิ พรรณนาศึกษาการกระจายของโรค ตามบคุ ล เวลา สถานที่ และการศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์แบบ Case control study เพ่อื หาปัจจยั เสย่ี งอาหารท่ีเปน็ สาเหตขุ องการระบาด โดย ศึกษาในโรงเรยี นท่พี บผู้ปุวยอาหารเปน็ พษิ ในระหว่างวนั ที่ 26-28 กรกฎาคม 2562 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ จัดทาขึน้ โดยปรับปรุงจากแบบสอบสวนโรคเฉพาะรายของสานกั ระบาดวิทยา กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มปุวย ผูป้ วุ ยทม่ี า พบแพทยแ์ ละผู้ทม่ี ีอาการเข้าไดต้ ามคานิยามของโรคอาหารเป็นพษิ 56 ราย กลุม่ ควบคุม คอื ผู้ทมี่ ปี ระวตั สิ ัมผัสปัจจัย เสีย่ งทไ่ี ม่มอี าการปวุ ย 47 ราย วเิ คราะห์ผลดว้ ยสถติ ิเชงิ พรรณนา ได้แก่ ร้อยละ อัตราปุวย คา่ เฉลีย่ ค่ามธั ยฐาน และ วิเคราะหป์ จั จัยเส่ยี งและหาความสมั พันธ์ดว้ ยสถิติ Odds Ratio (OR) ผลการสอบสวน:พบผปู้ วุ ยท้งั หมด 56 ราย เป็นผปู้ ุวยทีร่ กั ษาท่โี รงพยาบาลนา้ ยืน 15 ราย เป็นผ้ปู วุ ยใน 6 รายและผู้ปวุ ยนอก 9 ราย และเปน็ ผู้ปวุ ยที่ค้นหาเพม่ิ เติมในโรงเรียนตามนยิ าม 41 ราย เปน็ เพศชาย 32 ราย เพศ หญงิ 24 ราย อัตราส่วนเพศชายตอ่ เพศหญิง 1.33 : 1 มีคา่ มัธยฐานอายุ 10 ปี อายตุ ่าสุด 6 ปี อายสุ งู สุด 30 ปี เป็น นักเรยี นชน้ั อ.3 – ป.6 รอ้ ยละ96.4 (Attack rate นกั เรยี น 50.9%) และครู ผปู้ กครองรอ้ ยละ3.6 ผ้ปู วุ ยมีอาการ ไขร้ อ้ ยละ 71.43รองลงมาคอื ปวดท้อง ถา่ ยเป็นนา้ เรมิ่ ปวุ ยหลงั จากรบั ประทานอาหารกลางวนั ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 ระยะฟักตวั สั้นท่ีสุด คือ 2 ชวั่ โมง ยาวท่ีสดุ 26 ชวั่ โมง และระยะฟักตัวเฉลยี่ 20 - 22 ช่วั โมง การระบาด แบบแหลง่ โรครว่ ม (Common source) พบผปู้ วุ ยกระจายทุกชน้ั เรยี น เกดิ โรคมากท่สี ุดคือ ป.3 รองลงมาเป็น ป.4, ป.5 และ ป.6 มี Attack rate 85.7, 76.9,72.2 และ 69.2 ตามลาดบั ผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ ได้ส่งตรวจ Rectal swab เพาะเช้ือ 1 รายพบเชื้อ Salmonella group E ผลการศกึ ษาเชิงวเิ คราะห์ หาปจั จยั ทม่ี ีความสมั พนั ธ์ กับการปุวย พบว่าผู้ทร่ี บั ประทานลาบไก่ในอาหารกลางวนั มีค่า Odds Ratio 18.8, 95% CI 2.3-151.5, p - value < 0.05 ผลการศกึ ษาด้านสุขาภบิ าลโรงอาหารพบวา่ การเก็บวัตถุดบิ ไม่มกี ารแยกเก็บระหวา่ งเนอื้ และผักจดั เกบ็ รวมกัน การเตรียมปรุงผู้ปรงุ ไม่ได้ล้างไก่ก่อนนามาปรงุ และการเตรียมปรงุ ของแม่ครวั ปรุงกับพืน้ ซึง่ จากกระบวนการที่ไม่มกี าร ล้างไกซ่ ึ่งทาใหเ้ ช้ือท่ีปนเปื้อนมากับไกส่ ดไมถ่ ูกลา้ งออกมีจานวนเชอื้ เพยี งพอต่อการเกดิ โรคอาหารเป็นพิษได้ ~ 43 ~

15_oral_invest สรุป วิจารณแ์ ละข้อเสนอแนะ:การระบาดอาหารเปน็ พิษในโรงเรียนน้ี พบผู้ปุวย 56 ราย เป็นการระบาดแบบ แหลง่ โรคร่วม ปัจจัยที่มคี วามสมั พันธต์ ่อการปวุ ยคือการรบั ประทานอาหารกลางวัน โดยอาหารทสี่ งสัยคอื ลาบไก่ สาเหตุจากการปนเปื้อนของเช้ือ Salmonella group E ซึ่งอาจมีการปนเป้ือนเช้ือโรคระหวา่ งปรงุ อาหาร ทีม SRRT ได้ควบคุมการระบาดจนสงบ และให้ความรู้ในการปรุงอาหารให้สะอาด สขุ อนามยั และการสุขาภบิ าลอาหารของโรง อาหารในโรงเรียน แก่ครู ผปู้ ระกอบอาหาร และนักเรียนในโรงเรียนทุกคน คาสาคัญ : อาหารเป็นพิษในโรงเรยี น, การะบาด ~ 44 ~

16_oral_invest รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคชคิ นุ กุนยา บ้านโต๊ะ ม.4 ต.โพธ์ชิ ัย อ.อุทุมพรพิสยั จ.ศรีสะเกษ ระหว่างวนั ที่ 3 มีนาคม – 15 มีนาคม 2562 ชตุ กิ าญจน์ มงคลชัยพาณชิ ย์*สจุ ริ าภรณ์ พวงมะล*ิ *กฤติยา โนนใหญ*่ * วรเศรษฐ ขอรม่ ** บังอร เหล่าเสถียรกจิ ** กัญญารัตน์ เหล่าเสถียรกจิ บทคดั ย่อ เม่ือวันท่ี 2 มีนาคม 2562 เวลา 13.43 น. ได้รับการแจ้งจากทีม SRRT รพ.ศรีสะเกษ ว่ามีผู้ปุวยสงสัยไข้ ชิคุนกุนยา เพศหญิง อายุ 44 ปี เข้ารับการรักษา ท่ีรพ.ศรีสะเกษ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 แพทย์วินิจฉัย สงสยั หัด แตจ่ ากการซักประวัตผิ ู้ปุวย พบวา่ หมูบ่ า้ นดังกล่าวมีผู้ปวุ ยไข้ออกผน่ื หลายคน และมีลักษณะเด่นคือปวดข้อ และปวดกระดูกมาก และมีประวัติว่า ผู้ปุวยรายแรกที่เข้ามาในหมู่บ้านเดินทางมากจากภูเก็ต มีอาการปุวย เม่ือต้น เดือนมกราคม 2562 อาการดังกล่าวเข้าได้กับโรคชิคุนกุนยา ในวันท่ี 3 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 น. ทีม SRRT อาเภออุทุมพรพสิ ัย ร่วมกับ ทีม SRRTสานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ได้ทาการออกสอบสวนโรคในพ้ืนท่ีบ้าน โต๊ะ ต.โพธ์ิชัย อ.อุทุมพรพิสัย มีวัตถุประสงค์เพ่ือยืนยันการการวินิจฉัย ระบาดของโรค ค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยง และแหล่งรงั โรค หาแนวทางในควบคุมและปูองกันการระบาดของโรค วิธีการศึกษาเป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (Descriptive study)และการศึกษาระบาดวิทยาเชิง วิเคราะห์ ( retrospective cohort study) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการสอบสวนโรคประกอบไปด้วย แบบสอบสวนโรคซิ คนุ กุนยาเฉพาะรายของสานักระบาดวิทยา ผลการศึกษาพบผปู้ วุ ยเขา้ ได้กับนิยาม จานวน 28 ราย คิดเป็นอัตราปุวย ร้อยละ(จานวนประชากรท้ังหมดในหมู่ที่ 4 บ้านโต๊ะ ต.โพธ์ิชัย) นอนรักษาที่โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย รพ. 2 ราย ยืนยันการวินิจฉัย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการจากสถาบันวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ เมื่อวันท่ี 8 มีนาคม 2562 ด้วยวธิ ี RT-PCR จานวน 3 ราย พบสารพนั ธุ์กรรมไวรัสซิคุนกุนยา ให้ ผลบวก 1 ราย ยนื ยนั การระบาดพบผูป้ วุ ยในการระบาดคร้ังนี้รายแรก เพศหญิง อายุ 43 ปี เดินทางมาจากภูเก็ตวันท่ี 2 มกราคม 2562 เร่มิ มอี าการ เมอื่ วนั ที่ 5 มกราคม 2562 ด้วยอาการไข้ ปวดตามตัว ปวดบวมตามข้อ ปวดกระดูก มี ผื่นแดง คันตามร่างกาย ช่วงที่ปุวยได้ไปมาหาสู่กับเพ่ือนบ้านและได้ร่วมงานบุญยกช่อฟูาวัดบ้านโต๊ะ วันที่ 18-19 มกราคม 2562 และเริ่มมีผู้ปุวยรายต่อมา เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2562 ผู้ปุวยรายสุดท้ายวันที่ 6 มีนาคม 2562 สาเหตหุ รอื ปจั จยั เสี่ยงและแหล่งรังโรคในครง้ั นี้ เกดิ จากยุงลายบ้านซึ่งพบในบ้านผู้ปุวยและรัศมีรอบบ้านผู้ปุวย Index case พบค่า BI=36.36 อาจเป็นสาเหตุของการระบาดของโรคไข้ซิคุนกุนย่าในคร้ังน้ี มาตรการในการควบคุมโรคทีม สอบสวนเคล่ือนท่ีเร็วอาเภออุทุมพรพิสัยร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตาบลโพธช์ิ ยั ออกประชาคมหมูบ่ ้าน ค้นหา ผู้ปุวยเพิ่มเติม รณรงค์กาจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ายุงลาย เก็บขยะ ฉีดพ่น สารเคมี ใสท่ รายกาจัดลกู นา้ ได้ดาเนินมาตรการ ในการควบคมุ และปอู งกันโรคในชมุ ชนอย่างต่อเน่ือง ผลการเฝูาระวัง ในพ้ืนทตี่ ัง้ แต่วันท่ี วันท่ี 3 มีนาคม – 15 มีนาคม 2562 ไม่พบผปู้ ุวยสงสัยเพิม่ เตมิ ในชุมชน คาสาคญั รายงานสอบสวนการระบาดโรคซคิ นุ กนุ ยา ตาบลโพธชิ์ ัย อาเภออทุ ุมพรพสิ ยั ~ 45 ~

ห้องประชมุ ท่ี 4 นาเสนอผลงาน Good Practice เขตสุขภาพท่ี 10 ~ 46 ~

ห้องประชุมท่ี 4 นาเสนอผลงาน Good Practice เขตสขุ ภาพที่ 10 รหัส เรอ่ื ง ผนู้ าเสนอ หนา้ 1_oral_good 48 ผลการจดั การเรียนร้หู ลักสูตรว่ายน้าเพื่อเอาชวี ิตรอด นางก่ิงแกว้ ทจี นั ทึก 2_oral_good 49 สาหรับการปอู งกันตนเองจากการจมน้า อาเภอเมือง 3_oral_good 51 จงั หวดั ศรสี ะเกษ ปี พ.ศ. 2557-2561 4_oral_good 52 5_oral_good ความร่วมมือการสอบสวนโรคระหว่างประเทศ พันธ์ฉวี สุขบตั ิ 53 6_oral_good 54 จังหวัดมุกดาหาร ประเทศไทย – แขวงสะหวนั นะ 7_oral_good 55 เขต สปป.ลาว กรณี ผปู้ วุ ยโรควณั โรค 8_oral_good 56 ความรู้ ทศั นคติและการปฏิบัติตนในการปูองกันโรค กนั ยารตั น์ เหล่าเสถียรกจิ 9_oral_good 57 ไขม้ าลาเรียของเจา้ หนา้ ที่ท่ีปฏบิ ัติงานในเขตเทือกเขา 10_oral_good 58 พนมดงรัก จงั หวัดศรสี ะเกษ ประสบการณ์ในการดูแลกากับการกนิ ยาผปู้ ุวยวัณ นางกานต์พิชชา วิจารณ์ โรคดอ้ื ยาชนดิ รนุ แรงมาก (XDR-TB) ทาฟนั อยา่ งปลอดภยั ดว้ ยเสอ้ื captain safety ทพญ.ศริ ิพร หนิ ซุย การตรวจคดั กรองเพื่อค้นหาผู้ปวุ ยวัณโรคเชงิ รุกดว้ ย เกษสุมา วงษไ์ กร รถถ่ายภาพรงั สีทรวงอกเคลื่อนทใี่ นประชาชนกลุ่ม เสย่ี ง จงั หวัดศรีสะเกษ ทางเลอื กการดูแลสุขภาพต่อระดับความเสยี่ งภยั เพลิน สงู โคตร สขุ ภาพในผปู้ วุ ยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลโนน คูณ จงั หวัดศรสี ะเกษ การประเมินระบบเฝูาระวงั โรคไข้เลือดออกใน นพ.ณัฐนนท์ พรี ะภาณุรกั ษ์ โรงพยาบาลศรเี มืองใหม่ อาเภอศรเี มืองใหม่ จงั หวดั อุบลราชธานี ปี พ.ศ.2560 การดูแลผู้ปุวยวัณโรคดือ้ ยาหลายขนานชนิดรนุ แรง เดชไกร สงิ หค์ า มาก (XDR-TB) โดยการมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่าย โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลไหลท่ ุง่ อาเภอ ตระการพืชผล จังหวดั อบุ ลราชธานี Integrated Vector Management กับการจดั การ นายเทอด สอนสุข พาหะนาโรคไข้เลือดออกในหมบู่ ้านเสย่ี งสงู ใน หมู่บ้านแห่งหน่งึ ตาบลนาสะเมง็ อาเภอดอนตาล จังหวดั มุกดาหาร ปี 2561 ~ 47 ~

1_oral_good ผลการจดั การเรียนรหู้ ลกั สูตรว่ายน้าเพื่อเอาชีวติ รอดสาหรับการป้องกนั ตนเองจากการจมน้า อาเภอเมือง จงั หวดั ศรสี ะเกษ ปี พ.ศ. 2557-2561 นางก่ิงแก้ว ทีจันทึก*/นางกสุ ุมา มีศลิ ป์*/นางนวรัตน์ บุญกณั หา*/นายพงศศ์ ิริ ชดิ ชม*/นายเดน่ ดี ภขู น* *โรงพยาบาลศรีสะเกษ บทคดั ยอ่ ความเป็นมา จากรายงานสถานการณ์ภาระโรคของท่ัวโลก (Global Burden of Diseases) ขององค์การอนามัยโลกพบว่า การตกนา้ และจมนา้ เป็นสาเหตุน้าของการเสยี ชวี ิตใน 10 อันดับแรกของกลุ่มเดก็ และในกลุม่ เด็กอายุ ต่ากว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการ ตกนา้ และจมนา้ ปีละ 135,585 คน เฉลี่ยวันละ 372 คน โดยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจานวนผู้เสียชีวิตจากการตกน้าและ จมน้าปีละ 32,744 คน เฉล่ียวันละ 90 คน (World Health Organization) อาเภอเมือง จังหวัด ศรีสะเกษ จึงเป็นพื้นท่ีเส่ียงสูงที่ควร ทาการศึกษาในเร่ืองการพัฒนาระบบเฝาู ระวงั เพ่ือปูองกันการจมน้าดังกล่าวปัจจัยเส่ียงการจมน้าจะแตกต่างกันตามวัย ในเด็กทารก และวยั เตาะแตะจะมีความสมั พนั ธ์กับการดูแลของผู้ดูแลเด็กและการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านเป็นหลัก โดยเด็กอายุต่ากว่า 1 ปี จะ ไมส่ ามารถเข้าถึงแหล่งน้าไดด้ ว้ ยตนเองและจมนา้ โดยไม่ได้ตั้งใจ เน่อื งจากเดก็ ถกู ทอดท้งิ ไว้ตามลาพัง หรือผู้ดูแลไมม่ คี ณุ ภาพ วิธกี ารดาเนนิ งานโครงการ ระหวา่ งการดาเนินโครงการ 1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในเร่ืองการจมน้า และนาเสนอให้ประชาชนทราบถึงปัญหาเพ่ือให้ประชาชนเกิด ความตระหนกั โดยอาศยั สอ่ื มวลชนเปน็ สอ่ื กลางในการประชาสมั พนั ธ์ 2. ผลักดนั ใหอ้ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นท้องถิน่ รับผิดชอบเป็นแกนนาในการกาหนดให้มีมาตรการข้อกาหนดในเรื่องความ ปลอดภัยเกี่ยวกับแหล่งน้า เช่น ข้อบังคับให้มีการสร้างร้ัวล้อมรอบสระว่ายน้า ข้อบังคับให้มี Lifeguard ประจา อยู่ที่สระ ว่ายนา้ โดยดาเนนิ การให้มีการสรา้ งร้วั ก้ัน/สง่ิ กีดขวาง ล้อมรอบแหลง่ น้าธรรมชาติ จัดให้มีอุปกรณ์ช่วยชีวิต/เตือนภัยอยู่ใน บรเิ วณรอบ ๆ แหลง่ นา้ และมผี ดู้ แู ลความพร้อมของอุปกรณ์อยู่เสมอและจัดหลักสูตรอบรมอาสาสมัครในชุมชนให้เรียนรู้ วิธีการดูแลในกรณเี กดิ เหตุฉกุ เฉนิ เช่น การทา CPR และการปฐมพยาบาลขัน้ พ้นื ฐาน (First AID) 3. ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ผลักดันให้มีหลักสูตรมาตรฐานการสอนว่ายน้าและวิธีการ เอาตัวรอด บรรจอุ ยูใ่ นการเรยี นการสอนของเด็กนักเรียนช้ันประถมศึกษาทกุ โรงเรยี นทว่ั ประเทศ หลังการดาเนินโครงการ 1. สรุปผลการดาเนนิ โครงการ (นาเสนอปจั จยั ความสาเรจ็ ปญั หาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข) อภิปรายผลการจัดโครงการ กลุม่ ตวั อย่างมีคะแนนดขี นึ้ เน่อื งจากนกั เรียนท่ีเลอื กเปน็ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนท่ีว่ายน้าไม่ เป็น เม่ือได้เรียนวิชาว่ายน้าเพื่อเอาชีวิตรอด นักเรียนได้รับความรู้และได้ลงมือปฏิบัติเพ่ือฝึกทักษะ ด้านการเอาชีวิตรอด และพ้ืนฐานการว่ายน้า ทาให้นักเรียนมีคะแนนดีข้ึน ได้เน้ือหาวิชาว่ายน้าเพ่ือเอาชีวิตรอดที่มีคุณภาพที่สามารถนาไป พัฒนาพฤติกรรมการ ปูองกันตนเองจากการจมน้า นักเรียนที่ได้เรียนวิชาว่ายน้าเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีทักษะด้านการเอา ชีวิตรอดและพื้นฐาน การว่ายน้า และด้านการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้า ครูผู้สอนสามารถนาเอาวิชาว่ายน้า เพ่ือเอาชีวิตรอดไปประยุกต์ใช้เป็นส่วนหน่ึงของ โปรแกรมการฝึกเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความสามารถในการ ปูองกันตนเองจากการจมน้าได้ คาสาคญั : หลกั สตู รวา่ ยนา้ เพอ่ื เอาชีวิตรอด จมนา้ เสียชีวติ ~ 48 ~

2_oral_good ความร่วมมือการสอบสวนโรคระหว่างประเทศ จังหวัดมกุ ดาหาร ประเทศไทย – แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว กรณี ผปู้ ่วยโรควัณโรค Joint Investigation Team (JIT) for Tuberculosis on Cross Mukdahan,Thailand –Savannakhat, Lao PDR พนั ธฉ์ วี สุขบตั ิ , ปยิ ะมาพร เลาหตีรานนท์ สสจ.มกุ ดาหาร วิทลู ย์ สธุ รรมมา รพท.มุกดาหาร , กอระกัน พิจิดใจ แผนกสธ แขวงสะหวันนะเขต บทคัดย่อ ความเป็นมา สถานการณ์วัณโรคจังหวัดมุกดาหาร ปี ๒๕๖๑ อัตราการรักษาสาเร็จร้อยละ ๙๒.๑๔ เสียชีวิต รอ้ ยละ ๒.๒๘ เป็นผ้ปู ุวยวัณโรคลาวจานวน ๑๒ ราย รักษาสาเร็จ ๒ ราย ( ร้อยละ๑๖.๖๗) ไม่มารักษาต่อเนื่องและติดต่อ ไม่ได้ ๑๐ ราย ( ๘๓.๓๓ ) อ้างอิงจาก www.MSQ-Health.com เพื่อแก้ปัญหาการขาดยาของผู้ปุวยลาว ทั้งสองฝุายได้ กาหนดแนวทางพัฒนาความร่วมมือการดูแลการส่งต่อ การกากับติดตามผู้ปุวยและการสอบสวนโรควัณโรคระหว่างประเทศ (JIT TB Border Muk-Svk) ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความร่วมมือในการส่งต่อข้อมูล การสอบสวนโรค การ ติดตามผลรักษาผู้ปุวยวัณโรคระหว่างประเทศร่วมกัน รูปแบบการศึกษา แบบพรรณนา และเชิงคุณภาพ มีการประชุมทีม SRRT RRT นาเสนอสถานการณ์ วัณโรค ออกแบบทีมสอบสวนโรค องค์ประกอบของทีม ประกอบด้วยทีมสอบสวนโรค ทีม สื่อสารความเสี่ยง ทีมสังเกตการณ์ ออกสอบสวนโรคร่วมกัน (JIT TB Border Muk-Svk) สรุปผลการสอบสวนโรคและ กาหนดแนวทางการดาเนินงานร่วมกัน เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทึกข้อมูลประวัติผู้ปุวย ในwebsite RMS –TB เมนู กล่มุ เปาู หมายคือทมี SRRT ,RRT จานวน ๓๓ ทา่ น ,ผู้ปวุ ยวัณโรคที่ขนึ้ ทะเบยี น ๗ ราย , สมั ภาษณ์เชิงลกึ ถามความรู้สึกผู้ปุวย ญาติ หัวหน้าขั้นบ้าน และเจ้าหน้าท่ีสุขศาลา เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขเมือง แพทย์โรงพยาบาลแขวงสะหวันนะเขต สถิติท่ีใช้ ร้อยละ ระยะเวลาดาเนินการ ตุลาคม ๒๕๖๑ – มีนาคม ๒๕๖๒ (สอบสวนโรคร่วมกันระหว่าง ๒๗-๒๘ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ) ผลการศึกษา สร้างความร่วมมอื ในการส่งต่อข้อมูล ก่อนดาเนินการมีผู้ปุวยลาวที่ข้ึนทะเบียนรักษาวัณโรค ท่ีจังหวัดมุกดาหาร ปัญหาท่ีพบคือรักษาไม่ครบ ขาดยา ตามไม่ได้ ไม่บอกชื่อและท่ีอยู่จริง ยังไม่มีระบบการติดตามผู้ปุวย ระหว่างประเทศ รวมถึงระบบการส่งต่อ และผปู้ ระสานงานTB ระหวา่ งประเทศ หลังการศกึ ษามคี วามร่วมมือด้านการพัฒนา โครงสร้างและรูปแบบคณะทางานศนู ย์ประสานงานและศนู ยป์ ฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข (EOC Border) มี การกาหนดรูปแบบความร่วมมือในการรักษา ส่งต่อ โดยมีผู้ประสานงานระดับจังหวัด-แขวง, โรงพยาบาลมุกดาหาร- โรงพยาบาลแขวงฯ,โรงพยาบาลและสุขศาลาคู่ขนาน ใช้แบบฟอร์มสอบสวนวัณโรค แล้วคีย์ข้อมูลผู้ปุวย website www.msq-health.com เมนู RMS –TB และVisit home มติร่วมกันคือให้อัพโหลด ภาพ ผลX-ray , ผลแลป ,ลง ประเภทผปในใบrefer ใช้ชอื่ ในบัตรผา่ นแดน ระบขุ อ้ มูลท่สี าคัญ คือบา้ น….หนว่ ย…..เมือง…….เบอร์โท ผป / ญาติ ( เบอร์ไทย หรือลาวก็ได้) แจง้ ขอ้ มูล ใหท้ ราบระหวา่ งกนั ขอ้ มูลที่ใชแ้ ลกเปลยี่ น มีผปู้ ุวย ๕ ประเภท ดังนี้ ๑) คนลาว ต้องการรักษาที่มุก ๒) คนลาว ตอ้ งการมารกั ษาท่ลี าว ๓) คนลาว อยู่เมืองไทย รักษาท่ีมุกดาหาร ๔) คนไทย รักษาที่ไทย แต่มากากับDOTที่ลาว ๖) คนไทย รกั ษาที่ลาว (รกั ษาฟร)ี ซึ่งบันทกึ ข้อมูลในโปรแกรมการส่งตอ่ ผูป้ ุวย ๗ ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ การสอบสวนโรคร่วมกนั ผลลพั ทท์ ่ีเกดิ ข้นึ เปรียบเทียบสถานการณ์ ก่อนดาเนินการ เคยมีการสอบสวนไม่ เคยสอบสวนวัณโรคร่วมกัน ไม่ทราบข้อมูลผู้ปุวยเมื่อติดต่อไม่ได้ หลังการสอบสวนโรค ซ่ึงมีพัฒนาความร่วมมือต้ังแต่ระบบ การแจ้งข่าว การส่งข้อมูลผู้ปุวยขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรคระหว่างกัน สามารถทราบสถานะข้อมูลผู้ปุวยทุกรายร่วมกัน ในปี ๒๕๕๖๒ มีผู้ปุวยขึ้นทะเบียน ๗ ราย ขึ้นทะเบียนรักษาที่โรงพยาบาลมุกดาหาร ๕ ราย โรงพยาบาลหว้านใหญ่ ๒ ราย ,เป็น เพศหญงิ ๔ ราย เพศชาย ๓ ราย , อายตุ า่ สุด ๖ ปี สงู สุด ๘๐ปี , แยกเป็นวณั โรคประเภท M+ จานวน ๔ ราย M- จานวน ๑ ~ 49 ~

2_oral_good ราย TB pleural ๑ ราย MDR-TB ๑ ราย , รักษาหาย ๑ ราย (ท่ีรพ หว้านใหญ่) อยู่ระหว่างการขึ้นทะเบียนรักษาจานวน ๖ ราย เปน็ ผู้ปวุ ยขน้ึ ะเบียนท่ีรพ.มุกดาหาร ๕ ราย , รพ หวา้ นใหญ่ ๑ ราย จึงสอบสวนโรคร่วมกันจานวน ๖ ราย พบว่า ผู้ปุวย ยงั รบั ยาต่อเน่ืองท่รี พ มกุ ดาหาร ๒ ราย มาพบแพทยแ์ ละทานยาตามแพทย์ , รายท่ี ๓ เปน็ ผ้ปู วุ ยMDR เข้ารบั การรักษาท่ีศูนย์ บาบดั รักษาผู้ปุวยMDRท่ีโรงพยาบาลแขวงคาม่วน , รายที่ ๔และ๕ ปัจจุบันขึน้ ทะเบียนรกั ษาตอ่ เน่ืองที่รพแขวงสะหวันนะเขต รายที่ ๖ ข้ึนทะเบยี นรกั ษาที่รพแขวงสะหวันนะเขต ส่งต่อรับยา ที่รพเมืองไชพูทอง ผ่านระยะเข้มข้นทุกราย ผลAFBเป็นลบ เจา้ หนา้ ท่ี สุขศาลา กากับดูแลการกนิ ยาอย่างต่อเน่ืองไม่ขาดยา จากการสอบถามและประเมินความรู้ การปฏิบัติตัวของผู้ปุวยมีการปฏิบัติตัว การดูแลตนเองเป็นอย่างดี ไม่ รบั ประทานอาหารรว่ มกับผอู้ ืน่ และใส่ Mask ตลอดเวลา แยกหอ้ งนอนกับสามี ทราบวา่ ตนเองตอ้ งกนิ ยาให้ครบ ๖ เดือน โดย มีสามีเป็นผู้กากับการกินยา มีความเข้าใจในโรคเป็นอย่างดี คนในหมู่บ้านไม่มีอาการหวาดกลัวต่อโรคแต่อย่างใด ผู้ปุวยมี กาลังใจในการรักษาเปน็ อยา่ งดี และปฏบิ ัตติ นในการปอู งกันการแพรเ่ ชือ่ การค้นหาตัวผู้ปุวยใช้เวลาในการค้นหาเนื่องจากชื่อ และที่อยไู่ ม่ขัดเจน แต่ RRT แขวงสะหวันนะเขต ไดร้ ่วมกันคน้ หาและติดตามผู้ปุวยจนพบและสามารถสอบสวนโรคร่วมกันได้ ในครง้ั นีแ้ ละทราบข้อมูลการรักษาของผู้ปุวยท่ีได้รับการรักษาต่อเนื่องทุกราย ผู้ปุวย ญาติ ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจปฏิบัติ ตัวไดถ้ ูกตอ้ ง และประทับใจในการสอบสวนโรคร่วมกนั ของทีมในครั้งนี้ เจ้าหน้าท่ีทีมSRRTและRRTท้ังสองฝุาย เจ้าหน้าที่สุข ศาลา เจา้ หน้าที่สาธารณสขุ เมอื ง แพทย์โรงพยาบาลแขวงสะหวันนะเขต จานวน ๓๓ ราย มีความพึงพอใจ รอ้ ยละ ๑๐๐ และ อยากให้มีรูปแบบน้ีร่วมกันทุก ๖ เดือน ผู้บริหารทั้งสองฝุายชื่นชมทีมRRT SRRT ที่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น ท้ังการการ พฒั นาWeb site และ การสอบสวนวัณโรค กรณี MDR TB การแลกเปลย่ี น และสง่ ตอ่ ผู้ปวุ ย เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น การ ลงพื้นที่สอบสวนโรคให้เอาข้อมูลละเอียด คนท่ีสาเร็จ เขาปฏิบัติตนอย่างไร ให้เป็นBest Practice ความร่วมมือของ ครอบครวั ความรว่ มมือของชุมชน การแลกเปลีย่ น การกากับการกินยา เป็นModel ท่ีดีมาก สร้างเป็นSOP ร่วมกันซ่ึงเป็น ประโยชน์ต่อประชาชน ต่อไป ประเทศไทยยงั ไมม่ ีนโยบายที่ชัดเจน ในการรักษาต่างชาติฟรี แต่สปป.ลาวรักษาให้คนไทยฟรี และขอเรยี นรู้ การดแู ลรักษาผปู้ ุวยรวมถงึ การกักบรเิ วณผู้ปวุ ย MDR – TB การติดตามผลรักษาผู้ป่วยวัณโรคระหว่างประเทศร่วมกัน ผลลัพธ์จากการพัฒนาความร่วมมือต้ังแต่ระบบ การแจง้ ข่าว การส่งข้อมูลผปู้ ุวยขึน้ ทะเบยี นรักษาวัณโรคระหวา่ งกัน สามารถทราบสถานะข้อมูลผู้ปวุ ยทุกรายร่วมกัน สามารถ ทราบสถานะขอ้ มลู ผู้ปุวยทุกรายร่วมกนั จากการทางานร่วมกันของทีมแบบไรพ้ รมแดน ทัง้ สองฝุายไดเ้ รยี นรู้จุดเด่นกันและกัน เช่น สะหวันนะเขต ผปู้ ุวยขึน้ ทะเบยี นรักษา มอี ตั ราการกั ษาสาเรจ็ ๙๖% มีการเย่ียมบ้านติดตามผู้ปุวย ๑๖ คร้ัง (ไทยเยี่ยม บา้ นได้ ๑๒ คร้ัง) ระยะเข้มข้น ๒ เดือน ผู้ปุวยต้องมารับยาทุกสัปดาห์ ผู้ปุวยรับยาได้ท่ีสุขศาลา หรือโรงพยาบาลเมืองได้ มี การต้ังค่าปรับเงินเม่ือไม่มารับยา ตามนัดครั้งละ ๕๐,๐๐๐ กีบ หรือ ๒๐๐ บาท มุกดาหารใช้รูปแบบ ๒๒๒ Model การใช้ โปรแกรมTB CM online เป็นต้น และมีเง่ือนไขการกากับติดตามผู้ปุวยที่กาลังข้ึนทะเบียนรักษา ทั้ง ๕ ปะเภทร่วมกัน (ปจั จบุ นั มีผปู้ ุวย ๒ รายทยี่ ังตอ้ งการรบั ยาต่อเนื่องท่รี พ มกุ ดาหาร ) รวมทัง้ การประสานงานและแจ้งข่าวข้อมูลกรณีพบผู้ปุวย ขึ้นทะเบียนรักษาวณั โรครายต่อๆไปรว่ มกนั อยา่ งตอ่ เนือ่ ง คาสาคญั : Joint Investigation Team Border ~ 50 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook